The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการ Sandbox ไป-กลับ 1 ตค (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nuch.tarinee Phitsanulok, 2022-05-10 02:09:37

โครงการ Sandbox ไป-กลับ 1 ตค (1)

โครงการ Sandbox ไป-กลับ 1 ตค (1)

โรงเรยี นธรี ธาดา พษิ ณุโลก

โครงการ Sandbox Safety zone in School
ประเภท ไป-กลับ

ภายใต้สถานการณฉ์ กุ เฉินในการปอ้ งกันและควบคุมการแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19)

ตามมาตรการ Sandbox Safety Zone in School ประเภท ไป-กลับ
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

โดยความรว่ มมอื ระหวา่ ง
สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน (สช.) กระทรวงศกึ ษาธิการ

และกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

2

คำนำ

ด้วยโรงเรยี นธรี ธาดา พิษณุโลก เป็นโรงเรยี นเอกชนประเภทสามัญ ท่ีไม่ไดร้ ับเงนิ อดุ หนนุ ใดๆ จากภาครฐั
เพ่อื ใหม้ คี วามคลอ่ งตวั และมีอิสระในการบรหิ ารจดั การด้านวชิ าการ และดา้ นอน่ื ๆ ตามเจตนารมยข์ องผู้กอ่ ตงั้ ฯ ท่ี
ต้องการจัดการศึกษาทที่ ันสมัย โดยการระดมผปู้ กครองท่ีมคี วามพร้อมและมแี นวคดิ ในการพฒั นาบุตร-หลานไปใน
ทศิ ทางเดยี วกัน ไดม้ ีส่วนร่วมจดั การศึกษา โดยไมเ่ ป็นภาระตอ่ ภาครัฐ อนั เปน็ การแบ่งเบาภาระให้กบั ภาครัฐได้ ใน
ฐานะคนไทยคนหนง่ึ ที่เกิดมาบนแผ่นดนิ นี้

โดยเรมิ่ เปดิ ดำเนินการต้ังแตป่ ีการศกึ ษา 2540 โดยเปิดสอนต้ังแต่ระดบั ก่อนอนบุ าล - มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มี
จำนวนนกั เรยี นทั้งสนิ้ ประมาณ 533 คน โดยใช้หลกั สตู รกระทรวงฯ เปน็ หลักสตู รแกนกลาง และได้นำมาปรับเปน็
หลกั สูตรสถานศกึ ษา โดยเพ่ิมวิชาท่จี ำเปน็ ตอ่ โลกอนาคต และกำหนดมาตรฐานการจบชนั้ ปีดว้ ยมาตรฐานระดับ
สากลทัง้ ภาษาอังกฤษและภาษาจนี และทักษะดา้ นไอซีที ตลอดถงึ ทักษะดา้ นกระบวนการคดิ ที่จำเปน็ สำหรับโลก
อนาคต จงึ ถือเปน็ โรงเรียนเอกชนทางเลือกทเี่ น้นคุณภาพการจดั การศึกษาอีกแห่งหนง่ึ ในภาคเหนอื ตอนล่าง

เมื่อเกดิ สถานการณก์ ารแพร่เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ข้นึ โดยไม่ทราบวา่ จะส้ินสุดลงเม่อื ใด และโรงเรียนฯ ต้อง
ปิดเรียนเป็นเวลายาวนาน การจัดการเรยี นการสอนดว้ ยระบบออนไลน์ ติดต่อกนั เป็นเวลายาวนาน ยอ่ มสง่ ผลกระทบ
ตอ่ การพฒั นาและขบั เคล่ือนใหน้ ักเรียนระดบั มธั ยมผ่านเกณฑ์มาตรฐานดังกล่าว คณะกรรมการบริหารของโรงเรยี น
ฯ จงึ ไดจ้ ัดทำแผนการเรียนแบบ “ค่ขู นาน” ภายใต้โครงการ Teeratada Sandbox Model ขึ้น เพ่ือนำนกั เรยี นท่ี
สมัครใจเข้ารว่ มโครงการฯ กลบั สู่โรงเรียนฯ และจัดการเรียนการสอนแบบคู่ขนานกับนกั เรยี นทม่ี คี วามประสงค์
เรยี นออนไลน์ที่บ้านดว้ ยการ Live สด

และเป็นเรอ่ื งทีน่ ่ายินดียิ่ง เม่ือรับทราบว่ากระทรวงศึกษาธิการ (ศบค.ศธ.) ร่วมกับกรมอนามัย และกระทรวง
สาธารณสขุ ไดบ้ ูรณาการความรว่ มมือขับเคล่ือนโครงการ Sandbox Safety Zone in School ประเภทไป-กลบั ใน
สถานการณ์การตดิ เชอ้ื COVID-19 ขึน้ โรงเรียนฯ จงึ ได้นำเรื่องข้นึ เสนอต่อศึกษาธิการจงั หวัด เพ่อื นำเสนอพิจารณา
รว่ มกับคณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จงั หวัดฯ ต่อไป

คณะกรรมการบริหารภายใน
โรงเรียนธรี ธาดา พิษณุโลก

20 กนั ยายน 2564

3

สารบัญ

หลกั การและมาตรการท่ัวไปของโรงเรียนธีรธาดา พิษณุโลก หนา้
แนวปฏบิ ัติตามนโยบาย Sandbox Safety zone in School ประเภทไป-กลบั
หน่วยประสานงานในพื้นท่ี 4
แผนเผชิญเหตแุ ละมาตรการปอ้ งกันการแพร่ระบาด 6
แนวปฏิบตั ติ ามแผนเผชญิ เหตกุ รณเี กิดการแพรร่ ะบาดในสถานศึกษา 13
14
เอกสารอา้ งอิง 16

4

หลักการและมาตรการทวั่ ไปของโรงเรียนธรี ธาดา พิษณโุ ลก
ในการดำเนนิ งาน โครงการ Sandbox Safety Zone in School ประเภทไป-กลบั

1. หลักการ

1) ทกุ คนทเี่ ขา้ ร่วมโครงการ Sandbox Safety Zone in School ต้องสามารถปฏิบตั ิตามมาตรการท่ี
โรงเรยี นฯ กำหนด และเปน็ ไปตามหลักเกณฑท์ ี่กระทรวงศกึ ษาธิการและกระทรวงสาธารณสขุ
กำหนดอย่างเครง่ ครัด

2) การเขา้ รว่ มโครงการฯ ตอ้ งเป็นไปโดยความสมัครใจของทุกฝ่าย
3) การจัดการเรยี นการสอนเป็นลกั ษณะแบบคู่ขนาน (Hybrid) ท้ัง Onsite และ Online

2. มาตรการทวั่ ไป

1) โรงเรียนฯ ตอ้ งผา่ นการประเมินความพร้อมผา่ น TSC+ และรายงานการติดตามการประเมินผลผ่าน
MOECOVID

2) ครู และบุคลากรของโรงเรยี นฯ ไดร้ ับการฉีดวัคซีนครบ 2 เขม็ ไม่น้อยกว่า 85%
3) นักเรียน ครู และบุคลากรที่เข้าร่วมโครงการฯ ทุกคน ต้องได้รบั การตรวจ ATK ครบ 100% ในวนั แรก

ของการเปดิ เรยี น และต้องได้รับการตรวจ ATK อย่างต่อเน่ืองตลอดภาคการศกึ ษา สปั ดาหล์ ะ 1 ครงั้
4) นักเรยี น ครู บุคลากร และผปู้ กครอง ต้องปฏบิ ัตติ ามมาตรการสุขอนามยั ส่วนบุคคลอย่างเคร่งครดั

ได้แก่ 6 มาตรการหลัก DMHT-RC และ 6 มาตรการเสรมิ SSET-CO
5) นักเรยี น และผปู้ กครอง ควรไดร้ บั การฉดี วคั ซนี ตามมาตรการของกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวง

