The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการจัดการองค์ความรู้ด้านการวิจัย 61

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sopida Wisansakkul, 2019-07-03 11:33:22

คู่มือการจัดการองค์ความรู้ด้านการวิจัย 61

คู่มือการจัดการองค์ความรู้ด้านการวิจัย 61

ค่มู อื เทคนิคการดาเนินโครงการวิจยั ให้
เป็ นไปตามระยะเวลาที่กาหนด

โดย
คณะกรรมการจดั การองคค์ วามรู้ (ดา้ นการวจิ ยั )
คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี

คำนำ

เอกสารเผยแพร่ เรื่อง “เทคนิคกำรดำเนินโครงกำรวิจัยให้เป็นไปตำมระยะเวลำท่ีกำหนด” น้ีเกิด
จากความร่วมมือของอาจารย์คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ที่ช่วยระดมสมอง แลกเปลี่ยนความรู้และ
ประสบการณ์ในเรื่องเทคนิคการดาเนินโครงการวิจัยให้เป็นไปตามระยะเวลาท่ีกาหนด โดยมีการบ่งชี้ความรู้
และถอดองค์ความรู้จากบุคคลผู้เป็นแหล่งความรู้ภายในคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ จานวน 4 ท่าน
ประกอบด้วย รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย หัวหน้าแผนกวิจัยและประเมินผล เจ้าหน้าท่ีฝ่ายวิชาการและ
วิจยั และเจ้าหนา้ ทฝี่ า่ ยการเงิน เพ่อื นาองคค์ วามร้ทู ไ่ี ด้มาดาเนินการสรุปเปน็ คมู่ ือเพื่อเผยแพร่ให้คณาจารย์และ
ผ้สู นใจไดน้ าไปใช้ประโยชนต์ อ่ ไป

คณะกรรมการการจัดการความรู้ด้านวิจัย คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลธัญบุรี หวังเปน็ อย่างย่ิงว่าเอกสารนี้จะเปน็ ประโยชนต์ ่อผู้ที่กาลังเขียนข้อเสนอโรงการวิจัยเพื่อขอทุน
สนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดินและงบภายนอกอ่ืนๆ หากผู้อ่านพบข้อบกพร่องหรือมีคาแนะนาเพ่ือการ
ปรับปรุง คณะผู้จัดทายินดีรับข้อเสนอแนะน้ันมาแก้ไขปรับปรุงให้เอกสารน้ีสมบูรณ์ย่ิงขึ้นต่อไป และ
ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

คณะกรรมการจดั การความรู้ดา้ นวิจัย ประจาปี 2561
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี



สำรบัญ หน้ำ

การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 1
การกาหนดแผนตดิ ตามโครงการวจิ ยั 2
การกาหนดแผนการดาเนินงานวจิ ัย (Gantt Chart) 3
การเขยี นรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ยั 5
กระบวนการเบกิ จา่ ยเงนิ งบประมาณการวิจยั 6
เทคนคิ การทางานวจิ ัยให้เสรจ็ ตามระยะเวลา 8
การป้องกนั ปญั หาการดาเนนิ โครงการวิจยั ไมแ่ ล้วเสรจ็ ตามระยะเวลา 10
เอกสารประกอบการเบิกจา่ ยและรายงานความกา้ วหน้าโครงการวจิ ัย 14



การจดั การความรู้ (Knowledge Management)
“เทคนิคการดาเนนิ โครงการวิจยั ให้เป็นไปตามระยะเวลาท่กี าหนด”

1. ค้นหา 3. การจดั การ 5. การเขา้ ถงึ 7. การเรียนรู้
ความรู้ ความรู้ให้เปน็ ความรู้

ระบบ

2. การสรา้ ง 4. การ 6. การแบ่งปัน
และเสาะหา ประมวลและ
กลน่ั กรอง
ความรู้
ความรู้

1. ค้นหาความรู้ • ทำกำรสำรวจควำมตอ้ งกำรหัวขอ้ กำรจัดกำรควำมรดู้ ำ้ นกำร
วิจยั

2. การสร้างและเสาะหาความรู้ • ดำเนินกำรสร้ำงและเสำะหำควำมรู้จำกประสบกำรณ์ท่ีมีอยู่ใน
บุคลำกรทีเ่ ปน็ แหลง่ เรยี นรภู้ ำยใน โดยกำรประชุมระดมควำมรู้
3. การจดั การความรใู้ หเ้ ป็นระบบ 8 ครัง้ แต่ละทำ่ นนำเสนอ 3 นำที/ประเดน็

• ดำเนินกำรนำควำมรู้ท่ีได้ มำจำแนกประเด็นควำมรู้ออกเป็น
ระบบ จงึ สำมำรถแบ่งประเภทหัวข้อขององค์ควำมรู้ออกเป็น 6
ประเด็น

4. การประมวลและกลัน่ กรองความรู้ • ดำเนินกำรจัดทำคู่มือเทคนิคกำรดำเนินโครงกำรวิจัยให้เป็นไปตำม
ระยะเวลำท่ีกำหนด และดำเนินกำรกล่ันกรองควำมรู้โดยกำรปรับปรุง
คมู่ อื ให้มคี วำมครบถ้วน เทย่ี งตรง ทันสมัย และเขำ้ ใจง่ำย

5. การเขา้ ถึงความรู้ • ดำเนินกำรเผยแพรค่ ่มู ือฯ ลงสื่อออนไลน์ และปำ้ ย
ประชำสัมพนั ธภ์ ำยในหนว่ ยงำน

6. การแบ่งปัน • ดำเนินกำรแบ่งปันแลกเปลี่ยนควำมรู้กับนักวิจัยภำยในคณะ
7. การเรยี นรู้ เทคโนโลยีคหกรรมศำสตร์ จำกกำรใช้คู่มือกำรจัดกำรองค์
ควำมรู้

• บุคลำกรภำยในคณะเทคโนโลยีคหกรรมศำสตร์ ได้นำควำมรู้
จ ำ ก คู่ มื อ ใ น ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ แ ล ะ พั ฒ น ำ ก ร ะ บ ว น ก ำ ร ด ำ เ นิ น
โครงกำรวจิ ัยของตนเอง

1

การกาหนดแผนตดิ ตามโครงการวจิ ยั

ขั้นตอนที่ 1 ให้นักวจิ ัยดาเนนิ การขออนมุ ตั ดิ าเนนิ โครงการวิจยั ตั้งแตบ่ ดั นี้เปน็ ต้นไปแตไ่ มเ่ กิน
วันท่ี 16 พฤศจกิ ายน ของทุกปี การขออนุมัติดาเนนิ โครงการวจิ ัย ให้นักวจิ ัยทาเอกสาร
ประกอบ ดังน้ี

 บันทกึ ขออนมุ ัตดิ าเนนิ โครงการวิจัย
 แผนการใช้จ่ายเงนิ (แบบ วจ. 1 ฉบับปรบั ปรงุ 2562 จานวน 1ชดุ )
 แผนการเบกิ จา่ ยเงนิ (ตารางใบขวางแนวนอน จานวน 1 ใบ)
 แบบเสนอโครงการวิจัย ว 1ด (จานวน 2 ชุด) พรอ้ มใบปะหน้าโครงการวจิ ยั
ตามเป้าหมายของแผนบรู ณาการวิจยั และนวตั กรรม

งบรายไดค้ ณะ

 (ปกสชี มพ)ู เป้าหมายที่ 1 การวจิ ัยและนวัตกรรมเพอื่ สร้างความมั่งค่ังทางเศรษฐกจิ
 (ปกสเี ขียว) เปา้ หมายท่ี 2 การวจิ ยั และนวัตกรรมเพ่ือการพัฒนาสังคมและส่งิ แวดล้อม
 (ปกสฟี ้า) เป้าหมายที่ 3 การวิจยั และนวตั กรรมเพือ่ สร้างองค์ความรู้พน้ื ฐานของ
ประเทศ

ทนุ นักวิจัยรุน่ ใหม่ (งบกองทุนส่งเสรมิ งานวจิ ัย)

 (ปกสฟี า้ ) เป้าหมายที่ 1 การวิจยั และนวัตกรรมเพอ่ื สร้างความม่ังค่ังทางเศรษฐกิจ
เปา้ หมายที่ 2 การวิจัยและนวตั กรรมเพ่ือการพฒั นาสังคมและส่งิ แวดล้อม
เป้าหมายที่ 3 การวิจยั และนวัตกรรมเพอื่ สร้างองค์ความรูพ้ น้ื ฐานของประเทศ

