The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-01-07 01:13:28

ebook

ebook

นางสาวกนั นิภา วงษ์เจริญ รหสั 620113116037
นางสาวจิรนันท์ ปิ ยรมั ย์ รหสั 620113116038
นางสาวปิ่ นอนันต์ ป่ิ นจรรยงค์ รหสั 620113116046
นางสาวอรอนงค์ สวา่ งชาติ รหสั 620113115058
นางสาวอกั ษราภคั สนองหงอก รหสั 620113116059

หมู่ 2 ปี 3 สาขาวทิ ยาศาสตรท์ วั่ ไป

ที่ปรึกษาโปรเจค
อาจารย์ ดร. เทพพร โลมารกั ษ์

การสารวจหิน

ที่มาและความสาคญั
วนอุทยานเขากระโดงเป็ น 1 ใน 6ของภูเขาไฟของจงั หวดั บุรีรัมย์

ท่ีมีอายุน้อยท่ีสุด มีความหลากหลายทางธรณีวิทยยา และบ่อระเบิดหินที่มี
การ ทาการระเบิดหินไปใชใ้ นเชิงอุตสาหกรรมกอ่ สรา้ ง มีการนาไปสร้างทาง
รถไปและถนนต่าง ๆ ทางกลุ่มของพวกเราจึงไดท้ าการสารวจหิน ณ ภูเขาไฟ
กระโดงและบ่อระเบิดหิน เพอื่ ศึกษาความเป็ นมาของสถานท่ีน้ันจากหินที่พบ

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพอื่ ศึกษาลกั ษณะหินที่พบในแตล่ ะพ้ ืนท่ี
2. เพอื่ ศึกษาความเป็ นมาของสถานท่ีน้ันจาก

หนิ ที่พบ

วิธกี ารดาเนินงาน

1. คดั เลือกสถานท่ีที่จะศึกษา และทาการหา
ขอ้ มลู

2. กาหนดบริเวณที่จะสารวจของแต่ละสถานที่
3. สงั เกตและบนั ทึกลกั ษณะหนิ ที่พบ บนั ทึก

รูปภาพ
4. นาขอ้ มูลท่ีไดม้ าระบุช่ือ ชนิด
5. วเิ คราะหห์ นิ ที่พบกบั ความเป็ นมาของ

สถานท่ีน้ัน

วนอทุ ยานเขากระโดง

ต้งั อยทู่ ่ีบา้ นเขากระโดง ตาบลเสม็ด อาเภอเมืองบุรีรมั ย์ จงั หวดั บุรีรมั ย์ เป็ นภูเขา
ไฟที่อายุน้อยท่ีสุด และดับสนิทแลว้ มีปากปล่องทะลุเห็นไดช้ ัดเจนเขากระโดง มี
ลักษณะเป็ นเนินเขาขนาดเล็ก 2 ลูกติดกัน สูงจากพ้ ืนที่โดยรอบประมาณ 60 ม.
โดยเนินทางทิศใตเ้ รียกวา่ "เขาใหญ่" ส่วนเนินทางทิศเหนือเรียกวา่ "เขานอ้ ยหรือ
เขากระโดง" ท้ังสองเนิน เกิดจากการทับถมของเศษหินภูเขาไฟท่ีพ่นปะทุออกมา

จากการสารวจความหนาของช้นั ลาวาจากการระเบิดของเหมืองหิน พบวา่ มีอายุ
ประมาณ 3 แสนถึง 9 แสนปี มีความหนามากกวา่ 20 เมตร

ขอบปล่องช่องปะทุ คือบริเวณที่เป็ นหุบเขาอยู่ตรงกลางระหว่างเขาใหญ่กบั เขา
กระโดง

รอบบริเวณแวดลอ้ มดว้ ยป่ าไมท้ ี่อุดมสมบรู ณเ์ นื่องจากไดร้ บั อิทธิพลจากหินภูเขา
ไฟ เป็ นแหล่งอาศยั ของสตั วป์ ่ าขนาดเล็ก โดยเฉพาะนกนานาชนิด

