The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองโรคไม่ติดต่อ
กรมควบคุมโรค

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองโรคไม่ติดต่อ
กรมควบคุมโรค

…………

คู่มอื การประเมนิ ผล
การปฏิบัตริ าชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

KPI

กองโรคไมต่ ดิ ตอ่ กรมควบคุมโรค

ชอ่ื หนงั สอื : คู่มือการประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการตามคารบั รอง
การปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
กองโรคไมต่ ดิ ต่อ กรมควบคุมโรค

คณะบรรณาธิการ : นางนติ ยา พนั ธุเวทย์
นางสาวปยิ นชุ จันทรอ์ กั ษร
นางสาวเพ็ญพักตร์ เย่ยี มโกศรี

พมิ พ์ที่ : กลมุ่ พฒั นาองคก์ ร กองโรคไมต่ ดิ ต่อ
กรมควบคุมโรค จ.นนทบุรี

พิมพเ์ ม่ือ : ธนั วาคม 2564

"ลดพฤตกิ รรมเส่ียง เลยี่ งโรคและภยั ร่วมมอื รว่ มใจใหค้ นไทยสุขภาพดี"
กองโรคไม่ตดิ ตอ่ https://ddc.moph.go.th/dncd/

คานา

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ กาหนดให้ส่วนราชการดาเนินการประเมินผลการ
ปฏิบัติราชการของส่วนราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจคุณภาพการให้บริการ
ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ และอาจจัดให้มีการ
ประเมินผลภาพรวมของผู้บังคับบัญชาแต่ละระดับหรือหน่วยงานในส่วนราชการ โดยส่วน
ราชการท่ีให้บริการมีคุณภาพเป็นไปตามเป้าหมายท่ีกาหนด สามารถเพิ่มผลงานโดยไม่เป็น
การเพิ่มค่าใช้จ่าย หรือสามารถดาเนินการตามแผนลดค่าใช้จ่ายต่อหน่วยได้ส่วนราชการจะ
ไดร้ ับจดั สรรเงนิ รางวลั เพอื่ นาไปจดั สรรในส่วนราชการ

กองโรคไม่ติดต่อได้จัดทาคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการ
ปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อให้กลุ่มต่างๆ ของกองฯ ใช้เป็นคู่มือในการ
ดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการ ซ่ึงจะช่วยให้ผู้กากับตัวช้ีวัด และผู้จัดเก็บตัวชี้วัดมี
ความเขา้ ใจเก่ียวกบั กรอบ และรายละเอียดตัวช้ีวัดคารับรองฯ รวมถึงแนวทางการประเมินผล
การปฏิบัติราชการมากย่ิงข้ึน ส่งผลให้การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการ
ปฏิบัตริ าชการเป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล

จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อทุกกลุ่มที่เก่ียวข้องได้ใช้
ประกอบการดาเนนิ งานตามคารับรองฯ ให้บงั เกิดผลทพี่ งึ ประสงคต์ อ่ ไป

คณะบรรณาธิการ
ธันวาคม 2564

สารบญั

หน้า

➢ กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองฯ 1
กองโรคไมต่ ิดตอ่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

➢ การดาเนินงาน การกากับ ตดิ ตาม การรายงานผล และการ 2
ประเมินผลการดาเนนิ งานตัวช้วี ดั คารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการ
ของกองโรคไมต่ ดิ ตอ่ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

• รายละเอียดตวั ช้ีวดั ของกองโรคไม่ตดิ ตอ่

ตวั ชว้ี ดั 1.1.1 ระดบั ความสาเรจ็ ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉนิ ทาง 6
สาธารณสขุ ของหนว่ ยงาน 10

ตวั ช้ีวดั 1.1.2 ระดับความสาเร็จของการดาเนินงานผลิตภัณฑเ์ พอื่
การเฝา้ ระวัง ป้องกันควบคมุ โรคและภยั สุขภาพ
(งานนวัตกรรม)

ตวั ชว้ี ดั 1.2.1 ระดบั ความสาเร็จของการดาเนินงานตรวจติดตาม 35
ตวั ชว้ี ัด 1.2.2 ยืนยนั วินจิ ฉยั กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และ/หรอื 47
ความดนั โลหติ สูง

ตัวชว้ี ดั ภารกจิ (สนบั สนนุ ขับเคลอ่ื นภารกิจโรคติดเชอื้
ไวรสั โคโรนา 2019)

ตัวชี้วัด 4.1 ระดบั ความสาเร็จของหนว่ ยงานดาเนินการบริหาร 57
ตวั ช้ีวัด 5.1 จดั การภาครฐั และการปฏริ ูปองค์กรได้ตามเกณฑท์ ่ี 82
กรมควบคุมโรคกาหนด

ระดับความสาเรจ็ ของการพฒั นาระบบบัญชีข้อมูล (Data
Catalog) เพื่อนาไปสู่การเผยขอ้ มูลภาครัฐ (Open Data)

ภาคผนวก 109

การเตรยี มไฟล์เอกสาร และการรายงานตัวช้วี ัดคารบั รองการปฏบิ ัติ
ราชการในระบบ Estimate SM

สารบญั ตาราง
ตาราง หนา้

ตาราง 1 ตัวชีว้ ัดคารับรองการปฏิบัตริ าชการ กองโรคไมต่ ดิ ตอ่ 1
และกลุ่มผ้จู ัดเก็บ

ตาราง 2 ตวั ชี้วดั ทเี่ กี่ยวข้องกับการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิ 2
ตาราง 3 ราชการ 3

กรอบระยะเวลาการดาเนนิ งานตามตัวชี้วัดคารบั รอง
การปฏิบัตริ าชการ ของกองโรคไมต่ ิดตอ่

1

ด้วยรัฐบาลมีนโยบายปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ เพื่อให้ลักษณะงานของส่วนราชการ
สามารถวัดผล และยกระดับคุณภาพการบริหารงานใหส้ อดรับกับวิสัยทัศน์ และพันธกิจ โดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน กรมควบคุมโรคจึงใช้กลไกการปฏิบัติราชการตามตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติ
ราชการ เปน็ เครือ่ งมือสำคัญในการผลกั ดันการดำเนนิ งาน โดยการถ่ายทอดตัวชว้ี ัดคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการ
สู่หน่วยงานในสังกัด ตลอดจนมีการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
กองโรคไม่ตดิ ต่อ ต้องดำเนินการตามตวั ช้ีวัดคำรับรองการปฏบิ ตั ริ าชการ จำนวน 6 ตวั ชีว้ ัด โดยมีสาระสำคญั ดังนี้

1. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ กองโรคไม่ติดต่อ
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 แบง่ เปน็ 5 องคป์ ระกอบ ดังน้ี

องคป์ ระกอบท่ี 1 ประสิทธิภาพในการดำเนนิ งานตามหลกั ภารกจิ พืน้ ฐาน (Functional Base)

องค์ประกอบที่ 2 ประสิทธิภาพในการดำเนินงานตามหลักภารกิจยุทธศาสตร์ที่ได้รับมอบหมายเป็น
พเิ ศษ (Agenda Base)

องคป์ ระกอบที่ 3 ประสิทธภิ าพในการดำเนนิ งานตามหลักภารกจิ พืน้ ท่ีหรอื การบรู ณาการการดำเนินงาน
หลายพืน้ ทห่ี รอื หลายหน่วยงาน (Area Base)

องค์ประกอบที่ 4 ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรมและการให้บริการประชาชน
หรือหนว่ ยงานของรัฐ (Innovation Base)

องคป์ ระกอบที่ 5 ศกั ยภาพในการเปน็ ส่วนราชการท่ีมีความสำคญั เชงิ ยุทธศาสตร์เพ่ือการพัฒนาประเทศ
(Potential Base)

โดยกองโรคไมต่ ิดตอ่ จะต้องดำเนนิ การในองค์ประกอบท่ี 1, 4 และ 5 จำนวน 6 ตวั ชี้วัด ดังแสดงในตาราง 1

ตาราง 1 ตัวชี้วัดคำรบั รองการปฏิบัติราชการ กองโรคไม่ตดิ ต่อ และกลุ่มผู้จัดเก็บ

ตวั ชว้ี ดั กล่มุ ผจู้ ัดเก็บ
องคป์ ระกอบท่ี 1 Functional Base
กลุ่มพฒั นาองค์กร
1.1.1 ระดับความสำเร็จในการตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข กลมุ่ เทคโนโลยี และระบาดวทิ ยา
ของหน่วยงาน กลุม่ พฒั นาระบบคุณภาพบริการ
กลมุ่ พฒั นาองค์กร
1.1.2 ระดับความสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานผลิตภัณฑ์เพื่อการเฝา้ ระวัง กลุ่มบริหารท่ัวไป
ปอ้ งกนั ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (งานนวัตกรรม)
กลุ่มพฒั นาองค์กร
1.2.1 ระดบั ความสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานตรวจติดตามยนื ยัน
วนิ ิจฉัยกลมุ่ สงสัยป่วยโรคเบาหวาน และ/หรือความดนั โลหติ สูง

1.2.2 ระดับความสำเร็จการดำเนินการบรหิ ารจดั การภายใต้สถานการณ์
การระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของหน่วยงาน
องคป์ ระกอบที่ 4 Innovation Base

4.1 ระดับความสำเรจ็ ของหน่วยงานดำเนนิ การบริหารจดั การภาครัฐ
และการปฏริ ูปองค์กรได้ตามเกณฑท์ ี่กรมควบคุมโรคกำหนด

องค์ประกอบที่ 5 Potential Base

5.1 ระดบั ความสำเรจ็ ของการพัฒนาระบบบญั ชขี ้อมลู (Data Catalog) เพื่อ กลุ่มเทคโนโลยี และระบาดวิทยา
นำไปสกู่ ารเผยขอ้ มลู ภาครัฐ (Open Data)

2

นอกจากน้ีกองโรคไม่ติดต่อ ยังเป็นหน่วยงานหลักในการกำกับ ดูแลตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการอื่นๆ ได้แก่ ตัวชี้วัดตามองค์ประกอบที่ 2 : Agenda Base ของสำนักงาน
ป้องกันควบคุมโรค (สคร.) เพื่อผลักดันการดำเนินงานภาพรวมใหบ้ รรลุตามเป้าหมายที่กำหนด รวมถึงตัวชี้วดั
คำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement : PA) ของผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุข เป็นการ
ประเมินผลการดำเนินงานของอธิบดีกรมควบคุมโรค และตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพใน
การปฏิบตั ริ าชการ ซง่ึ เปน็ การประเมินผลการดำเนินงานของกรมควบคมุ โรค ดังแสดงในตาราง 2

ตาราง 2 ตวั ชี้วัดท่เี ก่ียวข้องกบั การประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการ

ตวั ช้ีวดั หนว่ ยงานผู้กำกับ

ตัวช้ีวดั คำรบั รองการปฏิบตั ริ าชการ องค์ประกอบที่ 2 : Agenda Base ของ สคร.

