ผลปฏิบตั ิงานประจำปี พ.ศ. ๒๕๖4
( แผนจลุ ภาค กศน.ตำบลเชียงทอง )
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอวังเจ้า
สำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวดั ตาก
สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ
คำนำ
ผลปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กศน.ตำบลเชียงทอง จัดทำข้ึนเพ่ือรายงานผลในการ
จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 โดยยึดแนวทางตาม
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด
ตาก และยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังเจ้า
ตลอดจนบริบท ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นท่ีเพื่อกำหนดเป็นแนวปฏิบัติและแนวทางในการดำเนินงาน
กศน.ตำบลเชียงทอง ใหเ้ ป็นไปตามเป้าหมายที่ตง้ั ไวอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
การจัดทำผลการปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กศน.ตำบลเชียงทอง ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 เล่มนี้ สำเรจ็ ลุล่วงด้วยดี ดว้ ยความรว่ มมือของภาคีเครือข่าย และผู้เก่ียวข้องร่วมกันระดม
ความคิดเห็น โดยนำสภาพปัญหาและผลการดำเนนิ งานมาปรบั ปรุงเพ่อื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการจดั การศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยของ กศน.ตำบลเชียงทอง เพื่อสนองตอบความตอ้ งการของประชาชนในพน้ื ท่อี ย่างแทจ้ รงิ
คณะผจู้ ัดทำหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กศน.ตำบลเชยี งทอง
เล่มนี้ จะเปน็ แนวทางในการดำเนินงานของบคุ ลากรและผู้เกย่ี วขอ้ ง เพอื่ ให้การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และมีคุณภาพตามเป้าหมาย ตลอดจนเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนเก่ียวข้อง
ประชาชน ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติต่อไป
กศน.ตำบลเชียงทอง
สงิ หาคม 2564
สารบัญ หนา้
การอนมุ ัตแิ นปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลเชียงทอง ก
คำนำ ข
สารบญั ค
สวนท่ี ๑ ขอมลู พ้นื ฐานของ กศน.ตาํ บลเชยี งทอง
สวนท่ี ๒ ขอมลู พื้นฐานเพ่ือการวางแผน
สวนที่ ๓ การวเิ คราะหสภาพแวดลอม กศน.ตาํ บล
สวนที่ ๔ แนวทาง/กลยุทธการดำเนนิ งานการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั กศน.
ส่วนที่ 5 ผลการปฏิบัตกิ ารประจำปี 2564 กศน.ตำบลเชยี งทอง
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลพนื้ ฐาน
กศน.ตำบลเชยี งทอง
ความเปน็ มา
ศนู ย์การเรยี นชุมชนตำบลเชยี งทอง
เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระเกียรติพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒
ในปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดตาก จึงได้มีนโยบายให้จัดตั้งศูนย์การเรียนชุมชนเฉลิมพระ
เกียรติ ฯ ให้ครบทุกตำบลพ้ืนท่ี และได้จัดตั้งศูนย์การเรียนชุมชนเฉลิมพระเกียรติ ฯ ประจำตำบลเชียงทอง ข้ึน
เพ่ือเฉลิมพระเกียรติ ฯ โดยได้รับความอนุเคราะห์จากวัดแก้ววิเศษ หมู่ท่ี ๔ ตำบลเชียงทอง อำเภอวังเจ้า จังหวัด
ตาก ได้อนุเคราะห์ให้ใช้ศาลาบริเวณด้านเหนือกุฎิสงฆ์ เปิดดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนการศึกษานอก
โรงเรียน สังกัดศูนย์บริการ การศึกษานอกโรงเรียน ก่ิงอำเภอวังเจ้า และได้รับเงินงบประมาณ สนับสนุนด้าน
การศึกษาจากองค์การบริหารส่วนตำบลเชียงทอง เพ่ือจัดซื้อสื่อ วัสดุทางการศึกษา เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนร้ขู อง
ชุมชน ปัจจุบันศูนย์การเรียนชุมชนเฉลิมพระเกียรติ ฯ ประจำตำบลเชียงทอง ได้รับการอนุเคราะห์และสนับสนุน
งบประมาณ ในการดำเนนิ การสรา้ ง กศน.ตำบลเชยี งทอง และได้ยา้ ยจากศาลาหลังเดมิ มาอยู่ พน้ื ทีข่ องโรงเรยี นบา้ น
ใหมเ่ สรีธรรม หมทู่ ี่ 7 ตำบลเชียงทอง อำเภอวังเจา้ จังหวดั ตาก
ทต่ี ้งั
ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กบั ตำบลนาโบสถ์ ตำบลประดาง อำเภอวังเจ้า จงั หวัดตาก
ทศิ ใต้ ติดตอ่ กับตำบลโกสมั พี อำเภอโกสัมพนี คร จงั หวัดกำแพงเพชร
ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั ตำบลโกสมั พี อำเภอโกสมั พีนคร จงั หวัดกำแพงเพชร
ทิศตะวนั ตก ติดต่อกบั ตำบลแมท่ ้อ อำเภอเมืองตาก และติดตอ่ ตำบลคีรรี าษฎร์
อำเภอพบพระ จงั หวดั ตาก
ลองจจิ ุด 16.5534588 ละจจิ ดุ 99.24097
บทบาทหน้าทภี่ ารกิจ กศน.ตำบล
กศน.ตาํ บล มีบทบาทสําคญั ในการจัดและสง่ เสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชีวติ ของประชาชน และสร้างสงั คมแห่ง
การเรียนรใู้ นชุมชน โดยมีหัวหนา้ กศน.ตาํ บล เปน็ กลไกหลกั ในการขบั เคลอื่ นและมีหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งทาํ หนา้ ที่
ส่งเสริมและสนับสนนุ การดาํ เนนิ งาน กศน.ตําบล ดังน้ี
๑. บทบาทหน้าทีข่ องหัวหน้า กศน. ตําบล
๑. การวางแผน
๑.๑ จดั ทําฐานข้อมูลชมุ ชน
๑.๒ จดั ทําแผนพฒั นา กศน. ตาํ บล
๑.๓ จัดทําแผนปฏบิ ัตกิ ารประจําปี
๒. การจัดและส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
๒.๑จดั และสง่ เสริมการศึกษานอกระบบ ดงั น้ี
- การสง่ เสริมการรหู้ นังสอื
- การศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน
- การศึกษาตอ่ เน่ือง
๒.๒จัดและสง่ เสรมิ การศกึ ษาตามอัธยาศยั
- ส่งเสรมิ การอา่ น
- จัดและพัฒนาแหล่งเรยี นรู้
- บรกิ ารข่าวสารข้อมลู และสอ่ื ทุกประเภท
- จัดและสง่ เสรมิ กจิ กรรมหอ้ งสมุดประชาชนตาํ บล หอ้ งสมดุ ชมุ ชน มมุ หนังสือบ้าน
๓. บริการการเรยี นร้ใู นชุมชนรว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ย
๓.๑ ศนู ย์ซ่อมสร้างเพ่ือชมุ ชน (Fix it Center) รว่ มกบั (สอศ.)
๓.๒ ชมรมคมุ้ ครองผู้บริโภค ร่วมกบั (สคบ.)
๓.๓ ศูนย์การเรยี นรู้ ICT ชุมชน ร่วมกับ (กระทรวงไอซีท)ี
๓.๔ มุมวิทยาศาสตรเ์ พอื่ ชวี ติ ร่วมกับ (สสวท.)
๓.๕ หน่วยแพทยเ์ คลอ่ื นที่ รว่ มกบั โรงพยาบาล สถานีอนามัย
๓.๖ ธนาคารเคลอ่ื นท่ี
๓.๗ การปอ้ งกนั บรรเทาสาธารณภัย ร่วมกับกรมปอ้ งกันบรรเทาสาธารณภยั
๓.๘ อําเภอเคลอ่ื นที่ รว่ มกบั อําเภอ
คณะกรรมการ กศน.ตำบล ตำแหนง่ กำนนั ตำบลเชียงทอง ประธานกรรมการ
1.1 นายสหพล มงคลธนาสนิ ตำแหน่งผู้ใหญ่บา้ น หมทู่ ี่ 7 รองประธาน
1.2 นายกวี พุ่มพฤกษ์
ตำแหน่งผใู้ หญ่บา้ น หมู่ท่ี 2 กรรมการ
กรรมการ ตำแหน่งผ้ใู หญ่บา้ น หมู่ท่ี 3 กรรมการ
1.1 นายสุชาติ เน่อื งดดั ตำแหนง่ ผู้ใหญบ่ ้าน หมู่ที่ 4 กรรมการ
1.2 นายสุทร กันหาคำ ตำแหนง่ ผู้ใหญ่บ้าน หมทู่ ่ี 5 กรรมการ
ตำแหน่งผใู้ หญบ่ า้ น หมู่ที่ 6 กรรมการ
1.3 นางประพิศ รักยิม้
1.4 นายจำรูญ ดวงแกว้
1.5 นายเดน่ ชัย ทิศกลุ สวา่ ง
1.6 นายสนฝน วจิ ขิ จี ตำแหน่งผูใ้ หญบ่ ้าน หมูท่ ี่ 8 กรรมการ
1.7 นายสมบัติ วงศส์ ูง ตำแหนง่ ผใู้ หญ่บา้ น หมู่ท่ี 9 กรรมการ
1.8 นายมงคล วงศาไพสิฐ ตำแหนง่ ผใู้ หญ่บา้ น หมู่ท่ี 10 กรรมการ
1.9 นายฝ้า แซว่ ่าง ตำแหน่งผใู้ หญบ่ ้าน หมู่ที่ 11 กรรมการ
1.10 นายสุชาติ ชาตใิ หญห่ ลวง ตำแหนง่ ผู้ใหญ่บา้ น หมู่ที่ 12 กรรมการ
1.11 นายสมชาติ ขวญั เกดิ ตำแหน่งผใู้ หญ่บา้ น หมู่ที่ 13 กรรมการ
1.12 นายชยั พร ปุระรตั น์ ตำแหนง่ ผู้ใหญบ่ ้าน หมทู่ ี่ 14 กรรมการ
1.13 นางสาวญาณี เครอื อนุ่ เรอื น ผ้แู ทนองคก์ รนักศึกษา กรรมการ
1.14 นายจักรพนั ธุ์ ยศสมบัติ ผู้แทนองคก์ รนกั ศกึ ษา กรรมการ
1.15 นางพิกุล ชีนาวุธ อาสาสมคั ร กศน. กรรมการ
1.16 วา่ ท่ี ร.ต.ธรี วตั ร แสนคำ หัวหน้า กศน.ตำบลเชียงทอง กรรมการและเลขานุการ
อาสาสมคั ร กศน.ตำบล หมู่ท่ี 3 บา้ นดงซ่อม ตำบลเชียงทอง
1.นางพกิ ุล ชีนาวุธ หมู่ที่ 4 บา้ นเดน่ ววั ตำบลเชียงทอง
2.นางประพิศ รกั ยม้ิ หมู่ที่ 6 บา้ นผาผ้ึง ตำบลเชียงทอง
3.นางสาวสาวิตรี แซ่ว้าน หมทู่ ี่ 7 บ้านใหม่เสรธี รรม ตำบลเชียงทอง
4.นายแดง นะวัน หมทู่ ี่10 บ้านใหม่ชัยมงคล ตำบลเชียงทอง
5.นายสมรักษ์ ศรพี รม
หมทู่ 1่ี 1 บา้ นศรีครี ีรักษ์ ตำบลเชียงทอง
6.นางสาวจรี นันท์ แซว่ า่ ง หมูท่ 1่ี 2 บา้ นเด่นววั น้ำทพิ ย์ ตำบลเชียงทอง
7.นายธวชั กรณ์ทอง หมู่ที่13 บา้ นสบยมใต้ ตำบลเชียงทอง
8.นางสาวณฐั ณิชา นาดี
บคุ ลากรใน กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบลเชียงทอง
1.ว่าที่ร.ต.ธรี วัตร แสนคำ ครู ศรช.ตำบลเชยี งทอง
2.นางสาวอรณี ประทุมโซ
สว่ นที่ 2
ขอ้ มูลพน้ื ที่เพื่อการวางแผน
2.1. สภาพทว่ั ไปของตำบล
ตำบลเชียงทอง ปัจจุบันแบ่งเขตการปกครองออกเป็น ๑๔ หมู่บ้าน (แยกหมู่ที่ ๑ บ้านวงั เจ้า ยกฐานะเป็น
เทศบาลตำบลวังเจ้า มี ๕ ชุมชน) ตำบลเชียงทองมีเนื้อท่ีท้ังหมดประมาณ 442 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ
276,250 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศเป็นพ้ืนท่ีราบ ลูกคลื่นลอนลาด และมีภูเขาล้อมรอบเป็นส่วนใหญ่ ประชากรใน
พนื้ ทตี่ ำบล เชียงทองส่วนใหญอ่ พยพย้ายถน่ิ ฐานจากภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือเปน็ สว่ นใหญ่และประมาณรอ้ ยละ ๔๐
ของประชากรทั้งหมดประกอบอาชีพทางการเกษตรกรรม คือ ทำไร่ ทำสวน ทำนา รายได้สาวนใหญ่ของประชากร
จึงมาจากการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตร จึงขอยกประวตั ิความเปน็ มาของแตล่ ะหมบู่ ้านพอสังเขปดงั นี้
ที่ตั้ง