ผลการสารวจวนอทุ ยานเขากระโดง

โดยแบ่งการสารวจออกเป็ นสองพ้ ืนท่ี ไดแ้ ต่ บริเวณตีนเขา และบริเวณปากปล่องภูเขาไฟ
จากการสารวจท่ีวนอุทยานเขากระโดงพบ 5 ชนิด ไดแ้ ก่ หนิ สคอเรีย หินบะซอลตเ์ น้ ือแน่น
หนิ วาสคิวลารบ์ ะซอลต์ หินปอยภูเขาไฟ และหนิ แกบโบร
บริเวณตีนเขาพบ 2 ชนิด ไดแ้ ก่ หนิ บะซอลตเ์ น้ ือแน่น และ หนิ สคอเรีย
บริเวณปากปล่องภูเขาไฟ 5 ชนิด ไดแ้ ก่ หนิ สคอเรีย หินบะซอลตเ์ น้ ือแน่น หนิ วาสคิวตล์ าร์
บะซอล หนิ ปอยภูเขาไฟ และหินแกบโบร

บริเวณตีนเขา

หินสคอเรีย
ลกั ษณะท่ีพบ : มีรูพรุนมากและสากเหมอื นกระดาษทราย แข็งแต่สามารถหกั ได้ มสี ีเทา

เขม้ ถึงดา มนี ้าหนักเบา
หนิ สคอเรยี (องั กฤษ: Scoria) เป็ นหินอคั นีพุ (เกิดจากการเยน็ ตวั ของลาวาอยา่ ง

เฉียบพลนั ) เน้ ือหนิ จึงมีรพู รุนและสากเหมือนกระดาษทราย แข็งแต่เปราะ มีน้าหนักเบา
ลอยน้าได้ ไม่ทนทานต่อการสึกกร่อน มีสีเขม้ ค่อนขา้ งดา พบมากตามชายฝั่งทะเล โดยพบ
ปนกบั หินบะซอลต์

นิยมใชใ้ นการทาหนิ ขดั

หินบะซอลตเ์ น้ ือแน่น
ลกั ษณะที่พบ : มเี น้ ือแน่น ส่วนใหญ่มีรพู รุน และบางกอ้ นมีรูพรุนเล็กน้อย มสี ีเทาเขม้

ถึงดา น้าหนักเบา
หนิ บะซอลตเ์ น้ ือแน่น (Dense Basalt Zone) เน้ ือหินบะซอลตส์ ว่ นใหญ่เป็ น เน้ ือแน่น

แกรง่ มีสีเทาจนถึงเทาปนดา และสีดา ลกั ษณะเน้ ือละเอียด หินบะซอลตป์ ระกอบดว้ ยผลึก
แร่ โอลิวนี ผลึกแรแ่ พลจิโอเคลส และผลึกแรไ่ คลโนไพรอกซนี บา้ งเล็กน้อยอยู่ในเน้ ือหนิ ท่ี
ละเอียดกวา่ ประกอบดว้ ยแร่แพลจิโอเคลส

ประโยชน์ใชใ้ นงานก่อสรา้ ง ใชเ้ ป็ นวสั ดุรองพ้ นื เพื่อทาถนนและทางรถไฟ

บรเิ วณปากปลอ่ งภเู ขาไฟ

หินบะซอลตเ์ น้ ือแน่น
ลกั ษณะที่พบ : มีเน้ ือแน่น สว่ นใหญม่ รี พู รุน และบางกอ้ นมีรพู รุนเล็กนอ้ ย มีสีเทาเขม้

ถึงดา น้าหนักเบา
หนิ บะซอลตเ์ น้ ือแน่น (Dense Basalt Zone) เน้ ือหนิ บะซอลตส์ ่วนใหญ่เป็ น เน้ ือแน่น

แกร่ง มีสีเทาจนถึงเทาปนดา และสีดา ลกั ษณะเน้ ือละเอียด หนิ บะซอลตป์ ระกอบดว้ ยผลึก
แร่ โอลิวนี ผลึกแรแ่ พลจิโอเคลส และผลึกแร่ไคลโนไพรอกซีนบา้ งเล็กนอ้ ยอยใู่ นเน้ ือหนิ ท่ี
ละเอียดกวา่ ประกอบดว้ ยแร่แพลจโิ อเคลส

ประโยชน์ใชใ้ นงานก่อสรา้ ง ใชเ้ ป็ นวสั ดุรองพ้ นื เพื่อทาถนนและทางรถไฟ

หินแกบโบร
ลกั ษณะที่พบ : เน้ ือแน่น มีรอ่ งรพู รุนแบบต้ ืน เป็ นหนิ สีเขยี วเขม้ ถึงดา เน้ ือผลึก