สาธารณสุข
6) จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนในรปู แบบ Small Bubble และหลกี เลยี่ งการทำกจิ กรรมข้ามกลุม่ กัน
7) กำหนดจำนวนนักเรยี นต่อห้องเรียน ขนาด 7*8 เมตร ไมเ่ กนิ 25 คน และจดั ใหน้ ่งั เวน้ ระยะหา่ ง

ระหวา่ งกัน ไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร
8) นักเรยี นทีไ่ มเ่ ข้ารว่ มโครงการฯ สามารถเรยี นพร้อมกบั นักเรยี นท่เี รยี น Onsite ได้ โดยผา่ นการเรียน

แบบคขู่ นาน (Hybrid) ผ่านการ live จากห้องเรียน ประกอบกับการใช้ Interactive board ช่วยใน
การสอน เพ่ือให้เหน็ หนา้ จอเหมอื นกนั นักเรยี นที่เรียนอยใู่ นหอ้ งเรยี น
9) นกั เรยี น ครู และบุคลากรท่ีเขา้ รว่ มโครงการฯ ทุกคน ต้องทำแบบประเมิน Thai Save Thai อย่าง
ต่อเน่ือง อยา่ งน้อย 3 วันต่อสัปดาห์
10) จัดทำแผนเผชิญเหตุ สำหรับรองรบั การดูแลรักษาเบอ้ื งต้น กรณีมีนกั เรยี น ครู หรอื บคุ ลากรใน
โรงเรยี นฯ ตดิ เช้อื โควดิ -19 และซักซ้อมความเข้าใจกบั ผ้ทู ีเ่ กยี่ วข้องในโครงการฯ ทุกคน
11) ประสานความรว่ มมือกับหน่วยงานสาธารณสขุ ในพน้ื ท่ี คือ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลสมอแข
โรงพยาบาลพทุ ธชนิ ราช และโรงพยาบาลกรงุ เทพ พิษณุโลก ในกรณีฉกุ เฉนิ

5

12) ประสานความรว่ มมือกับผปู้ กครอง เพื่อควบคุมดแู ลการเดินทางระหว่างบ้านกบั โรงเรียนฯ อยา่ ง

เข้มข้น โดยหลกี เลีย่ งการเขา้ ไปสมั ผัสในพ้ืนทีต่ า่ งๆ ตลอดเส้นทางการเดินทาง

13) จดั ต้ังจดุ คดั กรอง (Screening Zone) เพื่อคัดกรองครู นกั เรยี น บคุ ลากร ผปู้ กครอง หรือผู้มาตดิ ต่อ

ก่อนเข้ามาในบริเวณโรงเรยี นฯ

14) จัดสถานทแ่ี ยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) สำหรับรองรับการดูแลรักษาเบือ้ งต้น กรณี

นกั เรยี น ครู หรือบคุ ลากรในโรงเรยี นฯ มีการติดเช้ือโควิด-19

15) บริการอาหารสำหรบั นักเรยี น ครู และบุคลากรในโรงเรยี นฯ โดยหอ้ งครัวของโรงเรียนฯ ภายใตห้ ลกั

มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารและหลกั โภชนการ

16) กำหนดจดุ การรับส่งิ ของ หรือวตั ถุดบิ ประกอบอาหารทชี่ ดั เจน เหมาะสม

17) กำหนดแนวปฏบิ ตั ิด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มในการปอ้ งกนั โรคโควดิ -19 ในโรงเรยี นฯ

18) ขอความร่วมมอื กบั สถานประกอบกจิ การ กิจกรรมที่อย่รู อบรว่ั สถานศึกษาให้ผ่านการประเมิน Thai

Stop COVID plus COVID free setting

19) การติดต่อประสานงานทั้งภายในและภายนอกองค์กร ให้ใชก้ ารตดิ ต่อผา่ นระบบออนไลน์ หรอื

เคร่ืองมือสื่อสารเป็นหลัก หลกี เลยี่ งการพบปะพดู คยุ กันต่อหน้าโดยไม่จำเปน็ เพอื่ ลดความเสย่ี งใน

การสมั ผัสหรือการแพรเ่ ชือ้ ฯ

20) จำกัดจำนวนผู้มาตดิ ต่อในโรงเรียนฯ ในแต่ละวนั โดยผ้ทู ม่ี าติดต่อต้องทำการนดั หมายลว่ งหนา้ เทา่ นัน้

ไมส่ ามารถ walk in เขา้ มาติดต่อได้

21) นกั เรยี น ครู และบุคลากรที่อยใู่ นโครงการฯ จะใช้จา่ ยด้วยระบบบัตร TT Smart Card เทา่ นัน้ งด

การใชจ้ า่ ยด้วยเงนิ สด รวมถึงการรบั เงนิ ค่าธรรมเนยี มต่าง ๆ ต้องใช้ระบบการโอนผ่านธนาคาร

เทา่ นนั้

22) จัดทำ School Pass สำหรบั นกั เรยี น ครู และบุคลากรในโรงเรยี นฯ ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลผลการ

ประเมิน TST ผลตรวจ ATK และประวตั กิ ารรับวคั ซีน ตามมาตรการของกระทรวงศึกษาธิการ และ

กระทรวงสาธารณสขุ

23) กำหนดพืน้ ที่ใช้งานโดยทั่วไปให้ชดั เจน เพ่อื ควบคมุ และจำแนกผทู้ ีม่ าตดิ ต่อ ไมใ่ ห้เขา้ มาปะปนกบั

นกั เรยี น ครู และบุคลากรของโรงเรยี นฯ โดยกำหนดใหเ้ ปน็ ดงั น้ี

- อาคารบุณยานันต์ เฉพาะครู บคุ ลากร และนักเรียนทเ่ี ข้าร่วมโครงการฯ เท่าน้ัน

- อาคารสนั ติภาดา เฉพาะครู บุคลากร และนักเรียนท่เี ข้ารว่ มโครงการฯ เทา่ นั้น

- หอพกั นักเรยี น เฉพาะนักเรยี นประจำ และครูผ้ดู ูแลนักเรียนประจำเทา่ นนั้

- อาคารโรงอาหาร เฉพาะครู บคุ ลากร และนักเรียนท่ีเขา้ รว่ มโครงการฯ เท่านั้น

- อาคารอาบน้ำหอชาย เฉพาะนักเรยี นประจำชายทเ่ี ข้าร่วมโครงการฯ เท่าน้ัน

- สนามกีฬาตา่ ง ๆ เฉพาะครู บุคลากร และนักเรียนที่เข้ารว่ มโครงการฯ เท่านั้น

- แปลงเกษตร เฉพาะครู บุคลากร และนักเรียนทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการฯ เทา่ นั้น

- อาคาร Wise kids เฉพาะครู บคุ ลากร และนักเรียนท่เี ข้ารว่ มโครงการฯ เทา่ นั้น

- อาคาร Cambridge Spring เฉพาะผู้ท่มี าตดิ ต่อโรงเรยี นฯ เท่าน้ัน

6

แนวปฏบิ ัติตามนโยบาย Sandbox Safety Zone in School ประเภทไป-กลับ

มาตรการปลอดภัยสำหรบั องค์กร (COVID Free Setting)

1. แนวปฏิบตั ิสำหรับครู และบุคลากร (COVID-FREE Personal)

1.1 ครู และบคุ ลากรประเมินความเส่ยี งของตนเองเป็นประจำทกุ วนั ผ่าน Thai Save Thai และต้องบนั ทึกผล
ลงใน School Pass ทกุ คร้งั หากพบว่ามคี วามเสยี่ งปานกลางหรือเส่ยี งสงู ให้หยดุ ปฏิบัติงานทนั ที และพบแพทย์ เพื่อ
ทำการตรวจรักษาจนหายเป็นปกติ พร้อมนำใบรบั รองแพทย์มายืนยนั ก่อนการกลบั มาปฏิบตั ิงานทโี่ รงเรียนฯ