ข้นั ตอนท่ี 2 เมือ่ ขออนมุ ตั ิดาเนินโครงการวิจัยในขน้ั ตอนที่ 1 แล้ว และไดร้ บั อนุมตั ิ
ใหด้ าเนินการทางแผนกการเงนิ ฯ จะแจ้งให้ทราบ เพอื่ ใหน้ กั วิจัย

ขออนุมตั ิเบกิ เงนิ งวดท่ี 1 ได้ โดยการเบกิ เงินงวดที่ 1 (ตามขน้ั ตอนท่ี 2)
จะต้องดาเนนิ การไม่เกินเดือนธันวาคม

ขัน้ ตอนท่ี 3 แผนการดาเนนิ การเบิกจา่ ยโครงการวิจยั ทไ่ี ดร้ บั งบประมาณ
มีดังนี้  การเบกิ เงนิ วจิ ัยงวดท่ี 2 ไมเ่ กนิ วันท่ี 31 พฤษภาคม ของทกุ ปี

 การเบิกเงนิ วจิ ยั งวดสุดทา้ ยและถ้าต้องการขอขยายเวลาโครงการวิจยั
ให้ดาเนินการได้ไม่เกินวันท่ี 20 กนั ยายน ของทกุ ปี

ฝา่ ยวิชาการและวิจยั /แผนกการเงนิ และบญั ชี

2

การกาหนดแผนการดาเนินงานวิจยั (Gantt Chart)

แผนภูมิแกนต์ (อังกฤษ: Gantt chart) หมำยถึง แผนผังคุมกำหนดงำนมักใช้ในด้ำนกำรจัดกำร
โครงกำรต่ำง ๆ ในองค์กำรขนำดใหญ่ ซึ่งอำจมีขั้นตอนซับซ้อน และมำกมำย โดยจะใช้เป็นเทคนิคเครื่องมือ
ชว่ ยกำรปฏบิ ตั ิงำนของผู้บริหำร ในกำรดำเนินกำรแก้ไขกำรควบคมุ กำรวำงแผนที่เหมำะสม เพ่ือชว่ ยสนับสนุน
ให้กำรดำเนินงำนบรรลุเป้ำหมำย และวัตถุประสงค์ของโครงกำรอย่ำงมีประสิทธิภำพ ผังในลักษณะน้ีจะแสดง
ถึงปริมำณงำนและกำหนดเวลำท่ีจะต้องใช้ เพ่ือทำงำนน้ันให้ลุล่วง เป็นแผนภูมิในรูปของกรำฟแท่งที่
ประกอบด้วย แกนหลัก 2 แกน คือ แกนนอนแสดงถึงเวลำในกำรทำงำนตลอดโครงกำร และแกนต้ังแสดงถึง
งำนหรือกิจกรรมท่ีต้องทำ แท่งกรำฟวำงตัวในแนวนอน ควำมยำวของแท่งกรำฟเป็นสัดส่วนโดยตรงกับ
ระยะเวลำในกำรทำงำน

แผนภูมิแกนต์ พัฒนำขึ้นในปี 1917 โดย Henry L. Gantt เป็นผู้พัฒนำแผนภูมิน้ีข้ึนมำ เพื่อใช้ในกำร
วำงแผนเกีย่ วกบั เวลำ ใช้แก้ปญั หำเรอื่ งกำรจัดตำรำงกำรผลิต กำรควบคุมแผนงำนและโครงกำรกำรบรหิ ำรเชิง
วิทยำศำสตร์ เรียกว่ำ แผนภูมิแกนต์ ซึ่งมีลักษณะเป็นแถบหรือเส้น โดยใช้แกนนอนเป็นเส้นมำตรำส่วนแสดง
เวลำ ส่วนแกนต้ังเป็นมำตรำสว่ นแสดงขั้นตอนของกิจกรรมหรืองำน หรอื อตั รำกำลังขององคก์ ำร

หลักกำรของแผนภูมิแกนต์ จะเป็นแบบง่ำย ๆ กล่ำวคือ กิจกรรมต่ำง ๆ จะถูกกำหนดให้มีกำรดำเนนิ
เป็นไปตำมแผนกำรผลิตท่ีต้องกำร และถ้ำมีควำมเบี่ยงเบนเกิดข้ึนในเวลำใด ๆ ก็จะมีกำรจดบันทึกและแสดง
สภำพที่เกิดข้ึน เพื่อจะได้หำทำงแก้ไข เช่น เรื่องกำรกำหนดงำน สำเหตุของกำรล่ำช้ำ ตลอดจนกำร
เปลี่ยนแปลงและกำรจดั แจกภำระงำนในกำรผลิต

หลักในกำรเขียน Gantt Chart
1. กำหนดงำนและกจิ กรรม
2. กำหนดระยะเวลำกำรทำงำนใหแ้ ลว้ เสรจ็
3. พจิ ำรณำวำ่ งำนใดควรทำก่อนหรอื หลัง

วธิ กี ำรสรำ้ ง Gantt chart มลี ำดบั ขัน้ ตอนท่สี ำคญั ดงั น้ี
ข้ันที่หนึ่ง สร้ำงตำรำงที่แถวด้ำนข้ำงซ้ำยแสดงชื่อกิจกรรมท่ีต้องทำในโครงกำร และหัวตำรำงด้ำนบน

แสดงลำดบั เวลำทีอ่ ำจกำหนดใหเ้ ป็นชั่วโมง วนั สปั ดำห์ หรอื เดอื น เปน็ ต้น
ขนั้ ทีส่ อง กำหนดกจิ กรรมทีต่ ้องทำเพื่อบรรลเุ ป้ำหมำยของโครงกำร แต่ละกจิ กรรมแทนดว้ ยแถบทึบท่ี

มีควำมยำวแสดงถึงระยะเวลำของกิจกรรม โดยมักกำหนดให้จุดเริ่มต้นเป็นเวลำเร่ิมเร็วที่สุดและจุดสิ้นสุดเป็น
เวลำท่เี สร็จเรว็ ทส่ี ุดของกจิ กรรม

ข้ันท่ีสำม บันทึกกิจกรรมท่ีต้องทำอย่ำงเป็นระบบตำมลำดับก่อนหลัง โดยให้ลำดับกิจกรรมท่ีทำก่อน
อยู่ด้ำนบน ไล่ลงมำตำมลำดับถึงกิจกรรมสุดท้ำยท่ีต้องเกิดข้ึนต่อเน่ืองกัน ท้ังน้ีจำนวนกิจกรรมรวมท้ังหมดไม่
ควรมีจำนวนมำกเกินไปเพรำะจะทำให้เกิดควำมซับซ้อนเกินไป หำกกิจกรรมมีจำนวนมำกก็อำจทำตำรำง
กิจกรรมแยกเฉพำะสว่ นออกมำตำ่ งหำก นอกจำกนั้นอำจมีบำงกิจกรรมที่กำหนดให้อยู่ที่จดุ เวลำใดจุดเวลำหนึ่ง
เพียงจุดเดียวที่เรียกว่ำ หลักไมล์ (Milestone) เพื่อแสดงถึงจุดที่จะให้มีกำรตรวจสอบประเมินผลกำร
ดำเนนิ งำนของกจิ กรรมต่ำงๆในชว่ งก่อนหนำ้

3

ข้ันที่ส่ี หำกผู้จัดกำรโครงกำรต้องกำรสร้ำงระบบข้อมูลที่สมบูรณ์ขึ้นเพ่ือใช้ติดตำมประเมินควำม
คืบหน้ำและกำรบรรลุผลของโครงกำร ผู้จัดกำรโครงกำรอำจอำศัยเกณฑ์กำรจัดทำงบประมำณเพ่ือตรวจสอบ
ติดตำมกำรดำเนินกิจกรรมต่ำงๆและแสดงกำรกระจำยของงบประมำณไล่ตำมกรอบเวลำที่มีกำรดำ เนิน
กิจกรรมของโครงกำร โดยกำรคำนวณงบประมำณที่ต้องใช้ในแต่ละช่วงเวลำตำมข้อมูลประมำณกำรกำรใช้
ทรัพยำกรด้ำนต่ำงๆ เช่น แรงงำนท่ัวไป หัวหน้ำงำน วิศวกร วัสดุอุปกรณ์ และค่ำสำธำณูปโภคต่ำงๆ เป็นต้น
หำกค่ำใช้จ่ำยคิดตำมอัตรำเหมำจ่ำยเป็นช่วงเวลำที่ยำวนำนเกินกว่ำหน่วยเว ลำปกติของโครงกำรที่กำหนดข้ึน
ก็อำจใช้กำรหำรเฉลี่ยตำมระยะเวลำของกิจกรรมน้ันๆก็ได้ เช่น ค่ำใช้จ่ำยสำหรับหัวหน้ำคุมแรงงำนก่อสร้ำง
เหมำจ่ำย 1 ปคี ดิ เป็นเงนิ 360,000 บำท หำกหน่วยเวลำทีใ่ ช้เปน็ เกณฑ์ในโครงกำรคิดเปน็ รำยเดือน กอ็ ำจหำร
เฉล่ียค่ำจ้ำงหัวหน้ำคุมแรงงำนเป็นรำยเดือนได้ 30,000 บำทต่อเดือน เป็นต้น เมื่อแสดงยอดรำยจ่ำยสะสมคดิ
เป็นร้อยละต่องบประมำณรำยจำ่ ยทั้งหมดของโครงกำรไล่ตำมเวลำของโครงกำรจะได้เส้นโค้งของงบประมำณ
รำยจำ่ ยสะสมที่สำมำรถนำมำใช้ตดิ ตำมและประเมนิ ควำมคบื หน้ำของโครงกำรได้