หยาบ คอ่ นขา้ งหนัก
หนิ แกบโบร(Gabbro) ประเภท: หินอคั นีแทรกซอน
การบวนการเกิด:เกดิ จากหินหนืดท่ีข้ นึ มาจากช้นั แมนเทิลเยน็ ตวั ลงใตผ้ ิวโลก

กลายเป็ นหนิ
องคป์ ระกอบ: แรไ่ พรอกซีน และแร่เฟลดส์ ปารช์ นิดแพลจิโอ-เคลสเป็ นสว่ นใหญ่ แต่

อาจมแี รโ่ อลิวนี อยบู่ า้ ง

ปอยภูเขาไฟ
ลกั ษณะท่ีพบ : เน้ ือละเอียด เปราะหกั งา่ ย เมอ่ื ขดู แลว้ มเี ศษผงสีขาวคลา้ ยเถา้ ออกมา

น้าหนักเบา
ฝ่ ุนและข้ เี ถา้ ขนาด3 น้ ิวท่ีสะสมระหวา่ งการปะทุของภูเขาไฟท่ีระเบิด สามารถ

กลายเป็ นกอ้ นช้นั เหล่าน้ ีแสดงบนั ทึกความรุนแรงของการปะทุ ตวั อยา่ งแต่ละช้ ินจะมี
รปู ร่าง ขนาด และสีแตกต่างกนั เล็กนอ้ ย งานปัจจุบนั ตรวจสอบเทคนิคการผลิตท่ีเป็ น
นวตั กรรมใหมส่ าหรบั อิฐดินเผาโดยใชป้ อยเป็ นวตั ถุดิบรอง ผลการวจิ ยั พบว่าการปรากฏ
ตวั ของปอยในส่วนผสมของดินเหนียวลดการหดตวั ของผลิตภณั ฑร์ ะหวา่ งกระบวนการ
เผาไดอ้ ยา่ งมาก และตวั อยา่ งท่ีผลิตไดน้ ้ันมีคุณภาพดีเยยี่ ม กาลงั รบั แรงอดั ของอฐิ มี
ต้งั แต่ 5–35.3MPa โดยไดร้ บั อิทธิพลจากปรมิ าณปอย

หินวาสคิวลารบ์ ะซอลต์
ลกั ษณะท่ีพบ :เน้ ือหยาบ มรี พู รุนเล็ก ๆ อยหู่ า่ งกนั น้าหนักเบา
หนิ ถูกแปรสภาพในระดบั ตา่ และการไหลเขา้ ของของเหลวในขณะที่ลาวาไหลมาปกคลุม

หนิ น้ ี และโพรง (ถุง) ท่ีกอ่ ตวั เป็ นฟองกา๊ ซในลาวาน้ันเต็มไปดว้ ยแรธ่ าตุรอง เชน่ แร่ซี
โอไลต์ ปัมเมลไลต์

ในส่วนบาง ๆ หนิ เป็ นหนิ บะซอลตเ์ น้ ือหยาบ มโี ครงเป็ นระแนง plagioclase ยาว 1-3
มม. ซึ่งถูกดดั แปลงเป็ นดินเหนียวอยา่ งกวา้ งขวาง Pyroxene มีการเปลี่ยนแปลงน้อยกวา่
มากและแสดงพ้ นื ผิว poikillitic (เมล็ดพชื ขนาดใหญ่ที่มีเมล็ดพชื ขนาดเล็กกวา่ ของสายพนั ธุ์
อ่ืน) ถุงมลี กั ษณะเป็ นเหลี่ยมมากกวา่ ทรงกลม และเต็มไปดว้ ยพมั เมลไลตเ์ น้ ือละเอียดท่ีบุ
ตามโพรงและก่อรปู ดอกกุหลาบท่ีละเอียดอ่อนของคริสตลั รูปเข็ม

หินสคอเรีย
ลกั ษณะท่ีพบ : มีรูพรุนมากและสากเหมือนกระดาษทราย แข็งแต่สามารถหกั ได้ มสี ีเทา

เขม้ ถึงดา มีน้าหนักเบา
หนิ สคอเรีย (องั กฤษ: Scoria) เป็ นหนิ อคั นีพุ (เกิดจากการเยน็ ตวั ของลาวาอยา่ ง