1.2 ครู และบคุ ลากรทุกคน ต้องปฏิบัติตามหลัก DMHTT และ Universal Prevention อย่างเคร่งครดั

1.3 ครู และบุคลากรทุกคน งดรบั ประทานอาหารและทำงานรว่ มกันโดยเด็ดขาด

1.4 ครู และบุคลากรทุกคน ต้องไดร้ ับการฉีดวัคซนี ครบโดส ไมน่ ้อยกว่า 85 %

1.5 ครู และบุคลากรทกุ คน ต้องได้รบั การตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ครบ 100% ในวนั แรกของการเปดิ
เรียน และบันทกึ ผลลงใน School Pass ของตนเอง

1.6 ครู และบุคลากรทุกคน ต้องได้รบั การตรวจ Antigen Test Kit (ATK) สปั ดาหล์ ะ 1 ครัง้ (กำหนดเปน็ วนั
จนั ทร์ ก่อนมาโรงเรยี น) และบนั ทึกผลลงใน School Pass ของตนเองทุกครั้งทที่ ำการตรวจ

1.7 กรณีครู หรือบุคลากรของโรงเรียนฯ มีอาการ หรือมีความเสย่ี ง ใหป้ ฏบิ ัติดงั น้ี

• กรณมี ีอาการ ใหห้ ยดุ การมาปฏิบตั งิ านทโ่ี รงเรียนฯ ทันที และพบแพทย์ เพ่ือทำการตรวจรกั ษา
จนหายเป็นปกติ พร้อมทั้งนำใบรับรองแพทย์มายนื ยันก่อนการกลบั เข้ามาปฏิบัติงานทโี่ รงเรยี นฯ

• กรณีที่มีความเสี่ยงการสมั ผัสกบั บคุ คลในครอบครวั หรืออาศยั อยรู่ ่วมบา้ นกับผปู้ ว่ ยยืนยันท้งั ทีม่ ี
และไม่มอี าการ ให้หยดุ การมาปฏบิ ัตงิ าน 14 วนั เพื่อสังเกตอาการและตรวจหาเช้อื จำนวน 3
ครงั้ ดงั นี้
คร้งั ท่ี 1 คือวนั ท่ที ราบเรื่องว่าสัมผัสผู้ปว่ ยยนื ยนั
ครง้ั ที่ 2 นบั จากวนั ทีส่ ัมผัสผ้ปู ว่ ยยนื ยนั ครัง้ สุดทา้ ยครบ 7 วัน
ครั้งท่ี 3 นับจากวันทส่ี ัมผัสผปู้ ่วยยนื ยันครั้งสุดท้ายครบ 14 วนั

1.8 ทุกกรณที ี่มีผล ATK เป็นบวก ให้รบี แจ้งผบู้ ริหารหรือหัวหน้างานทราบทันที และรบี เข้ากระบวนการรักษา
ตามแนวทางของจังหวัดพษิ ณุโลก

7

2. แนวปฏิบัตสิ ำหรับนักเรยี นและผปู้ กครอง (COVID-FREE Customer)

2.1 การรับการตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ในวันแรกของการเปิดเรียน และระหว่างภาคเรียน สปั ดาหล์ ะ
1 ครั้ง (กำหนดเปน็ วันจันทร์ กอ่ นมาโรงเรยี น)

• กรณีนักเรียนระดับชัน้ อนบุ าล
เด็ก หรอื ผู้ปกครอง ต้องได้รับการตรวจแบบ ATK ครบ 100% โดยผปู้ กครองต้องบนั ทกึ ผลลงใน
School Pass ของนักเรยี นทุกครั้งท่ีทำการตรวจ

• กรณีนกั เรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาขน้ึ ไป
นกั เรียน ตอ้ งได้รบั การตรวจแบบ ATK ครบ 100% โดยผู้ปกครองหรือนักเรยี นตอ้ งบันทกึ ผลลงใน
School Pass ของนักเรียนทุกครั้งที่ทำการตรวจ

2.2 นกั เรียน หรือผ้ปู กครอง ตอ้ งประเมินความเส่ยี งของตนเองและนักเรียนเป็นประจำผ่าน Thai Save Thai
ก่อนมาโรงเรียนฯ ทกุ วัน และบันทกึ ผลลงใน School Pass ทกุ ครัง้

2.3 นักเรียนและครอบครัว ตอ้ งปฏิบัติตามมาตรการส่วนบุคคลอยา่ งเคร่งครัด โดยยึดหลกั DMHTT และ
Universal Prevention

2.4 ผู้ปกครองควรไดร้ บั การฉีดวคั ซีน ครบ 100%

2.5 กรณนี กั เรียนท่มี ีอาการติดเช้ือทางเดนิ หายใจ หรือมีความเส่ยี งใหป้ ฏบิ ัติ ดังน้ี

• กรณนี ักเรยี นมีอาการ ใหห้ ยุดเรียน และพบแพทย์ เพอ่ื ทำการตรวจรกั ษาจนกวา่ จะหายเป็นปกติ
• กรณนี กั เรียนท่ีมีความเส่ียงการสัมผัสกบั บคุ คลในครอบครัวหรืออาศยั อยูร่ ่วมบ้านกบั ผปู้ ว่ ยยืนยัน ทั้ง

ทีม่ อี าการและไมม่ อี าการ ให้หยดุ เรยี น และรับการตรวจแบบ ATK จำนวน 3 ครง้ั ดงั น้ี

ครั้งท่ี 1 คือวันที่ทราบเร่ืองว่าสมั ผสั ผูป้ ่วยยืนยัน

ครั้งที่ 2 นับจากวนั ทส่ี ัมผัสผู้ปว่ ยยนื ยันครัง้ สุดทา้ ยครบ 7 วัน

คร้ังท่ี 3 นับจากวันทส่ี ัมผสั ผปู้ ว่ ยยนื ยันครง้ั สดุ ทา้ ยครบ 14 วนั

• ทุกกรณที ี่มีผล ATK เปน็ บวก ใหร้ ีบแจ้งโรงเรยี นฯ ให้ทราบทันที และรบี เขา้ กระบวนการรักษา ตาม
แนวทางของจังหวดั พิษณโุ ลก

• กรณผี ้ปู ว่ ยยนื ยันด้วยโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 เม่ือรักษาครบตามกระบวนการและไม่มอี าการ
แลว้ สามารถกลับมาเรียนได้ตามปกติ โดยต้องนำใบรบั รองแพทยข์ องโรงพยาบาลที่รกั ษานั้น มา
แสดงเปน็ หลกั ฐานด้วย

8

3. แนวปฏบิ ตั ดิ ้านอนามัยส่งิ แวดล้อม (COVID Free Environment)

3.1 แนวปฏิบัตดิ ้านอนามัยส่ิงแวดลอ้ มและความปลอดภัย

3.1.1 ทำความสะอาดพ้นื ผิวทม่ี ีการสมั ผัสบ่อยๆ ดว้ ยนำ้ ยาฆา่ เชื้อหรอื แอลกอฮอล์ 70% เชน่ เคร่อื ง
เลน่ ของเลน่ อุปกรณ์ส่อื การสอน โต๊ะ เก้าอ้ี ทั้งก่อนและหลงั ใช้งาน

3.1.2 ทำความสะอาดพืน้ ผวิ ทั่วไป เชน่ ลูกบิดประตู ราวบนั ได สวิตชไ์ ฟ เปน็ ต้น ด้วยนำ้ ยาฆา่ เชอื้ หรือ
แอลกอฮอล์ 70% ทุกๆ ช่ัวโมง

3.1.3 ทำความสะอาดโถงทางเดนิ ร่วม หอ้ งนำ้ ดว้ ยนำ้ ยาฆา่ เชื้อ อย่างน้อยวนั ละ 2 ครงั้