ทศิ เหนือ ติดต่อกบั ตำบลนาโบสถ์ ตำบลประดาง อำเภอวังเจ้า จงั หวดั ตาก
ทศิ ใต้ ติดตอ่ กับตำบลโกสัมพี อำเภอโกสัมพนี คร จงั หวดั กำแพงเพชร
ทิศตะวนั ออก ติดต่อกบั ตำบลโกสัมพี อำเภอโกสัมพีนคร จงั หวดั กำแพงเพชร
ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ กับตำบลแม่ทอ้ อำเภอเมืองตาก และติดต่อตำบลครี ีราษฎร์
อำเภอพบพระ จงั หวดั ตาก
เน้ือที่ แผนทตี่ ำบลเชียงทอง
ตำบลเชียงทองมเี น้ือที่ทง้ั หมดประมาณ 442 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 276,250 ไร่
ลักษณะภูมิประเทศ
ตำบลเชียงทองมีลักษณะภูมิประเทศเป็นท่ีราบลุ่ม มีแม่น้ำปิงไหลผ่านด้านทิศตะวันออก และที่ราบเชิงเขา
ด้านกลาง และมภี เู ขาสูงรอบลอ้ มดา้ นทศิ ตะวนั ตก มคี ลองนำ้ ธรรมชาติ (คลองวังเจา้ ) ไหลผา่ นด้านทิศใต้
ภูมอิ ากาศ
ฤดูรอ้ น ตง้ั แตเ่ ดือนมนี าคม - พฤษภาคม อุณหภูมเิ ฉล่ยี 36.30 องศาเซลเซยี ส
ฤดูฝน ตั้งแตเ่ ดอื นมิถนุ ายน - กันยายน อณุ หภูมเิ ฉลย่ี 33.82 องศาเซลเซียส
ฤดหู นาว ตง้ั แตเ่ ดือนตุลาคม - กุมภาพันธ์ อุณหภมู เิ ฉลี่ย 27.38 องศาเซลเซียส
ลกั ษณะของดิน
ลักษณะของดินโดยท่ัวไปเป็นดินร่วนเป็นส่วนใหญ่ และดินปนทราย เหมาะแก่การทำการเกษตร
แตใ่ นปัจจบุ นั ดนิ เร่ิมเสือ่ มคณุ ภาพเนือ่ งจากการใชส้ ารเคมขี องเกษตรกรในพื้นที่
ทรัพยากรธรรมชาติ
นำ้
- มีแม่นำ้ ปงิ ไหลผ่าน
- แหล่งน้ำธรรมชาติมีหลายสาย แต่บางแห่งตื้นเขินและมีการทับถมของตะกอน บางแห่งน้ำเปล่ียน
ทิศทางการไหลทำความเสียหายให้กับพื้นท่ีการเกษตร ในฤดูแล้งไม่เพียงพอในการอุปโภค – บรโิ ภค และการเกษตร
ผู้ใช้นำ้ ตอ้ งใชน้ ้ำใตด้ นิ บางส่วนต้องรอนำ้ จากธรรมชาติ
ป่าไม้
ป่าไม้ถูกตัดทำลายลงเพื่อทำการเกษตรมากขึ้น แต่พ้ืนที่ป่าชุมชนมีสภาพอุดมสมบูรณ์มากข้ึน
และได้รับการดูแลจากชมุ ชน
2.2 ข้อมูลด้านประชากร
ข้อมลู เกี่ยวกบั จำนวนประชากร (ข้อมูลเปรียบเทยี บยอ้ นหลัง 3 - 5 ปี)
ปี พ.ศ. ประชากรชาย ประชากรหญิง รวมประชากร จำนวน ครวั เรอื น
2560 7,082 7,177 14,259 4,105
4,241
2561 7,265 7,375 14,640 4,335
5,801
2562 7,424 7,461 14,885 6,389
2563 9,520 9,558 19,078
2564 9,584 9,641 19,225
(อัตราการเพ่ิมของประชากรโดยเฉลีย่ รอ้ ยละ 1.5 ตอ่ ป)ี
จำนวนประชากร
หมทู่ ่ี ชือ่ หมบู่ า้ น จำนวนประชากร จำนวน ผู้สงู อายุ คนพิการ
ชาย หญิง รวม ครวั เรือน 60 ปขี นึ้ ไป
ตำบลเชียงทอง 2,104 2,130 4,234 1,935
2 บ้านสบยม 269 295 564 250 74 25
3 บ้านดงซอ่ ม 442 442 884 303 141 29
4 บา้ นเดน่ วัว 547 552 1,100 426 181 42
5 บา้ นเดน่ คา 588 578 1,166 389 159 63
6 บ้านผาผ้งึ 1,449 1,435 2,884 550 111 54
7 บา้ นใหม่เสรธี รรม 603 612 1,215 400 177 65
8 บ้านหนองปลาไหล 664 674 1,338 465 175 56
9 บ้านครองราชย์ 462 473 935 233 109 40
10 บา้ นใหม่ชัยมงคล 280 310 590 230 69 26
11 บา้ นศรีคีรีรักษ์ 625 608 1,233 217 44 37
12 บ้านเดน่ วัวนำ้ ทพิ ย์ 607 606 1,213 352 163 47
13 บ้านชุมนุมกลาง 531 547 1,078 323 147 40
14 บ้านสบยมใต้ 413 378 791 316 109 31
ตำบลเชยี งทอง มีครัวเรือนอาศยั อยู่ จำนวน 6,389 ครัวเรอื น อยู่ในเขตพ้ืนท่ีการปกครององค์การบริหาร
ส่วนตำบลทั้งหมดมีประชากรท้ังสิ้น 19,078 คนแยกเป็นประชากรชาย จำนวน 9,584 คน และประชากรหญิง
จำนวน 9,641 คน
กลุม่ ผู้พิการ เปน็ กลุม่ ผดู้ อ้ ยโอกาสในการท่จี ะเข้ารบั บริการทางการศึกษาหรอื เขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้
ด้อยกว่าคนปกติทั่วไป อนั เนอื่ งมาจากขอ้ จำกดั ทางดา้ นรา่ งกาย จิตใจ สติปญั ญาหรอื ความสามารถในการเรียนรู้
จากตารางข้อมูลจำนวนคนพกิ ารในพน้ื ทต่ี ำบลเชยี งทอง
ขอ้ มลู ผไู้ มร่ ูห้ นังสือ มีประชากร เพศชาย เพศหญิง ผู้ไมร่ หู้ นงั สอื เขา้ รบั สรุปยอดผู้ไม่
ท่ีอาศยั อยู่ (คน) (คน) (คน) การศึกษา รู้หนงั สอื
มคี รวั เรอื น จริง (คน) สง่ เสริมการรู้ คงเหลอื
ปี พ.ศ. ท้ังหมด 1,414 หนงั สือ
19,078 9,520 9,558 1,395 1,395
(ครัวเรือน) 19,225 9,584 9,641 19
1,382
2563 5,801 13
2564 6,389
2.3 ขอ้ มลู ดา้ นสังคม
ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม
การนับถือศาสนา
ประชากรในพ้ืนท่ีตำบลเชียงทอง มีความหลากหลายในชาติพันธ์ จึงมีความหลายหลาย ในการนับ
ถือศาสนาต่างๆ ประกอบไปดว้ ย ศาสนาพทุ ธ ศาสนาครสิ ต์ วณิ ญาญบรรพบุรุษ
ประเพณีและงานประจำปี
1) งานประเพณีสงกรานต์ ช่วงเวลาในการจัดงาน เดือนเมษายน
2) งานประเพณีลอยกระทง ชว่ งเวลาในการจดั งาน เดอื นตลุ าคม - เดือนพฤศจิกายน
3) งานประเพณีปใี หม่มง้ ชว่ งเวลาในการจัดงาน เดอื นธนั วาคม - มกราคม
4) งานประเพณปี ใี หม่ลซี อ ช่วงเวลาในการจัดงาน เดือนมกราคม
5) งานประเพณกี นิ กว๋ ยฉลาก ช่วงเวลาในการจดั งาน เดอื นตลุ าคม
6) งานประเพณีบุญบงั้ ไฟ ชว่ งเวลาในการจัดงาน เดอื นพฤษภาคม
ดา้ นการเมอื งการปกครอง
เขตการปกครอง
จำนวนหมบู่ า้ นทงั้ หมด 13 หมูบ่ ้าน ได้แก่
1) หมู่ท่ี 2 บ้านสบยม ผู้ใหญ่บา้ น คือ นายสุชาติ เน่อื งดัด
2) หมทู่ ่ี 3 บ้านดงซอ่ ม ผู้ใหญบ่ า้ น คือ นายสุนทร กนั หาคำ
3) หมทู่ ่ี 4 บ้านเดน่ วัว ผใู้ หญ่บ้าน คอื นางประพิศ รักยม้ิ
4) หมทู่ ี่ 5 บา้ นเดน่ คา ผใู้ หญ่บ้าน คอื นายสวุ รรณ สิหงิ
5) หมทู่ ี่ 6 บา้ นผาผ้งึ ผใู้ หญบ่ า้ น คือ นายพงษ์พนั ธ์ แซว่ า่ ง
6) หม่ทู ่ี 7 บา้ นใหมเ่ สรธี รรม ผใู้ หญบ่ ้าน คอื นายกวี พมุ่ พฤกษ์
7) หมู่ที่ 8 บา้ นหนองปลาไหล ผใู้ หญ่บ้าน คอื นายสายฝน วจิ ิขจี
๘) หมทู่ ่ี 9 บา้ นครองราชย์ ผู้ใหญบ่ ้าน คอื นายสมบัติ วงศ์สงู
๙) หมทู่ ่ี 10 บ้านใหมช่ ัยมงคล ผู้ใหญ่บา้ น คอื นายอดิศักด์ิ ศรลี มิ ปนนท์
10) หม่ทู ี่ 11 บ้านศรคี ีรีรักษ์ ผใู้ หญบ่ า้ น คือ นายผา้ แซว่ ่าง
11) หมู่ที่ 12 บ้านเด่นววั นำ้ ทพิ ย์ ผใู้ หญบ่ ้าน คือ นายสทุ ัศน์ ชาติใหญห่ ลวง
12) หมู่ท่ี 13 บ้านชมุ นมุ กลาง ผู้ใหญ่บา้ น คือ นายสมชาย ขวญั เกดิ
13) หมู่ท่ี 14 บ้านสบยมใต้ ผใู้ หญบ่ ้าน คือ นายชยั พร ปรุ ะรัตน์
๑4) กำนนั ตำบลเชียงทอง นายสหพล มงคลธนาสิน
2.4. ข้อมลู ดา้ นเศรษฐกิจ
6.1 การเกษตร
พ้นื ทป่ี ลกู ชนดิ พชื
ข้าวเหนยี ว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
หมทู่ ่ี ตำบล ข้าวเจา้ ราย ไร่ ราย ไร่ ออ้ ย
25 115 7 72 ราย ไร่
ราย ไร่ - - 5 23 15 125
42 159 24 200 8 134
1 เชยี งทอง 43 282 88 325 33 275 10 125
13 75 26 170 10 140
2 เชยี งทอง 49 664 - - 310 11496 24 370
84 400 40 362 --
3 เชยี งทอง 86 448 13 62 67 871 6 54
78 412 47 539 8 100
4 เชียงทอง 60 235 - - 25 223 16 166
- - 73 1730 --
5 เชียงทอง 79 405 18 62 18 184 --
9 43 25 198 5 57
6 เชยี งทอง 216 2687 17 70 10 89 99 1962
20 419
7 เชยี งทอง 106 715
8 เชียงทอง 39 163
9 เชยี งทอง 27 104
10 เชยี งทอง 34 126
11 เชยี งทอง 51 432
12 เชยี งทอง 68 350
13 เชียงทอง 61 305
14 เชยี งทอง 55 685
พื้นที่ปลกู ชนิดพชื
หมทู่ ี่ ตำบล
มนั สำปะหลงั ยางพารา ลำไย มะนาว
1 เชียงทอง ราย ไร่ ราย ไร่
2 เชียงทอง 17 213 ราย ไร่ ราย ไร่ --
3 เชยี งทอง 6 120 1 23
4 เชียงทอง 94 1300 - - 11 105 12
5 เชียงทอง 127 2080 51 203
6 เชยี งทอง 72 957 - - 11 7 21
7 เชียงทอง 8 160 --
8 เชยี งทอง 130 1923 1 8 29 196 5 18
9 เชยี งทอง 59 699 15
10 เชียงทอง 91 1318 5 28 83 658 33 125
11 เชียงทอง 99 1706 3 21
12 เชียงทอง 35 304 3 52 54 338 --
13 เชยี งทอง 121 2167 5 12
14 เชียงทอง 101 1574 ---- 4 14
24 219 36
- - 116 1022
5 27 93 1062
30 285 66 453
2 38 91 1407
----
2 5 67 692
5 105 18 93
- - 20 142
การประมง
การประมง มจี ำนวน – แห่ง
การปศุสตั ว์
ตำบลเชยี งทอง มีการเลย้ี งสตั ว์หลายชนดิ โดยมีการเลยี้ งในปริมาณไมม่ ากนกั
การบรกิ าร
พนื้ ท่ีตำบลเชียงทองมีแหลง่ ใหบ้ ริการประเภทต่างๆ ดงั น้ี
- ปั้มน้ำมันและกา๊ ซ (ป้ัมหลอด) จำนวน 32 แหง่
1 แห่ง
- โรงสี (ขนาดเล็ก) จำนวน 140 แห่ง
5 แห่ง
- รา้ นคา้ ปลกี จำนวน 2 แหง่
1 แห่ง
- รา้ นจำหน่ายหรอื ซ่อมรถยนต์ฯ จำนวน
- ร้านอาหาร จำนวน
- ตลาดชุมชน จำนวน
การท่องเทย่ี ว
ในพน้ื ทต่ี ำบลเชียงทองมสี ถานท่สี ำคญั และสถานท่แี หลง่ ท่องเทีย่ ว จำนวน 3 แห่งประกอบดว้ ย
- นำ้ ตกธรรมชาติ บ้านผาผ้ึง ตั้งอยทู่ ี่ หม่ทู ี่ 6 บา้ นผาผึ้ง ตำบลเชียงทอง
- ถ้ำผาผงึ้ ตงั้ อยู่ที่ หมู่ท่ี 6 บ้านผาผง้ึ ตำบลเชยี งทอง
- วัดแก้ววิเศษ หมูท่ ี่ 4 บา้ นผาผึง้ ตำบลเชียงทอง
อตุ สาหกรรม
ไมม่ โี รงงานอุตสาหกรรมทกุ ประเภท มเี พียงการผลิตในครัวเรอื นและกลุม่ เฉพาะกจิ
การพาณชิ ยแ์ ละกลมุ่ อาชีพ
- การพาณิชย์ เน่ืองจากไม่มีจุดศูนย์กลางของชุมชนจึงไม่มีตลาดจำหน่ายสินค้า มีเพียงตลาดนัด
ตามหมบู่ ้าน และร้านคา้ ในชุมชนในหมูบ่ า้ น
- มีการจัดตั้งตลาดจำหน่ายสินค้าทางการเกษตรและสินค้าท่ัวไป จำนวน 1 แห่ง ต้ังอยู่ท่ี หมู่ท่ี 2
บา้ นสบยม
- กลุ่มอาชีพส่วนใหญร่ ว่ มกับชาวบ้านในหมู่บ้านจำหนา่ ยสินค้าท่ผี ลติ ในชุมชน เช่น ผ้าทอ
แรงงาน
แรงงานช่วงอายุ 18 – 30 ปีมกี ารไปทำงานนอกพ้ืนที่ นอกนั้นจะประกอบอาชีพเกษตรกรรมอยู่
ภายในตำบล
ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
ในพ้ืนที่ตำบลเชียงทอง มีความหลากหลายของประชากรที่อยู่อาศัยในพ้ืนที่ จึงทำให้มีความ
หลากหลายในภาษาถ่นิ เช่น กลุ่มคนที่มาจากภาคกลาง จะใช้ภาษากลาง ในการส่ือสาร กลุ่มคนทม่ี าจากภาคเหนือ