ตัวอยา่ งแผนภมู แิ กนต์ (Gantt Chart)

ปี กจิ กรรม ร้อยละของ

(งบประมำณ) ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. กจิ กรรมใน

ปีงบประมาณ

2562 ศกึ ษำสตู รทเ่ี หมำะสม 15

2563 ศึกษำสมบัติทำงเคมแี ละกำยภำพ 15

2563 ออกแบบผลิตภัณฑ์ 10

2563 วิเครำะห์ตน้ ทนุ ผลติ ภณั ฑ์ 10

2563 สำรวจควำมพงึ พอใจของผู้บรโิ ภค 10

2563 วิเครำะห์ข้อมูล แปรผล และสรุปผลกำร 20

ทดลอง

2563 ถำ่ ยทอดเทคโนโลยี 20

รวม 100

4

การเขียนรายงานความกา้ วหน้าโครงการวิจัย

กำรเขยี นแบบรำยงำนควำมก้ำวหนำ้ แผนงำนวจิ ยั /โครงกำรวิจยั จะประกอบไปดว้ ย 2 ส่วนประกอบ
หลกั ด้วยกัน คือ

1. รำยละเอียดเกีย่ วกบั แผนงำนวิจยั /โครงกำรวิจยั ประกอบด้วย
1.1. ชื่อเรอ่ื ง
1.2. ชื่อผ้วู ิจยั
1.3. หน่วยงำนท่ีสังกัด
1.4. หมำยเลขโทรศัพท์
1.5. ไดร้ ับอนุมัตงิ บประมำณ
1.6. งบประมำณท่ีไดร้ ับ
1.7. ระยะเวลำทำกำรวจิ ยั
1.8. เริม่ ทำกำรวจิ ยั เมื่อ

2. รำยละเอียดเกีย่ วกบั ผลงำนควำมกำ้ วหนำ้ ของกำรวจิ ยั ประกอบด้วย
2.1. วตั ถุประสงค์ของแผนงำนวจิ ยั /โครงกำรวิจัย
2.2. แสดงตำรำงเปรียบเทียบผลกำรดำเนินงำนตำมแผนกำรดำเนินงำนวิจัยท่ีได้เสนอไว้กับ
งำนวิจัยท่ไี ด้ดำเนินกำรจริง ในรปู ของแผนกำรดำเนินงำนตลอดแผนงำนวจิ ัย/โครงกำรวิจัย วำ่
มกี ิจกรรม/ขน้ั ตอนปฏิบัติตำมลำดับอย่ำงไร
2.3. แสดงรำยละเอียดของผลกำรดำเนินงำน พร้อมสรุปและวิเครำะห์ผลท่ีได้ดำเนินกำรไปแล้ว
[ทั้งน้ี ให้แนบบทควำม ผลงำนควำมก้ำวหน้ำทำงวิชำกำรของแผนงำนวิจัย/โครงกำรวิจัย
ระหว่ำงที่ทำกำรวิจัยท่ีเคยพิมพ์ในวำรสำรทำงวิชำกำรแล้วหรือบทควำมท่ีจะนำไปเผยแพร่
ทำงสอ่ื มวลชนได้ (ถ้ำมี)]
2.4. ระบุรำยละเอยี ดทไี่ ดแ้ ก้ไขปรบั ปรงุ ตำมขอ้ เสนอแนะของผู้ประเมนิ (ถำ้ ม)ี
2.5. งบประมำณท่ไี ด้ใช้จำ่ ยไปแล้วนบั ตัง้ แตเ่ รม่ิ ทำกำรวจิ ยั
2.6. งำนตำมแผนงำนวจิ ยั /โครงกำรวจิ ยั ทจ่ี ะทำตอ่ ไป
2.7. คำชแ้ี จงเกี่ยวกับปัญหำ/อุปสรรค และวธิ ีกำรแกไ้ ข (ถำ้ ม)ี

5

กระบวนการเบกิ จ่ายเงินงบประมาณการวิจัย

กำรจำ่ ยเงินโครงกำรวิจยั ใหป้ ฏบิ ตั ติ ำมหลกั เกณฑ์ ดงั นี้
1. จำ่ ยสมทบค่ำสำธำรณปู โภค (ค่ำน้ำ-ค่ำไฟ) ให้แก่หน่วยงำนในอัตรำร้อยละ 5 ของวงเงนิ งบดำเนินงำน
ทป่ี ระมำณกำรไว้ใน วจ.1
2. ค่ำใช้จ่ำยในกำรเดินทำงไปปฏิบัติงำน ค่ำใช้จ่ำยในกำรฝึกอบรมให้ใช้หลักเกณฑ์/อัตรำค่ำใช้จ่ำย
หลกั ฐำนกำรจ่ำยเงนิ ตำมกฎหมำยและระเบียบกระทรวงกำรคลงั ท่ีเกยี่ วข้อง
3. ค่ำตอบแทนนกั วจิ ัยให้จ่ำยได้ในอตั รำร้อยละ 10 ของวงเงินอุดหนนุ โรงกำรวจิ ัยทไ่ี ดร้ ับจัดสรรในแต่ละ
ปีงบประมำณ
4. ค่ำตอบแทนผู้ช่วยปฏิบัติงำนวิจัย เป็นรำยเดือน/รำยวัน ให้จ่ำยในอัตรำไม่เกิน 1.25 เท่ำของอัตรำ
คำ่ จำ้ งหรอื ตำมปริมำณงำนท่ตี กลงกนั
5. รำยจ่ำยค่ำครุภัณฑ์ให้จ่ำยได้เฉพำะรำยกำรท่ีได้รับอนุมัติในโครงกำรวิจัย ถ้ำรำยกำรท่ีมีวงเงินเกิน
100,000 บำท ให้ดำเนนิ กำรจดั ซื้อหรอื จ้ำงรว่ มกับเจ้ำหน้ำท่พี ัสดุ

กรอบกำรจ่ำยเงินใหจ้ ำ่ ยได้ไมน่ ้อยกวำ่ 3 งวด
กรอบวงเงนิ งวดแรก (50%) เม่ือหนว่ ยงำนรบั เงินจำกกองคลัง/คลังจังหวดั /คลังอำเภอ
กรอบวงเงนิ งวดทส่ี อง (40%) เมือ่ ผำ่ นกำรส่งรำ่ งรำยงำนควำมกำ้ วหนำ้ ของโครงกำรวจิ ัยรอบ 6
เดือน หรือ 12 เดือน
กรอบวงเงินงวดสุดท้ำย (10%) เมอ่ื ส่งรำยงำนฉบบั สมบูรณ์ พร้อมไฟล์ .pdf .doc
แบบสรุปผลงำนวจิ ยั หรอื โครงกำรวจิ ัย (IRD_07) พร้อมไฟล์ .doc
แบบฟอร์มกำรนำผลงำนวิจัยหรืองำนสรำ้ งสรรคใ์ ช้ประโยชน์
(IRD_08) พร้อมไฟล์ .doc

เอกสำรประกอบกำรเบิกเงนิ ตำมโครงกำรวิจัยงวดแรก ประกอบด้วย
1. บันทึกขออนุมตั ิดำเนนิ โครงกำรวิจัย
2. แผนกำรใชจ้ ่ำยเงนิ (แบบ วจ. 1 ฉบบั ปรบั ปรุง 2562 จำนวน 1ชดุ )
3. แผนกำรเบิกจ่ำยเงิน (ตำรำงใบขวำงแนวนอน จำนวน 1 ใบ)
4. แบบเสนอโครงกำรวิจัย ว 1ด (จำนวน 2 ชดุ ) พร้อมใบปะหนำ้ โครงกำรวิจยั ตำมเปำ้ หมำยของแผน
บูรณำกำรวิจัยและนวัตกรรม