3.1.4 ทำการพ่นนำ้ ยาฆ่าเชื้อในหอ้ งเรยี นหลงั เลกิ เรียนทุกวัน พร้อมทง้ั อบโอโซนอย่างน้อย สปั ดาห์

ละ 1 ครั้ง

3.1.5 จดั เตรียมจดุ ล้างมอื พรอ้ มท้ังวางสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจลใหเ้ พียงพอทุกจุดท่มี ีการใช้งาน และ
เน้นย้ำให้นกั เรียนล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะกอ่ นรบั ประทานอาหาร

3.2 แนวปฏบิ ตั ิด้านการเวน้ ระยะห่าง

3.2.1 กำหนดจดุ นัง่ ยืน หรอื นอนของนักเรยี นให้ห่างจากกันอยา่ งน้อย 1 เมตร

3.2.2 จดั พน้ื ที่การรอรบั -ส่งั นักเรียน ให้สามารถนั่งรอ โดยเวน้ ระยะหา่ งจากกนั ได้อย่างน้อย 1 เมตร

3.2.3 จัดการเรยี นการสอนในรูปแบบ Small Bubble หลกี เลี่ยงการทำกิจกรรมขา้ มกลุ่มกัน

3.2.4 จำกัดนักเรยี นห้องเรียนละ ไม่เกิน 25 คน สำหรับหอ้ งเรียนขนาดปกติ (7*8 เมตร) โดยจัดที่น่งั
ของนักเรยี นใหส้ ามารถเวน้ ระยะห่างระหว่างนักเรยี นในห้องเรียนไมน่ ้อยกวา่ 1.5 เมตร

3.3 แนวปฏบิ ตั ิด้านการระบายอากาศ

3.3.1 เปดิ ประตู หน้าตา่ งของห้องเรยี น และโถงทางเดนิ อย่างนอ้ ย 15 นาที ก่อนและหลังการใชง้ าน
เพอ่ื ระบายอากาศภายในอาคาร และให้อากาศภายนอกถา่ ยเทเข้าสภู่ ายในอาคารได้

3.3.2 ระบายอากาศในอาคารก่อนและหลังการเปิดเคร่ืองปรับอากาศอยา่ งนอ้ ย 2 ชว่ั โมง

3.3.3 สามารถเปิดเครอื่ งปรบั อากาศในห้องเรียนได้ไมเ่ กนิ คร้ังละ 2 ชั่วโมง และเปดิ ตามสภาพอากาศ
ท่เี หมาะสมเทา่ น้นั

3.3.4 ทำความสะอาดเคร่ืองปรบั อากาศ อยา่ งนอ้ ยสัปดาห์ละ 1 ครงั้

9

3.4 แนวปฏิบัตดิ ้านคณุ ภาพน้ำอปุ โภค และบรโิ ภค

3.4.1 ครูฝ่ายกจิ การนักเรียนตรวจคุณลกั ษณะทางกายภาพ สี กลน่ิ และส่ิงเจอื ปน ของน้ำอย่าง
สม่ำเสมอ อย่างนอ้ ยสปั ดาห์ละ 1 คร้งั

3.4.2 กำหนดแม่บ้านดูแลความสะอาดจดุ บริการน้ำดม่ื และถังบรรจนุ ำ้ ดื่มทุกวนั

3.4.3 ครฝู ่ายกจิ การนกั เรียนจดั ตง้ั แอลกอฮอล์เจลท่จี ดุ บริการน้ำดมื่ พร้อมติดต้ังป้ายเตือนใหล้ ้างมือ
ด้วยเจลแอลกอฮอล์กอ่ นการกดน้ำดืม่ ทุกคร้ัง

3.4.4 ครฝู า่ ยกิจการนกั เรียนตรวจคุณภาพน้ำ เพื่อหาเช้อื แบคทเี รียด้วยชดุ ตรวจภาคสนาม (อ 11)
ทกุ 6 เดอื น

3.5 แนวปฏิบัติดา้ นการจดั การขยะ

3.5.1 ครูฝา่ ยอาคารสถานท่ีจัดเตรยี มถงั ขยะแบบมฝี าปิด สำหรบั รองรับส่งิ ของทไ่ี มใ่ ช้แลว้ ประจำ
ห้องเรยี น อาคารเรยี น และบริเวณโรงเรียนตามความเหมาะสม พร้อมท้ังเตรียมถังขยะ เพอ่ื คดั แยกขยะตามประเภท

3.5.2 กรณีมขี ยะเกิดจากผสู้ ัมผัสเสีย่ งสงู หรือหน้ากากอนามยั ทใี่ ช้แล้ว ให้นำใส่ในถุง และราดดว้ ย
แอลกอฮอล์ 70% หรือนำ้ ยาฟอกขาว 2 ฝา ลงในถุง มัดปากถุงให้แน่น และซ้อนดว้ ยถุงอกี 1 ช้นั หลงั จากนน้ั ปิดปาก
ถุงให้สนทิ และฉดี พน่ บรเิ วณปากถงุ ด้วยสารฆ่าเชื้อ ก่อนนำไปท้งิ ในขยะทัว่ ไป

3.6 แนวปฏิบัติด้านการรบั ประทานอาหารในโรงอาหาร
3.6.1 นกั เรยี น ครู และบุคลากรทกุ คน ต้องเดินเขา้ ออกตามประตู และเส้นทางท่ีกำหนดเทา่ นัน้
3.6.2 นกั เรยี น ครู และบุคลากรทุกคน ต้องล้างมือด้วยสบู่ หรอื เจลแอลกอฮอล์ ก่อนเข้าโรงอาหาร

ทุกครงั้
3.6.3 นกั เรียน ครู และบุคลากรทกุ คน ท่ีจะเข้าโรงอาหารตอ้ งสวมใส่หน้ากากอนามยั จนกว่าจะเริ่ม

ทานอาหาร
3.6.4 นักเรียน ครู และบคุ ลากรทุกคน ตอ้ งมีช้อนสอ้ ม และกระบอกนำ้ ของตวั เอง
3.6.5 นักเรียนนัง่ ทานในท่ีทกี่ ำหนดให้เหมือนเดิมทุกมื้อ
3.6.6 ครูหรอื แม่ครวั จะเป็นผู้ตักข้าวและอาหารให้นักเรยี นเท่าน้ัน
3.6.7 การกดนำ้ ดื่มท่ตี ู้กดน้ำควรล้างมือดว้ ยเจลแอลกอฮอลก์ อ่ นทุกครง้ั และใชแ้ ก้วนำ้ หรือกระบอก

น้ำสว่ นตวั ของตนเอง
3.6.8 นักเรียนทกุ คน ควรรับประทานอาหารใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในเวลาไม่เกนิ 30 นาที
3.6.9 งดการพดู คุยกนั ระหวา่ งทร่ี ับประทานอาหาร เนอ่ื งจากไม่ได้สวมหนา้ กากอนามยั ปอ้ งกนั
3.6.10 นักเรียน ครู และบคุ ลากรทุกคน ตอ้ งทำความสะอาดโต๊ะและเก้าอ้ีน่ังของตนเองด้วยน้ำยาฆา่

เช้อื ทง้ั ก่อนและหลงั รบั ประทานอาหารทุกครั้ง

10

การจดั พื้นทีโ่ รงอาหารสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากร
โรงอาหารของระดบั ชั้นอนบุ าล

มีโตะ๊ ทานอาหารจำนวน 49 โต๊ะ นัง่ ไดโ้ ต๊ะละ 6 คน รวมความจุท้งั สิน้ 294 ทน่ี ั่ง

วธิ กี าร จดั โตะ๊ ทีน่ ่ัง
จดั ที่นงั่ ในโรงอาหารใหม่ เพ่ือรักษาระยะห่าง โดยใหน้ ่งั ไดเ้ พียงโตะ๊ ละ 2 คน รวมมีท่ีนั่งทั้งสน้ิ 98 ทน่ี งั่

วธิ ีการ บรกิ ารอาหาร
ครูหรือแม่ครวั เป็นผตู้ ักอาหารให้เท่านนั้

ชว่ งเวลาการบรกิ ารอาหาร รอบละ 30 นาที

มอ้ื กลางวัน ครู บคุ ลากร และนักเรยี น จำนวน 94 คน
เวลา 11.00 น. - 11.30 น. ครู บุคลากร และนักเรียน จำนวน 53 คน
เวลา 11.45 น. – 12.10 น.