จะใชภ้ าษาเหนือ ในการสื่อสาร กลุ่มคนท่ีมาจากภาคอีสาน จะใช้ภาษาอีสาน ในการสอ่ื สาร และกลมุ่ ชนเผ่าก็จะใช้
ภาษาชนเผา่ ของตวั เองในการสอ่ื สาร
สินค้าพน้ื เมอื ง และของท่รี ะลึก
สนิ คา้ พืน้ เมือง และของท่รี ะลกึ ในตำบลเชียงทอง ประกอบไปด้วย
- ผลติ ภณั ฑ์จากไม้ไผ่ บ้านชุมนุมกลาง
- ข้าวไรซ์เบอร์ร่ี
- ผา้ ทอยอ้ มสธี รรมชาติ กลมุ่ หตั ถกรรมผ้ายอ้ มสีบ้านเด่นววั
แหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชน และทนุ ด้านงบประมาณทีส่ ามารถนำมาใชป้ ระโยชนเ์ พอื่ การจัดการศกึ ษา
ประเภทบุคคล ประเภทสถานท่แี ละองค์กร ประเภททรพั ยากรธรรมชาติ ประเภทกิจกรรมทางสังคม-
วัฒนธรรมและตน้ ทุนงบประมาณ
1. แหล่งเรยี นรู้ประเภทบคุ คล ไดแ้ ก่
ภูมิปัญญาท้องถ่นิ ความรูค้ วามสามารถ ท่ีอยู่
นางสธุ รรม จันธิยะ ดา้ นหตั ถกรรมการทำไมก้ วาดดอก หมทู่ ่ี ๗ บา้ นใหม่เสรธี รรม
หญ้า กระติ๊บขา้ วจากใบตาล ต.เชยี งทอง อ.วังเจา้ จ.ตาก
นางวิรมณ ค้มุ ผล การทอเสอ่ื กก บา้ นเลขที่ 419 หมูท่ ี่ 1 ตำบล
นายยอง แสนปัน ข้าวไรซ์เบอรอ่ี ินทรีย์ เชยี งทอง อำเภอวงั เจา้ จงั หวดั ตาก
บ้านเลขท่ี 117/1 หมทู่ ี่ 7 ตำบล
เชียงทอง อำเภอวังเจา้ จังหวดั ตาก
นายสมัคร ศิริภกั ดิ์ การทำปยุ๋ หมักชวี ภาพ บ้านเลขท่ี 117/1 หมู่ที่ 7 ตำบล
เชียงทอง อำเภอวังเจา้ จงั หวดั ตาก
นางจันทา จนิ ะชัย การทำเคร่ืองแกง บ้านเลขที่ 563 หมทู่ ่ี 9 ตำบล
เชียงทอง อำเภอวังเจ้า จงั หวดั ตาก
นางสมบรู ณ์ ใจกาวนิ การทำแหนมหมู บา้ นเลขท่ี 41/2 หมู่ท่ี 3 ตำบล
เชยี งทอง อำเภอวังเจา้ จังหวดั ตาก
นายบุญชู พ่วงมี การทำเกษตรอินทรีย์ บ้านเลขที่ 45 หมทู่ ี่ 7 ตำบลเชียง
ทอง อำเภอวงั เจา้ จงั หวดั ตาก
2. แหล่งเรียนรู้ประเภทสถานท่/ี ชุมชน/กลุม่ ทางเศรษฐกจิ /สังคม ได้แก่
ชอื่ แหลง่ เรยี นรู้ ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ทต่ี ง้ั
ตลาดชมุ ชนจำหนา่ ย เปน็ ตลาดชมุ ชน ตง้ั อยรู่ ิมถนนยาวขนานตามแนว ทต่ี ง้ั หมู่ท่ี ๒ บา้ นสบยม ตำบล
เฟอร์นเิ จอร์ ของถนน ซึง่ วางจำหนา่ ยสง่ิ ประดษิ ฐ์ท่ที ำจากไม้ เชียงทอง อำเภอวังเจ้า
นานาชนดิ เช่น ไมส้ กั ไมแ้ ดง ไมม้ ะค่า ไม้ประดู่ จังหวดั ตาก
เปน็ ตน้ มีทงั้ ประเภทที่ใชต้ กแตง่ ภายใน ของใช้ ของ
เล่น และตกแต่งตลาดแห่งนน้ี อกจากจะมี
ส่ิงประดษิ ฐ์ที่ทำจากไมแ้ ลว้ ยงั มีสินคา้ ประเภท
หตั ถกรรมเคร่อื งปั้นดนิ เผา และเซรามคิ ตลอดจน
ผลติ ผลทางดา้ นเกษตรวางจำหนา่ ยอกี เช่น มะเขอื
เทศพันธุ์เรดฮันน่ี กาแฟสด ต้นไม้ประดับ เปน็ ตน้
ศูนย์หมอ่ นไหมเฉลมิ สถาบนั หมอ่ นไหมแหง่ ชาตเิ ฉลิมพระเกียรตฯิ มี ท่ตี ง้ั หมูท่ ่ี ๒ บ้านสบยม ตำบล
พระเกียรติสมเด็จพระ หนา้ ทรี่ ับผิดชอบในการศกึ ษาค้นคว้าวจิ ัยเก่ยี วกับ เชยี งทอง อำเภอวงั เจา้
นางเจ้าสริ ิกติ ต์ หมอ่ นไหมในด้านพนื้ ฐาน และ ประยกุ ต์ตามงาน/ จงั หวัดตาก
พระบรมราชนิ นี าถตาก
(TAK Sericultural โครงการแผนงานท่ีกำหนดในรปู สาขาวชิ าการตา่ ง ๆ
Experiment Station) เช่น การปรบั ปรุงพนั ธุ์หม่อนไหม พันธไ์ุ หม
ตา่ งประเทศ และพนั ธพุ์ ้ืนเมอื งของไทย เขตกรรม
อารักขา แปลว่า (เขตการดูแลอารกั ขาพชื ดนิ น้ำ
ประมง) ดิน ปุ๋ย นำ้ เทคโนโลยชี ีวภาพ วธิ ีการเลย้ี ง
ไหม เกษตรอตุ สาหกรรม และวิทยาการหลงั การเกบ็
เก่ียวชวี ภาพตามแนวนโยบายของรัฐบาล เพือ่ เป็น
การวจิ ยั และพัฒนาพืช และผลิตพนั ธุ์ เพอ่ื การ
ทดแทนการนำเขา้ และใช้ภายในประเทศ เปน็
แหลง่ เรยี นรดู้ า้ นการปลูกหมอ่ นเลย้ี งไหม การแปร
รูปผลติ ภณั ฑจ์ ากต้นหม่อนไหมสง่ เสรมิ อาชพี โดย
โครงการพระราชดำริ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกิตต์
พระบรมราชนิ ีนาถเกี่ยวกบั ศนู ย์ศลิ ปาชพี และ
ส่งเสรมิ อาชพี ด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรมการ
แปรรปู ผลติ ภณั ฑ์การเกษตร
3. แหลง่ สนับสนนุ ทุน/งบประมาณ ประเภทองคก์ ร ได้แก่
ภาคเี ครือข่าย การสนับสนนุ ทีอ่ ย่/ู ทต่ี ัง้
ท่ีว่าการอำเภอวังเจา้ การประสานงาน,ความรว่ มมอื ,การ หมทู่ ่ี ๒ ตำบลเชียงทอง อำเภอวัง
จดั กิจกรรมหรือการมสี ่วนรว่ ม เจ้า จังหวัดตาก
เทศบาลตำบลเชยี งทอง การประสานงาน,ความร่วมมอื ,การ หมู่ที่ ๑ ตำบลเชยี งทอง อำเภอวงั
จัดกจิ กรรมหรอื การมสี ่วนรว่ ม เจา้ จงั หวดั ตาก
องค์การบริหารส่วนตำบลเชยี งทอง การประสานงาน,ความรว่ มมอื ,การ หมู่ท่ี ๑๓ ตำบลเชยี งทอง อำเภอ
จัดกิจกรรมหรอื การมีสว่ นรว่ ม วงั เจา้ จงั หวัดตาก
สำนกั งานพัฒนาชุมชนอำเภอวัง การประสานงาน,ความรว่ มมอื ,การ ตำบลเชยี งทอง อำเภอวังเจา้
เจ้า จัดกจิ กรรมหรือการมสี ่วนร่วม จังหวดั ตาก
สำนกั งานเกษกรอำเภอวังเจา้ การประสานงาน,ความรว่ มมอื ,การ ตำบลเชยี งทอง อำเภอวงั เจา้
จดั กิจกรรมหรือการมีสว่ นร่วม จงั หวัดตาก
โรงพยาบาลอำเภอวังเจ้า การประสานงาน,ความร่วมมอื ,การ หมทู่ ่ี ๒ ตำบลเชียงทอง อำเภอวงั
จดั กจิ กรรมหรือการมีส่วนร่วม เจา้ จังหวดั ตาก
สถานีตำรวจภธู รอำเภอวังเจา้ การประสานงาน,ความร่วมมอื ,การ หมู่ที่ ๒ ตำบลเชียงทอง อำเภอวงั
จดั กิจกรรมหรอื การมสี ่วนรว่ ม เจ้า จังหวัดตาก
สาธารณสขุ อำเภอวงั เจา้ การประสานงาน,ความร่วมมอื ,การ หมู่ท่ี ๑ ตำบลเชียงทอง อำเภอวัง
จดั กิจกรรมหรอื การมีสว่ นรว่ ม เจ้า จงั หวดั ตาก
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยตี าก การประสานงาน,ความรว่ มมอื ,การ หมทู่ ่ี ๓ ตำบลประดาง อำเภอวัง
จัดกิจกรรมหรอื การมีสว่ นรว่ ม เจา้ จังหวดั ตาก
โรงเรียนวงั เจา้ วิทยาคม การประสานงาน,ความรว่ มมอื ,การ หมู่ท่ี ๑๔ ตำบลเชียงทอง อำเภอ
จดั กิจกรรมหรือการมีสว่ นรว่ ม วงั เจา้ จังหวดั ตาก
โรงเรยี นนาโบสถพ์ ิทยาคม การประสานงาน,ความรว่ มมอื ,การ หมทู่ ่ี ๔ ตำบลเชยี งทอง อำเภอวงั
จัดกิจกรรมหรอื การมสี ว่ นรว่ ม เจา้ จงั หวัดตาก
โรงเรียนบา้ นใหมเ่ สรธี รรม การประสานงาน,ความรว่ มมอื ,การ หมู่ที่ ๗ ตำบลเชียงทอง อำเภอวัง
จัดกจิ กรรมหรือการมีสว่ นรว่ ม เจ้า จงั หวดั ตาก
โรงเรียนสบยมนอ้ มมิตรอนุกลู การประสานงาน,ความรว่ มมอื ,การ หมู่ท่ี ๒ ตำบลเชียงทอง อำเภอวงั
จัดกจิ กรรมหรือการมสี ่วนร่วม เจ้า จงั หวัดตาก
โรงเรยี นเด่นววั ราษฎร์รงั สรรค์ การประสานงาน,ความร่วมมอื ,การ หมทู่ ี่ ๑๒ ตำบลเชียงทอง อำเภอ
จดั กจิ กรรมหรือการมีสว่ นรว่ ม วังเจา้ จงั หวดั ตาก
โรงเรียนดงซ่อมพิทยาคม การประสานงาน,ความร่วมมอื ,การ หมู่ท่ี ๓ ตำบลเชยี งทอง อำเภอวงั
จดั กิจกรรมหรอื การมีส่วนร่วม เจ้า จังหวดั ตาก
โรงเรยี นอนบุ าลวังเจ้า การประสานงาน,ความรว่ มมอื ,การ หมู่ที่ ๑ ตำบลเชยี งทอง อำเภอวัง
จดั กิจกรรมหรอื การมสี ่วนร่วม เจา้ จังหวัดตาก
โรงเรยี นผาผึง้ การประสานงาน,ความรว่ มมอื ,การ หมู่ที่ ๖ ตำบลเชียงทอง อำเภอวัง
จดั กิจกรรมหรอื การมสี ่วนร่วม เจ้า จงั หวัดตาก
โรงเรยี นบา้ นศรคี ีรีรกั ษ์ การประสานงาน,ความรว่ มมอื ,การ หม่ทู ี่ ๑๑ ตำบลเชียงทอง อำเภอ
จดั กจิ กรรมหรอื การมสี ่วนรว่ ม วังเจา้ จงั หวดั ตาก
การคมนาคมขนสง่
ถนน
1) ถนนท่ไี ดร้ บั การถา่ ยโอน จำนวน 3 สาย ประกอบดว้ ย
- สายบ้านท่าทองแดง หมู่ 7 ตำบลนาโบสถ์ ถึง บ้านผาผง้ึ หมู่ 6 ตำบลเชียงทอง อำเภอวังเจ้า
จงั หวัดตาก
- สายบ้านใหมเ่ สรธี รรม - บา้ นใหมช่ ยั มงคล ตำบลเชยี งทอง อำเภอวังเจ้า จังหวัดตาก
- สายบ้านวังน้ำเย็น หมู่ 8 ตำบลนาโบสถ์ ถึง บ้านศรีคีรีรักษ์ หมู่ 11 ตำบลเชียงทอง อำเภอ
วังเจ้า จงั หวัดจาก
2) ถนนที่อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของท้องถ่ิน จำนวน 210 สายประกอบด้วย
- ถนนลูกรัง จำนวน 145 สาย
- ถนนลาดยาง จำนวน 3 สาย
- ถนนคอนกรตี จำนวน 62 สาย
สะพาน
- สะพานคอนกรีต จำนวน 6 แหง่
- สะพานไม้ จำนวน 3 แหง่
การไฟฟา้
มีหมู่บ้านที่ใช้ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จำนวน 11 หมู่บ้าน ใช้ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ จำนวน 2
หมู่บา้ น เนื่องจากอยใู่ นพ้ืนท่ปี า่ (ชาวเขาเผ่าม้ง)
- ครัวเรือนที่มีไฟฟ้าสว่ นภมู ภิ าค จำนวน 3,078 ครวั เรอื น
- ครัวเรือนทีม่ ีไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทิตย์ จำนวน 526 ครวั เรือน
- ถนนในเขต อบต.ทมี่ ีไฟฟา้ สาธารณะ จำนวน 28 สาย
การประปา
- ครัวเรอื นทใี่ ชบ้ ริการนำ้ ประปา จำนวน 2,851 ครวั เรอื น
- หน่วยงานเจ้าของกิจการประปา
- ส่วนทอ้ งถิ่น จำนวน 5 แห่ง บริการในหม่ทู ่ี 8, 9, 10, 13 และหมทู่ ่ี 14
- ประปาภมู ภิ าค จำนวน 1 แหง่ บรกิ ารในหมู่ท่ี 5
- ประปาหมบู่ า้ น จำนวน 16 แห่ง บริการในหมู่ที่ 2, 3, 4, 5, 6, 7 (2
แห่ง), 8, 9 (2 แห่ง), 10, 11, 13 (2 แห่ง) และหมทู่ ่ี 14 (2 แห่ง)
โทรศัพท์
โทรศัพทส์ าธารณะ มีจำนวน – แห่ง
ไปรษณยี ์ หรือการสื่อสาร หรือการขนสง่ และวัสดุ ครุภณั ฑ์
ประชาชนในพื้นที่ตำบลเชียงทอง ใช้บริการไปรษณีย์จากไปรษณีย์อำเภอวังเจ้า และมีเจ้าหน้าท่ี
จากไปรษณีย์อำเภอวังเจ้า จำนวน 2 คน ที่เป็นผู้ทำหน้าที่ในการส่งจดหมาย-ส่งพัสดุไปรษณีย์ในพ้ืนท่ีตำบลเชียง
ทอง
2.5 การศึกษา
1) โรงเรียนสังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 7 แห่ง
ลำดบั ที่ ช่อื โรงเรียน จำนวนนกั เรียน (คน) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น (ปจั จบุ นั )
1 โรงเรยี นเด่นววั ราษฎร์รงั สรรค์ 227 นางวนิดา วชั รกิจ