เฉียบพลนั ) เน้ ือหินจึงมีรพู รุนและสากเหมือนกระดาษทราย แขง็ แต่เปราะ มนี ้าหนักเบา
ลอยน้าได้ ไมท่ นทานต่อการสึกกร่อน มสี ีเขม้ ค่อนขา้ งดา พบมากตามชายฝั่งทะเล โดยพบ
ปนกบั หินบะซอลต์

นิยมใชใ้ นการทาหนิ ขดั



บอ่ ระเบิดหิน

ต้งั อยทู่ ่ี ม.4 ถ.บุรีรมั ย-์ ประโคนชยั ตาบลอิสาณ อาเภอเมืองบุรีรมั ย์ จงั หวดั บุรีรมั ย์
บ่อหินกานันชยั (เนวนิ )เร่ิมระเบิดชว่ ง 50 ปี กอ่ น ระเบิดตอนเที่ยงของทุกวนั หิน
สว่ นใหญ่นามาทารางรถไฟ ส่วนท่ีเหลือนาไปขาย นาไปใชก้ ่อสรา้ งอาคาร บา้ นเรอื น

ผลการสารวจบอ่ ระเบิดหิน

บอ่ ระเบิดหินพบ 3 ชนิด ไดแ้ ก่ ควอตซ์ หินบะซอลตเ์ น้ ือแน่น หินกรวดเหล่ียม

ควอตซ์
ลกั ษณะทวั่ ไป : วาวคลา้ ยแกว้ มรี อยแตกเวา้ สะทอ้ นแสง มีขนาดเล็ก พบในหนิ ดินดาน
ควอตซ์ สตู รเคมี 2 มี Si 46.7% และ O 53.3% ไมห่ ลอมละลายในกระบวนแร่

ท้งั หลาย ควอตซเ์ กือบจะเป็ นสารประกอบทางเคมีที่มีความบริสุทธ์ิมากที่สุดและมี
คุณสมบตั ิทางฟิ สิกสท์ ่ีคงที่

ควอตซม์ มี ากมายหลายชนิด (Varieties) แบ่งอยา่ งกวา้ ง ๆ ไดเ้ ป็ น 2 พวก คือ พวกท่ี
เกดิ เป็ นผลึกหรือ มผี ลึกหยาบ (Coarsely crystalline varieties) และพวกท่ีเกิดเป็ นผลึก
ละเอียดยบิ หรือเนียนละเอียด มีขนาดเล็กมากจนมองดว้ ยตาเปล่าไมเ่ ห็น
(Cryptocrystalline varieties)

นาไปใชป้ ระโยชน์ในลกั ษณะต่าง ๆ กนั มากมาย เชน่ ควอตซส์ ีมว่ ง ควอตซส์ ีชมพู
ควอตซส์ ีควนั ไฟ แกว้ ตาเสือ อะเวนจรู ีน คารเ์ นเลียน อะเกต และโอนิกซ์ ใชเ้ ป็ นรตั นชาติ
และหนิ ประดบั ควอตซท์ ่ีอยใู่ นรูปของทราย นามาใชผ้ สมทาคอนกรตี ทาครก ใชเ้ ป็ น flux
และวสั ดุสาหรบั ขดั สี (abrasive) ในอตุ สาหกรรมแกว้ และอิฐ ควอตซท์ ี่เป็ นผงใชท้ าเครอ่ื ง
เคลือบ (porcelain) กระดาษทราย สบู่ และเติมลงไปในไม้ (wood filler) สาหรบั ควอรต์
ไซตแ์ ละหินทรายถกู ใชเ้ ป็ นหนิ ก่อสรา้ ง และทาอิฐปทู างเทา้

หินกรวดเหล่ยี ม
ลกั ษณะที่พบ : รปู ร่างมนไมเ่ หล่ียม เน้ ือแน่น ค่อนขา้ งหนัก มีสีน้าตาลแดงถึงน้าตาล