11

โรงอาหารของระดับช้ันประถมศึกษา และมธั ยมศกึ ษา

มีโต๊ะทานอาหารจำนวน 75 โต๊ะ นัง่ ไดโ้ ต๊ะละ 8 คน รวมความจุทัง้ ส้ิน 600 ทน่ี งั่

วิธกี าร จัดโตะ๊ ทนี่ ่งั
จัดที่นงั่ ในโรงอาหารใหม่ เพ่ือรกั ษาระยะหา่ ง โดยให้นั่งได้เพยี งโต๊ะละ 2 คน รวมท่ีนัง่ ท้ังสิ้น 150 ทีน่ ่งั

วิธีการ บรกิ ารอาหาร
ครหู รือแม่ครวั เปน็ ผูต้ ักอาหารใหเ้ ท่านน้ั

ช่วงเวลาการบรกิ ารอาหาร รอบละ 30 นาที ครู บคุ ลากร และนักเรียน จำนวน 93 คน
ม้อื เช้า
ครู บุคลากร และนักเรียน จำนวน 150 คน
เวลา 07.00 น. – 07.30 น. ครู บคุ ลากร และนักเรียน จำนวน 142 คน
มื้อกลางวัน ครู บคุ ลากร และนักเรียน จำนวน 90 คน

เวลา 11.30 น. – 12.00 น. ครู บุคลากร และนักเรยี น จำนวน 93 คน
เวลา 12.00 น. – 12.30 น.
เวลา 12.30 น. – 13.00 น.
ม้อื เยน็
เวลา 17.00 น. – 17.30 น.

12

3.7 แนวปฏิบัติการใช้บริการห้องพยาบาล
ห้องพยาบาลเปิดบริการ 24 ชว่ั โมง แบง่ เปน็ 2 ชว่ งเวลา ดงั น้ี

หอ้ งพยาบาล ช้ัน 2 เปิดเวลา 07.30 – 17.00 น.
ห้องพยาบาล ช้ัน 3 (หอพัก) ปฏิบัตงิ านเวลา 17.00 – 07.00 น.
ทกุ ครั้งที่ใชบ้ รกิ ารห้องพยาบาล จะต้องมีการบนั ทึกลงในสมุดบันทกึ การใชห้ อ้ งพยาบาลทุกครง้ั

13

หน่วยประสานงานในพ้ืนท่ี

โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลสมอแข
ระยะทาง 300 เมตร
โทรศัพท์ 055 - 987100
ทอ่ี ยู่ หมู่ 3 ถนนพิษณุโลก - อตุ รดิตถ์ ตำบลสมอแข อำเภอเมือง จงั หวัดพษิ ณโุ ลก

โรงพยาบาลพทุ ธชนิ ราช
ระยะทาง 9 กโิ ลเมตร
โทรศพั ท์ 055 - 270300
ท่อี ยู่ 90 ถนนศรธี รรมไตรปฎิ ก ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จังหวดั พิษณุโลก

โรงพยาบาลกรงุ เทพ พิษณุโลก
ระยะทาง 12 กิโลเมตร
โทรศพั ท์ 055 - 051724
ที่อยู่ 138 ถ.พระองค์ดำ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.พษิ ณุโลก 65000

สมาคมพิษณโุ ลกการกุศลสงเคราะห์ หน่วยกูภ้ ัยบรู พา (ไซทฮี ุกต๊ึง)
ระยะทาง 7 กโิ ลเมตร
โทรศพั ท์ 055 – 228685, 091 - 0255858
ท่อี ยู่ สำนักงานหนว่ ยกูภ้ ยั บรู พา โรงเจไซทีฮกุ ต๊ึง
699 หมู่ 11 ตำบลสมอแข อำเภอวังทอง จงั หวัดพิษณโุ ลก

สายด่วน 1330
สำนกั งานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ 1668
กรมการแพทย์ 1423
กรมควบคุมโรค 1669
สถาบันการแพทยฉ์ ุกเฉินแห่งชาติ 1323
กรมสุขภาพจติ

การตดิ ต่อโรงเรียนธรี ธาดา พิษณโุ ลก ผูป้ ระสานงานโครงการฯ

1. นางสาววิชญา สันติภาดา ตำแหนง่ กรรมการบรหิ ารภายใน
โทร. 081-2059143 Email: [email protected]

2. นางสาวสดุ ารัตน์ จนั ทร์หา ตำแหน่ง กรรมการบรหิ ารภายใน
โทร. 091-839-5486 Email: [email protected]

14

แผนเผชิญเหตุและมาตรการป้องกันการแพร่ระบาด

โดยนโยบายปกติ ของโรงเรียนฯ ได้แจ้งผู้ปกครองชัดเจน เรื่องเด็กมีอาการไม่ปกติ แม้เพียงน้อยนิด ต้อง

หยุดเรียนทันที พักผ่อน สังเกตอาการ เพื่อมิให้อาการลุกลาม อีกทั้งเป็นการฝึกการคิดถึงประโยชน์ของส่วนรวม

ในการไมน่ ำเช้ือโรคมาแพรร่ ะบาดต่อผูอ้ ื่น

ดงั น้ัน แผนเผชญิ เหตุ ต่อไปนี้ จึงเปน็ แผนท่ีอิงไปตามข้อกำหนดของแผนเผชญิ เหตุฯ ที่ทางกระทรวงฯ และ
กรมอนามยั กำหนด โรงเรียนฯ เพยี งปรับใหเ้ หมาะกบั บริบทของโรงเรยี นฯและผปู้ กครอง บางประเดน็ เท่านน้ั

ระดบั การแพรร่ ะบาด มาตรการป้องกนั

ในชมุ ชน ในโรงเรียน ครู/นกั เรียน โรงเรยี น

ไมม่ ีผตู้ ิดเช้ือ ไม่พบผู้ติดเชอ้ื • ปฏิบัตติ ามมาตรการ DMHTT • เปิดเรียน Onsite
ยืนยัน ประเมนิ TST เปน็ ประจำ • ปฏิบัติตามมาตรการ TST
มีผู้ติดเช้อื • เฝ้าระวังคัดกรอง
ประปราย ไมพ่ บผตู้ ิดเชื้อ • ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการ DMHTT • เปิดเรียน Onsite
ยืนยัน ประเมนิ TST เป็นประจำ • ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ TSC Plus
• เฝ้าระวงั คัดกรอง
พบผู้ตดิ เช้อื ยนื ยนั • ปฏิบัตเิ ขม้ ตาม DMHTT • ประสานหนว่ ยงานสาธารณสุขท่ี
ในหอ้ งเรียน 1 ราย • ประเมิน TST ทุกวนั เกย่ี วข้อง
กรณี High Risk contract: • แจ้งผปู้ กครองให้ทราบทันที
พบผู้ตดิ เชอ้ื ยนื ยัน งดเรียน Onsite / กักตวั ท่ี School • ปดิ ห้องเรียนท่พี บผตู้ ิดเชอ้ื 3
มากกวา่ 1 Isolation area 14 วัน วัน เพื่อทำความสะอาด
หอ้ งเรียน กรณี Low Risk contract : • เปิดหอ้ งเรียนอื่น ๆ On Site
ให้สงั เกตอาการของตนเอง และ ไดต้ ามปกติ
ปฏบิ ตั ิตามมาตรการของกระทรวง • สมุ่ ตรวจเฝ้าระวงั Sentinel
สาธารณสขุ • ปฏิบตั ิเขม้ ตามมาตรการ TSC Plus
• ปฏบิ ตั ิเข้มตาม DMHTT • ประสานหนว่ ยงานสาธารณสุขท่ี
• ประเมิน TST ทกุ วนั เกี่ยวข้อง
กรณี High Risk contract: • แจ้งผู้ปกครองให้ทราบทันที
งดเรียน Onsite / กกั ตวั ที่ School • ปดิ เรยี น On-Site เพือ่ ทำความสะอาด
Isolation area 14 วนั • ปรบั School Isolation คดั กรอง
กรณี Low Risk contract : นักเรยี น ครู และบุคลากร เพ่ือแยกกักตัว
ให้สังเกตอาการของตนเอง และ ตามระดบั ความเส่ียง
ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการของกระทรวง • สุ่มตรวจเฝ้าระวงั Sentinel
สาธารณสขุ • ปฏิบัติการเข้มตามมาตรการ TSC Plus