ระดับความสำเร็จของการดำเนนิ งานตรวจตดิ ตามยนื ยนั วินจิ ฉยั กลมุ่ พฒั นาคุณภาพบริการ

กลมุ่ สงสยั ปว่ ยโรคเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูง

ตัวช้ีวดั คำรับรองการปฏิบตั ิราชการ (Performance Agreement : PA) ของผบู้ ริหารกระทรวงสาธารณสุข

ร้อยละการตรวจติดตามยนื ยันวินิจฉยั กล่มุ สงสัยป่วยโรคเบาหวานและ/หรือ กลมุ่ พฒั นาคณุ ภาพบรกิ าร
ความดนั โลหติ สูง
- รอ้ ยละการตรวจติดตามยนื ยันวินิจฉัยกลุม่ สงสยั ป่วยโรคเบาหวาน
- ร้อยละการตรวจตดิ ตามยืนยนั วินจิ ฉยั กลุ่มสงสยั ปว่ ยโรคความดนั โลหติ สงู

ตวั ช้วี ัดการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตริ าชการ
ของกรมควบคุมโรค

รอ้ ยละการตรวจติดตามยืนยันวินจิ ฉยั กลุม่ สงสัยป่วยโรคเบาหวานและ/หรอื กลุม่ พฒั นาคณุ ภาพบริการ
ความดนั โลหิตสูง
- ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินจิ ฉัยกล่มุ สงสยั ป่วยโรคเบาหวาน
- รอ้ ยละการตรวจติดตามยนื ยันวินิจฉัยกลมุ่ สงสัยปว่ ยโรคความดนั โลหติ สูง

2. การดำเนินงาน การกำกับ ติดตาม การรายงานผล และการประเมินผลการดำเนินงานตัวชีว้ ัดคำรบั รอง
การปฏบิ ัตริ าชการ ของกองโรคไม่ติดต่อ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

2.1 การดำเนนิ งานตามตัวชี้วดั คำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการ
ผู้จัดเก็บตัวชี้วัดทำความเข้าใจรายละเอียดตัวชี้วัด เป็นผู้ดำเนินการ รวมถึงประสานเพื่อรวบรวมข้อมูล
ผลการดำเนินงานตามรายละเอียดตัวชี้วัด ได้รับการกำกับ ติดตามผลการดำเนินงาน และเป็นผู้รายงานผล
ในระบบ Estimate SM
2.2 การกำกบั ติดตาม และการประเมนิ ผลตัวชี้วัดคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการเบื้องตน้
ผู้จัดเกบ็ ตัวชว้ี ัด ได้รบั การกำกบั ติดตามผลการดำเนนิ งาน และประเมินผลเบือ้ งตน้ ดังนี้
1) หวั หน้ากลุม่ กำกบั ติดตาม และให้ขอ้ เสนอแนะในการแกป้ ัญหา และพฒั นางาน
2) คณะกรรมการการประเมินการปฏิบัติราชการ กำกับ ติดตาม ให้ข้อเสนอแนะ และประเมินผลเป็น

การภายใน (Internal Audit) รอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน ทั้งนี้ผู้จัดเก็บตัวชี้วัดคำรับรองฯ
จัดเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้องที่แสดงถึงความก้าวหน้าของผลการปฏิบัติราชการในแต่ละตัวชี้วัด
พร้อมให้คณะกรรมการฯ ตรวจติดตาม ให้คำแนะนำ เพื่อปรับปรุง แก้ไขให้เป็นไปตามรายละเอียด
การดำเนนิ งานของแตล่ ะตัวชว้ี ดั รวมถงึ ประเมินผลคะแนนเบื้องตน้

3

2.3 การรายงานผล การตรวจสอบการรายงาน และการประเมินผลตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติ
ราชการ ในระบบ Estimate SM

2.3.1 การรายงานผลตัวช้วี ัดคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการ ในระบบ Estimate SM

ผู้จัดเก็บตัวชี้วัดรายงานผลการดำเนินงานในระบบ Estimate SM ตามรายละเอียด Template
ของแต่ละตัวชีว้ ดั โดยมีรายละเอยี ด ดังน้ี

1) รายงานผลการดำเนนิ งานตามขน้ั ตอนการปฏิบัติ ตามทปี่ ฏิบัติจรงิ ไม่ใช้ คดั ลอกรายละเอียดขั้นตอน
จากตวั ชี้วดั มารายงาน

2) แนบหลักฐานเอกสารประกอบการประเมินให้ครบถ้วนตามที่ระบุในรายละเอียดตัวชี้วัด กรณีมีไฟล์
มากกว่า 1 ไฟล์ ให้ ZIP ไฟล์ กอ่ นแนบ

3) รายงานก่อนวันที่กำหนดแต่ละไตรมาส อย่างน้อย 5 วันทำการ เพื่อให้กลุ่มพัฒนาองค์กรตรวจสอบ
ในระบบ Estimate SM หากเอกสารไม่ครบถ้วน หรอื ตอ้ งแกไ้ ข จะสามารถแกไ้ ขได้ทนั ท่วงที

2.3.2 การตรวจสอบการรายงานผลในระบบ Estimate SM
เมื่อผู้จัดเก็บตัวชี้วัดรายงานผลการดำเนินงานในระบบ Estimate SM แล้ว กลุ่มพัฒนาองค์กรดำเนิน

การตรวจสอบ ดังนี้
1) ตรวจสอบการรายงานผลการดำเนินงาน และการแนบเอกสารตามขั้นตอนของตัวชี้วัดคำรับรองฯ
ในระบบ Estimate SM
2) อนุมตั ิผลการดำเนนิ งานในระบบ Estimate SM
3) ประสานผู้จัดเกบ็ ตัวชว้ี ดั คำรบั รองฯ กรณีข้อมูลในระบบ Estimate SM ไม่ครบถ้วน หรือตอ้ งแกไ้ ข

2.3.3 การประเมินผลตวั ชี้วดั คำรบั รองการปฏิบัติราชการ

1) ผกู้ ำกับตวั ช้วี ัดจากส่วนกลาง (External Audit) จะตรวจติดตาม ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน
รอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน โดยดาวน์โหลดเอกสารจากระบบ Estimate SM เพอื่ ตรวจให้
คะแนน พร้อมทัง้ แจ้งปญั หาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ/ข้อสงั เกต

2) กลมุ่ พัฒนาระบบบรหิ าร กรมควบคุมโรค แจง้ เวียนผลคะแนนใหท้ ุกหน่วยงานของกรมควบคมุ โรค
รับทราบ

3. การอุทธรณ์ผลคะแนน

ผูจ้ ัดเก็บตวั ช้วี ัด สามารถขออุทธรณผ์ ลคะแนนประเมนิ ในกรณีทต่ี รวจสอบแล้ว พบว่า
- มขี ้อผิดพลาดที่เกดิ จากการให้คะแนน
- มีข้อผิดพลาดทเี่ กดิ จากการแนบเอกสาร

4. กรอบระยะเวลาการดำเนินงานตามตัวชีว้ ัดคำรับรองการปฏบิ ตั ิราชการ ของกองโรคไม่ติดตอ่
ตาราง 3 กรอบระยะเวลาการดำเนินงานตามตวั ช้ีวดั คำรับรองการปฏบิ ตั ิราชการ ของกองโรคไมต่ ดิ ต่อ

วันท่ี กจิ กรรม
21 กันยายน 2564 ผู้กำกับตัวชี้วัดจากหน่วยงานส่วนกลางชี้แจงถ่ายทอดรายละเอียดตัวชี้วัด

คำรับรองการปฏิบตั ิราชการหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
28 กันยายน 2564 ทุกกลุ่มร่วมพิจารณากลุ่มผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ

หนว่ ยงาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
9 พฤศจกิ ายน 2564 รองผู้อำนวยการกองโรคไม่ติดต่อ และหัวหน้ากลุ่มลงนามคำรับรองการปฏิบัติ

ราชการของหนว่ ยงานกับผ้อู ำนวยการกองโรคไม่ตดิ ต่อ

วนั ท่ี 4
พฤศจกิ ายน 2564
กจิ กรรม
พฤศจกิ ายน 2564 กลุ่มพัฒนาองค์กรสร้างตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงาน ในระบบ
Estimates SM
28 กมุ ภาพนั ธ์ – กลุ่มพัฒนาองค์กรจัดทำคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง
4 มนี าคม 2565 การปฏิบัตริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 กองโรคไม่ติดตอ่ กรมควบคมุ โรค
29 สงิ หาคม – ให้ทกุ กล่มุ
2 กันยายน 2565 ผู้จัดเก็บตัวชี้วัดเข้ารับการตรวจประเมินผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือน
20 ธันวาคม 2564 และรอบ 12 เดือน จากคณะกรรมการการประเมินการปฏิบัติราชการภายใน
21 มีนาคม 2565 กองโรคไม่ตดิ ตอ่ (Internal Audit)
20 มถิ ุนายน 2565
19 กนั ยายน 2565 ผู้จัดเก็บตัวช้ีวัดรายงานผลการดำเนนิ งานคำรับรองการปฏบิ ัติราชการหน่วยงาน
25 ธนั วาคม 2564 6 เดือน และ 12 เดือน ในระบบ Estimates SM ยกเว้น ตัวชี้วัดการดำเนินงาน
25 มีนาคม 2565 ตรวจติดตามยืนยัน วินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูง
25 มิถนุ ายน 2565 และตวั ช้ีวดั Open Data ให้รายงาน รอบ 3 เดือน และรอบ 9 เดือนดว้ ย
25 กนั ยายน 2565 กลุ่มพัฒนาองค์กรตรวจสอบ และอนุมัติผลการรายงานตัวชี้วัดคำรับรองการ
เมษายน 2565 ปฏิบัติราชการหน่วยงาน รอบ 3, 6, 9 และรอบ 12 เดือน ในระบบ Estimates SM
ตลุ าคม 2565 และแจ้งใหม้ กี ารแกไ้ ข หากเอกสารการรายงานไม่ถูกต้อง ครบถ้วน

เมษายน 2565 ผู้กำกับตัวชี้วัดจากหน่วยงานส่วนกลาง กรมควบคุมโรค (External Audit)
ตลุ าคม 2565 ประเมินการปฏิบัติราชการ ซึ่งผู้จัดเก็บตัวชี้วัดสามารถอุทธรณ์ผลคะแนน และ
ย่นื เอกสารเพมิ่ เติมได้ รอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมควบคุมโรค ส่งผลคะแนนเพื่อให้กองบริหาร
ทรัพยากรบคุ คลใชพ้ ิจารณาการประเมินผลการปฏบิ ัติราชการของหน่วยงาน

5. ข้อพงึ ระวัง/ขอ้ สังเกต
1) กรณีไม่รายงานภายในระยะเวลาที่กำหนดแตล่ ะขน้ั ตอน หกั ขน้ั ตอนละ0.05 คะแนน
2) กรณไี ม่เสนอผ้บู รหิ ารเห็นชอบหรือรับทราบ หักขั้นตอนละ 0.05 คะแนน
3) กรณไี มร่ ะบุรายละเอยี ดความกา้ วหน้าและผลการดำเนนิ งานในระบบ ESM หกั ขัน้ ตอนละ 0.05 คะแนน
4) กรณเี อกสารท่แี นบในระบบ Estimate SM มีข้อมลู ไม่ตรงกันหรอื ขอ้ มลู ไมช่ ัดเจน หักขน้ั ตอนละ 0.05 คะแนน

รายละเอียดตวั ช้วี ัดของกองโรคไมต่ ดิ ตอ่

6

รายละเอียดตวั ชว้ี ดั ตามคำรบั รองการปฏิบัติราชการหนว่ ยงาน กรมควบคมุ โรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
องคป์ ระกอบท่ี 1 : Functional Base

ตวั ชว้ี ัดถา่ ยทอดระดบั หนว่ ยงาน: (หนว่ ยงานส่วนกลาง)

1. ตัวชีว้ ดั ท่ี 1.1.1 : ระดบั ความสำเร็จในการจัดการภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสขุ ของหน่วยงาน

2. หนว่ ยวัด : ระดับ

3. น้ำหนัก : ร้อยละ 15

4. คำอธบิ ายตัวชว้ี ัด :
4.1 ระดบั ความสำเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงาน หมายถึง หน่วยงานมีการ

ดำเนินกิจกรรมสำคัญๆ ครบตามทีก่ ำหนดไว้ ซ่ึงแต่ละกิจกรรมไม่ต่อเน่ืองกัน สามารถดำเนินการได้โดยอิสระ โดย
ประเมินความสำเร็จจาก การดำเนินกิจกรรมสำคัญ ดังนี้คือ มีการทบทวนและปรับปรุง BCP ของหน่วยงาน ให้มี
ความเหมาะสมกับเหตุการณ์ มีการส่งบุคลากรเข้าเรียนออนไลน์หลักสูตร ICS100 มีการเข้าร่วมปฏิบัติงานทีม
ตระหนักรู้สถานการณ์ ในตำแหน่งต่างๆ ตามทก่ี ำหนด และเข้าร่วมถอดบทเรียนการตอบโต้ภาวะฉุกเฉนิ กรณีการ
ระบาดของโรค COVID-19 ของกรมควบคมุ โรค