เอกสำรประกอบกำรเบิกเงินตำมโครงกำรวิจยั งวดที่ 2 หรอื งวดก่อนสุดทำ้ ย
1. บนั ทึกขออนุมตั เิ บิกเงินงวดที่ 2
2. แบบรำยงำนควำมก้ำวหน้ำแผนงำนวจิ ัยโครงกำรวิจยั (แบบ ต-1 ชด)
3. ใบเสรจ็ รับเงิน (ตอ้ งเป็นต้นฉบบั แบบเต็มรปู แบบ)
3.1 กรณกี ำรจำ้ ง ไม่มีใบเสร็จรับเงิน ให้ใช้ใบสำคัญรบั เงิน+ใบรบรองแทนใบเสรจ็ +สำเนำบตั ร
ประชำชน+ตรวจรบั พสั ดุ (ใบสำคญั ฯ และใบรับรองฯ)
3.2 กรณซี ้ือสนิ ค้ำไม่มใี บเสรจ็ รับเงนิ ให้ใชใ้ บสำคญั รับเงิน+ใบรบรองแทนใบเสรจ็ +สำเนำบตั ร
ประชำชน+ตรวจรับพสั ดุ (ใบสำคัญฯ และใบรับรองฯ)

6

เอกสำรประกอบกำรเบิกเงนิ ตำมโครงกำรวิจัยงวดสดุ ท้ำย
1. บันทึกขออนุมัตเิ บิกเงินค่ำตอบแทนนกั วิจัย และดำเนนิ กำรจัดสง่ เลม่ รำยงำนกำรวจิ ัย
2. แบบ วจ.2 (สรุปรำยงำนกำรใชจ้ ำ่ ยเงินโครงกำรวจิ ยั )
3. ใบเสรจ็ รับเงิน (ตอ้ งเปน็ ตน้ ฉบับแบบเต็มรูปแบบ)
3.1 กรณกี ำรจ้ำง ไม่มใี บเสร็จรบั เงิน ใหใ้ ช้ใบสำคญั รบั เงิน+ใบรบรองแทนใบเสร็จ+สำเนำบัตร
ประชำชน+ตรวจรับพสั ดุ (ใบสำคญั ฯ และใบรับรองฯ)
3.2 กรณซี ื้อสนิ ค้ำไมม่ ีใบเสร็จรบั เงนิ ใหใ้ ช้ใบสำคัญรับเงนิ +ใบรบรองแทนใบเสร็จ+สำเนำบตั ร
ประชำชน+ตรวจรับพัสดุ (ใบสำคัญฯ และใบรับรองฯ)

เอกสำรท่ีใช้ในกำรประกอบกำรเบกิ จ่ำย

ลำดับที่ คำ่ ใชจ้ ำ่ ยตำม วจ.1 หลกั ฐำนที่ใช้เบิก

1 ค่ำตอบแทนนักวิจยั 1. ใบสำคญั รบั เงนิ

(งวดสดุ ทำ้ ย) 2. สำเนำบตั รประชำชน

2 คำ่ ตอบแทนผูช้ ่วยนักวจิ ยั 1. หนังสอื ขออนมุ ัตจิ ัดจ้ำง

2. รำยละเอยี ดกำรจดั จำ้ ง

3. ใบสำคัญรับเงนิ

4. ใบส่งมอบงำน ตอ้ งแจงรำยละเอยี ดกำรรับจำ้ งใหค้ รบถ้วน

5. ใบตรวจรบั กำรจัดจ้ำง

3 คำ่ ใช้สอย 1. หนงั สอื ขออนุมัติจดั จ้ำง

เช่น คำ่ จำ้ งต่ำงๆ 2. รำยละเอียดกำรจัดจำ้ ง

3. ใบสำคัญรับเงนิ ถ้ำเปน็ บริษทั ใช้ใบเสรจ็ รบั เงนิ

4. ใบส่งมอบงำน ต้องแจงรำยละเอยี ดงำนที่ได้รับจำ้ ง ถ้าเปน็ บรษิ ัท

ไมต่ ้องใชใ้ บสง่ มอบงำน เชน่ จำ้ งถำ่ ยเอกสำร เข้ำเล่ม พิมพ์งำน

5. ใบตรวจรับกำรจดั จำ้ ง (กำรจ้ำงทไ่ี มเ่ กนิ 10,000 บำท ใชก้ รรมกำร

คนเดียว, ถ้ำค่ำจ้ำงเกิน 10,000 บำท ใช้กรรมกำร 3 คน)

หมำยเหตุ ถำ้ จำ้ งวิเครำะห์ข้อมูลโดยใช้บุคคลธรรมดำ ต้องแนบวฒุ ิ

กำรศึกษำ หรอื หนงั สือรับรองกำรฝกึ อบรมดว้ ย

4 คำ่ วสั ดุ 1. หนังสอื ขออนมุ ัติจัดซ้ือ

(ผลกำรทดลองตอ้ ง 2. รำยละเอยี ดกำรจดั ซ้ือ

สอดคลอ้ งกับกำรซ้ือของ) 3. ใบเสร็จรับเงิน / ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน

(ถำ้ เป็นบริษัทใชใ้ บเสร็จรับเงิน หรือ บิลเงินสดต้องมรี ำยละเอยี ด

รำ้ นค้ำ ที่อยู่ พร้อมเบอรโ์ ทร เลขท/ี่ เลม่ ทใ่ี บเสรจ็ ใส่ให้ครบ)

4. ใบตรวจรบั กำรจดั ซอ้ื (กำรซ้ือท่ีไมเ่ กิน 10,000 บำท ใชก้ รรมกำร

คนเดียว , ถ้ำซอ้ื เกนิ 10,000 บำท ใช้กรรมกำร 3 คน)

หมำยเหตุ - ถำ้ เป็นของสดให้ทยอยซ้ือตำมควำมจำเป็น ไม่ควรซ้ือครัง้

เดียวเปน็ จำนวนมำกๆ

- สนิ คำ้ ทเ่ี ปน็ ของแหง้ ให้ใชใ้ บเสรจ็ รำ้ นคำ้ หรือ

ห้ำงสรรพสนิ คำ้ ไมค่ วรใชใ้ บรับรองแทนใบเสรจ็ รับเงนิ

- ควรเขียนผลกำรทดลองใหส้ อดคล้องกับกำรซื้อของ

7

เทคนิคการทางานวิจยั ให้เสร็จตามระยะเวลา

1. วำงแผนกำรทำงำนวิจัย จัดสัดสว่ นของเวลำให้เหมำะสม
1.1. ชีวติ ครอบครัว
1.2. สงั คม
1.3. สว่ นตัว
1.4. กำรศกึ ษำ
1.5. กำรงำน
สัดส่วนของมนุษย์ 5 ส่วน แบ่งหรือให้น้ำหนักไม่เท่ำกันหรือไม่คงที่ แล้วแต่สถำนกำรณ์หรือกำรให้

ควำมสำคัญ สร้ำงทัศนคติที่ดีให้กับตนเอง ภำคภูมิใจท่ีได้เรียน ได้ทำวิจัยมองเห็นเป็นควำมท้ำทำย สนุก ได้
เรยี นรู้มำกมำย
2. อำ่ นหนงั สือ วำรสำร งำนวจิ ยั ท่เี กย่ี วข้องกับหวั ข้อทเี่ รำสนใจให้มำกทีส่ ุดเท่ำท่ีทำได้ อ่ำนตดิ ตำมฉบับใหม่ๆ