61 นางสาวหัสยา คงแกว้
2 โรงเรียนบา้ นหนองปลาไหล 128 นายอนนั ต์ กาวินำ
67 นายพีรพงศ์ โพธาชยั
3 โรงเรียนดงซอ่ มพิทยาคม 14 นางดรุณี ภคู่ ง
139 นายอนุชติ เชษฐตระกูล
4 โรงเรยี นบา้ นใหมเ่ สรธี รรม 443 นางสาวณฐั ชา อคั รทรงพล
5 โรงเรียนบา้ นสบยม (น้อมมติ รอนุกุล)
6 โรงเรียนบา้ นศรคี รี ีรกั ษ์
7 โรงเรยี นผาผึ้งวทิ ยาคม
(* ข้อมูล ณ วนั ที่ 10 มิถนุ ายน 2562 โดยกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม )
2) โรงเรยี นสังกัดเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาฯ จำนวน 1 แห่ง
ลำดับท่ี ชอื่ โรงเรยี น จำนวนนักเรยี น (คน) ผ้อู ำนวยการโรงเรียน (ปจั จบุ นั )
1 โรงเรยี นวงั เจ้าวทิ ยาคม 167 นายนุตพล ธรรมลังกา
(* ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 10 มิถุนายน 2562 โดยกองการศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม )
3) ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กในสังกัดองค์การบรหิ ารส่วนตำบลเชียงทอง จำนวน 5 แหง่
ลำดับที่ ช่อื โรงเรยี น จำนวนนักเรียน (คน) หวั หนา้ ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก (ปจั จบุ นั )
1 ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบา้ นเดน่ ววั 86 นางสมนึก จอดนอก (รักษาการฯ)
24 นางสาวสมปอง ชน่ื อารมณ์ (รกั ษาการฯ)
2 ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บา้ นดงซอ่ ม 18 นางสาวรจุ ริ า ช่ืนอารมณ์ (รกั ษาการฯ)
115 นางสาวเบญจมาศ สีกาวี (รกั ษาการฯ)
3 ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านใหม่เสรธี รรม 45 นางวราภา บุญตอ่ (รกั ษาการฯ)
4 ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ บา้ นผาผ้งึ
5 ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บา้ นศรีครี รี กั ษ์
(* ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 10 มิถุนายน 2562 โดยกองการศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม )
กศน.ตำบลเชยี งทอง ในรอบปีทผ่ี ่านมามจี ำนวนนกั ศกึ ษาทง้ั หมด ..........41.......... คน แยกตามระดบั
ดังน้ี
-ระดบั ประถมศึกษา จำนวน...............1.........คน
-ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน..............13............คน
-ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน..............27............คน
ในการจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ภาคเรยี นที่
2/2563 มนี ักศกึ ษาจำนวนทีล่ งทะเบยี นเรยี นทั้งหมด......55......คน และมีผคู้ าดว่าจบหลกั สตู ร
ทั้งหมด..........2.......คน ดงั น้ี
-ระดบั ประถมศึกษา จำนวน..........-........คน จบหลกั สตู รจำนวน......-.....คน
-ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จำนวน..........12......คน จบหลกั สูตรจำนวน......2....คน
-ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน..........43......คน จบหลกั สูตรจำนวน......-......คน
จากขอ้ มูลดงั กล่าวพบวา่ มจี ำนวนผจู้ บหลกั สตู รคอ่ นข้างนอ้ ย เนอ่ื งจากนักศึกษาขาดสอบ ไปทำงาน
ตา่ งจงั หวัด
สาธารณสขุ
1. โรงพยาบาลประจำอำเภอ 1 แหง่
1.1 โรงพยาบาลวังเจ้า ต้ังอยู่บนพื้นท่ี หมู่ที่ 2 บ้านสบยม ตำบลเชียงทอง รับผิดชอบ
หมูท่ ่ี 2 และ หมู่ท่ี 14
2. โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบล 3 แห่ง
2.1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังเจ้า ต้ังอยู่บนพ้ืนที่ หมู่ท่ี 1 รับผิดชอบ หมู่ที่ 1
หมทู่ ี่ 4 หมู่ท่ี 5 หมู่ที่ 8 หมู่ท่ี 9 หมทู่ ี่ 12 และ หมทู่ ี่ 13
2.2 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลผาผึ้งต้งั อยบู่ นพ้ืนที่ หมทู่ ่ี 6รบั ผิดชอบหม่ทู ่ี 6และหม่ทู ่ี 11
2.1 โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลดงซ่อมต้ังอยบู่ นพ้นื ที่ หม่ทู ่ี 3รับผดิ ชอบหมู่ที่ 3 หม่ทู ี่ 7และหม่ทู ่ี 10
อาชญากรรม
ตำบลเชียงทอง ประชาชนสว่ นใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรมมวี ิถีชีวติ เหมือนชนบททั่วๆไป จงึ เป็นพืน้ ท่ี
ทไี่ ม่ค่อยมีความเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม
ยาเสพตดิ
ปัญหายาเสพตดิ ในตำบลเชียงทอง การแก้ไขปัญหาขององคก์ ารบริหารสว่ นตำบลเชยี งทอง
สามารถทำได้เฉพาะตามอำนาจหน้าท่ีเท่านั้น เช่น การรณรงค์ การประชาสมั พันธ์ การแจ้งเบาะแส การอบรมให้
ความรู้ ถา้ นอกเหนอื จากอำนาจหนา้ ที่ เป็นเร่ืองของเจา้ หนา้ ท่ีปกครองหรอื เจา้ ท่ีตำรวจแลว้ แตก่ รณี
ปญั หาและความต้องการทาการศึกษาของประชาชนที่จำแนกตามลกั ษณะของกลุม่ เป้าหมาย
ดา้ นการรู้หนังสอื ด้านการศึกษาระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ด้านอาชีพ ดา้ นการพฒั นาทักษะชวี ติ ดา้ นการ
พัฒนาสงั คมและชมุ ชน ด้านปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดา้ นการศึกษาตามอธั ยาศยั
กลมุ่ เป้าหมาย ปญั หาและความตอ้ งการ แนวทางการแกไ้ ข
กลุ่มคนไม่รู้หนังสือ/กลุ่มภาวะการ -กลุ่มบคุ ลไม่มีสัญชาติ - สนบั สนุน ส่งเสริมการรหู้ นงั สอื
ลืมหนังสอื -กล่มุ คนไทยในพื้นที่สงู - ครูบริการจัดการเรียนการสอนถึง
-ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มผู้สูงอายุจะ บา้ นหรอื สถานที่ใกลบ้ ้าน มแี สงสว่าง
ประสบในเร่ืองความจำ สายตา ฯลฯ เพียงพอ ต่อการจดั กจิ กรรมการสอน
-กลุ่มอายุประมาณ 40-60 ปีไม่มี
เวลามาเรียนเพราะต้องการทำงาน
หาเล้ยี งครอบครัว
กลมุ่ วยั เดก็ กลุ่มอายุ 1- 14 ปสี ่วนใหญ่ยังอยู่ใน - จัดทำกิจกรรมการศึกษ าเพื่ อ
ความดูแลของผู้ปกครอง เรียน พฒั นาทักษะชวี ติ และการศกึ ษาเพื่อ
การศึกษาภาคบังคับ ปัญหาท่ีพบคือ พฒั นาสังคมชมุ ชน
เด็กบางครอบครัวไม่ได้ดูเอาใจใส่
อย่างใกล้ชิดก็ทำให้เด็กเหล่านี้หลง
ผิดไปได้ง่าย ติดเพ่ือน ทำให้เด็ก
เหลา่ น้เี รียนไม่จบ
กลุ่มเดก็ และเยาวชน (วัยเรยี น) -เย าว ช น ก ลุ่ ม อ ายุ 1 5 -2 5 ปี -ส่งเสริมสนับสนุน แนะแนว จัด
ป ระ ส บ ปั ญ ห าการเรีย น ไม่ จ บ การศึกษานอกระบบข้ันพ้ืนฐาน ตาม
การศึกษาในระบบโรงเรียนด้วย ความพรอ้ มและคุณสมบตั ิของผ้เู รยี น
สาเหตุต่างๆ เช่น ปัญหาครองครัว ในแต่ละระดบั
ปัญหาท้องวันเรียน ปัญหาติดเพื่อน -จัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนใน
ติดยาเสพติด ติดเกมออนไลน์ เร่ืองต่างๆตามคุณ ลักษณ ะที่พึง
-กลุ่มเป้าหมายเหล่าน้ีเมื่อเข้ามา ประสงค์ของหลักสูตรและของ
เรียนการศึกษานอกระบบฯไม่มี สถานศกึ ษาพอเพยี ง
ความรบั ผิดชอบในหนา้ ทข่ี องตนเอง -จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
(กพช) ซ่ึงเป็นกิจกรรมที่เสริมให้กับ
ผู้เรียนตามหลักสูตร ส่งเสริมให้
ผู้เรียนมีทักษะและประสบการณ์ใน
การดำเนินชีวติ มีจิตอาสา ชว่ ยเหลือ
สังคม
กลุ่มประชาชนวัยแรงงาน ระหว่าง กลุ่มวัยแรงงานส่วนใหญ่จะประสบ -ส่งเสริมสนับสนุน แนะแนว จัด
อายุ 25-59 ปี ปัญหาในเร่ืองการไม่มีเวลาพัฒนา การศึกษานอกระบบขน้ั พื้นฐาน ตาม
ตนเองในด้านการศึกษาเพราะต้อง ความพรอ้ มและคณุ สมบตั ิของผเู้ รยี น
ทำงานหาเล้ยี งครอบครัว ในแตล่ ะระดับ
-ส่งเสริมสนั บ สนุ น จัด กิจกรรม
การศึกษาต่อเน่ืองได้แก่ การศึกษา
เพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพ่ือ
พัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพ่ือ
พฒั นาสังคมและชุมชนและการสร้าง
สังคม แห่ งการเรียน รู้ต าม ห ลั ก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือ
ไปสง่ เสรมิ อาชพี ให้กล่มุ เป้าหมาย
-บริการการศึกษาตามอัธยาศัยจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริม
การเรียน รู้ด้วยตัวเอง คือ การ
มอบหมาย กรต. คือกิจกรรมการ
เรียนรู้ต่อเนื่อง ให้ผู้เรียนไปศึกษา
ด้วยตนเอง อ่ืนๆ
กลุม่ ผู้สูงอายุ อายุ 60 ปี ขน้ึ ไป -ผู้สูงอายุขาดความรู้ความเข้าใจการ -จัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนา
กลุ่มผพู้ ิการ
ดูแลสุขภาพตนเอง ทกั ษะชวี ติ ดา้ นสุขภาพ
-ผู้สูงอายุขาดการดูแลเอาใจใส่จาก -จัดกจิ กรรมการศกึ ษาพัฒนาอาชีพท่ี
ครอบครัว เห ม าะส ม กั บ ผู้ สู งอ ายุ เพ่ื อ ให้
-การสง่ เสริมกจิ กรรมสำหรบั ผู้สูงอายุ ผู้สงู อายุมีรายได้
ขาดความตอ่ เนื่อง
-ปัญ ห าด้าน ร่างกายที่ พิ การไม่ -ส่งเสริมสนับสนุน แนะแนว จัด
สามารถช่วยเหลือตนเองได้เหมือน การศึกษานอกระบบข้ันพื้นฐาน ตาม
คนปกติ ความต้องพร้อมและคุณสมบัติของ
-ปัญหาด้านสติปัญญา ไม่สามารถ ผู้เรียน
เรียนรู้ไดเ้ หมอื นคนปกติ -จัดกิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง และ
-การยอมรับทางสังคมในเรื่องของ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยท่ี
การศึกษายงั มไี มม่ ากเท่าทคี่ วร สอดคล้องกับความต้องการและ
-คนพิการขาดความมั่นใจในการ ประเภทของผูพ้ กิ าร
เรยี น ในการใชช้ ีวิตในสังคม
ตารางวิเคราะห์ขอ้ มูลสภาพปัญหาสาเหตแุ ละแนวทางแก้ไข
สภาพปญั หา/ความตอ้ งการ สาเหตขุ องปญั หา แนวทางแกไ้ ข
1.ด้านเศรษฐกจิ -สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ชุมชน
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตามแนว
1.ปัญหาหนี้สินในระบบและนอก -ใชจ้ า่ ยไมป่ ระหยดั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ระบบ -มีคา่ วินัยทผี่ ดิ (วตั ถุนิยม)