15

แผนเผชญิ เหตแุ ละมาตรการป้องกนั การแพร่ระบาด (ตอ่ )

ระดบั การแพรร่ ะบาด มาตรการปอ้ งกนั

ในชมุ ชน ในโรงเรียน ครู/นกั เรยี น โรงเรยี น
มผี ู้ติดเชื้อเป็น
กลมุ่ ก้อน • ปฏิบัติเข้มตาม DMHTT • พจิ ารณาการเปิดเรยี น Onsite โดย
*เน้นใสห่ นา้ กาก *เวน้ ระยะห่าง เขม้ มาตรการทุกมติ ิ
ระหวา่ งบุคคล 1-2 เมตร • สำหรับพ้ืนทีร่ ะบาดกลุม่ ก้อน
• ประเมนิ TST ทกุ วัน พิจารณาปดิ โดยคณะกรรมการ
• ระบายอากาศ ทุก 2 ช่ัวโมง ควบคมุ การแพรร่ ะบาดระดับ
กรณี ใชเ้ คร่ืองปรบั อากาศ พืน้ ท่ี หากมหี ลกั ฐานและ
กรณี High Risk contract: ความจำเป็น
งดเรยี น Onsite / กักตัวทบ่ี ้าน • สุม่ ตรวจเฝา้ ระวงั Sentinel
14 วนั surveillance ทกุ 2 สปั ดาห์
กรณี Low Risk contract:
ให้สงั เกตอาการของตนเอง

มกี ารแพร่ • ปฏบิ ตั ิเขม้ ตาม DMHTT • พิจารณาการเปิดเรียน On Site โดย
ระบาดในชมุ ชน • เฝา้ ระวงั อาการเส่ยี งทกุ วัน เขม้ มาตรการทุกมิติ
Self-Quarantine • สำหรบั พื้นทีร่ ะบาดกลุ่มก้อน
• ประเมนิ TST ทุกวนั พิจารณาปดิ โดยคณะกรรมการควบคมุ
การแพรร่ ะบาดระดบั พ้นื ท่ี หากมี
หลกั ฐานและความจำเป็น
• สุม่ ตรวจเฝ้าระวัง Sentinel
surveillance ทกุ 2 สัปดาห์

16

แนวปฏบิ ตั ติ ามแผนเผชิญเหตุกรณีเกิดการแพร่ระบาดในสถานศึกษา

ระดบั การแพร่ระบาด
1. กรณี ไมม่ ีผู้ติดเชื้อ
1.1 มาตรการป้องกนั ของครู – นักเรยี น
1.1.1 ครู บุคลากรและนกั เรียนต้องปฏบิ ตั ติ ามมาตรการ DMHTT
1.1.2 ครู บคุ ลากรและนักเรยี นต้องประเมนิ ตนเองในแอพพลเิ คชั่น Thai save Thai ทุกวัน โดย
เจ้าหนา้ ท่ีฝ่ายบคุ คลเป็นผู้รวบรวมข้อมูล และจัดเก็บเปน็ ทะเบยี นรายบคุ คล
1.2 มาตรการปอ้ งกันโรงเรยี น
1.2.1 สามารถเปดิ เรียน On – Site ไดต้ ามปกติ
1.2.2 กำกบั ให้ครู บุคลากรและนักเรยี นประเมนิ ตนเองในแอพพลิเคช่ัน Thai save Thai ทุกวัน
โดยเจ้าหน้าทีฝ่ ่ายบุคคลเปน็ ผู้รวบรวมขอ้ มลู และจดั เกบ็ เป็นทะเบียนรายบุคคล
1.2.3 การเฝ้าระวงั คัดกรอง
ตอนเชา้
ครูเวรประจำวันเปน็ ผคู้ ดั กรอง และบันทึกลงในสมดุ บันทึกเวรประจำวนั พรอ้ มทงั้ รายงาน
ต่อผู้ตรวจเวรประจำวนั ให้ทราบทกุ วัน
ระหว่างวนั
ครปู ระจำกลุ่มทำการคดั กรองในห้องเรยี นทุก 2 ชว่ั โมง และบันทกึ ลงในแบบบนั ทึกการคัด
กรองประเมนิ อาการเสยี่ งประจำวนั (Google form)

2. กรณี พบผตู้ ิดเชื้อ ยืนยันในหอ้ งเรยี น 1 – 5 ราย
2.1 มาตรการปอ้ งกนั ของครู – นกั เรียน
2.1.1 ครู บคุ ลากรและนกั เรยี นต้องปฏบิ ตั ิตามมาตรการ DMHTT
2.1.2 ครู บคุ ลากรและนักเรียนตอ้ งประเมนิ ตนเองในแอพพลเิ คชัน่ Thai save Thai ทุกวนั โดย
เจา้ หนา้ ทฝี่ า่ ยบคุ คลเปน็ ผู้รวบรวมข้อมูล และจดั เก็บเปน็ ทะเบยี นรายบุคคล
กรณี High Risk Contract
➢ ครู หรอื นกั เรียนท่ีมคี วามเสี่ยงสูงจะถูกแยกออกมากักตัวอย่ทู ี่ School Isolation Area
➢ ครู หรือนักเรยี นท่ีมคี วามเสี่ยงสูงจะตอ้ งตรวจวดั อุณหภูมิทกุ 2 ชว่ั โมง และแจ้ง
เจ้าหน้าทปี่ ระจำ School Isolation Area ทราบเพ่ือทำการบนั ทกึ ข้อมลู (ภาพประกอบ
School Isolation Area ตามเอกสารแนบในภาคผนวก)
➢ ครู หรอื นกั เรยี นท่ีมีความเสี่ยงสงู จะต้องตรวจวดั ATK โดยเจา้ หน้าท่สี าธารณสขุ จาก
รพ.สต.สมอแข ทุก 3 - 5 วัน พร้อมทั้งเจา้ หน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.สมอแข จะเป็น
ผู้จดั การกบั ขยะติดเชื้อทเ่ี กิดขึ้นจากการตรวจฯทั้งหมด
➢ แมบ่ ้านสวมชุด PPE และสวมถุงมือยางแบบหนา ในการเข้าไปใน School Isolation
Area เพ่ือเกบ็ ขยะติดเชอื้ โดยถงุ ขยะทบี่ รรจุขยะติดเชอ้ื ต้องเป็นถงุ ขยะสแี ดง ก่อนทิ้งให้
ราดดว้ ยแอลกอฮอล์ 70% หรือนำ้ ยาฟอกขาว 2 ฝา ลงในถุง มัดปากถุงให้แนน่ ซ้อน