เขม้
หินกรวดเหล่ียม (breccia) หินตะกอนชนิดหน่ึงมีลกั ษณะคลา้ ยหนิ กรวดมน

ประกอบดว้ ยช้ นิ ส่วนของหินชนิดต่าง ๆ ซึ่งมีลกั ษณะเป็ นเหล่ียมขนาดใหญก่ วา่ เมด็ ทราย
และยดึ กนั อยดู่ ว้ ยตวั ประสานเชน่ แคลเซียมคารบ์ อเนต เป็ นหนิ เน้ ือหยาบเกิดจากตะกอน
ซึ่งเป็ นหิน กรวด ทราย ที่ถกู กระแสน้าพดั พามาอยรู่ วมกนั สารละลายในน้าใตด้ ินทาตวั
เป็ นซิเมนตป์ ระสานใหอ้ นุภาคใหญเ่ ล็กเหล่าน้ ี เกาะตวั กนั เป็ นกอ้ นหิน

หินบะซอลตเ์ น้ ือแน่น
ลกั ษณะท่ีพบ : มีเน้ ือแน่น ส่วนใหญ่มีรพู รุน และบางกอ้ นมรี พู รุนเล็กนอ้ ย มสี ีเทาเขม้

ถึงดา น้าหนักเบา
หนิ บะซอลตเ์ น้ ือแน่น (Dense Basalt Zone) เน้ ือหนิ บะซอลตส์ ่วนใหญ่เป็ น เน้ ือแน่น

แกร่ง มสี ีเทาจนถึงเทาปนดา และสีดา ลกั ษณะเน้ ือละเอียด หินบะซอลตป์ ระกอบดว้ ยผลึก
แร่ โอลิวนี ผลึกแร่แพลจโิ อเคลส และผลึกแร่ไคลโนไพรอกซนี บา้ งเล็กน้อยอยใู่ นเน้ ือหนิ ที่
ละเอียดกวา่ ประกอบดว้ ยแรแ่ พลจโิ อเคลส

ประโยชน์ใชใ้ นงานก่อสรา้ ง ใชเ้ ป็ นวสั ดุรองพ้ นื เพ่อื ทาถนนและทางรถไฟ

บริเวณโดยรอบของบ่อระเบิดหนิ พบเป็ นร่องรอยการแตกของหินบะซอลต์
ในลกั ษณะเป็ นหนา้ ผา ซึ่งเกิดมาจากอดีตที่มกี ารระเบิดหินลึกลงไปจนเป็ นหนา้ ผา
สงู ปัจจุบนั บ่อระเบิดหนิ มีน้าขงั อยปู่ ริมาณจนกลายเป็ นแหล่งน้าธรรมชาติ บางจุด
หนา้ ผามหี นิ บะซอลตล์ กั ษณะเป็ นกลมมนเน่ืองจากมกี ระน้าไหลผ่านและท่วมถึง
แต่บางจุดยงั คงเป็ นรปู ร่างเหลี่ยมหินชดั เจน

สรุปผลการสารวจ

จากการสารวจหินท่ีบริเวณวนอุทยานเขากระโดงและบ่อระเบิดหิน พบหิน
ท้งั หมด 7 ชนิด ไดแ้ ก่ ควอตซ์ หินบะซอลตเ์ น้ ือแน่น หินวาสคิวลารบ์ ะซอลต์ หิน
กรวดเหล่ียม หินสคอเรีย หินปอยภูเขาไฟ และหินแกบโบร โดยที่วนอุทยานเขา
กระโดงพบ 5 ชนิด ไดแ้ ก่ หินสคอเรีย หินบะซอลต์เน้ ือแน่น หินวาสคิวลาร์บะ
ซอลต์ หินปอยภูเขาไฟ และหินแกบโบร และท่ีบ่อระเบิดหินพบ 3 ชนิด ไดแ้ ก่
ควอตซ์ หินบะซอลตเ์ น้ ือแน่น และหินกรวดเหลี่ยม จากการสารวจ หินที่พบท่ีวน
อุทยานเขากระโดงโดยสว่ นใหญ่พบหินบะซอลตเ์ น้ ือ และหินสคอเรีย และหินที่พบ
ที่บ่อระเบิดหินพบโดยส่วนใหญ่เป็ นหินบะซอลตเ์ น้ ือแน่น หินท่ีพบสอดคลอ้ งกบั
ประวตั ิความเป็ นมาท่ีทาการศึกษา พ้ ืนที่ดงั กล่าวเป็ นพ้ ืนที่ภูเขาไฟระเบิดจึงมีการ
พบหินอัคนีเป็ นจานวนมาก และมีการนาหินไปใชป้ ระโยชน์ในการก่อสร้าง
มากมาย

วิ ดี โอการสารวจ โปสเตอร์


Click to View FlipBook Version