-ไมม่ ีการเกบ็ ออมในครัวเรือน
2.การวา่ งงานของประชาชนวัย -สภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ การลดการ -ส่งเสริมการประกอบอาชีพเพ่ือการ
แรงงาน จา้ งงาน มีงานทำ เพมิ่ รายได้
-ขาดการศึกษาเรยี นรหู้ รือการ
สง่ เสรมิ การเรยี นรใู้ หเ้ กิดอาชพี เพอื่
การมีงานทำ
3.ผลผลติ การเกษตรตกตำ่ ตน้ ทุนสงู -มีโรคและแมลงกวนในพชื ไรแ่ ละนา -ส่งเสริมการเรียนการทำการเกษตร
ถกู พ่อคา้ คนกลางกดราคา ขาว พอเพียงตามแนวปรัชญาเศรษกิจ
-มคี ่าใช้จ่ายจากการใช้ป๋ยุ และยาฆา่ พอเพียง
แมลงในไรน่ า -ส่งเสริมการทำบัญชีครัวเรือนและ
-ขาดความรใู้ นการบรหิ ารจดั การ การรวมกลุ่มเกษตร
และการรวมกลมุ่
4.กลุ่มอาชพี /OTOP/กองทนุ -คณะกรรมการขาดความรคู้ วาม -การอบรมให้ความรู้การบริหาร
เศรษฐกจิ ชุมชน/วสิ าหกจิ ชมุ ชนมี เข้าใจการจดั การบรหิ ารจดั การกลมุ่ จดั การแก่คณะกรรมการกลุ่มอาชีพ/
ปัญหาในการบริหารจัดการ -สมาชกิ ในกลมุ่ ขาดความรูแ้ ละ วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มกองทุนชุมชน
ทักษะจึงไมส่ ามารถจะพฒั นากลุ่มให้ การศกึ ษาดงู านกลุ่มอาชีพ
เจรญิ กา้ วหนา้ ได้ -ส่ ง เส ริ ม ส นั บ ส นุ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ
-พืน้ ท่ีทำการเกษตรนอ้ ย อาชพี เสริมเพมิ่ รายได้
-รายได้จากอาชพี เกษตรไมเ่ พยี งพอ -จัดกิจกรรมให้ความรู้และอนุรักษ์
5.การลักลอบตัดไม้ทำลายปา่ ของ -ประชาชนยังขาดจติ สำนึกในการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประชาชน ดูแลรักษาป่าไม้ ในชุมชน
๒.ดา้ นสังคม -ครอบครัวแตกแยก/ขาดความ -สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ชุมชน
1.เยาวชน มีบุตรในวัยเรียนและ อบอนุ่ ครอบครวั กลุ่มเป้าหมาย
เรียนไม่จบ ติดยาเสพติด เหล้า -การเลย้ี งแบบวัตถุนยิ ม -สนับสนุนเด็กและเยาวชนท่ีไม่จบ
การพนนั และเกมมอื ถือ การศึ กษ าภ าคบั งคั บ ห รือ อ อ ก
กลางคันเข้าเรียนต่อการศึดษาข้ัน
พ้ืนฐานนอกระบบ
๓.ดา้ นการศึกษา -สภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัว -จัดการส่งเสริมการรู้หนังสือและ
ทำให้ไม่มีโอกาสเรียนและบางราย สง่ เสริมกจิ กรรมตามพื้นที่
เคยเรียนมานานและไม่มีโอกาสได้
อ่านบ่อยทำให้ลืมหนงั สอื
สว่ นท่ี ๓
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม กศน.ตำบล (SWOT Analysis)
1. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน
1.1 จดุ แข็งของ กศน.ตำบล (Strengths - S)
ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตำบล คณะกรรมการ กศน.ตำบล) ด้านงบประมาณ ด้านอาคารสถานท่ี
สือ่ วสั ดอุ ุปกรณ์ และด้านโครงสร้างองคก์ ร/การบริหารจดั การ คา่ นยิ มองคก์ ร
1. มีสถานที่พบกลุ่มและให้บริการจัดการศกึ ษาเหมาะสม มีท่ีต้ังอาคารเรียนเป็นเอกเทศ อยู่ใน
พื้นทศี่ นู ย์กลางของตำบล
2. มีองค์กรนักศึกษา คณะกรรมการ กศน.ตำบล และภาคีเครือข่ายท่ีเข้มแข็งให้การส่งเสริม
สนับสนุนในการประสานงานการจัดกิจกรรมการศกึ ษาแก่ประชาชนในพ้ืนท่ีอยา่ งต่อเน่อื ง
3. ประชาชนในพื้นท่ีและนกั ศึกษาให้ความร่วมมือในการจดั กิจกรรมต่างๆ เปน็ อยา่ งดี
4. เป็นหน่วยงานการศึกษาที่ไดร้ ับความเชอ่ื ถือจากองคก์ รตา่ งๆ ในชมุ ชน
5. มีแหล่งเรียนรทู้ างภมู ปิ ญั ญาท่ีหลากหลายกระจายอยู่ในพน้ื ท่ี
6. มีกลุ่มอาชีพที่เข้มแข็งหลากกลุ่มที่สามารถพัฒนาไปสู่มาตรฐานผลิตภัณฑ์สินค้า หน่ึงตำบล
หนึง่ ผลติ ภณั ฑ์ (OTOP) และเป็นแหลง่ เรยี นรูด้ า้ นการประกอบอาชพี และภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ของตำบล
7. มีครู กศน.ตำบลอยปู่ ระจำและปฏบิ ตั งิ านอย่างตอ่ เนอ่ื ง
1.2 จดุ อ่อนของ กศน.ตำบล (Wesknesses - W)
ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตำบล คณะกรรมการ กศน.ตำบล) ด้านงบประมาณ ด้านอาคารสถานที่
สอ่ื วัสดุอปุ กรณ์ และดา้ นโครงสร้างองคก์ ร/การบรหิ ารจดั การ คา่ นยิ มองค์กร
1. ครูมีภาระงานมากเกินไป ขาดโอกาสในการพัฒนาตนเอง ส่งผลต่อคุณภาพการจัดการเรียน
การสอนการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
2. นักศึกษามีความรู้พ้ืนฐานไม่เท่ากันทำให้การจัดการเรียนการสอนยากลำบากโดยเฉพาะใน
รายวชิ าบังคบั ไดแ้ ก่ วชิ าภาษาอังกฤษ วิชาคณิตศาสตร์ วชิ าวทิ ยาศาสตร์
3. นกั ศึกษาขาดการพบกลุ่มเน่ืองจากติดภารกิจในการทำงาน งานกิจกรรมในชมุ ชน และไม่ให้
ความสำคัญในการศึกษาต่อเนอ่ื งใหจ้ บภาคบังคับ
4. นักศึกษามคี วามท้อแท้ต่อการเรยี นในเน้ือหารายวชิ าที่หลากหลายของหลกั สตู ร กศน. 51 ทำ
ใหไ้ ม่อยากมาเรยี น
5. การบริการจัดการศึกษาแกป่ ระชาชนในพน้ื ท่ียังไม่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายในทุกพ้ืนที่ เช่น
กล่มุ ผู้สูงอายุ กลุ่มเด็กเยาวชนท่ีเปน็ กลุ่มเส่ียง กล่มุ อาชพี ท่ขี าดความร้ดู า้ นการบรหิ ารจดั การ และขาดการพัฒนา
ทกั ษะฝีมือต่อเน่ือง เปน็ ตน้
2. การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก
2.1 โอกาส (Opportunities - O)
ด้านนโยบาย กฎหมายที่เก่ียวข้อง ด้านความปลอดภัยในพ้ืนท่ี ด้านสังคม-วัฒนธรรม ด้าน
เศรษฐกจิ ดา้ นเทคโนโลยี/การคมนาคม ติดต่อส่ือสาร และดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม
1. มีภาคีเครือขา่ ยและหน่วยงานภาครัฐทีใ่ ห้ความร่วมมือสนบั สนุนการบริการประชาชนในพื้นท่ี
จดั กจิ กรรมการศึกษา
2. ได้รับงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการตามนโยบายประจำปี ท้ังจาก
หน่วยงานตน้ สงั กัดในการจัดการศึกษาแก่ประชาชนกลุม่ เปา้ หมาย
3. มีโครงสร้างพ้ืนฐานในพ้ืนท่ีหมู่บ้านตำบลและการคมนาคมสะดวกสบายต่อการเข้าถึงและ
ใหบ้ ริการการศกึ ษาแกก่ ล่มุ เป้าหมาย
2.2 อปุ สรรค/ความเส่ียง (Threats - T)
ด้านนโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้านความปลอดภัยในพื้นที่ ด้านสังคม-วัฒนธรรม ด้าน
เศรษฐกจิ ดา้ นเทคโนโลย/ี การคมนาคม ติดต่อสื่อสาร และด้านสง่ิ แวดล้อม
1. นโยบายการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ให้ใช้หลักสูตร
แกนกลางในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน คือ หลักสูตร กศน.51 ซ่ึงมีเน้ือหาค่อนข้าง
หลากหลาย ยากตอ่ การเรียนรู้สำหรับกลมุ่ เป้าหมายท่มี ีวัยและพื้นฐานความรู้ทแี่ ตกตา่ งกนั
2. เทคโนโลยีการสอื่ สารท่ีทันสมัยมากเกนิ ไปสง่ ผลให้ประชาชนกล่มุ เป้าหมายบางกลุม่ ขาดความ
ตระหนักรู้และให้ความสำคัญในการบริโภคข้อมูลความบันเทิงมากกว่าการศึกษาหาความรู้ด้านวิชาการเพื่อ
การศกึ ษา การอาชีพ หรือการพฒั นาคุณภาพชีวติ
3. สถานการณ์ปัญหายาเสพติดยังคงแพร่กระจายอยู่ทุกพื้นที่ ส่งผลกระทบต่อกลุ่มเป้าหมาย
ผเู้ รยี นหรือผ้รู บั บริการการศึกษาบางกลุม่
4. สภาวะทางเศรษฐกิจ และการเมืองที่ไม่มีความแน่นอนทำให้ขาดความมั่นใจในการตัดสินใจ
เพ่อื การเรียนรู้ในการประกอบอาชพี หรือทำธรุ กิจเพ่อื สร้างความมนั่ คงในอาชีพ
5. งบประมาณที่ได้รับจัดสรรให้ในการจัดการศึกษาต่อเน่ืองไม่สามารถบริการจัดการศึกษาได้
สอดคลอ้ งกบั จำนวนกลุม่ เปา้ หมายในพนื้ ที่อย่างทวั่ ถงึ
การวิเคราะหส์ ถานการณ์ และสภาพแวดล้อมการดำเนนิ งาน กศน.ตำบลเชยี งทอง
ประเดน็ จดุ แข็ง(S) โอกาส(O) จดุ ออ่ น(W) อปุ สรรค(T)
๑. ด้าน -มีคุณวุฒิมคี วามรู้ -ได้รบั ความรู้และสามารถ -มคี วามร้คู วามสามารถ -ทำให้งานไม่มคี ณุ ภาพ
บุคลากร ความสามารถ
ปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ ไม่ตรงกับงานที่ -งานล่าช้า
-มีความคิด
หลากหลาย และถูกตอ้ ง รบั ผดิ ชอบ
-มีความคิด -บรกิ ารดา้ นการศึกษาให้ -ขาดความสามคั คี -งานไม่บรรลตุ าม
สร้างสรรค์ กลุ่มเป้าหมายได้ วตั ถปุ ระสงค์
-ทนั ต่อเหตกุ ารณ์มวี สิ ยั ทัศน์ -ความรบั ผดิ ชอบมีน้อย -ขาดความเอาใจใส่งาน
กวา้ งไกล
-หนา้ ทีร่ ับผิดชอบมี เพราะได้รบั มอบหมาย
หลากหลาย งานนอกหนา้ ที่
-ทำให้เกิดกระบวนการพฒั นา -ขาดการวางแผนการ -งานไม่เป็นระบบและไม่
ตนเองและพฒั นาการทำงาน ทำงานรว่ มกัน ต่อเนอื่ งและปฎิบตั ิงาน
อยา่ งเปน็ ระบบ ซำ้ ซอ้ นกบั งานฝ่ายอื่น
๒. ดา้ น -สอดคล้องกับวถิ ี -มกี ารนำไปใช้ใน -ขาดการเรียนรทู้ มี่ ี
หลักสตู ร/ คณุ ภาพ-ขาดความ
กจิ กรรม ชีวติ ชุมชน ชีวิตประจำวัน กระตอื รือรน้ ใการศกึ ษา
-มีการพัฒนา -ตรงกับความต้องการของ -ขาดการพฒั นาคุณภาพ
ชวี ิต
หลกั สูตรใหท้ นั สมัย ผู้เรียน/ชมุ ชน
-กจิ กรรมการศกึ ษายัง
อยา่ งตอ่ เนอื่ งและ -การศกึ ษาเปน็ ไปในแนวทาง ไม่ประสบผลสำเร็จ
หลากหลาย เดียวกัน เท่าท่คี วร
-มวี ิสัยทศั นก์ ว้างไกลทางการ
ศกึ ษา
ประเดน็ จดุ แขง็ (S) โอกาส(O) จดุ อ่อน(W) อปุ สรรค(T)
๓. -กล่มุ เปา้ หมายเหน็ -กลุม่ เปา้ หมายมคี ุณภาพ -กลุ่มเปา้ หมายมี -การทำงานส่วนรวมไม่
กล่มุ เป้าห ความสำคัญของการศกึ ษา ประสบผลสำเรจ็
มาย/ ชีวติ ทดี่ ขี ้นึ ฐานะยากจนไม่
ชมุ ชน -ชุมชนใหค้ วามรว่ มมือใน -งานขาดคณุ ภาพ
การจดั กิจกรรม กศน. -กจิ กรรม กศน.บรรลุ สามารถจดั ซอื้ ส่ือ
ตามเป้าหมาย การเรยี นไดด้ ว้ ย -ไม่รู้ขอ้ มูลขา่ วสาร
ตนเอง
-เกิดความทอ้ แทใ้ นการ
-มกี ารประชาสมั พนั ธ์ -ได้รบั รู้ขอ้ มลู ขา่ วสาร -ขาดความร่วมมือ ประสานงานกับ
เครือข่ายเพราะ
-ชมุ ชนมีสว่ นร่วม -รู้สกึ ว่าตนเองมสี ว่ นรว่ ม อย่างตอ่ เนอ่ื งจาก เครือขา่ ยไม่เขา้ ใจใน
เครือข่าย บทบาทหนา้ ทขี่ อง กศน.