ด้วย โดยไม่ปดิ กัน้ กำรอ่ำนเพิ่มเติมในเร่ืองที่เปน็ ร่มคนั ใหญ่ คือ แนวคดิ ทฤษฏหี ลัก ๆ ด้วย ต้องอำ่ นทุกวนั
จนเปน็ นสิ ยั ถำวร
3. อ่ำนแล้วต้องทำกรอบในกำรเขียน ว่ำจะเริ่มต้นอะไร อย่ำงไรหรือทำผังควำมคิดไว้ (Mind map) ทักษะ
กำรเขียนต้องฝึกฝนทุกวนั โดยกำรอ่ำนมำกๆ ดตู วั อย่ำงกำรเขียนท่ีดี เพือ่ ให้ไดต้ ัวอยำ่ ง และอำ่ นกำรเขียน
ท่ไี มส่ ละสลวยเพ่ือจะได้ตระหนกั จะเขยี นใส่กระดำษหรอื พมิ พ์ในคอมฯ เลยเหนอื่ ยก็พัก แลว้ เรมิ่ ใหม่
4. กำหนดระยะเวลำ Dead line ไว้ให้กับตนเองว่ำงำนนค้ี วรเสร็จเม่ือไร เพ่ือกำรตรวจทำน แก้ไข โปรดอยำ่
เอำเวลำของหลักสูตรมำกำหนด (โปรดสงสำรหรือเกรงใจผู้ท่ีเก่ียวข้อง เช่น อำจำรย์ที่ปรึกษำ กรรมกำร
อำ่ น)
5. ขณะทำโปรดตระหนักส่ิงท่ีได้เรียนรู้ กระบวนกำรคิดวิเครำะห์ ทักษะกำรอ่ำน กำรเขียน กระบวนกำร
ทำงำน กระบวนกำรวำงแผน
6. ผลกำรศึกษำควรตอบคำถำมในกำรวจิ ยั ได้อย่ำงครอบคลุม
7. กำรพิมพ์ โครงสร้ำงกำรพิมพ์ กำรสะกดคำต่ำงๆ ก็เป็นส่ิงท่ีสะท้อนควำมมีคุณภำพของงำน ขอให้คนอ่ำน
เพ่อื พจิ ำรณำภำพรวมของกำรเขยี น ขอให้คนอำ่ นเพอื่ ตรวจหำคำท่ีสะกดผดิ หรอื พมิ พ์ผิด
8. ประสำนกบั ผเู้ กี่ยวข้องอยำ่ งสมำ่ เสมอ
9. ฝึกทักษะกำรนำเสนอด้วยปำกเปล่ำ & Power point ทำอย่ำงไรให้พูดได้อย่ำงมีศิลปะกำรพูด พูดตรง
ประเดน็ ภำยในเวลำที่จำกัด สอื่ ประกอบกต็ อ้ งมคี ณุ ภำพ

10 เทคนคิ เดด็ ชว่ ยให้งานเสรจ็ ก่อนเวลา
1) สรำ้ งพลังแอคทีฟ พลงั ท่วี ำ่ นีส้ รำ้ งไดไ้ มย่ ำก แคค่ ณุ ใสค่ วำมรูส้ ึกกระตอื รือรน้ หรอื ต่นื เต้นที่จะ

ได้ทำงำนน้ัน เพียงเท่ำน้ีพลังแอคทีฟก็จะส่งให้คุณอยำกเริ่มต้นลงมือทำงำนก่อน ก็หมำยถึงโอกำสที่งำนนั้นจะ
สำเรจ็ ก็มีมำกกว่ำคนที่ยังไม่ลงมือทำเสยี ที

2) บรีฟตัวเองก่อน งำนจะเสร็จเร็วได้ต้องมีกำรวำงแผนที่ดี คุณจึงควรทำ To-do list จัดลำดับ
สง่ิ ท่ีตอ้ งทำ เพื่อท่ีจะไม่ตอ้ งทำงำนซำ้ ไปซ้ำมำ หรือผิดพลำดเพรำะหลงลืมอะไรไป

3) ไม่น่ิงนอนใจ แม้คุณจะมีเวลำมำกพอท่ีจะทำงำนโดยไม่รีบเร่ง แต่ก็ไม่ควรทำตัวชิลล์ ปล่อย
เวลำผำ่ นไป จนสดุ ทำ้ ยก็ต้องทำอยำ่ งเรง่ รบี อย่ำลมื วำ่ ทกุ คนมเี วลำเท่ำกัน อย่ทู ี่วำ่ คุณจะบริหำรเวลำอยำ่ งไร

8

4) กำหนดเส้นตำย กระตุ้นตัวเองด้วยกำรกำหนด Deadline ของแต่ละขั้นตอน และทำให้ได้
ตำมนั้น สดุ ท้ำยคณุ กจ็ ะทำงำนเสรจ็ สมบรู ณ์ตำมเวลำทตี่ งั้ ใจไว้

5) รู้จักกระจำยงำน คนเก่งไม่ใช่คนทำทุกอย่ำงได้ด้วยตัวคนเดียว แต่เป็นคนท่ีรู้จักกระจำยงำน
ไปยังคนที่เก่งในแต่ละส่วน เม่ืองำนแต่ละส่วนสำมำรถทำได้พร้อมกัน งำนย่อมเสร็จเร็วกว่ำกำรรอให้คนเพียง
คนเดยี วทำ

6) ควำนหำทำงลดั ผลลัพธแ์ บบเดยี วกัน สำมำรถออกมำได้จำกหลำกหลำยวิธี ดงั นัน้ ต้องเลือก
วิธีท่ีมีประสิทธิภำพด้วย มีเคร่ืองมือหรือหนทำงไหนบ้ำงท่ีช่วยให้ทำงำนได้เร็วขึ้น ต้องรู้จักนำมำใช้ให้เป็น
ประโยชน์

7) กำจัดส่ิงรบกวน สิ่งที่ทำให้คุณวอกแวก และเสียสมำธิได้ง่ำยที่สุดคือ โทรศัพท์ อีเมล และวง
สนทนำ ควรจัดสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนใหป้ รำศจำกส่ิงเหล่ำน้ี เพอื่ ใหค้ ุณมีสมำธกิ ับงำนอยำ่ งเตม็ ที่

8) แผนรวนเร่งแก้ไข หำกอะไร ๆ ไม่เป็นไปตำมท่ีคิดไว้ อย่ำฝืนทำแบบเดิม เพรำะยังมีวิธีอีกต้ัง
มำกมำยทเ่ี ปน็ ไปได้ กลับตัวให้ไว แล้วไปทำงอน่ื โดยเร็ว

9) อยำกสมองไวต้องพัก คนท่ีโหมงำนจนไม่ได้พักผ่อนน้ัน แทนท่ีงำนจะเสร็จเร็วกลับผิดพลำด
เพรำะร่ำงกำยไม่พรอ้ ม กำรพกั ผ่อนอย่ำงเพยี งพอจะช่วยใหส้ มองแลน่ คิดงำนไว ทำงำนไดอ้ ย่ำงมีประสิทธิภำพ

10) ฝักใฝ่ควำมสำเร็จ หม่ันสร้ำงแรงจูงใจให้กับตัวเอง แม้งำนจะมีอุปสรรค แต่หำกคุณคิดบวก
และฝนั ถงึ ควำมสำเรจ็ คุณจะมีพลงั และทำมนั ให้สำเรจ็ จนได้

9

ปัญหาและการป้องกันปญั หาการดาเนนิ โครงการวจิ ัย

ปัญหำท่ีพบเก่ียวกับกำรวิจัย/ประเมิน ในด้ำนกำรวำงแผนกำรบริหำรและกำรจัดกำรประเมินนั้นมี
ปจั จัยหลกั ๆ ได้แก่ คน ระบบและกำรจดั กำร เปน็ ปจั จยั ทีท่ ำใหก้ ำรวจิ ัย/ประเมินประสบผลสำเร็จ กลำ่ วคือ

1) คน จะเกีย่ วข้องกบั ภำวะผนู้ ำ ทัศนคติและทักษะ และทำงำนเปน็ ทีม ผู้บริหำร จะต้องมภี ำวะ
ผู้นำ ผู้บริหำรจะต้องเป็นแกนหลักท่ีสำคัญ เป็นผู้นำในกำรบริหำรจัดกำร ส่งเสริม สนับสนุนและประสำนให้
เกิดกำรทำงำนเป็นทีม และสร้ำงภำวะผู้นำในงำนหรือตำมบทบำทหน้ำที่ สร้ำงทัศนคติและทักษะแก่ทีมงำน
กำหนดทีมผู้รับผิดชอบระบบย่อยเพ่ือร่วมกันกำหนดเป้ำหมำย วำงแผนกันทำงำน ออกแบบกำรประเมิน แล้ว
ช่วยกันทำและพัฒนำปรับปรุงระบบให้ดีข้ึน โดยมีกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปรึกษำหำรือ พึ่งพำอำศัยซ่ึงกันและ
กนั ซึ่งสิ่งเหลำ่ นถ้ี ้ำทำได้จะสง่ ผลใหก้ ำรทำงำนเป็นทีมมีควำมเข้มแขง็