17

ดว้ ยถุงอกี 1 ชน้ั ปดิ ปากถงุ ให้สนทิ และฉดี พน่ บริเวณปากถงุ ดว้ ยสารฆ่าเชื้อแล้วทิง้ ใน
ขยะท่วั ไป (ภาพประกอบจุดวางถังขยะบริเวณ School Isolation Area ตามเอกสาร
แนบในภาคผนวก)
กรณี Low Risk Contract
➢ การตรวจวดั อุณหภมู ิ
ตอนเชา้

ครเู วรประจำวันเป็นผู้คัดกรอง และบันทกึ ลงในสมดุ บันทึกเวรประจำวัน พร้อมทงั้
รายงานต่อผู้ตรวจเวรประจำวันให้ทราบทกุ วนั

ระหวา่ งวัน
ครปู ระจำกลุ่มทำการคดั กรองในหอ้ งเรยี นทุก 2 ชว่ั โมง และบนั ทกึ ลงในแบบบนั ทกึ

การคดั กรองประเมนิ อาการเสย่ี งประจำวัน (Google form)
➢ สุ่มตรวจวดั ATK โดยเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสขุ จาก รพ.สต.สมอแข ทุก 7 วัน พร้อมทงั้

เจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสุข รพ.สต.สมอแข จะเปน็ ผู้จัดการกับขยะตดิ เช้อื ท่ีเกดิ ข้นึ จาก
การตรวจฯ ท้ังหมด
2.2 มาตรการป้องกนั โรงเรยี น
2.2.1 แจง้ เจา้ หน้าทส่ี าธารณสุขของ รพ.สต.สมอแข ทนั ที
2.2.2 แจ้งผ้ปู กครองนกั เรยี นทม่ี คี วามเสี่ยงสูงใหท้ ราบทนั ที
2.2.3 ปิดห้องเรียนท่ีพบผ้ตู ดิ เชือ้ 3 วัน และแจ้งแม่บ้านประจำอาคาร ทำความสะอาดดว้ ยนำ้ ยาฆา่
เชือ้ พร้อมอบโอโซนห้องเรียน
2.2.4 หอ้ งเรยี นอน่ื ๆ ท่ีไมพ่ บผูต้ ิดเช้ือ สามารถเรียน On – Site ได้ตามปกติ แตต่ ้องเฝ้าสังเกตุ
อาการทกุ ห้องเรยี น
2.2.5 การส่มุ ตรวจเฝ้าระวงั Sentinel
กรณี High Risk Contract
➢ แยกครู หรอื นักเรยี นที่มีความเส่ยี งสูงออกมากักตัวอยูท่ ี่ School Isolation Area
➢ จดั เตรียมอปุ กรณ์การตรวจวัดอุณหภูมิในห้องกกั ตวั เพ่ือให้ครู บุคลากรหรือนักเรียนท่ี
มีความเสยี่ งสงู ตรวจวัดอุณหภมู ดิ ้วยตนเองทุก 2 ชวั่ โมง
➢ เจ้าหนา้ ทปี่ ระจำ School Isolation Area จะต้องตดิ ตามอุณหภูมขิ องครู บุคลากร
หรือนกั เรียนที่มีความเส่ียงสูงทกุ 2 ช่วั โมง และจะต้องบันทึกข้อมูลลงในทะเบยี น
➢ เจ้าหน้าทีป่ ระจำ School Isolation Area ประสานเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขจาก รพ.สต.
สมอแข ใหม้ าตรวจหาเชอื้ ไวรัสฯ โดยวิธีการ Rapid Antigen Test ทกุ 3 - 5 วนั พรอ้ ม
ท้งั เจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ รพ.สต.สมอแข จะเปน็ ผจู้ ดั การกับขยะติดเช้ือที่เกดิ ข้ึนจากการ
ตรวจฯท้งั หมด
➢ แม่บา้ นสวมชุด PPE และสวมถุงมือยางแบบหนา ในการเขา้ ไปใน School Isolation
Area เพ่อื เกบ็ ขยะตดิ เชือ้ โดยถงุ ขยะที่บรรจุขยะตดิ เชื้อตอ้ งเป็นถงุ ขยะสีแดง ก่อนทิ้งให้

18

ราดด้วยแอลกอฮอล์ 70% หรอื นำ้ ยาฟอกขาว 2 ฝา ลงในถงุ มดั ปากถงุ ให้แนน่ ซ้อน
ดว้ ยถุงอกี 1 ช้นั ปิดปากถุงใหส้ นทิ และฉดี พน่ บรเิ วณปากถงุ ดว้ ยสารฆ่าเช้ือแลว้ ท้งิ ใน
ขยะท่ัวไป (ภาพประกอบจุดวางถังขยะบริเวณ School Isolation Area ตามเอกสาร
แนบในภาคผนวก)
กรณี Low Risk Contract
➢ การตรวจวดั อุณหภมู ิ
ตอนเชา้

ครูเวรประจำวันเปน็ ผู้คัดกรอง และบันทกึ ลงในสมุดบนั ทึกเวรประจำวัน พรอ้ มทง้ั
รายงานต่อผูต้ รวจเวรประจำวันใหท้ ราบทกุ วนั

ระหวา่ งวนั
ครปู ระจำกลุ่มทำการคดั กรองในห้องเรยี นทุก 2 ชั่วโมง และบันทกึ ลงในแบบบันทึก

การคดั กรองประเมินอาการเสย่ี งประจำวนั (Google form)
➢ เจ้าหนา้ ท่ธี ุรการประสานเจ้าหน้าท่สี าธารณสุขจาก รพ.สต.สมอแข ใหม้ าสุ่มตรวจหา

เช้อื ไวรสั ฯ โดยวิธกี าร Rapid Antigen Test ทกุ 7 วัน พร้อมท้งั เจา้ หนา้ ท่สี าธารณสุข
รพ.สต.สมอแข จะเป็นผจู้ ัดการกับขยะตดิ เช้ือที่เกิดข้ึนจากการตรวจฯทัง้ หมด
2.2.6 คณะกรรมการติดตามฯ กำกับดแู ลใหท้ ุกฝ่ายปฏิบัตเิ ข้มตามมาตรการ TSC Plus

3. กรณี พบผตู้ ิดเช้ือ ยนื ยันมากกวา่ 1 หอ้ งเรียน (ห้องเรียน 1 หอ้ ง มีนักเรยี น 5 คน)
3.1 มาตรการปอ้ งกนั ของครู – นักเรียน
3.1.1 ครู บุคลากรและนกั เรยี นต้องปฏิบัติตามมาตรการ DMHTT
3.1.2 ครู บุคลากรและนักเรยี นต้องประเมินตนเองในแอพพลเิ คชั่น Thai save Thai ทุกวัน โดย
เจ้าหน้าท่ฝี า่ ยบุคคลเปน็ ผ้รู วบรวมข้อมูล และจดั เก็บเปน็ ทะเบียนรายบุคคล
กรณี High Risk Contract
➢ ครู หรอื นกั เรียนท่ีมคี วามเส่ียงสูงจะถูกแยกออกมากกั ตัวอยทู่ ่ี School Isolation Area
➢ ครู หรือนักเรียนทีม่ คี วามเส่ียงสงู จะตอ้ งตรวจวดั อณุ หภูมิทกุ 2 ชั่วโมง และแจง้
เจ้าหนา้ ทป่ี ระจำ School Isolation Area ทราบเพ่ือทำการบนั ทึกข้อมูล (ภาพประกอบ
School Isolation Area ตามเอกสารแนบในภาคผนวก)
➢ ครู หรือนกั เรียนท่ีมคี วามเส่ียงสงู จะตอ้ งตรวจวดั ATK โดยเจา้ หน้าทสี่ าธารณสุขจาก
รพ.สต.สมอแข ทุก 3 - 5 วัน พร้อมทั้งเจ้าหนา้ ท่สี าธารณสุข รพ.สต.สมอแข จะเปน็
ผจู้ ดั การกับขยะติดเช้ือทเ่ี กิดข้ึนจากการตรวจฯทั้งหมด
➢ แม่บ้านสวมชุด PPE และสวมถุงมือยางแบบหนา ในการเข้าไปใน School Isolation
Area เพื่อเก็บขยะติดเชื้อ โดยถุงขยะที่บรรจุขยะติดเชื้อต้องเป็นถุงขยะสีแดง ก่อนทิ้ง
ให้ราดด้วยแอลกอฮอล์ 70% หรือนำ้ ยาฟอกขาว 2 ฝา ลงในถุง มดั ปากถุงใหแ้ น่น ซอ้ น
ด้วยถุงอีก 1 ชั้น ปิดปากถุงให้สนิทและฉีดพ่นบริเวณปากถุงด้วยสารฆ่าเชื้อแล้วทิ้งใน