ในการจัดกิจกรรม
๔. ดา้ น -สถานที่จดั การเรียนการ -การจัดกจิ กรรมเปน็ ไป -ไม่เหน็ ความสำคัญ -กลุม่ เปา้ หมายไมเ่ กดิ
การจดั สอนเปน็ เอกเทศ
การศึกษา ตามความต้องการของ ของการศึกษา การพฒั นาการเรยี นรู้
-จดั การศกึ ษาตามหลักสูตร
สถานศึกษา -มีสอื่ อปุ กรณ์ไม่ -ขาดมาตรฐานทาง
-มกี ารพัฒนาปรบั ปรุง
กระบวนการเรยี นการสอน -การบริการอยา่ งทว่ั ถงึ เพียงพอบรกิ ารไม่ การศึกษา
-ระบบคณุ ภาพทาง และครอบคลมุ ทกุ พน้ื ที่ ท่ัวถงึ ในชุมชนท่ี -ผู้เรียนไม่ได้รบั ความรู้
การศึกษาไดม้ าตรฐาน -กลมุ่ เปา้ หมายมีคุณภาพ หา่ งไกล และทกั ษะทถ่ี กู ต้อง
ชีวิตทด่ี ีและพ่งึ ตนเองได้ -ผู้สอนไมม่ ีความ
ชำนาญในบาง
สาขาวชิ า
๕. สภาพ -มคี วามแตกตา่ งทาง -มีทนุ ทางสงั คม -กจิ กรรมการศึกษา -ความเป็นรปู ธรรมทาง
พน้ื ท่แี ละ วัฒนธรรมของแต่ละทอ้ งถิ่น
วฒั นธรรม -มภี มู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ นอกโรงเรยี น การศึกษามองเหน็ ผลช้า
-ความหลากหลายของชน
เผา่ ในพนื้ ทสี่ งู -มีเครอื ขา่ ยที่ สามารถดำเนนิ การ -พ้ืนที่ดแู ลมีขนาดใหญ่
หลากหลาย ได้อยา่ งหลากหลาย
-เปน็ พื้นท่เี ร่งรัดตาม
นโยบายของรฐั บาง ปรบั เปลยี่ นกลยทุ ธ์ -ความหา่ งไกลทรุ กนั ดาร
ใหเ้ กิดการ
ในพื้นท่ี
เปลยี่ นแปลงตาม
ความตอ้ งการของ
ชุมชน
สว่ นท่ี ๔
แนวทาง/กลยทุ ธ์การดำเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน.ตำบล
แนวทางการพัฒนา กศน.ตำบล
กศน.ตำบลเชยี งทอง โดย
วิสยั ทศั น์
จัดและสง่ เสรมิ การศึกษาตลอดชวี ติ เพอื่ สรา้ งสงั คมบนฐานความรู้สูค่ วามพอเพยี ง
มุ่งพัฒนาอาชพี เพอื่ การมีงานทำ กา้ วสอู่ าเซยี นอยา่ งยงั ยืน
ปรชั ญา
เปดิ โลกกว้างทางการศกึ ษา นำทางสร้างชวี ติ สู่เศรษฐกิจพอเพยี ง
เอกลกั ษณ์
สง่ เสริมการปลูกข้าวไรซเ์ บอรี่
จุดเนน้ จุดเด่นการทำงานของ กศน.ตำบล
พนั ธกจิ
1. จัดทำและพฒั นาระบบขอ้ มูลพื้นฐานของชมุ ชนและภาคีเครอื ข่าย
2. จัดและสง่ เสรมิ การศึกษาตลอดชวี ิตใหค้ รอบคลุมทกุ กล่มุ เป้าหมาย โดยนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใชไ้ ด้
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
3. ประสานเครอื ขา่ ยในการจดั กจิ กรรมการศกึ ษานอกโรงเรียน
4. พฒั นาและประเมนิ ผลเพ่ือเพม่ิ ทกั ษะให้กับกลุ่มเปา้ หมายตามนโยบายสถานศึกษา 5D
5. พัฒนาบคุ ลากรและภาคีเครอื ข่าย ใหม้ ีขีดความสามารถในการบรหิ ารจดั การ
เปา้ ประสงค์
๑. กลุมเปาหมาย ผรู ับบรกิ ารทุกกลุม ทุกชวงวยั มีความรคู วามสามารถรอบดานเพียงพอตอการดํารงชีวติ
อยางมคี วามสขุ ในสังคมแหงการเรยี นรู บนพ้นื ฐานของแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๒. กลุมเปาหมายมอี าชพี และสามารถสรางอาชพี เพอื่ สรางรายไดใหกบั ตนเองและครอบครวั ไดอยางยั่งยืน
๓. ภมู ปิ ญญาทองถน่ิ สามารถถายทอดองคความรทู ่เี ปนประโยชนในการจัดการศกึ ษานอกระบบการศึกษา
ตามอธั ยาศยั และการศกึ ษาตลอดชวี ติ อยางตอเนอื่ ง
๔. กลุมเปาหมายมคี วามรู ทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การสอ่ื สาร และแสวงหาขอมูลที่
เปนประโยชน ในการจัดการศกึ ษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศยั และการศึกษาตลอดชวี ติ
๕. ภาคีเครือขายมีสวนรว มในการสงเสริมการจดั การศึกษานอกระบบ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย และ
การศกึ ษาตลอดชวี ติ
๖. กศน.ตาํ บล เปนฐานการเรยีนรใู นการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ิตของชมุ ชน
เป้าประสงค์และตวั ช้วี ดั ตามความสำเรจ็ ตัวชีว้ ดั
เป้าประสงค์ 1. รอยละ ๘๐ ของกลุมเปาหมายผูรบั บรกิ ารการจดั
๑. กลุมเปาหมาย ผรู ับบรกิ ารทุกกลุม ทุก การศกึ ษาแตละประเภท
ชวงวัย มีความรูความสามารถรอบดานเพียงพอ 2. รอยละ 80 ของผูจบหลกั สูตรการศึกษาข้นั พืน้ ฐานแต
ตอการดาํ รงชีวติ อยางมคี วามสขุ ในสังคมแหงการ ละระดบั มผี ลสมั ฤทธ์กิ ารเรยี นเฉลีย่ ≥ 2.00
เรยี นรู บนพน้ื ฐานของแนวคิดเศรษฐกิจ 3. รอยละ ๘๐ ของกลุมเปาหมายรวมกจิ กรรมพัฒนา
พอเพยี ง ผูเรียน
๔. รอยละ ๘๐ ของกลุมเปาหมายมคี ณุ ลกั ษณะอันพึง
๒. กลุมเปาหมายมีอาชพี และสามารถสราง ประสงค์ตามจุดมงุ หมายของหลกั สูตร
อาชีพเพ่ือสรางรายไดใหกบั ตนเองและครอบครัว ๕. รอยละ ๘๐ ของกลุมเปาหมายผูรับบรกิ ารการศึกษาทุก
ไดอยางยั่งยืน ประเภทสามารถนาํ ความรูไปใชพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตได
๖. รอยละ ๘๐ ของกลุมเปาหมายมคี วามพึงพอใจตอการ
เขารวมกจิ กรรมการเรียนรูทุกประเภท
๗. จาํ นวนครัง้ ของการจัดบริการรถมินโิ มบาย / หองสมุด
เคลอื่ นท่ี
๘. จาํ นวนกจิ กรรมสงเสริมการเรยี นรูตามอธั ยาศยั ตอเดือน
1. รอยละ ๘๐ ของกลุมเปาหมายเขารวมกจิ กรรมพฒั นา
อาชีพ
2. รอยละ ๘๐ ของกลุมเปาหมาย ผรู ับบรกิ ารการศึกษา
เพอื่ พัฒนาอาชพี สามารถนําความรูไปใชพัฒนาอาชีพ สรา้ ง
รายไดหรือการมีงานทาํ ใหตนเองและครอบครวั ได
๓.รอยละ ๘๐ ของผู้รับบรกิ าร มีความพงึ พอใจตอการเขา
รวมกจิ กรรมพฒั นาอาชพี
๓. ภูมิปญญาทองถิ่นสามารถถายทอดองค ความรูที่ 1. จาํ นวนภมู ปิ ญญาทองถน่ิ ใหความรวมมอื สนบั สนนุ การ
เปนประโยชนในการจัดการศกึ ษานอก จัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
ระบบ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการศกึ ษา 2. รอยละ ๘๐ ของผูรบั บริการมีความพงึ พอใจในการจัด
ตลอดชวี ิตอยางตอเนอื่ ง การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั โดยภูมิ
ปญญาทองถ่นิ
๔. กลมุ เปาหมายมคี วามรู ทักษะในการใช 1. รอยละ ๘๐ ของกลมุ เปาหมายผรู บั บรกิ ารไดเขารวม
เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การสอื่ สาร และ กจิ กรรมการเรียนรดู้ ้านเทคโนโลยี
แสวงหาขอมูลทเี่ ปนประโยชน ในการจดั ๒. รอยละ ๘๐ ของกลมุ เปาหมายผรู ับบรกิ ารสามารถใช
การศกึ ษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย ประโยชนจากเทคโนโลยีในการแสวงหาความรดู วนตนเอง
และการศกึ ษาตลอดชวี ิต ได
๓. รอยละ ๘๐ ของกลมุ เปาหมาย ผูรบั บรกิ ารพงึ พอใจตอ
การใหบรกิ ารเรยี นร้กู ารเทคโนโลยีจดั กิจกรรมการเรียนรู
กศน.ตาํ บล
๕. ภาคีเครอื ขายมีสวนรวมในการสงเสริม 1. จํานวนภาคีเครอื ขายทม่ี ีสวนรวม สงเสรมิ สนบั สนนุ
การจดั การศกึ ษานอกระบบ การศกึ ษาตาม การจัดกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัย และการศึกษาตลอดชวี ติ อธั ยาศยั
2. รอยละ ๘๐ ของกลมุ เปาหมาย ภาคีเครอื ขายมสี วนรวม
ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
๖. กศน.ตําบล เปนฐานการเรียนรูในการ จัดการศึกษา ๑. รอยละ ๘๐ ของผใู ชบริการพึงพอใจตอการบรกิ ารขอมลู
ตลอดชวี ิตของชมุ ชน และการจดั การศึกษาของ กศน.ตาํ บล
๒. กศน.ตำบล ผานเกณฑการประเมนิ ตามมาตรฐาน
กศน. ตําบล ในระดบั ดขี ้นึ ไป
แนวทางการดำเนนิ งาน
กลยทุ ธท่ี ๑ จดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย โดยชุมชนเปนฐานแหงการเรยี นรู
กลยทุ ธที่ ๒ จัดกิจกรรมพัฒนาผเู รียนใหมีคุณภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ในการดําเนนิ ชวี ติ และมคี วามใฝรใู ฝเรียน
อยา่ งตอเนือ่ งตลอดชวี ิต
กลยุทธท่ี ๓ ใชสอ่ื เทคโนโลยีการศึกษาที่หลากหลาย เพ่ือเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการเรียนการสอนและสงเสริม
สนับสนนุ ใหผูเรยี นไดแสวงหาความรูท้ ีห่ ลากหลาย
กลยุทธที่ ๔ จดั ศูนยฝกอาชพี ชุมขนในตาํ บลใหเปนฐานในการเรยี นรสู าธิตฝกทกั ษะ และสรางอาชพี แกประชาชน
กลุมเปาหมาย โดยจัดกระบวนการเรยี นรโู ดยใชชมุ ชนเปนฐานเพื่ออาชพี ท่สี อดคลองกับความตองการ
ของชุมชนอยางแทจริง
กลยุทธท่ี ๕ ประสานความร่วมมอื กบั แหลงเรียนรู ภมู ิปญญาและภาคีเครอื ขายทุกภาคสวนใหมสี วนรวมในการ
จัดการศกษึ าและพัฒนา กศน.ตาํ บลใหเปนฐานการเรียนรใู นการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั
กลยทุ ธท่ี ๖ พัฒนาระบบการตดิ ตามประเมินผลการดําเนนิ งาน กศน.ตําบล อยางตอเนอ่ื งใหเปนไปตามมาตรฐาน
การดำ เนิน กศน.ตาํ บล
แนวทางการดาํ เนนิ งานกลยุทธท่ี
กลยทุ ธท่ี ๑ จัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาอัธยาศยั โดยชมุ ชนเปนฐานแหงการเรยี นรู
๑. โครงการสงเสรมิ การรหู นงั สอื
๒. โครงการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
๓. โครงการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพ
- การทำเคร่ืองแกง
- การกระถางจากยางรถยนต์
- การทําแหนมหมู
- การตุก๊ ตาปนู ปั้น
- การทอผา้
- การกะหรี่ปบั๊
- การทำสิง่ ประดษิ ฐจ์ ากเศษผ้า
- การทำหน้ากากอนามยั แบบผ้าเพอ่ื ป้องกันควบคมุ โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019
- การจัดทำเจลลา้ งมอื ปอ้ งกนั ควบคุมโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
- การเพาะเห็ด
๔. โครงการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวิต
- โครงการส่งเสริมสขุ ภาพดว้ ยกายบริหารทเ่ี หมาะสม
- โครงการอบรมเสริมสร้างคณุ ภาพชีวิตผสู้ งู อายุ
- โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการให้ความรใู้ นการปอ้ งกนั โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา่ 2019(covid 19)
๕. โครงการจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสงั คมชุมชน
- โครงการสง่ เสรมิ ชมุ ชนเรียนรู้หลักการของประชาธปิ ไตย
- โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการใหค้ วามรใู้ นการป้องกนั โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019
- โครงการจติ อาสาควบคุม ป้องกันโรคไขเ้ ลือดออก
๖. โครงการการศกึ ษาตามหลักปรชญั าของเศรษฐกิจพอเพยี ง
- โครงการเสริมทกั ษะการบำรงุ ดินเพอ่ื การเพราะปลกู
- โครงการขยายพันธุพ์ ชื
- โครงการส่งเสรมิ การเรียนรตู้ ามหลกั การปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๗. โครงการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
(๑) กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั
- มมุ รกั การอาน กศน.ตาํ บล
- ส่งเสรมิ การอา่ นแบบ ออนไลน์
(๒) กิจกรรมบานหนังสอื ชุมชน
- กิจกรรมหนงั สือมือสอง
- Qr code เพอื่ การเรยี นรู้
(๓) การสงเสรมิ การเรยี นรใู นชมุ ชน
- นง่ั ท่ีไหน อานที่น่ัน
- ศนู ย์ให้ความรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง
ตวั ชว้ี ดั ความสําเรจ็
๑. รอยละ ๘๐ ของกลมุ เปาหมายเขารับการบรกิ ารการจดั การศกึ ษาแตละประเภท
๒. รอยละ ๘๐ ของผจู บหลักสตู รการจดั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานแตละระดบั มีผลสมั ฤทธ์กิ ารเรียนเฉล่ยี ≥