4.2 หนว่ ยงาน หมายถงึ สำนักวชิ าการสว่ นกลาง กรมควบคุมโรค (กอง/ สถาบัน/ สำนกั งาน/ สำนัก/ กล่มุ / ศนู ย์)
4.3 FETP (Field Epidemiology Training Program) หมายถึง หลักสตู รฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านทาง
ระบาดวทิ ยา
4.4 FEMT (Field Epidemiology Management Training) หมายถึง หลักสูตรระบาดวิทยาและการ
บริหารจัดการทมี สำหรบั แพทยห์ วั หน้าทีมและผสู้ อบสวนหลกั
4.5 FETH (Field Epidemiology Training Program for Public Health Officer) หมายถึง หลักสูตร
ฝกึ อบรมนักวิชาการสาธารณสขุ ทางระบาดวิทยา

5. สูตรการคำนวณ : ไม่มี

6. เกณฑ์การให้คะแนน : กำหนดเป็นข้ันตอนแบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ พิจารณาจากความก้าวหน้า
ของการดำเนินงานตามเปา้ หมายแต่ละขั้นตอน ดงั น้ี

ช่อื ตัวช้ีวัด ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน ขน้ั ตอนท่ี 5
คะแนน ขัน้ ตอนท่ี 1 ข้ันตอนท่ี 2 ขนั้ ตอนที่ 3 ข้ันตอนที่ 4 
ระดบั ความสำเรจ็ ในการ
จัดการภาวะฉุกเฉนิ ทาง 1 
สาธารณสุขของ 1 
หน่วยงาน 1
1 
1


7. เงื่อนไขของตวั ชี้วัด : ไม่มี

7

8 ข้อมูลพน้ื ฐานประกอบตัวชี้วัด :

ตัวชีว้ ัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงานในอดตี ปีงบประมาณ พ.ศ.
2562 2563 2564
ระดับความสำเรจ็ ในการจดั การภาวะฉกุ เฉนิ
ทางสาธารณสขุ ของหนว่ ยงาน ระดบั 5 5 -

9. รายละเอยี ดการดำเนินงาน :

ขั้นตอนที่ รายละเอยี ดการดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการประเมนิ
1 ทบทวนและปรบั ปรุง BCP ประจำปี ของหน่วยงาน 1 รายงานการทบทวนแผน BCP
2 ทม่ี คี วามเหมาะสมกบั เหตุการณ์ 0.5 ของหน่วยงาน เสนอผู้บริหารลง
0.5 นามรับทราบ
3 2.1 ส่งแพทย์/สัตวแพทย์ (ยกเว้น ผู้บริหารและ 2.1 รายช่ือแพทย์/สัตวแพทย์ ท่ี
ผู้ ท ร งคุ ณ วุ ฒิ ) ท่ี ผ่ าน ก า รอ บ ร ม ห ลั ก สู ต ร 1 ผ่านการอบรมหลักสตู ร
FETP/FEMT เข้าร่วมปฏิบัติงานทีมตระหนักรู้ FETP/FEMT
สถานการณ์ ในตำแหนง่ Supervisor ทุกคน อย่าง
นอ้ ย 2 คร้ัง/ปี 2.2 รายชื่อนักวิชาการ
2.2 ส่งนักวิชาการสาธารณสุข ระดับปฏิบัติการ/ สาธารณสุขระดับปฏิบตั ิการ/
ชำนาญการ/ ชำนาญการพิเศษ ที่ผ่านการอบรม ชำนาญการ/ ชำนาญการพเิ ศษ
หลักสูตร FEMT/FETH ร้อยละ 50 ของหน่วยงาน ท่ีผา่ นการอบรมหลกั สูตร
เข้ า ร่ ว ม ป ฏิ บั ติ ง า น ที ม ต ร ะ ห นั ก รู้ ส ถ า น ก า ร ณ์ FEMT/FETH
ตำแหน่ง Supervisor assistant ทุกคน อย่างน้อย
2 คร้ัง/ปี ร าย ช่ื อ นั ก วิ ช า ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข
หมายเหตุ : ของหน่วยงานเข้าร่วมปฏิบัติงาน
: ข้อ 2.1 และ 2.2 ประเมินและให้คะแนนในรอบ ที ม ต ร ะ ห นั ก รู้ ส ถ า น ก า ร ณ์ ข อ ง
12 เดอื น กรมควบคุมโรค ร้อยละ 30
ส่งนักวิชาการสาธารณ สุข ร้อยละ 30 ของ ห รื อ ร า ย ง า น ส รุ ป ผ ล ก า ร
ห น่ ว ย ง า น เข้ า ร่ ว ม ป ฏิ บั ติ ง า น ที ม ต ร ะ ห นั ก รู้ ดำเนินงานที่สนับสนุนภารกิจโรค
สถานการณ์ของกรมควบคุมโรค อย่างน้อย คนละ ตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019
1 คร้ัง/ปี (กรณีย้ายหรือลาออกให้หน่วยงานต้น
สังกดั ส่งรายชือ่ มาทดแทน)
หมายเหตุ :
1. สูตรการคำนวณ ตัวหารให้นับรวมนักวิชาการ
สาธารณสุขท่ีมาปฏิบัตงิ านในขอ้ 2.2 ดว้ ย
2. ประเมินและให้คะแนนในรอบ 12 เดือน
3. กรณีหน่วยงานไม่สามารถดำเนินการในขั้นตอนที่ 2
และ 3 ได้ ให้จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานท่ี
สนบั สนนุ ภารกิจโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019

8

ขนั้ ตอนท่ี รายละเอยี ดการดำเนนิ งาน คะแนน เอกสารประกอบการประเมนิ
4 1 ร า ย ช่ื อ บุ ค ล า ก ร ให ม่ ที่ ผ่ า น ก า ร
บุคลากรใหม่ของหน่วยงานทุกคน เข้าเรียน อบรม
5 ออนไลน์หลกั สตู ร ICS100 1
หมายเหตุ : นับต้ังแต่วันที่ 1 มกราคม 2564 ถึง สรุปรายงานการประชุมการถอด
31 ธนั วาคม 2564 บทเรียนฯ

หนว่ ยงานส่งบุคลากรรว่ มถอดบทเรยี นการตอบโต้
ภาวะฉกุ เฉิน กรณกี ารระบาดของโรค COVID-19
ของกรมควบคุมโรค (จัดโดย กอง ครฉ.)

หมายเหตุ : 1. กรณีไมร่ ายงานภายในระยะเวลาทกี่ ำหนดแต่ละขัน้ ตอน หักข้ันตอนละ 0.05 คะแนน
2. กรณีไมเ่ สนอผบู้ ริหารเหน็ ชอบหรอื รับทราบ หกั ขัน้ ตอนละ 0.05 คะแนน
3. กรณีไม่ระบุรายละเอียดความกา้ วหน้าและผลการดำเนินงานในระบบ ESM หกั ขัน้ ตอนละ 0.05 คะแนน
4. กรณเี อกสารทีแ่ นบในระบบ ESM มีข้อมูลไม่ตรงกันหรอื ข้อมูลไมช่ ดั เจน หักขน้ั ตอนละ 0.05 คะแนน

10. เปา้ หมาย :
ไตรมาสท่ี 2 ดำเนินการได้ 4 ขั้นตอน
ไตรมาสที่ 4 ดำเนินการได้ 5 ข้นั ตอน

11. แหลง่ ขอ้ มลู : รายงานความก้าวหน้าในระบบ Estimates SM กรมควบคุมโรค
12.วิธีการจัดเก็บข้อมูล : รวบรวมข้อมูลและรายงานตามแบบฟอร์ม SAR ในระบบบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์
(Estimates SM)

13. ความถีใ่ นการจดั เก็บขอ้ มลู :
ไตรมาสท่ี 2 ภายในวันท่ี 25 มีนาคม พ.ศ. 2565
ไตรมาสที่ 4 ภายในวนั ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2565

14. แบบฟอร์มทใี่ ช้ประกอบด้วย : ไม่มี

15. ผ้กู ำกับดแู ลตวั ชี้วดั : โทรศพั ท์ E-mail
ระดบั กรม : กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉุกเฉิน 0 2590 3155 [email protected]

ชอื่ ผู้กำกับตัวชี้วัด

1. นายแพทยเ์ ฉวตสรร นามวาท
ผู้อำนวยการกองควบคมุ โรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ

ระดบั หนว่ ยงาน : ………………………………………………………

ชื่อผู้กำกบั ตัวช้ีวัด โทรศพั ท์ E-mail
[email protected]
นายกฤษฏา หาญบรรเจิด 0 2590 3893
[email protected]
ผู้อำนวยการกองโรคไม่ตดิ ต่อ

นางนิตยา พันธุเวทย์ 0 2590 3869

นักวิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการพเิ ศษ

16. ผู้จัดเกบ็ ขอ้ มูล : กองควบคมุ โรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉิน 9

ชื่อผู้จดั เกบ็ ตัวช้ีวดั โทรศัพท์ E-mail
[email protected]
ขน้ั ตอนท่ี 1 และ 5 [email protected]

1. นางอัญชลี สทิ ธชิ ยั รตั น์ 0 2590 3246 -
[email protected]
นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการพิเศษ [email protected]
[email protected]
2. นางสาวสริ ภิ ัสสร ชื่นอารมณ์ 0 2590 3159
[email protected]
นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏิบัตกิ าร [email protected]

3. นางสาวเกตน์สิรี จิตรอารี 0 2590 3159

ขน้ั ตอนที่ 2-3

4. นางสาวศณิ ีนาถ กุลาวงศ์ 0 2590 3158
นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปฏิบัติการ

5. นายนัทธพงศ์ อนิ ทรค์ รอง 0 2590 3158
นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปฎิบตั ิการ

6.นางสาวธนัชชา ไทยธนสาร 0 2590 3158
นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฎิบตั ิการ

ข้นั ตอนที่ 4 0 2590 3157

7. นางสาวปรชั ญา ประจง
นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปฏิบัติการ

8. นางสาวหทั ยา โหมฮกั 0 2590 3157
นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั ิการ

ระดบั หน่วยงาน : หน่วยงาน โทรศัพท์ E-mail
ชอื่ ผ้จู ัดเกบ็ ตัวช้ีวัด กองโรคไมต่ ดิ ต่อ
กองโรคไมต่ ดิ ต่อ 0 2590 3869 [email protected]
นางสาวทิพวรรณ พรหมทบั ทิม
นางสาวชนิดดา ตรีวฒุ ิ 0 2590 3869 [email protected]

10

รายละเอียดตัวชี้วดั ตามคำรบั รองการปฏิบตั ิราชการหนว่ ยงาน กรมควบคมุ โรค ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
องค์ประกอบท่ี 1 : Functional Base
ตวั ชวี้ ัดถา่ ยทอดระดบั หน่วยงาน

1. ตวั ชี้วัดท่ี 1.1.2_2 : ระดบั ความสำเร็จของการดำเนนิ ผลิตภัณฑ์เพื่อการเฝา้ ระวัง ป้องกนั ควบคุมโรคและ
ภยั สุขภาพ (งานนวตั กรรม)

2. หน่วยวัด: ระดบั

3. นำ้ หนกั : ร้อยละ 15

4. คำอธบิ ายตัวชวี้ ดั :
4.1 ผลติ ภณั ฑ์เพอื่ การเฝ้าระวัง ป้องกนั ควบคุมโรคและภยั สุขภาพ ประกอบด้วย
1) ผลติ ภณั ฑว์ ชิ าการ
1.1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานผลิตภัณฑ์เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค
และภยั สุขภาพ (งานวจิ ยั )
1.1.1) งานวจิ ัยทว่ั ไป: Regular research
1.1.2) งานวิจัยท่ีพัฒนาจากงานประจำ: Routine to Research : R2R
1.2) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานผลิตภัณฑ์เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค
และภยั สุขภาพ (งานนวตั กรรม)
1.3) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานผลิตภัณฑ์เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค
และภยั สุขภาพ (การถอดบทเรยี น)
2) ผลติ ภณั ฑ์หลกั
2.1) ระดบั ความสำเร็จของการดำเนินงานผลติ ภณั ฑ์เพ่ือการเฝ้าระวงั ปอ้ งกนั ควบคมุ โรคและ
ภัยสุขภาพ (ผลิตภัณฑ์หลัก : มาตรฐานของงานหรือมาตรฐานของมาตรการ คู่มือ
แนวทาง และหลักสตู ร)