2) ระบบ จะเก่ียวข้องกับคู่มือระบบ ระบบมีคุณภำพและขอบข่ำยควำมรับผิดชอบ กำร
ดำเนินงำนท่ีมีประสิทธิภำพต้องมีคู่มือระบบที่มีข้ันตอน วิธีกำรที่ชัดเจน และเกิดจำกกำรมีส่วนร่วมของ
บคุ ลำกรในองคก์ ร ในกำรทำงำนใหส้ ำเรจ็ ลลุ ว่ ง เรียบรอ้ ย จะตอ้ งมรี ะบบหรือข้นั ตอนที่ดี จึงจะเชอื่ ได้ว่ำผลงำน
ท่ีเกิดขึ้นมีคุณภำพ ระบบที่ดีต้องกำหนดขอบข่ำยควำมรับผิดชอบของแต่ละคนไว้อย่ำงชัดเจน เพ่ือไม่ให้เกิด
ควำมสับสนเม่ือลงมือปฏบิ ัติ

3) กำรจัดกำร จะเกี่ยวข้องกับกำรสื่อสำร กำรกำกับติดตำมและควำมร่วมมือของทุกคนกำร
สื่อสำรนับว่ำเป็นหัวใจสำคัญของกำรจัดกำรระบบกำรประเมิน เพรำะกำรส่ือสำรให้ทุกคนเข้ำใจตรงกันและ
เป็นกำรส่ือสำรเชิงบวก จะเป็นกำรเสริมสร้ำงพลังร่วมในกำรทำงำนตำมระบบและกระตุ้นให้มีกำรเรียนรู้
ตลอดเวลำ ในกำรบริกำรและจัดกำรประเมินนั้น จะต้องมีกำรวำงแผนและกำรกำกับติดตำมอย่ำงเป็นระบบ
ตอ่ เนอื่ งสมำ่ เสมอตำมระยะเวลำท่ีกำหนด เพอ่ื รำยงำนควำมกำ้ วหนำ้ งำนทท่ี ำไปแลว้ และช่วยกันพฒั นำงำนท่ี
จะทำตอ่ ไป กำรวำงแผนบรหิ ำรและกำรจดั กำรประเมนิ ใหป้ ระสบผลสำเร็จนัน้ ควำมร่วมมือและกำรมีสว่ นร่วม
เป็นส่ิงที่สำคัญท่ีสุด ดังน้ัน จึงต้องมีกำรบริหำรจัดกำรใหเ้ กิดควำมร่วมมือในองค์กร เปิดโอกำสให้ทุกคนมสี ่วน
รว่ มเป็นเจำ้ ของระบบและจะนำไปสู่กำรทำงำนเป็นทีมต่อไป

เตือนใจ เกตุษำ (2546 : 102 - 106) ไดก้ ล่ำวถึงปญั หำทีเ่ กดิ จำกกำรวำงแผนกำรบรหิ ำรจดั กำรในกำร
ประเมินวำ่ มีปญั หำในสองลกั ษณะ คือ เกดิ จำกองคป์ ระกอบภำยในและเกิดจำกองค์ประกอบภำยนอก

1. ปัญหำที่เกิดจำกกำรวำงแผนบริหำรจดั กำรในกำรประเมนิ ทเ่ี กดิ จำกองค์ประกอบภำยใน ดงั นี้
1.1.ปัญหำของกำรกำหนดวัตถุประสงค์ของกำรประเมิน กำหนดวัตถุประสงค์กว้ำงเกินไปไม่

ชัดเจน บำงคร้งั กำหนดมีหลำยวตั ถุประสงคท์ ำให้เกิดควำมยำกลำบำกในกำรตดั สินใจเลือกวตั ถุประสงค์ต่ำง ๆ
และในบำงครงั้ วตั ถุประสงค์ไมส่ ำมำรถวดั ได้ในเชิงปริมำณ ซึ่งอำจกอ่ ใหเ้ กิดปัญหำในกำรแปลควำมหมำยได้

1.2.ปัญหำของคณะผู้ทำหน้ำที่ประเมิน ควำมเชี่ยวชำญ ควำมพร้อมและควำมร่วมมือของคณะ
ผู้ทำหน้ำที่ประเมิน มีควำมสำคัญมำกต่อกำรบริหำรจัดกำรในกำรประเมิน หำกคณะผู้ทำหน้ำท่ีประเมินไม่มี
ควำมสำมำรถในกำรสร้ำงควำมสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืน ขำดประสบกำรณ์ในเทคนิคกำรบริหำรจัดกำรในกำร
ประเมินหรือมีอคติต่อโครงกำรหรือหน่วยงำนที่ประเมิน ก็อำจเป็นอุปสรรคต่อควำมสำเร็จในกำรบริหำรและ
กำรจัดกำรในกำรประเมิน นอกจำกนี้ ในกำรเขียนรำยงำนผลกำรประเมินท่ีเป็นไปในทิศทำงที่ไม่สร้ำงสรรค์
อำจเกิดกำรต่อต้ำนและกำรไมย่ อมรับผลกำรประเมินจำกหน่วยงำน/ผู้รบั ผิดชอบโครงกำรท่ีถกู ประเมนิ

1.3.ปัญหำกำรกำหนดทำงเลือกท่ีใช้ในกำรบริหำรจัดกำรในกำรประเมิน ส่ิงแรกในกำรประเมิน
คือ กำรกำหนดวัตถุประสงค์/จุดมุ่งหมำยให้ชัดเจนว่ำต้องกำรอะไร เมื่อทรำบวัตถุประสงค์แล้ว ผู้วำงแผนจะ
ดำเนินกำรเลือกเทคนิควิธีกำรบริหำรจัดกำรหรือกิจกรรมต่ำง ๆ ที่จะนำไปสู่กำรบรรลุวัตถุประสงค์ดั งกล่ำว

10

ปัญหำที่มักจะเกิดขึ้น คือ ผู้วำงแผนไม่สำมำรถมั่นใจว่ำเทคนิควิธีกำรบริหำรจัดกำรหรือกิจกรรมสำหรับ
วัตถุประสงค์ดังกล่ำวมีอะไรบ้ำง และควรเลือกใช้เทคนิค หรือกิจกรรมใดจึงจะสำมำรถนำไปสู่กำรบรรลุ
วัตถุประสงค์ทีต่ งั้ ไว้

1.4.ปัญหำเรื่องกำรวำงแผนและเตรียมกำรประเมินของหน่วยงำน หำกหน่วยงำนขำดกำร
วำงแผนและเตรยี มกำรประเมิน อำจมีผลทำให้กำรประเมินขำดประสิทธิภำพหรือในบำงครั้งหน่วยงำนอำจถกู
ละเลยไมไ่ ดร้ บั กำรประเมิน นอกจำกน้ี ปัญหำเร่อื งกำรขำดกำรประสำนงำนท่ีดขี องหนว่ ยงำนก็เปน็ ปัญหำท่ีมัก
เกิดขนึ้ เสมอและจะเป็นอุปสรรคตอ่ กำรประเมนิ

2. ปัญหำที่เกิดจำกกำรวำงแผนบริหำรจดั กำรในกำรประเมนิ ทีเ่ กดิ จำกองค์ประกอบภำยนอก ดังน้ี
2.1.ปัญหำควำมสนับสนุนจำกฝ่ำยจำกฝ่ำยบริหำร ในกำรประเมินใด ๆ หำกขำดกำรสนับสนุน

ของฝ่ำยบริหำรในด้ำนต่ำง ๆ เช่น กำลังคน งบประมำณ ควำมร่วมมือ หรือวัสดุอุปกรณ์ต่ำง ๆ ก็อำจส่งผลให้
กำรบริหำรจัดกำรในกำรประเมินมีปัญหำ/อุปสรรค หำกแก้ไขไม่ได้ก็อำจส่งผลกระทบอย่ำงรุนแรง ซ่ึงอำจทำ
ให้กำรประเมินประสบควำมล้มเหลวได้ อีกประกำรหน่ึง เจตคติของฝ่ำยบริหำรต่อกำรประเมิน หำกฝ่ำย
บริหำรมเี จตคติทไี่ ม่ดตี ่อกำรประเมนิ แล้วโอกำสท่จี ะไดร้ ับกำรสนบั สนุนในดำ้ นต่ำง ๆ จะมีน้อยหรือไมม่ เี ลย ซึ่ง
จะเป็นอุปสรรคต่อกำรบรหิ ำรจดั กำรในกำรประเมนิ โดยตรง

2.2.ปัญหำเจตคติและควำมร่วมมือของผู้ที่เก่ียวข้องกับกำรประเมิน ในกรณีหำกกลุ่มผู้ประเมิน
และผู้ใช้ผลกำรประเมินมีควำมเข้ำใจ มีเจตคติที่ดีต่อกำรประเมิน และมีควำมเชื่อมั่นในผลท่ีจะได้จำกกำร
ประเมิน ก็จะส่งผลต่อกำรให้ควำมร่วมมือหรือกำรร่วมมือในกำรดำเนินงำนประเมิน หำกกลุ่มผู้ประเมินและ
ผู้ใช้ผลกำรประเมินมีเจตคติที่ไม่ดี หรือมีอคติต่อกำรประเมินจะส่งผลให้เกิดปัญหำและอุปสรรคทั้งทำง ด้ำน
กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และกำรดำเนนิ งำนในดำ้ นอื่น ๆ