๒.๐๐
๓. รอยละ ๘๐ ของกลมุ เปาหมายมคี ณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคต์ ามจดุ มงุ หมายของหลกั สตู ร
๔. รอยละ ๘๐ ของกลมุ เปาหมายผรู บั การบรกิ ารการศึกษาทุกประเภทสามารถนําความรูไปใชในการ
พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ได
๕. รอยละ ๘๐ ของกลมุ เปาหมายมคี วามพงึ พอใจตอการเขารวมกิจกรรมการเรียนรทู ุกประเภทระดบั ดขี ึ้น
ไป
๖. มีการจัดบริการหองสมุดเคลอื่ นที่อยางนอยเดอื นละ ๑ คร้งั
๗. มีการจดั กิจกรรมสงเสรมิ การเรยี นรตู้ ามอธั ยาศยั อยางนอยเดอื นละ ๑ ครัง้
กลยุทธ ที่ ๒ จดั กิจกรรมพัฒนาผเู รยี นใหมีคุณภาพ มีคุณธรรม จรยธิ รรม ในการดาํ เนินชวี ิตและมีความใฝรู ใฝเรียน
อยางตอเนอื่ งตลอดชวี ิต
๑. กจิ กรรมคายสอนเสริมความรพู้ ้ืนฐาน
2. กิจกรรมคายคุณธรรมจริยธรรม
3. กิจกรรมพัฒนาความรดู าน ICT
4. กิจกรรมกีฬา
ตวั ชวี้ ดั ความสาํ เรจ็
๑. รอยละ ๘๐ ของกลมุ เปาหมายเขารวมกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู รียน
๒. รอยละ ๘๐ ของกลมุ เปาหมายผเู ขารวมกิจกรรมสามารถนาํ ความรไู ปใชประโยชนในการพฒั นาตนเองได
๓. รอยละ ๘๐ ของกลมุ เปาหมายมีความพึงพอใจตอการเขารวมกจิ กรรมการเรยี นรใู นระดบั ดี ขึน้ ไป
กลยุทธที่ ๓ ใชเทคโนโลยที างการศกึ ษาทหี่ ลากหลายเพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการเรียนการสอนและสงเสริม
สนับสนนุ ใหผเู รียนแสวงหาความรจู ากการใชสือ่ เทคโนโลยที ห่ี ลากหลาย
๑. โครงการพฒั นาความรคู วามสามารถดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ตัวชว้ี ดั ความสาํ เรจ็
๑. รอยละ ๘๐ ของกลมุ เปาหมายผรู บั บริการไดเขารวมกจิ กรรมการเรยี นรดู านเทคโนโลยี
๒. รอยละ ๘๐ ของกลมุ เปาหมายผรู ับบรกิ ารสามารถใชประโยชนจากเทคโนโลยีแสวงหาขอมูลความรู้ดว้ ย
ตนเองได
3.รอยละ ๘๐ ของกลมุ เปาหมายผูรบั บรกิ ารพึงพอใจตอการใหบรกิ ารเรียนรใู นการใชเทคโนโลยีจดั กิจกรรม
ในระดบั ดขี ้ึนไป
กลยทุ ธท่ี ๔ จัดศนู ยฝกอาชพี ชุมชนในตําบลใหเปนศูนยกลางในการเรียนรสู าธติ ฝกทักษะ และสรางอาชพี แก
ประชาชนกลมุ เปาหมายโดยจดั กระบวนการเรยี นรโู ดยชมุ ชนเปนฐานเพอ่ื พฒั นาอาชพี ท่สี อดคลองกับความตองการ
ของชุมชนอยางแทจริง
โครงการศูนยฝ์ กอาชพี ชุมชน
- การทำเครอ่ื งแกง
- การกระถางจากยางรถยนต์
- การทาํ แหนมหมู
- การตกุ๊ ตาปนู ปนั้
- การทอผ้า
- การกะหรีป่ ั๊บ
- การทำสงิ่ ประดษิ ฐ์จากเศษผ้า
- การทำหนา้ กากอนามยั แบบผ้าเพอื่ ปอ้ งกันควบคมุ โรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019
- การจดั ทำเจลลา้ งมอื ปอ้ งกนั ควบคุมโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019
- การเพาะเห็ด
ตัวชวี้ ัดความสําเรจ็
๑. รอยละ ๘๐ ของกลมุ เปาหมายเขารวมกิจกรรมพฒั นาอาชพี
๒. รอยละ ๘๐ ของกลมุ เปาหมายผรู ับบรกิ ารการศึกษาเพื่อพฒั นาอาชพี สมารถนําความรูไปใชพฒั นา
อาชพี สร้างรายไดหรือการมงี านทําใหตนเองและครอบครวั ได
๓. รอยละ ๘๐ ของกลมุ ผรู ับบรกิ ารมคี วามพงึ พอใจตอการเขารวมกจิ กรรมพฒั นาอาชพี ในระดบั ดขี น้ึ ไป
กลยุทธท่ี ๕ ประสานความรวมมอื กับแหลงเรยี นรู ภูมิปญญาและภาคเี ครอื ขายทกุ ภาคสวนใหมีสวนรวมในการจัด
การศึกษาและพฒั นา กศน.ตําบลใหเปนศนู ยกลางในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
๑. โครงการประชุมเชงิ ปฎิบัตกิ ารจัดทําแผนพฒั นาคณภุ าพการศึกษาและแผนปฎิบัติการประจําปร่วมกบั
ภาคเี ครือขาย
๒. โครงการอบรมคณะกรรมการและอาสาสมคั ร กศน.ตาํ บล
ตัวชว้ี ัดความสาํ เรจ็
๑. จำนวนแหลงเรยี นรภู มู ิปญั ญาและภาคีเครอื ขายมสี วนรวม สงเสริม สนับสนุนการจดั กจิ กรรมการศกึ ษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยเพิ่ม ข้นึ
๒. รอยละ ๘๐ ของเปาหมายภาคีเครือขายมสี วนรวมในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย
๓. รอยละ ๘๐ ของผรู บั บรกิ ารมคี วามพึงพอใจในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
โดยภมู ิปญญาทองถ่นิ
กลยุทธที่ ๖ พฒั นาระบบการติดตามประเมินผลการดำนนิ งาน กศน.ตาํ บลอยางตอเนอื่ งใหเปนไปตามมาตรฐานการ
ดาํ เนินงาน กศน.ตําบล
๑. โครงการพฒั นา กศน.ตําบลใหเปนศูนยกลางแหงการเรยี นรตู ามมาตรฐาน กศน.ตําบล
ตัวชว้ี ดั ความสําเรจ็
๑. รอยละ ๘๐ ของผใู ชบริการพงึ พอใจตอการบริการขอมลู และการจัดการศึกษาของ กศน.
ตาํ บลในระดับ ดขี ้ึนไป
๒. กศน. ตาํ บลผานเกณฑการประเมินตามมาตรฐาน กศน.ตาํ บลในระดบั ดี ขน้ึ ไป
ส่วนที่ 5
สรุปผลการดำเนนิ งานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4
(ตลุ าคม ๒๕๖3 – มีนาคม ๒๕๖4)
กศน.อำเภอวังเจา้
เป้าหมาย ผลสมั ฤทธ์ิ งบประมาณ
ทรี่ ับ ท่ีใช้ไป
ท่ี งาน/โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลา กลุม่ จำนวน ปรมิ าณ คุณภาพ จัดสรร
(คน) (คน) ( % )
00
การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 2 100 00
33 68.7 00
1. การศกึ ษาข้นั พื้นทฐ่ี าน กศน.ตำบลปกติ 41 80.95
113 100 00
ระดบั ประถมศึกษา 1 ต.ค.63 นศ. 2
นศ. 48 15 100
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ - นศ. 53
12 100
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 30 เม.ย.64 นกั ศึกษา 113 7 100
7 100
โครงการกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น 7 100
7 100
1 โครงการปฐมนิเทศและปรบั ความรู้ 1 ธันวาคม 2563 7 100
23 100
พนื้ ฐาน ภาคเรียนที่ 2/๒๕๖3
25 100
การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง
30 100
โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน ชน้ั เรยี นวิชาชพี 15 100
1 โครงการทอผ้า 8-16 กุมภาพนั ธ์ ประชาชน 15 13 100 11,400 11,400
๒๕๖4
โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน กลุ่มสนใจ
1 หลักสตู ร แหนมหมู 23 ธ.ค. 2563 ประชาชน 7 2,000 2,000
ประชาชน 7 2,000 2,000
2 หลกั สตู ร การทำกะหรปี่ บ๊ั 10 ก.พ. 2564 ประชาชน 7 2,000 2,000
ประชาชน 7 2,000 2,000
3 หลกั สตู ร กระถางจากยางรถยนต์ 11 ก.พ. 2564 ประชาชน 7 2,000 2,000
ประชาชน 7 1,900 1,900
4 หลักสตู ร เคร่อื งแกง 16 ก.พ. 2564
5 หลกั สตู ร สงิ่ ประดษิ ฐจ์ ากเศษผา้ 17 ก.พ. 2564
6 หลกั สูตรต๊กุ ตาปูนพลาสเตอร์ 20 ก.พ. 2564
การศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิต
1 โครงการเสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชีวติ ผสู้ ูงอายุ 23 ก.พ. 2564 ประชาชน 23 2,645 2,645
การศกึ ษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชุมชน
1 โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการใหค้ วามรู้
ในการปอ้ งกนั โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา
2019 (COVID-19) และการจดั ทำ 12 ก.พ. 2564 ประชาชน 25 6,800 6,800
หน้ากากอนามยั เพ่อื ปอ้ งกนั ตนเอง
ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔
กจิ กรรมการพฒั นาคุณภาพชีวติ ผู้สูงอายุ
1 โครงการ กศน.อาสา ดแู ลผูส้ งู อายุ 8-12 ก.พ. 2564 ประชาชน 30 5,600 5,600
ประชาชน 15 5,600 5,600
กจิ กรรมจดั กระบวนการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพยี ง
1 โครงการเรยี นรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง 19 ก.พ. 2564
หลกั สูตรขยายพนั ธพ์ุ ชื
งานสง่ เสรมิ การรู้หนังสือ
1 กจิ กรรมสง่ เสรมิ การรหู้ นังสือ ณ บา้ นศรี 18 ธค.63 – 9 มคี . ผไู้ มร่ ู้ 13 6,050 6,050
หนงั สือ
ครี รี ักษ์ (18 ธ.ค. 62 – 9 มี.ค. 63) 64
งานการจดั การตามอธั ยาศยั ตค.63 – เม.ย..64 ประชาชน 30 130 100 0 0
1 กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ น ตค.63 – เม.ย..64 ประชาชน 30 40 100 0 0
2 กจิ กรรมอาสาสมคั รส่งเสรมิ การอา่ น
ตค.63 – เม.ย..64 ประชาชน 30 90 100 0 0
3 กิจกรรมบา้ นหนงั สือชุมชน
สรุปผลการดำเนนิ งานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4
( เมษายน ๒๕๖4 – กนั ยายน ๒๕๖4)
กศน.อำเภอวงั เจา้
ท่ี งาน/โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลา เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ งบประมาณ
ที่รบั ทใี่ ชไ้ ป
การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน จำนวน ปรมิ าณ คุณภาพ จัดสรร
(คน) ( % )
1. การศึกษาขน้ั พน้ื ทฐ่ี าน กศน.ตำบลปกติ กลุ่ม (คน) 00
00 00
ระดับประถมศกึ ษา 9 พฤษภาคม 2564 นศ. 0 9 00
นศ. 9 32 00
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น - นศ. 32 41 100
นักศึกษา 41 13,200 13,200
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3 กนั ยายน 2564 15 100
ประชาชน 15 1,900 1,900
โครงการกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน 6 100 2,000 2,000
ประชาชน 6 6 100 2,000 2,000
1 โครงการปฐมนิเทศและปรับความรู้ 9 พฤษภาคม 2564 ประชาชน 6 6 100 2,000 2,000
ประชาชน 6 6 100 2,000 2,000
พ้นื ฐาน ภาคเรียนท่ี 1/๒๕๖4 ประชาชน 6 6 100 2,000 2,000
ประชาชน 6 6 100
การศกึ ษาต่อเนื่อง ประชาชน 6 1,250 1,250
11 100
โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน ชนั้ เรียนวชิ าชพี ประชาชน 10 6,800 6,800
17 100 1,600 1,600
1 โครงการเพาะเหด็ 16-25 มิถุนายน ประชาชน 15 12 100
ประชาชน 10
๒๕๖4
โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน กลมุ่ สนใจ
1 หลกั สตู ร การทำหนา้ กากอนามยั แบบผา้ 14 ม.ิ ย. 2564
เพอ่ื ป้องกนั ควบคมุ โรคตดิ เช้อื โคโรนา
2 หลักสตู ร การทำเจลลา้ งมือป้องกนั 15 ม.ิ ย. 2564
ควบคมุ โรคติดเชื้อโคโรนา
3 หลักสูตร การทำหนา้ กากอนามยั แบบผ้า 17 ม.ิ ย. 2564
เพอื่ ป้องกันควบคมุ โรคตดิ เช้ือโคโรนา
4 หลักสตู ร การทำเจลลา้ งมือปอ้ งกนั 18 ม.ิ ย. 2564
ควบคมุ โรคตดิ เชอ้ื โคโรนา
5 หลกั สตู ร การทำหนา้ กากอนามยั แบบผา้ 22 ม.ิ ย. 2564
เพือ่ ปอ้ งกนั ควบคมุ โรคตดิ เช้อื โคโรนา
6 หลักสูตร การทำเจลลา้ งมอื ป้องกนั 23 ม.ิ ย. 2564
ควบคมุ โรคติดเชอ้ื โคโรนา
การศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวติ
1 โครงการ อบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารใหค้ วามรู้ 25 ม.ิ ย. 2564
ในการปอ้ งกันโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19)
การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสงั คมและชุมชน
1 โครงการพัฒนาสังคมและชุมชนจติ อาสา 12 ก.พ. 2564
ควบคมุ ปอ้ งกนั โรคไขเ้ ลือดออก