4.2 นวัตกรรม หมายถึง สิ่งใหม่ที่เกิดจากการใช้ ความรู้ และความคิดสร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
สาธารณสุข เศรษฐกิจและสังคม และหมายความรวมถึงสิ่งที่เกิดขึ้นจากความสามารถในการใช้ความรู้ ความคิด
สร้างสรรค์ ทักษะ และประสบการณ์ทางเทคโนโลยีหรือการจัดการเพื่อพัฒนาให้เกิดผลิตภัณฑ์ หรือกระบวนการ
ผลิต หรือบริการใหม่ เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด ตลอดจนการปรับปรุง เทคโนโลยี
การแพร่กระจายเทคโนโลยี การออกแบบผลิตภัณฑ์ และการฝึกอบรมที่นำมาใช้ เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจและ
ก่อให้เกิดประโยชน์สาธารณะในรูปแบบของการเกิดธุรกิจ การลงทุน ผู้ประกอบการ หรือตล าดใหม่หรือรายได้
แหล่งใหมร่ วมท้ังการจา้ งงานใหม่ (พระราชกฤษฎีกา จัดต้งั สำนกั งานนวัตกรรมแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๒)

นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวคิด กระบวนการ หรือผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นสิ่งใหม่ ที่สนับสนุน ส่งเสริม
หรือส่งผลต่อการดำเนินงานด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อม อันเกิดจากการใช้ความรู้
ความคิดสร้างสรรค์ ส่ิงใหม่ในท่นี คี้ ือไม่เคยมผี ู้ใดทำมาก่อน หรอื เคยทำมาแลว้ ในอดีต แตน่ ำมาพฒั นาจากของเก่าท่ีมีอยู่
เดิม ซึ่งต้องไม่ใช่เกิดจากการลอกเลียนแบบหรือการทำซ้ำ ช่วยให้การทำงานนั้นได้ผลดมี ีประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล
สูงกว่าเดิม หรอื นำไปใช้ในการปฏิบัติงาน เพ่อื แก้ปัญหาหรือปรับปรุง/พัฒนางาน หรอื เพ่ือการพัฒนาบุคลากร แล้วเกิด
ประโยชน์ที่เห็นเปน็ รูปธรรมชัดเจนสามารถวัดวิเคราะห์ได้ แสดงให้เห็นหลักฐานเชิงประจักษ์ในแง่ของการใช้ประโยชน์
ของนวัตกรรมนั้น ๆ หรืออาจวัดโดยใช้แนวทางระเบียบวิธีวิจัยในเชิงปริมาณและคุณภาพ (ที่มา: สำนักงานนวัตกรรม
แหง่ ชาติ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัย และนวัตกรรม)

11

4.3 ระดับความสำเร็จของการดำเนินผลิตภัณฑ์เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
(งานนวัตกรรม) หมายถึง การดำเนินการสร้างและพัฒนานวัตกรรมโดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ
โดยหน่วยงานจะต้องเข้าร่วมโครงการ PreSchool และผลงานนวัตกรรมที่สร้างขึ้นจะต้องประกอบไปด้วย
คุณลักษณะ ดงั ต่อไปนี้

4.3.1 เข้าร่วมโครงการ PreSchool ซึ่งเป็นการอบรมให้บุคลากรที่จะสร้างนวัตกรรมรู้จัก
เคร่อื งมอื /วธิ กี ารทำความเขา้ ใจปัญหาและการระบุปัญหา ดังนี้

- กระบวนการทำความเข้าใจปัญหา (Empathize) โดย 1. การสำรวจปัญหา ซึ่งเป็นการสำรวจ
ความเขา้ ใจทมี่ ตี ่อปัญหาเพ่ือระบุประเด็นปญั หาในเบื้องต้น พรอ้ มท้ังตรวจสอบความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับประเด็น
ปัญหาในเบื้องต้น 2. วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นจากข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เช่น ข้อมูลสถิติ บทเรียน
ผลลพั ธ์ หรือผลงานวิจัยอน่ื ๆ และรวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมูลเชิงลึก (Primary Data) ทไ่ี ดจ้ ากกลุ่มเป้าหมายและ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยเตรียมประเด็นสัมภาษณ์ (Interview Guideline) เตรียมคำถามสัมภาษณ์ข้อมูลเชิงลึก
(Interview Questions) และ 3. สัมภาษณข์ อ้ มลู เชิงลกึ กับกลมุ่ เป้าหมายและผ้มู ีส่วนไดส้ ่วนเสยี

- กระบวนการระบุปัญหาให้ชัดเจน (Define) โดยการทบทวนปัญหาหลังการสังเคราะห์ข้อมูล
(Synthesis Review) เพื่อคัดกรองปัญหา กำหนด หรือบ่งชี้ปัญหาอย่างชัดเจน และสรุปกลุ่มเป้าหมาย ประเด็น
ปัญหา และข้อมลู เชิงลกึ เพือ่ นำไปสูแ่ นวทางการแก้ไขปัญหาในรูปแบบของ How Might We

4.3.2 ผลงานนนั้ ตอ้ งตอบโจทย์ Pain Point เฉพาะจดุ ระดบั บุคคล
ผลงาน (ผลิตภัณฑ์/บริการ) ของกรมควบคุมโรค จะมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหา (pain point) ของ
กลุ่มเป้าหมาย (Users) และผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี (Stakeholders) เฉพาะจุดตามสถานการณ์ปัญหาน้ัน ๆ (Problem
Area) ในระดบั บุคคล
4.3.3 ผลงานน้นั ต้องสรา้ งคณุ ประโยชน์ (Value) และผลกระทบ (Impact) ใหก้ ับผ้ใู ช้งาน
ผลงาน (ผลิตภณั ฑ์/บรกิ าร) ตอ้ งสรา้ งคุณประโยชน์ (Value) ในการสนบั สนนุ /พฒั นางานป้องกัน
ควบคุมโรคและสร้างผลใหก้ ับผใู้ ช้งานไดอ้ ย่างตรงจุดและส่งผลเชงิ บวกในวงกว้าง
4.3.4 ผลงานนั้นตอ้ งสามารถนำไปใชง้ านได้จรงิ
ผลงาน (ผลิตภัณฑ์/บริการ) ต้องสามารถนำไปใช้งานได้จริง โดยต้องมีการประเมินความเป็นไป
ได้ถงึ ความอยู่รอดของผลงาน (ผลิตภัณฑ์/บริการ) น้ันด้วย
4.3.5 ผลงานน้นั ช่วยให้ผใู้ ช้งานมีคุณภาพชวี ติ ท่ดี ีขนึ้
ผลงาน (ผลิตภัณฑ์/บริการ) ต้องส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งในแง่ทางด้านร่างกาย
ดา้ นจติ ใจ/ความร้สู กึ ด้านความเปน็ อยู่ทางสังคม และด้านเศรษฐกิจการเงนิ รายได้
4.3.6 ผลงานนน้ั ต้องพฒั นามาจากความรว่ มมือหลายฝ่าย (Collaboration/Partnership)
ผลงาน (ผลิตภัณฑ์/บริการ) ต้องพัฒนาร่วมกับเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อแลกเปลี่ยน
ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งจะช่วยให้เกิดการเร่งกระบวนการสร้างและพัฒนาผลงาน
(ผลิตภัณฑ์/บริการ) ให้เร็วย่งิ ขึน้
4.4 กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) คือ กระบวนการคิดเพื่อแก้ไขปัญหาหรือโจทย์ให้
ตรงจุด ตลอดจนพัฒนาแนวคิดใหม่ ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาหรือโจทย์ที่ตั้งไว้ เพื่อค้นหาวิธีที่ดีที่สุดและเหมาะสมที่สุด
การแก้ปัญหาบนพื้นฐานกระบวนการคิดเชิงออกแบบจะเน้นไปท่ีผู้ใช้/ผู้บริโภค (User-centered) เป็นหลัก
ประกอบดว้ ย 5 ขนั้ ตอน (อา้ งอิง Stanford Design Thinking Process) ดงั นี้
4.4.1 Empathize คอื การทำความเขา้ ใจตอ่ กลุ่มเปา้ หมายใหม้ ากทสี่ ุด โดยการเอาใจเขามาใส่ใจ
เรา ซ่ึงมีความสำคัญเป็นอย่างมาก เม่อื จะสร้างสรรค์ หรือแกไ้ ขส่ิงใดก็ตามจะ ตอ้ งเข้าใจถึงกลุม่ เป้าหมายอย่างถ่องแท้

12

4.4.2 Define คือ การสังเคราะห์ข้อมูล การตั้งคำถามปลายเปิดที่ผลักดันให้เกิดความคิด
สร้างสรรค์ ไม่จำกดั กรอบของการแก้ปัญหา ซ่งึ ภายหลังจากท่เี ราเรียนรแู้ ละทำเขา้ ใจตอ่ กลุ่มบุคคล เปา้ หมายแล้ว
กต็ อ้ งวเิ คราะหป์ ญั หา กำหนดให้ชดั เจนว่าจรงิ ๆ แลว้ ปัญหาทเ่ี กิดขึ้นคืออะไร เลอื กและสรุป แนวทางความเป็นไปได้

4.4.3 Ideate คือ การระดมความคิด ใหม่ๆ อยา่ งไม่มีขดี จำกัด หรอื การ สร้างความคดิ ตา่ ง ๆ ให้
เกิดขึ้น โดยเน้นการหาแนวคิดและแนวทางในการ แก้ไขปัญหาให้มากที่สุด หลากหลายที่สุด โดยความคิดและ
แนวทางตา่ ง ๆ ที่คิดข้ึนมานัน้ ก็เพอื่ ตอบโจทยป์ ญั หาที่เกดิ ขนึ้ ในข้ัน Define

4.4.4 Prototype คือ การสร้างแบบ จำลอง หรือการสร้างต้นแบบขึ้นมา เพื่อให้ผู้ใช้สามารถ
ทดสอบและตอบ คำถามหรือกระต้นุ ให้เกดิ การวพิ ากษ์วจิ ารณ์ เพอ่ื ทีเ่ ราจะได้เข้าใจ สงิ่ ทเ่ี ราอยากรูม้ ากย่ิงขึ้น และ
ยงิ่ สร้างเรว็ เท่าไรก็ยง่ิ ได้ลองหาข้อผดิ พลาดและเรียนรู้เก่ยี วกบั ไอเดยี ของเราไดเ้ ร็วเท่านั้น

4.4.5 Test คือ การทดสอบ โดยเรานำแบบจำลองที่สร้างขึ้นมา ทดสอบกับผู้ใช้หรือ
กลมุ่ เปา้ หมาย เพื่อสังเกตประสิทธภิ าพการใชง้ าน โดยนำผลตอบรับ ข้อเสนอแนะตา่ ง ๆ ตลอดจนคำแนะนำมาใช้
ในการพัฒนา และปรบั ปรงุ ต่อไป

4.5 คำนิยาม (Definition)
กระบวนการสรา้ งนวัตกรรมโดยการใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ อาจมีขั้นตอนหรือกระบวนการอืน่ ๆ
ซ่งึ เปน็ องคป์ ระกอบสำคญั สำหรบั การดำเนินงานนวตั กรรม ซึ่งมคี ำนิยามศพั ท์ ดังน้ี