2.3.ปัญหำทำงด้ำนเศรษฐกิจและกำรเมือง ปัญหำทำงด้ำนเศรษฐกิจเป็นปัญหำสำคัญประกำร
หนึ่ง ที่จะทำให้กำรดำเนินกำรบริหำรจัดกำรในกำรประเมินเกิดปัญหำได้ในภำวะที่ประเทศชำติประสบปัญหำ
ทำงเศรษฐกิจ ซึ่งจะมีผลกระทบต่องบประมำณท่ีจัดสรรให้กับกำรบริหำรและกำรจัดกำรประเมินโดยตรง
ปัญหำทำงด้ำนกำรเมืองก็เป็นอีกปัจจัยหน่ึงท่ีจะเป็นอุปสรรคต่อกำรบริหำรกำรจัดกำรประเมินโครงกำร
โดยเฉพำะโครงกำรท่ีต้องผ่ำนควำมเห็นชอบจำกนักกำรเมือง ซ่ึงอำจมีบำงกลุ่มไม่ได้ประโยชน์หรือเสีย
ประโยชน์ กอ็ ำจจะคัดค้ำนหรือไมส่ นับสนุนหรือไม่อำนวยควำมสะดวกในกจิ กรรมใด ๆทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั โครงกำร
ซ่งึ จะมผี ลกระทบโดยตรงตอ่ กำรบริหำรจัดกำรในกำรประเมิน

อุปสรรคทอี่ าจเกิดขนึ้ ระหวา่ งการทาวจิ ยั และมาตรการในการแกไ้ ข
กำรทำวิจัยต้องพยำยำมหลักเลี่ยงอคติ และควำมคลำดเคล่ือนที่อำจจะเกิดขึ้น จำกกำรวิจัยนั้น ให้

มำกท่ีสุด เพื่อให้ผลกำรวิจัย ใกล้เคียงกับควำมเป็นจริง โดยใช้รูปแบบกำรวิจัย, ระเบียบวิธีวิจัย และสถิติที่
เหมำะสม แต่ในสภำพควำมเป็นจริงแล้ว อำจมีข้อจำกัดต่ำงๆ เกิดขึ้น ดังนั้น กำรคำนึงเฉพำะควำมถูกต้อง
อย่ำงเดียวอำจไม่สำมำรถทำกำรวิจัยได้ กรณีดังกล่ำวนักวิจัยอำจต้องมีกำรปรับแผนบำงอย่ำงเพ่ือให้สำมำรถ
ปฏิบัติได้ แต่ส่ิงสำคัญก็คือ ผู้วิจัยต้องตระหนักหรือรู้ถึงขีดข้อจำกัดดังกล่ำวนั้น และมีกำรระบุไว้ในโครงร่ำง
กำรวิจัยด้วย ไม่ใช่แกล้งทำเป็นว่ำไม่มีข้อจำกัดเลย จำกนั้นจึงคิดหำมำตรกำรในกำรแก้ไข อุปสรรคดังกล่ำว
อย่ำงไรก็ตำม อย่ำให้ "ควำมเป็นไปได้" (feasibility) มำทำลำยควำมถูกต้องเสียหมด เพรำะจะส่งผลให้
งำนวจิ ยั เชือ่ ถอื ไม่ได้ ยกตัวอยำ่ งเช่น ต้องกำรประเมนิ ผลของโครงกำรหน่งึ ซงึ่ ในแง่รปู แบบกำรวิจัยทเ่ี หมำะสม
แล้วควรใช้ "กำรวิจัยเชิงทดลองแบบเต็มรูป" (full experimental design) หรือกำรวิจัยเชิงทดลองท่ีแท้จริง
(true experimental design) หรือ กำรวิจัยเชิงทดลองแบบคลำสสิค ซ่ึงมีกำรกำหนด (assign) ให้ตัวอย่ำง

11

(sample) ไปอยกู่ ลุ่มทดลอง หรอื กลมุ่ ควบคุมโดยวิธสี ุ่ม แตบ่ งั เอญิ ในทำงปฏิบัติทำไม่ได้ เน่อื งจำกปัญหำทำง
จริยธรรมก็อำจจำเป็นตอ้ งใช้รูปแบบกำรวจิ ัยแบบกึ่งกลำงกำรทดลอง (quash - experimental design) โดย
อำจจะวัดก่อนละหลังกำรมีโครงกำรนี้ (before and after) หรือกำรออกแบบกำรติดตำมระยะยำว (time
series design) โดยมกี ำรวดั หลำยๆ ครง้ั ท้งั กอ่ นและหลังมโี ครงกำรนี้ หรอื ในกำรวจิ ัยเพื่อประเมินประสิทธิผล
ของยำผู้วิจัยพยำยำมจะคิดค้นหำมำตรกำรที่จะทำให้ท้ังคนไข้ และผู้รักษำไม่ทรำบว่ำได้รับยำอะไรท่ีเรียกว่ำ
"วิธีบอด" (double blind) เช่น กำรทำให้ยำเหมือนกันทุกประกำร แต่ในทำงปฏิบัติบำงครั้งทำไม่ได้ ผู้วิจัย
จำเป็นต้องระบุถึงข้อจำกัดนี้ และเสนอมำตรกำรในกำรแก้ไขโดยเลือกตัววัดที่เป็นปรนัย (objective
outcome) ซ่ึงมีควำมผันแปรน้อยกว่ำตัววัดที่ได้จำกกำรบอกเล่ำ (subjective outcome) และใช้ผู้วัดที่เป็น
อิสระ (independent assessor) ซึ่งไม่เก่ียวข้องกับกำรดูแลรักษำคนไข้ และไม่ทรำบว่ำคนไข้อยู่ในกลุ่ม
ทดลองหรือกลุ่มควบคุม โดยมำตรกำรตำ่ งๆ เหลำ่ น้ี หวงั ว่ำจะสำมำรถป้องกนั อคติ อันอำจจะเกิดขึน้ จำก co -
intervention ไปไดร้ ะดบั หน่งึ

McLean,J. (1995:91) กล่ำวว่ำ ประเด็นปัญหำท่ีเก่ียวกับกำรวิจัยปฏิบัติกำรไว้หลำยประกำร อำทิ
เช่น ปัญหำกำรเลือกวิธีกำรท่ีใช้ในกำรวิจัยระหว่ำงเชิงปริมำณและเชิงคุณภำพ ทักษะในกำรทำวิจัยของครู
วธิ กี ำรท่กี ำรพัฒนำควำมสำมำรถในกำรทำวิจัยของครู กำรอ้ำงองิ ผลสรุปจำกกำรวจิ ยั ควำมตรงของกำรวิจยั ซึ่ง
ดำเนินกำรโดยครอู ำจไม่มปี ระสบกำรณเ์ พียงพอในกำรทำวจิ ัย และจรรยำบรรณของกำรทำวิจัยกบั นักเรยี น

แนวทำงกำรแก้ไข
อ่ำนและศึกษำกำรวิจัยหลำยๆตัวอย่ำงหรืออำจจะศึกษำโดยกรณีตัวอย่ำงท่ีเป็นห้องเรียน หรือ
นักเรียน อำจเปรยี บเทยี บชั้นเรียนในปนี ก้ี บั ชนั้ เรยี นปีท่ีแลว้
สุวฒั นำ สุวรรณเขตนคิ ม (2538:6) กลำ่ วว่ำ อุปสรรคในกำรวิจัยท่สี ำคัญ สรุปได้ ดงั นี้

1) ขำดนักวิจัยท่ีมีคุณภำพ นักวิจัยในสถำบันอุดมศึกษำของรัฐ ซึ่งเป็นกำลังหลัก 16,351 -
19,115 คน สำมำรถผลิตผลงำนวิจยั ในเกณฑด์ ี ดีมำก และดีเด่นไดเ้ พยี งร้อยละ 5.6 , 0.6 และ 0.1 เทำ่ นนั้