กิจกรรมจัดกระบวนการเรยี นรู้ เศรษฐกจิ พอเพียง
1 โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ตามหลกั 29 ม.ิ ย. 2564
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
งานสง่ เสรมิ การรู้หนงั สอื 1 เม.ย.64 – 30ก.ย.64 ประชาชน 30 40 100 0 0
1 เม.ย.64 – 30ก.ย.64 ประชาชน 30 40 100 0 0
งานการจัดการตามอธั ยาศัย 1 เม.ย.64 – 30ก.ย.64 ประชาชน 30 40 100 0 0
1 กิจกรรมส่งเสริมการอา่ น
2 กิจกรรมอาสาสมคั รส่งเสรมิ การอา่ น
3 กิจกรรมบา้ นหนังสอื ชมุ ชน
สรุปกจิ กรรม/รายกิจกรรม ไตรมาส 1
การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กศน.ตำบล
1 ความเป็นมาของกิจกรรม/หลักการและเหตผุ ล การจดั การศึกษาใหแ้ ก่ผ้รู บั บรกิ
ปลาย ในพืน้ ทอี่ ำเภอวงั เจา้
2 ผลการดำเนินงาน
กจิ กรรม จำนวน เป้าหมายทท่ี ำได้
การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน เปา้ หมาย เชิงปรมิ าณ เชงิ คณุ ภาพ
43 43 43
ระดบั จำนวนผจู้ บหลกั สตู ร 2/2562 จำนวนผูล้ ง
ชาย หญงิ รวม ชาย หญ
ประถม - - - -
ม.ต้น 37 26 63 30 1
ม.ปลาย 47 40 87 35 2
- สภาพปัญหาและอุปสรรคทีพ่ บ
1. นักศึกษาไม่เหน็ ความสำคญั ในกระบวนการวดั ผลประเมินผลและการเขา้ รว่ มกจิ กรรม
2. ครผู ู้สอนต้องปฏบิ ตั ิภาระงานและภารกิจเรง่ ด่วนจากรฐั บาลทำให้มีผลกระทบตอ่ การพบ
3. สถานการณ์การแพรร่ ะบาด โควิด-19
- แนวทางการปรบั ปรงุ และพฒั นาตอ่ ไป
1. ครูผ้สู อนควรมีการช้แี จงแนวทางและขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการเรยี นใหแ้ กผ่ ้เู รยี น
2. ครผู ู้สอนควรมกี ารตดิ ตามผูเ้ รยี นอยา่ งสมำ่ เสมอและต่อเนอื่ ง
1-2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
การการศกึ ษานอกระบบ ระดับประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และมธั ยมศกึ ษาตอน
งบประมาณ ระยะเวลา สถานทีจ่ ดั หมายเหตุ
งบทจี่ ดั สรร งบที่ใช้
กศน.ตำบล
เชยี งทอง
งทะเบยี น1/2563 จำนวนผู้จบการศึกษา2/2563
ญิง รวม
-- ชาย หญิง รวม
19 49
28 63 11 2
33 18 48
30 23 53
บกลมุ่ ผเู้ รยี น
สรุปกจิ กรรม/รายกจิ กรรม ไตรมาส 3
การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กศน.ตำบล
1 ความเป็นมาของกิจกรรม/หลกั การและเหตผุ ล การจดั การศึกษาใหแ้ ก่ผ้รู ับบริก
ในพ้ืนท่อี ำเภอวงั เจา้
2 ผลการดำเนินงาน
กิจกรรม จำนวน เปา้ หมายทท่ี ำได้
การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน เปา้ หมาย เชิงปริมาณ เชงิ คุณภาพ
41 41 41
ระดบั จำนวนผู้จบหลักสตู ร 1/2563 จำนวนผูจ้ บก
ชาย หญิง รวม ชาย หญ
ประถม - - - 11
ม.ตน้ 30 19 49 33 1
ม.ปลาย 35 28 63 30 2
- สภาพปัญหาและอปุ สรรคที่พบ
1. สถานการณ์การแพรร่ ะบาด โควดิ -19
2. ครผู ูส้ อนตอ้ งปฏบิ ตั ิภาระงานและภารกิจเรง่ ดว่ นจากรฐั บาลทำให้มผี ลกระทบตอ่ การพบ
3. นกั ศึกษาไมม่ คี วามพร้อมในการเรยี นออนไลน์
- แนวทางการปรับปรุงและพฒั นาต่อไป
1. ครผู สู้ อนควรมกี ารช้ีแจงแนวทางและข้อปฏบิ ตั ใิ นการเรียนใหแ้ กผ่ ู้เรยี น
2. ครผู ู้สอนควรมีการตดิ ตามผเู้ รยี นอยา่ งสมำ่ เสมอและตอ่ เน่อื ง
3-4 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
การการศกึ ษานอกระบบ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
งบประมาณ ระยะเวลา สถานท่จี ดั หมายเหตุ
งบที่จัดสรร งบท่ีใช้
กศน.ตำบล
เชยี งทอง
การศึกษา2/2563 จำนวนผู้จบการศกึ ษา1/2564
ญิง รวม
12 ชาย หญิง รวม
18 48
23 53 00 0
21 3
30 3
บกลมุ่ ผู้เรียน
สรุปกิจกรรม/รายกจิ กรรม ไตรมาส 1
กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น
1 ความเป็นมาของกจิ กรรม/หลกั การและเหตผุ ล กจิ กรรมจัดเพื่อเสรมิ ทักษะ พฒั
2 ผลการดำเนนิ งาน
กจิ กรรม จำนวน เป้าหมายทที่ ำได้
เปา้ หมาย เชงิ ปริมาณ เชิงคุณภาพ
โครงการปฐมนิเทศและปรบั ความรพู้ น้ื ฐาน 113 113 113
ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖3
โครงการแข่งขนั กีฬาเพือ่ สง่ เสรมิ สุขภาพ กศน. 130 130 130
อำเภอวงั เจา้
โครงการอบรมพฒั นาผู้เรยี น ดา้ นคณุ ธรรม 40 40 50
จริยธรรมและการนอ้ มนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารดำรงชีวติ
โครงการสอนเสริมวชิ าคณิตศาสตร์ 30 30 30
โครงการพฒั นาความรู้ความสามารถด้าน 20 20 20
เทคโนโลยสี ารสนเทศ(ICT) 113 113 113
โครงการปจั ฉมิ นเิ ทศ 2/2563
- สภาพปญั หาและอุปสรรคทีพ่ บ
1. นกั ศกึ ษาไม่เหน็ ความสำคญั ในกระบวนการวดั ผลประเมินผลและการเขา้ ร่วมกจิ กรรม
2. ครผู สู้ อนตอ้ งปฏิบตั ภิ าระงานและภารกจิ เร่งดว่ นจากรฐั บาลทำให้มผี ลกระทบตอ่ การพบ
- แนวทางการปรับปรงุ และพฒั นาตอ่ ไป
1. ครูผูส้ อนควรมีการชี้แจงแนวทางและข้อปฏบิ ตั ใิ นการเรยี นใหแ้ ก่ผเู้ รียน
2. ครูผู้สอนควรมีการตดิ ตามผเู้ รยี นอยา่ งสมำ่ เสมอและต่อเนื่อง
1-2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ฒนาคณุ ภาพใหแ้ ก่ผเู้ รยี นและผรู้ ับบรกิ ารการศกึ ษา
งบประมาณ ระยะเวลา สถานทจ่ี ดั หมายเหตุ
พ งบทจ่ี ัดสรร งบท่ใี ช้ 9 ธนั วาคม 2563 กศน.ตำบลเชียงทอง
00
20,550 20,550 17 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 รร.วงั เจา้ วทิ ยาคม
11,600 11,600 9-10 มีนาคม 2564 ศูนย์ปฏิบตั ิธรรมอบรม
เยาวชนวังเจา้ จงั หวัด
12,100 12,100 13 -14มีนาคม 2564 ตาก
7,800 7,800 13 -14มนี าคม 2564 กศน.ตำบลเชยี งทอง
รร.วังเจา้ วิทยาคม
0 0 2 เมษายน 2564 หอ้ งสมดุ อำเภอวงั เจ้า
บกลมุ่ ผู้เรียน
สรปุ กิจกรรม/รายกิจกรรม ไตรมาส 3
กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น
1 ความเปน็ มาของกจิ กรรม/หลักการและเหตผุ ล กจิ กรรมจดั เพื่อเสรมิ ทักษะ พฒั
2 ผลการดำเนนิ งาน
กิจกรรม จำนวน เป้าหมายท่ที ำได้ ง
เป้าหมาย เชงิ ปริมาณ เชิงคุณภาพ
โครงการปฐมนิเทศและปรบั ความรู้พน้ื ฐาน
ภาคเรยี นท่ี 1/๒๕๖4 41 41 41
โครงการคา่ ยพัฒนาผ้เู รยี นเพอ่ื เพม่ิ
ผลสมั ฤทธิ์ดา้ นภาษา 60 60 60
โครงการอบรมพัฒนาทักษะชีวติ เพ่อื เรียนรู้
Covid 19 อย่างปลอดภยั 150 150 150
โครงการปจั ฉมิ นิเทศ 1/2564
41 41 41
- สภาพปญั หาและอปุ สรรคที่พบ
1. นักศึกษามีงานประจำไมส่ ามารถเขา้ รว่ มกจิ กรรมอยา่ งต่อเนือ่ งได้
2. นักศกึ ษาทำงานอยตู่ า่ งจังหวดั
- แนวทางการปรับปรงุ และพฒั นาตอ่ ไป
1. ครูผู้สอนควรมกี ารตดิ ตามผู้เรยี นอยา่ งสมำ่ เสมอและต่อเนอ่ื ง
3-4 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ฒนาคณุ ภาพใหแ้ กผ่ เู้ รียนและผู้รับบรกิ ารการศกึ ษา
งบประมาณ ระยะเวลา สถานที่จดั หมายเหตุ
งบทจี่ ดั สรร งบทใ่ี ช้
9 พฤษภาคม 2564 กศน.ตำบลเชียงทอง
00 ถึง 3 กนั ยายน 2564
25,660 25,660 12-13 มถิ ุนายน 2564 กศน.กศน.ตำบลเชยี ง
ทอง
29,790 29,790
9-31 สิงหาคม 2564 กศน.อำเภวังเจา้
00 (ออนไลน์)
2 เมษายน 2564 ห้องสมดุ อำเภอวงั เจ้า
สรปุ กจิ กรรม/รายกจิ กรรม ไตรมาส 1
กจิ กรรมการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง
1. โครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน
1.1 ผลการดำเนินงาน
1.1.1 หลักสูตรระยะส้ัน
กิจกรรม จำนวน เป้าหมายที่ทำได้
เป้าหมาย เชิงปริมาณ เชงิ คณุ ภา
หลักสตู ร แหนมหมู 7 7 12
หลกั สูตร การทำกะหรปี่ บั๊ 777
หลักสตู ร กระถางจากยางรถยนต์ 777
หลักสตู ร เคร่ืองแกง 777
หลักสตู ร สิ่งประดษิ ฐ์จากเศษผา้ 777
หลักสูตรตุก๊ ตาปนู พลาสเตอร์ 777
1.2.2 หลักสูตรแบบชน้ั เรียน
กิจกรรม จำนวน เป้าหมายทีท่ ำได้
เป้าหมาย เชงิ ปริมาณ เชงิ คณุ ภา
หลกั สตุ ร การทอผ้า 13 13 15
- สภาพปัญหาและอปุ สรรคท่พี บ
ไมม่ ี
- แนวทางการปรบั ปรุงและพัฒนาตอ่ ไป
ไมม่ ี
1-2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
งบประมาณ ระยะเวลา สถานท่ีจดั หมายเหตุ
าพ งบที่จดั สรร งบท่ีใช้
23 ธ.ค. 2563 หมู่ 2 ตำบลเชยี งทอง
2,000 2,000 10 ก.พ. 2564 หมู่ 13 ตำบลเชียงทอง
2,000 2,000 11 ก.พ. 2564 หมู่ 4 ตำบลเชยี งทอง
2,000 2,000 16 ก.พ. 2564 หมู่ 7 ตำบลเชียงทอง
17 ก.พ. 2564 หมู่ 4 ตำบลเชียงทอง
2,000 2,000 20 ก.พ. 2564 หมู่ 2 ตำบลเชยี งทอง
2,000 2,000
1,900 1,900
งบประมาณ ระยะเวลา สถานที่จดั หมายเหตุ
าพ งบทจ่ี ัดสรร งบทใี่ ช้
๑๑,๔๐๐ ๑๑,๔๐๐ 8 – ๑6 ก.พ. ๒๕๖4 หมู่ 4 ตำบลเชยี งทอง
สรุปกจิ กรรม/รายกจิ กรรม ไตรมาส 3
กิจกรรมการศึกษาตอ่ เนอื่ ง
1. โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน
1.1.1 หลกั สตู รระยะส้นั
กิจกรรม จำนวน เป้าหมายที่ท
เป้าหมาย เชิงปริมาณ เช
หลักสตู ร การทำหน้ากากอนามยั แบบผา้ เพื่อปอ้ งกนั ควบคมุ 6 6
โรคติดเช้อื โคโรนา
หลักสตู ร การทำเจลลา้ งมอื ปอ้ งกนั ควบคมุ โรคตดิ เชือ้ โคโรนา 6 6
หลกั สูตร การทำหนา้ กากอนามยั แบบผ้าเพอื่ ปอ้ งกนั ควบคมุ 6 6
โรคตดิ เช้ือโคโรนา
หลักสตู ร การทำเจลลา้ งมือปอ้ งกนั ควบคมุ โรคติดเชื้อโคโรนา 6 6
หลักสูตร การทำหน้ากากอนามยั แบบผา้ เพือ่ ปอ้ งกนั ควบคมุ 6 6
โรคตดิ เชอ้ื โคโรนา
หลกั สูตร การทำเจลลา้ งมอื ป้องกนั ควบคมุ โรคติดเชอ้ื โคโรนา 6 6
1.2.2 หลกั สูตรแบบชน้ั เรยี น
กจิ กรรม จำนวน เป้าหมายทีท่ ำได้
เปา้ หมาย เชิงปรมิ าณ เชิงคุณ
หลักสุตร เพาะเหด็ 15 15 15
- สภาพปญั หาและอปุ สรรคทพ่ี บ
ไมม่ ี
- แนวทางการปรบั ปรงุ และพัฒนาต่อไป
ไม่มี
3-4 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ทำได้ งบประมาณ ระยะเวลา สถานทจี่ ดั หมายเหตุ
ชิงคุณภาพ งบที่จัดสรร งบทีใ่ ช้
6 1,900 1,900 14 ม.ิ ย. 2564 หมู่ 2 ตำบลเชียงทอง
6 2,000 2,000 15 ม.ิ ย. 2564 หมู่ 2 ตำบลเชียงทอง
6 2,000 2,000 17 ม.ิ ย. 2564 หมู่ 12 ตำบลเชียงทอง
6 2,000 2,000 18 ม.ิ ย. 2564 หมู่ 12 ตำบลเชียงทอง
6 2,000 2,000 22 ม.ิ ย. 2564 หมู่ 7 ตำบลเชียงทอง
6 2,000 2,000 23 ม.ิ ย. 2564 หมู่ 7 ตำบลเชยี งทอง
งบประมาณ ระยะเวลา สถานท่ีจดั หมายเหตุ
ณภาพ งบทจ่ี ดั สรร งบทีใ่ ช้
5 ๑3,2๐๐ ๑3,2๐๐ 16-25 มิถนุ ายน หมู่ 7 ตำบลเชยี งทอง
๒๕๖4
สรุปกิจกรรม/รายกจิ กรรม ไตรมาส 1
กิจกรรมการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาทักษะชีวติ
1 ความเป็นมาของกิจกรรม/หลักการและเหตุผล
2 ผลการดำเนนิ งาน
จำนวน เปา้ หมายทท่ี ำได้
เป้าหมาย
กิจกรรม เชิงปริมาณ เชิง
โครงการเสรมิ สรา้ งคุณภาพชวี ติ ผสู้ ูงอายุ 23 คณุ ภา
23 23
- สภาพปญั หาและอปุ สรรคทพ่ี บ
ไมม่ ี
- แนวทางการปรบั ปรงุ และพฒั นาต่อไป
ไม่มี
1-2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
งบประมาณ ระยะเวลา สถานทจ่ี ดั หมาย
23 ก.พ. 2564 เหตุ
าพ งบท่ีจดั สรร งบทใ่ี ช้ อบต.ตำบลเชียง
2,645 2,645 ทอง