4.5.1 Business Model หมายถึง แบบจำลองธุรกิจเป็นเครื่องมือทีช่วยในการวางแผนธุรกิจซึ่ง
จะช่วยให้เห็นภาพ (Visualizing) ได้อย่างครบถ้วน ซึ่งช่วยในการประเมินความสำเร็จของแผนงาน และเลือก
รปู แบบ (Business Model) ทมี่ ีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับธรุ กจิ ซง่ึ ประกอบดว้ ย 9 องค์ประกอบ ดังนี้

- Customer Segments กลุ่มของลูกค้าเป็นการแบ่งกลุ่มของลูกค้า เพื่อหาข้อมูลว่า
ลกู คา้ ในแต่ละกลุ่มนั้น มคี วามตอ้ งการอยา่ งไร มลี กั ษณะสำคญั อย่างไร พฤตกิ รรมเป็นอยา่ งไร หรอื ปัญหาท่ีลูกค้า
พบคอื อะไร เปน็ ตน้

- Value Proposition การนำเสนอคุณค่า คือ สินค้า และ บริการ ที่มูลค่าเพิ่มที่ใส่เข้า
ไปในสินค้า หรือ บริการ แล้วทำให้ตำแหน่งของสินค้าและบริการของเรา อยู่ในตำแหน่งที่เหนือกว่าสินค้าอื่น ๆ
ทว่ั ๆ ไป หรือ ทีอ่ ยูใ่ นทอ้ งตลาด

- Channels ช่องทางการเข้าถึงลูกคา้ เป็นช่องทางการจัดจำหน่ายก็มี หรือบางคน ก็ใช้
เปน็ Logistics กม็ ี บางคนการวางแผนกลยทุ ธท์ างด้านการตลาด จะมองจดุ นีเ้ ปน็ ช่องทางการจัดจำหน่าย บางคน
การวางแผนกลยทุ ธท์ างดา้ นการจัดการ ก็จะมองจดุ น้ีเปน็ Logistics ก็มี

- Customer Relationships ความสัมพันธ์กับลูกค้า เมื่อเราจะกำหนด Customer
Relationships ในจุดนี้ ต้องมองในมุมของ ลูกค้าเป็นหลัก เพราะถ้ามองในมุมของเจ้าของสินค้า ความคลาด
เคลื่อนอาจจะมีมากด้วยในการวางแผนกลยุทธ์ทาง ด้านการตลาด ในเรื่องของ Customer Relationships
ค่อนข้างมีความสำคัญ เพราะเป็นตัวบ่งบอกว่า ลูกค้าจะกลับมาซื้อซ้ำหรือไม่ หรือ ลูกค้าจะบอกต่อให้เพื่อนๆใช้
สนิ ค้าน้หี รือไม่

- Revenue Streams ชอ่ งทางการเขา้ ถงึ ลูกคา้ ทางเข้าของรายได้ หลายๆสาย และการ
ทรี่ ายไดเ้ ขา้ มาเป็นสาย นัน่ หมายถงึ ความมัน่ คงทางการเงินทม่ี ากข้นึ

- Key Partners คู่ค้าดำเนินธุรกิจที่สำคัญ หมายถึง บริษัทฯ อื่น ที่มีผลต่อการดำเนิน
ธุรกิจของเรา หรือ สนับสนุนธุรกิจของเราให้ดำเนินไปอย่างปกติ หรือ ดำเนินไปได้ดีขึ้นจากปกติ เพื่อหากลยุทธ์
จากข้อมูลตา่ งๆท่ปี ้อนเข้าไปในกล่องน้ี

- Key Activities กิจกรรมหลัก เป็นกิจกรรมที่จะสนับสนุนให้ สินค้า และ บริการ มี
มูลค่าเพิ่มมากขึ้น หรือ เป็นตัวเชื่อมโยงระหว่าง คู่ค้า-ดำเนินธุรกิจหลัก ว่า ควรมีกิจกรรมอย่างไรเพื่อให้ คู่ค้า

13

สนับสนุนธุรกิจเราได้ดีมากยิ่งขึ้น กิจกรรมอาจจะเป็นกิจกรรมที่ส่งผลให้ กลุ่มลูกค้า เกิดความพึงพอใจ หรือ เป็น
กิจกรรมร่วมระหว่างองค์กรกับลูกค้าด้วยก็ได้ หรอื เป็นกิจกรรมท่สี นบั สนุนการขาย เปน็ ช่องทางการขายเพ่ิมมาก
ขึ้น หรือ ให้บริการได้ดีขึ้น ทั้งนี้ กิจกรรมที่จะดำเนินการ อาจจะแฝงด้วยผลกำไรอีกทางก็จะดีไม่น้อย บางคร้ัง
กิจกรรมนี้ ในทางการวางแผนกลยทุ ธ์ทางการผลิต กจ็ ะหมายถงึ การผลิตดว้ ย

- ทรัพยากรหลัก เป็นวตั ถุดิบ (Material) ท่ีใช้ในการผลิตก็ได้ เพ่ือใหส้ ินค้าและบริการดี
ขึ้น หรือ จะเป็นสินค้าอื่นๆ ที่ซื้อมาเพื่อขายร่วมกับสินค้าก็ได้ ในการแผนผลิตภัณฑ์ ก็อาจจะกล่าวถึง Packaging
ที่สนับสนุนให้การส่งสินค้าดีขึ้น บางครั้งก็จะกล่าวถึง Key Man ในช่องนี้ ทรัพยากรบุคคล เครื่องจักรการผลิต
เหล่านี้เป็นต้น

- Cost Structure โครงสร้างค่าใช้จ่าย โครงสร้างค่าใช้จ่าย ดูจากค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นใน
แต่ละขั้นตอนหรือ จากกล่อง 1 - 8 ทั้งนี้จะทำให้เห็นภาพรวมของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นว่า มีจำนวนประมาณเท่าใด
จุดใดเสียค่าใช้จ่ายมาก หรือ น้อยอย่างไร และเป็นตัวบ่งชี้ว่า จะสามารถคุมค่าใช้จ่ายให้เหมาะสม ณ จุดใด ซ่ึง
กล่องที่ 9 โครงสร้างค่าใชจ้ า่ ย และ กลอ่ งท่ี 5 กระแสรายได้ จะบง่ บอกถึง สถานะทางการเงนิ ของธรุ กิจ

4.5.2 Minimal Viable Product (MVP) คือ เวอร์ชันที่ใช้งานได้ขั้นพื้นฐานสุดของผลิตภัณฑ์/
บริการ ซึ่งสตาร์ทอัพจำนวนมากสร้าง MVP เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของผลิตภัณฑ์/บริการว่ามีศักยภาพพอท่ี
ผู้คนต้องการ (Users/Stakeholder) และลองใส่ข้อเสนอพิเศษหรือฟังก์ชันพิเศษเพิ่มเติม เป็นการพัฒนา
ผลติ ภณั ฑ์/บริการไปจนถงึ พฒั นาเพอื่ ขยายผลตอ่ ไป (Product development และ Business development)

4.5.3 Usability Testing คือ การทดสอบ โดยการนำผลิตภัณฑ์ หรือส่วนติดต่อผู้ใช้งานไปให้
กลมุ่ เปา้ หมายลองใช้งาน โดยการกำหนดเป้าหมายโดยทำให้สำเร็จเป็นข้อ ๆ แล้วเฝา้ ดู และสงั เกตวา่ ผู้ใช้มีวิธีการคิด
การตดั สนิ ใจ การใช้งานส่วนตดิ ต่อ ผูใ้ ชง้ านทำอย่างไร ท่จี ะทำใหเ้ ป้าหมายน้นั สำเรจ็

4.6 หน่วยงาน หมายถงึ หนว่ ยงานในสงั กัดกรมควบคุมโรค ทง้ั สิน้ 43 หน่วยงาน ไดแ้ ก่
4.6.1 หน่วยงานวิชาการ 29 หน่วยงาน ประกอบด้วย กองโรคจากการประกอบอาชีพและ

สิ่งแวดล้อม สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กองโรคติดต่อนำโดยแมลง กองระบาดวิทยา
กองโรคติดต่อทั่วไป กองวัณโรค กองโรคไม่ติดต่อ กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กองควบคุมโรคและ
ภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กองงานควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ
สถาบันบำราศนราดูร สถาบันราชประชาสมาสัย สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง สำนักงานความร่วมมือระหว่าง
ประเทศ กองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศและกักกันโรค กองป้องกันการบาดเจ็บ และสำนักงานป้องกัน
ควบคุมโรคที่ 1 - 12

4.6.2 หน่วยงานสนับสนุน 14 หน่วยงาน ประกอบดว้ ย กล่มุ ตรวจสอบภายใน สำนักงานเลขานุการ
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กองบริหารทรัพยากรบุคคล กองบริหารการคลัง ศูนย์สารสนเทศ
กลุม่ คุ้มครองจรยิ ธรรม กองกฎหมาย สำนกั งานบริหารโครงการกองทุนโลก สำนักงานเลขานุการโครงการพระราชดำริ
สถาบันเวชศาสตร์ป้องกนั ศกึ ษา กองนวตั กรรมและวจิ ยั สำนักงานคณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ

หมายเหตุ สถาบันเวชศาสตรป์ ้องกันศึกษา กองนวัตกรรมและวิจัย สำนักงานคณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ
ต้องดำเนนิ งาน งานวิจยั ทว่ั ไป: Regular research หรอื นวตั กรรม เทา่ นั้น

5. สตู รการคำนวณ: ไมม่ ี

14

6. เกณฑก์ ารให้คะแนน : กำหนดเป็นข้นั ตอนแบง่ เกณฑ์การใหค้ ะแนนเป็น 5 ระดบั พิจารณาจากความกา้ วหนา้

ของการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละขัน้ ตอน ดังน้ี

ชื่อตัวชว้ี ัด ระดับ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
คะแนน ข้ันตอนที่ 1 ขน้ั ตอนท่ี 2 ข้นั ตอนที่ 3 ขน้ั ตอนที่ 4 ขัน้ ตอนที่ 5

ระดับความสำเร็จของ 0.25 
การดำเนินผลิตภัณฑ์
เพอ่ื การเฝ้าระวัง ปอ้ งกัน 2.25  

ค ว บ ค ุ ม โ ร ค แ ล ะ ภั ย 3.50   

สุขภาพ (นวตั กรรม) 4.25    

5    

7. เง่อื นไขของตัวช้ีวดั : ไม่มี
8. ขอ้ มูลพน้ื ฐานประกอบตัวช้วี ัด:

ตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนนิ งานในอดตี ปงี บประมาณ พ.ศ.
2562 2563 2564
ระดับความสำเรจ็ ของการดำเนนิ ผลติ ภัณฑเ์ พ่ือ ระดบั ---
การเฝา้ ระวัง ปอ้ งกันควบคมุ โรคและภัยสุขภาพ
(งานนวตั กรรม)

9. รายละเอียดการดำเนินงาน:

ขนั้ ตอนท่ี รายละเอยี ดการดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการประเมนิ
0.25
1 1.1 บันทึกข้อมูลนักวิจัยผ่านระบบ ออนไลน์ รายงานสรปุ ขอ้ มูลของหนว่ ยงาน
เอกสาร 1.1 ไฟล์ Excel ท่ี export
“ระบบบนั ทึกขอ้ มูลนักวจิ ยั (DDC Researcher จากระบบบันทึกข้อมูลนักวิจัย
กรมควบคุมโรค (DDC Researcher
Data System)” และบันทึกข้อมลู ผลิตภัณฑ์ใน Data System) (0.1 คะแนน)
และเอกสาร 1.2 ไฟล์ Excel ที่
“ฐานข้อมูลผลิตภัณฑเ์ พือ่ การเฝ้าระวัง ป้องกัน export จากฐานข้อมูลผลิตภัณฑเ์ พ่อื
การเฝา้ ระวัง ปอ้ งกนั ควบคุมโรคและ
ควบคุมโรคและ ภัยสขุ ภาพของหน่วยงาน” ภัยสุขภาพของหนว่ ยงาน
(0.15 คะแนน)
หมายเหตุ
1. หน่วยงานวิชาการแนบเอกสารทั้ง
1.1 - 1.3 กรณีหน่วยงานสนับสนนุ
แนบเอกสาร 1.1 (ถ้ามี) และแนบ
เอกสาร 1.2 และ 1.3