19

ขยะทั่วไป(ภาพประกอบจุดวางถังขยะบริเวณ School Isolation Area ตามเอกสาร
แนบในภาคผนวก)
กรณี Low Risk Contract
➢ การตรวจวัดอณุ หภูมิ
ตอนเชา้

ครเู วรประจำวนั เป็นผคู้ ดั กรอง และบันทึกลงในสมุดบนั ทึกเวรประจำวนั พรอ้ มทั้ง
รายงานตอ่ ผตู้ รวจเวรประจำวันให้ทราบทุกวนั

ระหวา่ งวัน
ครูประจำกลุ่มทำการคัดกรองในห้องเรยี นทุก 2 ชั่วโมง และบันทึกลงในแบบบนั ทกึ

การคัดกรองประเมนิ อาการเส่ียงประจำวัน (Google form)
➢ สมุ่ ตรวจวดั ATK โดยเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสขุ จาก รพ.สต.สมอแข ทุก 7 วัน พรอ้ มท้ัง

เจ้าหนา้ ที่สาธารณสุข รพ.สต.สมอแข จะเป็นผูจ้ ัดการกับขยะตดิ เชือ้ ทีเ่ กดิ ขนึ้ จาก
การตรวจฯ ทง้ั หมด
3.2 มาตรการปอ้ งกันโรงเรยี น
3.2.1 แจ้งเจ้าหน้าทสี่ าธารณสขุ ของ รพ.สต.สมอแข ทันที
3.2.2 แจง้ ผปู้ กครองนกั เรยี นท่ีมคี วามเสีย่ งสงู ให้ทราบทนั ที
3.2.3 ปิดการเรียนการสอน On – Site ทุกระดับช้นั และแจ้งแมบ่ ้านประจำอาคาร ทำความ
สะอาดดว้ ยนำ้ ยาฆ่าเช้ือ พร้อมอบโอโซนทุกหอ้ งเรยี น หอ้ งประกอบฯ และหอพัก รวมไปถึง
พ้นื ท่สี ว่ นรวมทกุ จุด เช่น โรงอาหาร สนามกีฬา ฯลฯ
3.2.4 ปรบั พ้ืนท่ีท้ังหมดภายในโรงเรียนใหเ้ ปน็ School Isolation
3.2.5 คัดแยกครู บุคลากร และนกั เรียน เพอ่ื กักตัวตามระดบั ความเสี่ยง
3.2.6 การสมุ่ ตรวจเฝ้าระวงั Sentinel
กรณี High Risk Contract
➢ แยกครู หรือนักเรยี นท่ีมคี วามเสี่ยงสูงออกมากกั ตวั อยู่ที่ School Isolation Area
➢ จัดเตรียมอปุ กรณ์การตรวจวัดอุณหภมู ิในห้องกกั ตวั เพื่อให้ครู บคุ ลากรหรือนักเรียนที่
มคี วามเสย่ี งสงู ตรวจวัดอุณหภมู ิด้วยตนเองทุก 2 ช่ัวโมง
➢ เจา้ หน้าทป่ี ระจำ School Isolation Area จะต้องติดตามอุณหภูมิของครู บคุ ลากร
หรอื นักเรยี นที่มคี วามเสย่ี งสงู ทกุ 2 ชว่ั โมง และจะต้องบนั ทึกขอ้ มลู ลงในทะเบยี น
➢ เจ้าหน้าท่ปี ระจำ School Isolation Area ประสานเจา้ หน้าทีส่ าธารณสขุ จาก รพ.สต.
สมอแข ใหม้ าตรวจหาเช้อื ไวรัสฯ โดยวธิ กี าร Rapid Antigen Test ทกุ 3 - 5 วัน พร้อม
ท้ังเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข รพ.สต.สมอแข จะเปน็ ผ้จู ดั การกับขยะตดิ เชื้อทเ่ี กดิ ข้ึนจากการ
ตรวจฯทง้ั หมด
➢ แม่บ้านสวมชุด PPE และสวมถุงมือยางแบบหนา ในการเข้าไปใน School Isolation
Area เพื่อเก็บขยะติดเชื้อ โดยถุงขยะที่บรรจุขยะติดเชื้อต้องเป็นถุงขยะสีแดง ก่อนท้ิง

20

ใหร้ าดด้วยแอลกอฮอล์ 70% หรอื นำ้ ยาฟอกขาว 2 ฝา ลงในถงุ มดั ปากถงุ ใหแ้ น่น ซอ้ น
ด้วยถุงอีก 1 ชั้น ปิดปากถุงให้สนิท และฉีดพ่นบริเวณปากถุงด้วยสารฆ่าเชื้อแล้วทิ้งใน
ขยะทั่วไป (ภาพประกอบจุดวางถังขยะบริเวณ School Isolation Area ตามเอกสาร
แนบในภาคผนวก)
กรณี Low Risk Contract
➢ การตรวจวัดอณุ หภมู ิ
ตอนเชา้

ครเู วรประจำวนั เป็นผคู้ ดั กรอง และบันทกึ ลงในสมุดบันทึกเวรประจำวนั พรอ้ มทั้ง
รายงานต่อผูต้ รวจเวรประจำวันใหท้ ราบทกุ วัน

ระหวา่ งวัน
ครูประจำกลุ่มทำการคัดกรองในหอ้ งเรียนทุก 2 ช่วั โมง และบันทึกลงในแบบบันทกึ

การคดั กรองประเมินอาการเสี่ยงประจำวนั (Google form)
➢ เจ้าหน้าทธี่ ุรการประสานเจา้ หน้าท่สี าธารณสขุ จาก รพ.สต.สมอแข ใหม้ าสุ่มตรวจหา

เชือ้ ไวรสั ฯ โดยวธิ ีการ Rapid Antigen Test ทกุ 7 วนั พร้อมท้ังเจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ
รพ.สต.สมอแข จะเป็นผ้จู ดั การกับขยะตดิ เชื้อท่ีเกิดข้นึ จากการตรวจฯท้งั หมด
3.2.7 คณะกรรมการตดิ ตามฯ กำกับดูแลให้ทกุ ฝา่ ยปฏบิ ตั เิ ขม้ ตามมาตรการ TSC Plus

21

เอกสารอ้างองิ

1. แนวทางปฏบิ ัติด้านสาธารณสขุ เพ่ือการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-
19) กรณีเปดิ สถานประกอบกิจการในพืน้ ที่ควบคุมสงู สุดและเข้มงวด มาตรการปลอดภัยสำหรับองคก์ ร
(COVID Free Setting) สำหรบั สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย

2. ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ ง หลกั เกณฑก์ ารเปดิ โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา ตามขอ้ กำหนด
ออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548
(ฉบับท่ี 32)

3. คู่มือการปฏบิ ตั สิ ำหรับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ในการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ฉบบั
มิถุนายน 2563


Click to View FlipBook Version