15

ข้ันตอนที่ รายละเอยี ดการดำเนนิ งาน คะแนน เอกสารประกอบการประเมนิ
2 0.25 2. เอกสาร 1.1 ตามลงิ ก์
2.1 กระบวนการทำความเข้าใจปญั หา https://dirrs-ddc.moph.go.th/
(Empathize) 3. เอกสาร 1.2 ตามลิงก์
1) สำรวจปัญหา ซ่ึงเปน็ การสำรวจความเข้าใจ http://iremdb.ddc.moph.go.th/
ทมี่ ตี อ่ ปัญหาเพื่อระบุประเด็นปัญหาในเบอื้ งตน้ spdp/index.php
พรอ้ มท้งั ตรวจสอบความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับ เสนอผ้บู รหิ ารรับทราบ หรอื ผู้บรหิ าร
ประเด็นปญั หาในเบือ้ งต้น เห็นชอบ และแนบหลักฐานในระบบ
Estimates SM ภายในวนั ท่ี 25
มนี าคม พ.ศ. 2565

-ผลการระบุปญั หา โดยนำข้อมลู ท่ี
ไดม้ าวิเคราะห์ สงั เคราะห์ (Analyse
& Synthesis) รวมถึงระบปุ ระเดน็
ปัญหาท่สี นใจ ตามเอกสาร
Worksheet 1.1 และ Worksheet 1.2

2) วิเคราะห์ข้อมูลเบ้ืองต้นจากข้อมลู ทตุ ยิ ภูมิ 0.25 -ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู เบื้องต้น
(Secondary Data) เชน่ ขอ้ มูลสถติ ิ บทเรียน (Secondary Analysis) ตามเอกสาร
ผลลัพธ์ หรอื ผลงานวจิ ัยอน่ื ๆ Worksheet 2

3) รวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมูลเชงิ ลึก 0.5 -ผลการรวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมูล

(Primary Data) ทีไ่ ด้จากกลุม่ เปา้ หมายและผูม้ ี เชิงลกึ (Primary Data) ตามเอกสาร

สว่ นไดส้ ่วนเสยี โดยเตรยี มประเด็น Worksheet 3.1, Worksheet 3.2

สัมภาษณ์(Interview Guideline) เตรยี ม และ Worksheet 4

คำถามสัมภาษณ์ข้อมูลเชงิ ลึก (Interview เสนอผ้บู รหิ ารรบั ทราบ หรือผู้บริหาร

Questions) และสัมภาษณข์ ้อมูลเชิงลกึ กับ เห็นชอบ และแนบหลักฐานในระบบ

กลุ่มเป้าหมายและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย Estimates SM ภายในวนั ที่ 25

มีนาคม พ.ศ. 2565

16

ข้ันตอนที่ รายละเอยี ดการดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการประเมิน
0.5
2.2 กระบวนการระบปุ ญั หาใหช้ ัดเจน (Define) -ผลการทบทวนปญั หาหลงั การ
1) ทบทวนปญั หาหลังการสงั เคราะห์ข้อมลู สังเคราะห์ข้อมลู (Synthesis
(Synthesis Review) เพื่อคดั กรองปัญหา Review) ทรี่ ะบุกลุ่มเปา้ หมาย
กำหนด หรอื บง่ ชีป้ ญั หาอยา่ งชัดเจน ประเดน็ ปญั หา และข้อมูลเชงิ ลกึ
ตามเอกสาร Worksheet 5.1 และ
Worksheet 5.2

2) สรปุ กลุม่ เปา้ หมาย ประเด็นปัญหา และ 0.5 -สรุปกลุม่ เป้าหมาย ประเดน็ ปัญหา
ขอ้ มูลเชิงลึก เพื่อนำไปสู่แนวทางการแกไ้ ข และข้อมูลเชงิ ลกึ ตามเอกสาร
ปญั หาในรปู แบบของ How Might We Worksheet 5.3 โดยรายงานผลการ
ดำเนินงานตามตัวชี้วัด เสนอ
3 กระบวนการสรา้ งสรรค์แนวคิดและสรา้ ง ผบู้ รหิ ารรับทราบ หรอื ผบู้ รหิ าร
ต้นแบบ (Ideate & Prototype) เหน็ ชอบ และแนบหลักฐานในระบบ
3.1 ระดมความคดิ ใหม่ ๆ อย่างไม่มขี ดี จำกัด Estimates SM ภายในวนั ที่ 25
หรอื การสรา้ งความคิดตา่ ง ๆ ใหเ้ กิดข้ึน โดย มีนาคม พ.ศ. 2565
เนน้ การหาแนวคดิ และแนวทางในการแกไ้ ข
ปญั หาให้มากทีส่ ุด หลากหลายทีส่ ดุ โดย 1.25 รายงานสรุปกลไกการทำงานของ
ความคดิ และแนวทางตา่ ง ๆ ที่คิดข้นึ มานนั้ ต้นแบบนวัตกรรมท่ีไดจ้ ากการระดม
เพ่ือตอบโจทย์ปัญหาท่ีเกดิ ขึน้ ความคิด ประกอบดว้ ย
1. Conceptual Framework ของ
Solution (0.5 คะแนน)

3.2 สร้างต้นแบบ เพื่อทดสอบจริงกอ่ นทจ่ี ะ 2. ต้นแบบของปฏบิ ตั กิ ารทีต่ ้องการ
นำไปผลิตจริง สำหรับในดา้ นอืน่ ๆ โดยการลง นำไปใช้จรงิ และสรปุ เน้ือหาที่
มือปฏิบัติหรือทดลองทำจรงิ ตามแนวทางท่ีได้ เก่ียวข้อง เช่น กระบวนการสรา้ ง/
เลือก ตลอดจนสรา้ งต้นแบบของปฏบิ ัติการที่ ขน้ั ตอน/วธิ ีการดำเนินงานของ
ตอ้ งการจะนำไปใชจ้ รงิ ต้นแบบนวัตกรรม (0.75 คะแนน)
โดยรายงานผลการดำเนนิ งานตาม
ตวั ช้วี ดั เสนอผบู้ ริหารรบั ทราบ หรือ
ผูบ้ ริหารเหน็ ชอบ และแนบหลกั ฐาน
ในระบบ Estimates SM ภายใน
วนั ท่ี 25 กนั ยายน พ.ศ. 2565

17

ข้ันตอนที่ รายละเอียดการดำเนินงาน คะแนน เอกสารประกอบการประเมนิ

4 ทดลองนำตน้ แบบหรอื ข้อสรุปท่จี ะนำไปใชจ้ รงิ 0.75 สรุปผลทดสอบการใช้งาน

มาปฏบิ ตั ิก่อน (Test) เพื่อทดสอบ (Usability Test) และประเด็นการ

ประสทิ ธิภาพ ตลอดจนประเมินผล และ ปรับปรงุ MVP1 โดยรายงานผลการ

วิเคราะห์ข้อดีข้อเสยี ทเี่ กดิ ขึ้น เพือ่ นำมา ดำเนนิ งานตามตวั ช้ีวัด เสนอผบู้ รหิ าร

ปรับปรุงแก้ไข ก่อนนำไปใช้จริงอกี ครง้ั รับทราบ หรือผูบ้ ริหารเห็นชอบ และ

แนบหลักฐานในระบบ Estimates

SM ภายในวนั ที่ 25 กนั ยายน

พ.ศ.2565

5 รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการ 0.75 -รายงานสรปุ ผลการดำเนนิ งาน

นวัตกรรม ปี 65 และสรุปถอดบทเรียนการ โครงการนวตั กรรม ปี 2565

ดำเนนิ งาน (AAR) และสรปุ ถอดบทเรียนการดำเนินงาน

(AAR) โดยรายงานผลการดำเนนิ งาน

ตามตวั ชีว้ ดั เสนอผู้บริหารรับทราบ

หรอื ผู้บริหารเห็นชอบ และแนบ

หลกั ฐานในระบบ Estimates SM

ภายในวนั ท่ี 25 กนั ยายน พ.ศ.2565

หมายเหตุ :

1. กรณไี ม่รายงานภายในระยะเวลาทกี่ ำหนดแต่ละขน้ั ตอน หักข้นั ตอนละ 0.05 คะแนน

2. กรณีไมเ่ สนอผ้บู รหิ ารเห็นชอบหรอื รบั ทราบ หักข้นั ตอนละ 0.05 คะแนน

3. กรณไี ม่ระบรุ ายละเอียดความก้าวหน้าและผลการดำเนนิ งานในระบบ ESM หกั ขั้นตอนละ 0.05 คะแนน

4. กรณเี อกสารท่แี นบในระบบ ESM มขี ้อมลู ไม่ตรงกันหรือข้อมูลไม่ชัดเจน หักขน้ั ตอนละ 0.05 คะแนน

10. เป้าหมาย:
ไตรมาสท่ี 2 ถึงข้ันตอนท่ี 2
ไตรมาสที่ 4 ถึงข้นั ตอนที่ 5

11. แหล่งขอ้ มลู : รายงานความก้าวหนา้ ในระบบบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ (Estimates SM) กรมควบคุมโรค

12. วิธกี ารจดั เกบ็ ขอ้ มูล: รวบรวมขอ้ มูลและรายงานตามแบบฟอรม์ SAR ในระบบบริหารจดั การเชงิ ยุทธศาสตร์
(Estimates SM)

13. ความถี่ในการจัดเก็บข้อมลู :
ไตรมาสท่ี 2 ภายในวนั ที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2565
ไตรมาสที่ 4 ภายในวันที่ 25 กันยายน พ.ศ.2565

14. แบบฟอรม์ ทใี่ ช้ประกอบดว้ ย:
14.1 แบบฟอรม์ RE_01_สรปุ ขอ้ มลู หนว่ ยงาน
14.2 Worksheet 1.1 Exploring Problem (สำรวจประเด็นปัญหาทส่ี นใจ)
14.3 Worksheet 1.2 Visual Scoping (การระบุขอบเขตปัญหาด้วยภาพ)
14.4 Worksheet 2 Secondary Analysis (การวเิ คราะหข์ ้อมูลเบ้ืองต้น)
14.5 Worksheet 3.1 Interview Guideline (การเตรียมประเดน็ สมั ภาษณแ์ ละเลือกกลมุ่ เป้าหมาย)

18

14.6 Worksheet 3.2 Interview Questions (การเตรียมคำถามสัมภาษณ์เพอื่ หาข้อมลู เชิงลึก)
14.7 Worksheet 4 Interview record (บันทึกการสัมภาษณข์ ้อมูลเชิงลกึ )
14.8 Worksheet 5.1 Synthesis Review (การทบทวนหลังการสังเคราะหข์ ้อมลู )
14.9 Worksheet 5.2 Reflection (การทบทวนตัวเองหลังการสังเคราะหข์ ้อมูล)
14.10 Worksheet 5.3 Summary (สรปุ กลมุ่ เปา้ หมาย ประเดน็ ปญั หา และข้อมูลเชงิ ลึก)
14.11 รายงานสรุปกลไกการทำงานของต้นแบบนวตั กรรมที่ไดจ้ ากการระดมความคดิ
14.12 สรปุ ผลทดสอบการใช้งาน (Usability Test) และประเด็นการปรบั ปรุง MVP1
14.13 รายงานสรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการนวัตกรรม ปี 2565

15. ผู้กำกบั ดแู ลตัวชี้วัด : โทรศพั ท์ E-mail
ระดับกรม : ผู้อำนวยการกองนวัตกรรมและวิจัย
02 590 3175 [email protected]
ชื่อผกู้ ำกบั ตัวช้ีวดั

นายแพทย์ไผท สงิ หค์ ำ
ผอู้ ำนวยการกองนวัตกรรมและวจิ ยั

ระดับหนว่ ยงาน : ………………………………………………………

ชือ่ ผกู้ ำกบั ตัวช้ีวัด โทรศพั ท์ E-mail
[email protected]
นายกฤษฏา หาญบรรเจดิ 0 2590 3893
[email protected]
ผูอ้ ำนวยการกองโรคไมต่ ดิ ต่อ

นายแพทย์อรรถเกียรติ กาญจนพบิ ูลวงศ์ 0 2590 3892

นายแพทย์ชำนาญการพเิ ศษ

16. ผู้จดั เกบ็ ข้อมูล : โทรศัพท์ E-mail
ระดบั กรม : กองนวัตกรรมและวิจัย

ช่อื ผูจ้ ัดเก็บตัวชี้วัด

แพทย์หญิงพชั รินทร์ ตนั ตวิ รวิทย์ 02 590 3175 [email protected]
นายจิรศกั ด์ิ แขกพงษ์ 02 590 3175 [email protected]
นางสาววชิ ุดา ลอื จันทร์ 02 590 3175 [email protected]

ระดับหนว่ ยงาน : หน่วยงาน โทรศพั ท์ E-mail
ชอ่ื ผ้จู ัดเกบ็ ตัวช้ีวัด กองโรคไมต่ ิดต่อ
กองโรคไม่ติดต่อ 02 590 3892 [email protected]
นางสาวปิยวรรณ โสตะ
นางสาวเบญจมาศ วังนรุ าช 02 590 3892 [email protected]

นางสาวสธุ ิดา แกว้ ทา กองโรคไม่ติดต่อ 02 590 3892 [email protected]

แบบฟอรม์ RE_01_สรปุ ข้อมูลหน่วยงาน 19

-ตัวอย่าง-
สรุปข้อมูลหน่วยงาน

ช่อื หน่วยงาน...........กอง..........................

1. การวิเคราะหส์ ถานการณ์โรค ปัญหาจากการทำงาน ช่องว่างองคค์ วามรู้

(เนื้อหาควรแสดงถึงการวิเคราะห์จากสถานการณ์โรค ปัญหาของโรคต่างๆในพืน้ ที่-หน่วยงาน หรือปัญหาจาก
การทำงาน รวมทั้งองค์ความรู้ที่ยังขาดอยู่ ต้องแสดงถึงขนาดของปัญหาโดยต้องมีการเปรียบเทียบกับ
สถานการณ์ย้อนหลัง ข้อมูลระดับประเทศ หรือระดับนานาชาติ วิเคราะห์ถึงการทำงานของหน่วยงาน มีการ
ดำเนินการเพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค ประกอบด้วยอะไรบ้าง ผลที่ดำเนินการเป็นอย่างไร และมี
ปัญหาอะไรที่ทำให้สถานการณ์โรคไม่ดีขึ้น การดำเนินการที่ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ โดยวิเคราะห์ว่าเกดิ
จากสาเหตใุ ด ส่งผลใหค้ วรมีการดำเนินการด้านอะไรเพ่ิมข้นึ หรอื วิเคราะหเ์ ลือกลำดับความสำคญั ของปัญหา)

2. โจทย์วิจยั และผลิตภณั ฑเ์ พือ่ การเฝา้ ระวังป้องกนั ควบคมุ โรคและภัยสุขภาพ ทไ่ี ด้จากการวิเคราะห์ ทบทวน

(จากการวเิ คราะห์ขอ้ 1 หนว่ ยงานจึงมีแนวทางเพื่อการดำเนินการอยา่ งไรบา้ งในปี 2565 – 2567)

ลำดบั รายชอ่ื โครงการวจิ ยั /ผลติ ภณั ฑเ์ พอื่ การเฝา้ ระวังป้องกนั ประเภท ปที ่ีจะดำเนนิ การ

ควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพ ผลิตภัณฑฯ์ 2565
2565
1. โครงการวจิ ยั .... วิจยั 2566
2567
2. คู่มือเพื่อการป้องกนั โรค.... คู่มอื 2567
2567
3. นวตั กรรมเพ่ือการควบคมุ โรค.... นวตั กรรม

4. โครงการวจิ ัย.... วจิ ยั

5. หลกั สูตร…. หลักสตู ร

6. ถอดบทเรียนเรื่อง…. ถอดบทเรยี น

20
แบบฟอรม์ RE_01_สรุปข้อมูลหน่วยงาน (ต่อ)

3. ข้อมูลบคุ ลากรสายวิชาการของหน่วยงาน จำนวนใน จำนวนทีบ่ นั ทกึ ข้อมูลใน “ระบบบันทึก
ที่
หน่วยงาน ข้อมลู นักวิจยั กรมควบคุมโรค (DDC
ลำดบั ตำแหนง่
ท่ี (หากไม่มี Researcher Data System)

สายงานหลกั ของกรมควบคุมโรค ตำแหน่ง หากไม่มผี บู้ นั ทึกขอ้ มลู จากตำแหนง่ )
1. แพทย์
2. สัตวแพทย์ ดังกล่าวระบุ 0 ) ดงั กลา่ วระบุ 0)
3. นกั วิชาการสาธารณสุข
4. พยาบาล 11
5. นักเทคนิคการแพทย์ 00
6. อน่ื ๆ ของสายงานหลกั * (วชิ าการ) 10 3
7. อน่ื ๆ ของสายงานหลกั ** (ท่วั ไป) 22
สายงานสนับสนุนของกรมควบคุมโรค 00
8. นกั จัดการงานทว่ั ไป 10
9. นักวิเคราะห์นโยบายและแผน 50
10. นักวิชาการการเงินและบัญชี
11. นักวิชาการพสั ดุ 21
12. นกั วชิ าการตรวจสอบภายใน 10
13. นักทรพั ยากรบุคคล
14. อนื่ ๆ ของสายงานสนบั สนุน *** (วิชาการ) 10
15. อื่นๆ ของสายงานสนบั สนนุ **** (ท่วั ไป) 10
00
00
00
30

* ประกอบด้วย ทันตแพทย์ / เภสัชกร / นักรังสีการแพทย์ / นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ / นักสังคมสงเคราะห์
/ นกั จิตวทิ ยา / นกั กายภาพบำบัด / นกั โภชนาการ
** ประกอบด้วย เจ้าพนักงานสาธารณสุข /เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ / เจ้าพนักงานเภสัชกรรม
/ เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์ / เจ้าพนักงานอาชีวบำบัด/เจ้าพนักงานทนั ตสาธารณสุข /ช่างกายอุปกรณ์ / พยาบาลเทคนคิ
/ โภชนากร
*** ประกอบด้วย นิติกร / นักวิชาการเผยแพร่ / นักประชาสัมพันธ์ / นักวิชาการคอมพิวเตอร์ / บรรณารักษ์
/ นักวิชาการโสตทัศนศกึ ษา
**** ประกอบด้วย เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี / เจ้าพนักงานธุรการ / เจ้าพนักงานพัสดุ / เจ้าพนักงานสถิติ
/ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา / เจ้าพนักงานห้องสมุด / นายช่างเทคนิค / นายช่างโยธา / นายช่างเครื่องกล
/ นายช่างไฟฟ้า / นายช่างศิลป์ / เจา้ พนักงานเวชสถติ ิ

WORKSHEET 1.1 EXPLORING PRO

สำรวจประเด็นปญั หาทส่ี นใจ

กลุ่มเปา้ หมายและ
ข้อมลู ท่เี กีย่ วข้อง

ประเดน็ ปัญหาย่อย

ปัญหาท่ีสนใจ

....................................................

สถานท่/ี พน้ื ท่ี อุปส
ทเี่ กิดปญั หา เดือ

กลมุ่

พฤตกิ รรม/สถานการณ์
ทเ่ี ปน็ ปญั หา

สรุปประเดน็ ปญั หาท่ีเลอื กคือ : ...................................................................................................

OBLEM 21

สรรค/ความ
อดร้อนของ

มเปา้ หมาย

.........................................................................................................................................................

WORKSHEET 1.2 VISUAL SCOPING

การระบุขอบเขตปญั หาดว้ ยภาพ

ปัญหาที่เลือกคือ : ...........................................................................................................

1. ภาพสถานการปัญหา 2.ภาพสาเหตุของปัญหา

 แนใ่ จ  ไม่แน่ใจ  ไมร่ ู้  แนใ่ จ  ไมแ่ นใ่ จ  ไม่รู้

ระบคุ ำถามหรอื หัวขอ้ ท่ีอยากร้เู พ่ิมจากการวาดภาพในแตล่ ะช่อง

………………………………………………………… …………………………………………………………

………………………………………………………… …………………………………………………………

………………………………………………………… …………………………………………………………

ข้อมูลเหลา่ นีจ้ ะสามารถไดจ้ ากแหลง่ ใดบ้าง? ใครบา้ ง?

....…………………………………………………… …………………………………………………………

………………………………………………………… …………………………………………………………

G 22

.................................................................................................................................................

3.ภาพผลกระทบท่เี กิดขนึ้ 4.ภาพการแกป้ ัญหาทคี่ ดิ ไว้

 แน่ใจ  ไมแ่ นใ่ จ  ไมร่ ู้  แน่ใจ  ไมแ่ น่ใจ  ไมร่ ู้

………………………………………………………… …………………………………………………………
………………………………………………………… …………………………………………………………
………………………………………………………… …………………………………………………………

………………………………………………………… …………………………………………………………
………………………………………………………… …………………………………………………………

WORKSHEET 2 SECONDARY ANA

การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น

1.ตัวเลข/สถติ ิที่น่าสนใจ

2.เหตุการณ์/สง่ิ ที่เกดิ ขน้ึ
ซ้ำๆ บ่อยๆ (Patterns)

3. กฎหมาย/นโยบาย/
ขอ้ บังคับท่ีเกยี่ วข้อง

4.ค่านยิ ม/ทัศนคต/ิ
ความเชอ่ื ทน่ี ่าสนใจ

ALYSIS 23
Link ทม่ี าของข้อมลู
ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสยี ทเ่ี ก่ียวข้อง

WORKSHEET 3.1 INTERVIEW GUID

การเตรยี มประเดน็ สมั ภาษณแ์ ละเล

กลุ่มผูม้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี หลกั ที่เราเลอื กเพื่อสัมภาษณ์หาขอ้ มูลเชงิ ลึก คอื

.............................................................................................................
ความเก่ยี วข้องกับปัญหา  ผปู้ ระสบปญั หา/ได้รบั ความเดอื ดร้อน  ผไู้ ดร้ ับผลกระทบจาก

 ผู้ได้รบั ผลกระทบจากปัญหาโดยออ้ ม  ผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี

ข้อสงสัยเก่ียวกบั สถานการณป์ ญั หา และสาเหตุ : ข้อสงสัยเก่ียวกับพฤติกรรม/ความ

หวั ข้อทีเ่ ราอยากทำความเข้าใจ : หัวข้อทเ่ี ราอยากทำความเข้าใจ :

ขอ้ สงสัยที่เกี่ยวกบั ทัศนคติ/ความเช่ือ/ความรู้สกึ /ความ ข้อสงสัยเกยี่ วกับผลกระทบ :
ต้องการ :

หวั ข้อทเี่ ราอยากทำความเข้าใจ : หวั ข้อทเ่ี ราอยากทำความเข้าใจ :

24

DELINE TARGET PERSONA

ลือกกลุ่มเป้าหมาย ลกั ษณะของตัวแทนกลมุ่ เป้าหมาย

กปัญหาโดยตรง ชื่อ..................................................................
ยอน่ื ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง
ขอ้ มูลทางประชากร (Demographic Data)
มร/ู้ ทกั ษะ : -อายุ........................................ - เพศ........................................
-สถานภาพ.............................. - ภูมลิ ำเนา................................
-อาชพี ...................................... - รายได้.....................................
-ระดับการศึกษา..............................................................................

ข้อมูลเบ้อื งต้น
-พฤตกิ รรม..................................................................................................
....................................................................................................................
.....................................................................................................................
-ปญั หา/ความเดือดร้อน...............................................................................
.......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................

WORKSHEET 3.2 INTERVIEW QUES

การเตรียมคำถามสมั ภาษณเ์ พอ่ื หาข

ตัวแทนกลมุ่ เปา้ หมาย (Persona) ท่เี ลือก คือ..........................................................................
สงิ่ ทีค่ ุณอยากจะทำความเขา้ ใจจากการสมั ภาษณ์ คอื ..............................................................

แนะนำตัว
ทำความร้จู ัก

คำถามเชิงกว้างเพื่อทำความเข้าใจ
เกยี่ วกบั “ผใู้ ห้สัมภาษณ์”

เช่น ชวี ติ ประจำวันเปน็ อย่างไรมใี คร
เกี่ยวข้องในชีวิตบา้ ง มีความสุข/ความ

ทุกขก์ ับอะไรบา้ ง

คำถามเชิงลกึ เพ่อื เจาะประเดน็ ท่สี นใจ
เก่ยี วกับ “ปัญหา”

เช่น อยา่ งไรกบั ปัญหา/สถานการณ์ที่
เกดิ ขน้ึ ในปจั จุบนั คิดว่าการแก้ปัญหาท่ีมี
อยตู่ อนนเ้ี ปน็ อยา่ งไร และอยากให้เป็น

อยา่ งไรคดิ

นัดแนะกับผใู้ ห้สัมภาษณ์หลังการ
สมั ภาษณ์

เช่น ขอเอกสาร/ข้อมูลเพม่ิ เติม ขอตดิ ตอ่
กลบั มาอีกครั้ง

25

STIONS

ข้อมลู เชิงลึก

......................................ประเด็นปัญหาที่เลือก คอื ...................................................................
.................................................................................................................................................

WORKSHEET 4 INTERVIEW RECO

ผใู้ หส้ ัมภาษณ์ บันทึกการสัมภาษณข์ ้อมลู เชิงลกึ
บนั ทึกข้อมลู ทไ่ี ดจ้ ากการสัมภาษณ์
NO
ประเด็น

ORD 26

OTE วันที่สัมภาษณ์
NON-VERBAL COMMUNICATION NOTE

WORKSHEET 5.1 SYNTHESIS REVIE

การทบทวนหลงั การสังเคราะห์ข้อมลู

ปญั หาทสี่ นใจ คือ .............................................................................................................................

Gap & Opportunity (ชอ่ งวา่ ง & โอกาส)
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
Insight (ข้อมลู เชิงลึกทเี่ กี่ยวขอ้ งกับปัญหา)
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................

EW 27



. ...................................................................................................................................

Burning Questions คำถามสำคัญ
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
To Do List (ส่งิ ท่ตี ้องทำ)
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................

WORKSHEET 5.2 REFLECTION

การทบทวนตวั เองหลงั การสังเคราะห

1. เรารสู้ ึกอย่างไรบา้ งหลัวจากการสงั เคราะหข์ อ้ มูล
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................

2. เราไดเ้ รียนรู้อะไรบ้างเก่ยี วกับประเด็นปัญหา สาเหตุ/ผลกระทบ
และผูป้ ระสบปญั หา/ผูท้ ม่ี ีส่วนเก่ยี วข้อง
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................

5. ชอ่ งว่าง/โอกาส/Insight ใดท่ีคณุ สนใจแ
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................

28

หข์ ้อมลู

3. อะไรท่ีทำใหเ้ รารู้สึกแปลกใจ/สนใจ
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................

4. เรามองเหน็ รูปแบบ (Pattern) ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ปัญหาหรือไม่ อย่างไร
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................

และเลือกจะนำไปดำเนนิ งานต่อ เพราะอะไร
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................

WORKSHEET 5.3 SUMMARY

สรปุ กลมุ่ เปา้ หมาย ประเด็นปัญหา แ

Target (กลุม่ เป้าหมาย) Need (ความต้องการ)
............................................................................................ ....................................................
............................................................................................ ....................................................
............................................................................................ ....................................................
............................................................................................ ....................................................
............................................................................................ ....................................................
............................................................................................ ....................................................
............................................................................................ ....................................................
............................................................................................ ....................................................
............................................................................................ ....................................................

ฉันอยากจะช่วยแก้ไขปญั หาของ .............................................
ผซู้ งึ่ .........................................................................................
และตอ้ งการ ...........................................................................
เพราะ......................................................................................
.................................................................................................

จะเป็นไปไดไ้ หม ท่ีเราจะ (How might we) ……………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
….……………………………………………………………………………………………………………………………………

และขอ้ มลู เชิงลกึ 29

Insight / Gab / Opportunity (ขอ้ มลู เชิงลึก/ช่องว่าง/โอกาส)
..................................... ...........................................................................................................
..................................... ...........................................................................................................
..................................... ...........................................................................................................
..................................... ...........................................................................................................
..................................... ...........................................................................................................
..................................... ...........................................................................................................
..................................... ...........................................................................................................
..................................... ...........................................................................................................
..................................... ...........................................................................................................

..................................................................... (กลุ่มเปา้ หมาย)
........................................................... (Pain/ปญั หาของเขา)
..................................................................... (ความตอ้ งการ)
............................................. (ข้อมลู เชิงลกึ /ชอ่ งวา่ ง/โอกาส)
............................................. (ขอ้ มลู เชงิ ลกึ /ช่องว่าง/โอกาส)

……………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………….

30

- ตัวอยา่ ง -

สรปุ ผลทดสอบการใช้งาน (Usability Test) และประเด็นการปรบั ปรงุ MVP1

วตั ถปุ ระสงค์
• เพอ่ื ให้ทราบถึงความสำคัญของการทดสอบสว่ นตดิ ต่อผูใ้ ช้
• เพอ่ื ใหท้ ราบถึงขอบเขตท่ใี ช้ในการทดสอบ
• เพ่ือใหท้ ราบถงึ การสรา้ งการสร้างการทดสอบ
• เพือ่ ให้รบั ทราบถงึ การวิเคราะหผ์ ลการทดสอบ

ขอบเขตการทดสอบ
1. ความครบถว้ นของฟงั กช์ นั
2. ความเหมาะสมในการออกแบบ
3. ความเหมาะสมของเน้อื หา
4. ความพึงพอใจในการนำไปใช้จริง

ขนั้ ตอนการทำ Usability Testing
1. ต้งั เป้าหมายในการทดสอบ
2. จัดหาผูท้ ี่จะมาทำการทดสอบ
3. สรา้ งการทดสอบ
4. เร่มิ ทดสอบ
5. สรุปผล
6. แก้ไขปรบั ปรุง

ประเดน็ การปรบั ปรุง MVP1
1. …………………………………………………………………………..
2. …………………………………………………………………………..

31

- ตวั อยา่ ง -

รายงานสรุปผลการดำเนนิ งานโครงการนวตั กรรม ปี 2565

1. ช่อื โครงการ project............................................................................................................................. .............

2. หลกั การและเหตุผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………..……………….

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…..

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….….…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…….

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……...
3. วัตถุประสงค์

1. เพือ่ ........................................................................................................................................................
2. เพ่อื ............................................................................................................................. ...........................
3. เพอ่ื ........................................................................................................................................................

4. กลุ่มเป้าหมาย (ระบุกลุ่มคนและจำนวนคน)

5. ผลลัพธแ์ ละผลผลติ (แยกตามกล่มุ เปา้ หมายวา่ เค้าได้อะไร)

6. กรอบระยะเวลาโครงการ (ระยะเวลาและระบชุ ่วงการดำเนนิ งาน)

7. แนวทางการดำเนินงาน (Framework/Workflow/Flowchart)
สำหรับ Incubation Project อาจใส่เปน็ รูป Step ในการทำงาน (5 Step of Design Thinking),
Conceptual Framework ของ Solution

8. Project Plan
(สำหรบั Incubation Project อาจจะเอา 5 step ของ design Thinking มาอธิบาย

กจิ กรรม
(Activity)

Material/
Worksheets
ผลลพั ธ์
(Output)

Timeline

หมายเหตุ
(Note)

32

ยละเอียดในตารางน้)ี

9. Action Plan หนา้ ทแ่ี ละความ 2021

กิจกรรมทดี่ ำเนนิ งาน รับผิดชอบ Oct Nov Dec Jan
(List กิจกรรมแยกตาม
x
Timeline)
1. Project Design x
x
• KM
• Platform
• Tool (จะใชเ้ คร่ืองมือ

อะไรบ้าง)

2. ....

3. ....

4.

5.

6.

33

2022
Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep งบประมาณ ผ้รู บั ผดิ ชอบ

1,000฿ …

34

ภาคผนวก
1. ข้อมลู Pitch Deck

เนอ่ื งจากมโี ครงสรา้ งคำถามที่ครอบคลุมถึงมิติพัฒนาการเชิง Process และ Result จึงสามารถสะทอ้ นข้อมลู
การทบทวนหลงั การปฏบิ ตั ิ (AAR) ได้ ตามวัตถุประสงค์ของการทำ Pitch Deck ดงั นี้

1.1 เพ่อื เปน็ การสะท้อนถึงเข้าใจหลักการทำงานของ DPHI ท่เี น้น “บม่ เพาะการเจรญิ เติบโตของบคุ ลากร”
1.2 เพื่อเปน็ การสะท้อนถงึ ผลลพั ธข์ องการทำงานท่ีเนน้ “บ่มเพาะโครงการนวัตกรรม”
1.1 เลา่ ปญั หาทแี่ ก้
- เล่าจุดเร่มิ ตน้ ของไอเดยี /แนวคดิ การคน้ หาปัญหาอยา่ งลกึ ซ้ึง (Insight) ของทีม
- ทำใหผ้ ู้ฟังรสู้ ึกว่าหากไม่แก้ไขปัญหาน้ี จะมีการส่งผลระยะสนั้ กลาง ยาวอยา่ งไร
- เล่าบรรยากาศการทำงานของทมี ตอนคน้ หาปญั หาด้วยวิธีการใหม่
1.2 Solution สิ่งที่เราทำคืออะไร สามารถแก้ปญั หาได้อย่างไร
- เลา่ ให้ผฟู้ งั เข้าใจวิธีการแกไ้ ขปญั หา เชน่ ใช้หลักการคดิ โดยเนน้ การถามผู้ใช้จริง User/Stakeholder
- อธิบายวา่ Solution ของเราแตกตา่ งจากวธิ ีการเดิมอย่างไร
1.3 Market Plan ตลาดของเราเป็นคนกล่มุ ไหน
- อธิบายถงึ แผนการตลาด ว่าเราจะเขา้ ถงึ กลุ่มลูกคา้ นนั้ ดว้ ยวธิ กี ารใด/ได้อยา่ งไร
1.4 Business Model
1. Value Proposition

2. Business Model
เคยรจู้ กั คำน้ีไหม
รู้และเข้าใจคำนีม้ ย้ั ตงั้ แตก่ ่อนเขา้ โครงการบ่มเพาะ และระหว่างรว่ มงานกับ DPHI
อธบิ ายวิธกี ารคิดในการขยายผลสู่สงั คม/ประชาชนด้วยโมเดลธรุ กิจทเี่ นน้ ความยัง่ ยืน
1.5 Team สมาชกิ
- อธิบายถงึ ทมี งานในการทำงานคร้ังน้ี เล่าให้เหน็ วา่ มีความตง้ั ใจอยากทจ่ี ะแก้ไขปัญหา
- สมาชกิ ในทีมแตล่ ะคนมีใครบ้าง และมปี ระสบการณ์ในดา้ นไหนบ้าง
1.6 Unfair advantage
- ข้อได้เปรยี บจากการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ (ผลติ ภัณฑข์ องเรามคี วามยงั่ ยนื เป็นส่งิ ท่ีถกู พัฒนามา ไม่สามารถถูก
ลอกเลยี นแบบได้ในระยะเวลาอนั สั้น-ยาว เพราะเรามที รัพยากรทด่ี กี วา่ อยา่ งไร)
- ชใู หเ้ ห็นวา่ การทำงานภาครัฐไดเ้ ปรยี บในด้านการ Implement
2. เอกสาร/หลกั ฐานการร่วมงานกบั Partner (สแกนเอกสาร MOU)


Click to View FlipBook Version