2) ผบู้ ริหำรขำดควำมสำมำรถในกำรบริหำรจัดกำรและไมเ่ หน็ ควำมสำคัญของกำรวจิ ัย
3) มีแหลง่ เงนิ ทุนเพ่อื กำรวจิ ัยน้อย
4) นักวจิ ัยมีภำระงำนอนื่ ทตี่ ้องปฏิบัติมำกทำให้ไม่มีเวลำสำหรับทำวิจัย
5) ขำดผชู้ ว่ ยงำน ทรัพยำกรสนับสนนุ กำรวจิ ยั และมีปัญหำขำดควำมรว่ มมอื ในกำรวิจยั
แนวทำงกำรแก้ไข
1) กำหนดนโยบำย ทิศทำง เป้ำหมำยหลัก และแผนงำนวิจัยระดับชำติที่ชัดเจนและเป็น
เอกภำพ
2) สนับสนุนองค์กรจัดสรรทุนอย่ำงจริงจังให้มีควำมเป็นอิสระ มีควำมหลำกหลำยในทำงปฏิบตั ิ
เพ่ือใหก้ ำรจดั สรรทุนเปน็ ไปอย่ำงมีประสทิ ธิภำพ และสัมฤทธผิ ลของงำนวจิ ัยท่มี ีคุณภำพ
3) ตอ้ งมีมำตรกำรกำรสรำ้ งนักวจิ ัยทมี่ ีคุณภำพควบคู่ไปกับงำนวิจัยของชำติ
4) ระดมทนุ และทรัพยำกรทั้งภำครัฐและเอกชน มีมำตรกำรจัดสรรทนุ และทรัพยำกรท่ีดี เพอ่ื ให้
ผลิตผลงำนวจิ ัยทไี่ ดค้ ุณภำพ
5) มมี ำตรกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งใหแ้ กห่ น่วยงำนวิจัยเฉพำะทำง
สรุป :
กำรทำวิจัย ต้องพยำยำมหลักเลี่ยงอคติ และควำมคลำดเคล่ือน ที่อำจจะเกิดขึ้น จำกกำรวิจัยนั้น ให้
มำกที่สุด เพอื่ ให้ผลกำรวจิ ัย ใกลเ้ คยี งกบั ควำมเปน็ จริง โดยใชร้ ปู แบบกำรวจิ ยั ,ระเบียบวิธวี จิ ยั และสถติ ิที่หมำะ
สม แต่ในสภำพควำมเป็นจริงแล้ว อำจมีข้อจำกัดต่ำง ๆ เกิดข้ึน ดังน้ัน กำรคำนึงเฉพำะ ควำมถูกต้องอย่ำง

12

เดียว อำจไม่สำมำรถ ทำกำรวิจัยได้ กรณีดังกล่ำว นักวิจัย อำจจำเป็นต้องมี กำรปรับแผนบำงอย่ำง เพ่ือให้
สำมำรถปฏบิ ตั ิได้ แตส่ ิ่งสำคัญก็คือ ผู้วิจยั ตอ้ งตระหนกั หรือรถู้ งึ ขดี ข้อจำกัด ดังกล่ำวนั้น และมีกำรระบุ ไว้ใน
โครงรำ่ ง กำรวจิ ัยด้วย ไมใ่ ช่แกลง้ ทำเปน็ ว่ำ ไม่มขี ้อจำกัดเลย จำกนั้น จงึ คิดหำมำตรกำรในกำรแก้ไข อุปสรรค
ดงั กลำ่ ว อยำ่ งไรกต็ ำม อยำ่ ให้ "ควำมเปน็ ไปได้" (feasibility) มำทำลำย ควำมถกู ต้อง เสียหมด เพรำะจะส่งผล
ให้ งำนวิจัยเชื่อถือไม่ได้ ยกตัวอย่ำง เช่น ต้องกำรประเมินผล ของโครงกำรหนึ่ง ซ่ึงในแง่รูปแบบ กำรวิจัยท่ี
เหมำะสมแล้ว ควรใช้ "กำรวิจยั เชงิ ทดลองแบบเต็มรูป" (full experimental design) หรอื กำรวิจยั เชงิ ทดลอง
ที่แท้จริง (true experimental design) หรือ กำรวิจัยเชิงทดลองแบบคลำสสิค ซึ่งมีกำรกำหนด (assign) ให้
ตัวอย่ำง (sample) ไปอยู่กลุ่มทดลอง หรือกลุ่มควบคุมโดยวิธีสุ่ม แต่บังเอิญ ในทำงปฏิบัติ ทำไม่ได้ เน่ืองจำก
ปัญหำทำงจริยธรรม ก็อำจจำเป็นต้อง ใช้รูปแบบกำรวิจัย แบบก่ึงกลำงกำรทดลอง (quash - experimental
design) โดยอำจจะวัดก่อนและหลัง กำรมีโครงกำรนี้ (before and after) หรือกำรออกแบบ กำรติดตำม
ระยะยำว (time series design) โดยมีกำรวัดหลำย ๆ ครั้ง ทั้งก่อน และหลัง มีโครงกำรนี้ หรือในกำรวิจัย
เพอ่ื ประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของยำ ผวู้ จิ ยั พยำยำมจะคิดคน้ หำมำตรกำรที่จะ ทำใหท้ ง้ั คนไข้ และผูร้ ักษำ ไมท่ รำบ
ว่ำ ได้รับยำอะไร ที่เรียกว่ำ "วิธีบอด" (double blind)เช่น กำรทำให้ยำ เหมือนกันทุกประกำร แต่ในทำง
ปฏิบัติ บำงครั้งทำไม่ได้ ผู้วิจัย จำเป็นต้องระบุ ถึงข้อจำกัดนี้ และเสนอมำตรกำร ในกำรแก้ไข โดยเลือกตัววดั
ที่เป็นปรนัย (objective outcome) ซ่ึงมีควำมผันแปรน้อยกว่ำ ตัววัดที่ได้ จำกกำรบอกเล่ำ (subjective
outcome) และใช้ผู้วัด ที่เป็นอิสระ (independent assessor) ซึ่งไม่เก่ียวข้อง กับกำรดูแล รักษำคนไข้ และ
ไม่ทรำบว่ำ คนไข้ อยู่ในกลุ่มทดลอง หรือกลุ่มควบคุม โดยมำตรกำรต่ำง ๆ เหล่ำน้ี หวังว่ำจะสำมำรถ ป้องกัน
อคติ อันอำจจะเกดิ ขน้ึ จำก co-intervention ไปไดร้ ะดับหนึง่

13

เอกสารประกอบการเบกิ จ่ายและรายงานความก้าวหนา้ โครงการวจิ ัย

(เอกสารหมายเลข1) (เอกสารหมายเลข2)
บนั ทึกขออนุมตั ดิ ำเนนิ โครงกำรวิจยั แบบ วจ.1 แผนกำรใช้จ่ำยเงินในกำร
ดำเนนิ กำรวจิ ยั (ฉบบั ปรับปรงุ 2561)

(เอกสารหมายเลข3) (เอกสารหมายเลข2)
แผนกำรเบิกจำ่ ยเงนิ งบประมำณ ขอ้ เสนอโครงกำรวิจัย

(เอกสารหมายเลข5) (เอกสารหมายเลข6)
บันทกึ ขออนมุ ัติเบิกเงินงวดท่ี 1 บนั ทกึ ขออนุมัตเิ บกิ เงนิ งวดท่ี 2

(เอกสารหมายเลข7) (เอกสารหมายเลข8)
แบบรำยงำนควำมก้ำวหนำ้ แผน บนั ทกึ ขออนมุ ัติเบกิ เงนิ ค่ำตอบแทน
งำนวิจยั โครงกำรวิจยั (แบบ ต-1 ชด) นักวจิ ยั และดำเนินกำรจัดสง่ เล่ม

รำยงำนกำรวิจัย

(เอกสารหมายเลข9) (เอกสารหมายเลข10)
แบบ วจ.2 (สรุปรำยงำนกำรใช้ ขออนุมตั ิขยำยระยะเวลำในกำร

จำ่ ยเงนิ โครงกำรวจิ ัย) ดำเนนิ โครงกำรวิจยั

14

15

16

17

18

19

เอกสารหมายเลข 2

เอกสารงบประมาณรายจา่ ย เอกสารงบประมาณรายได้

http://www.ird.rmutt.ac.th/?page_id=6968 http://www.ird.rmutt.ac.th/?page_id=6980

เอกสารโครงการ อพ.สธ. ทนุ นักวิจัยใหม่

http://www.ird.rmutt.ac.th/?page_id=6984 http://www.ird.rmutt.ac.th/?page_id=4440

20

21

22

23

24

25

26

27

28

รายชอ่ื ผู้จดั ทา

1. ผศ.ดร.อรวัลภ์ อปุ ถัมภำนนท์ ตำแหน่ง ประธำนกรรมกำร
2. อำจำรย์โสภิดำ วศิ ำลศักดิ์กลุ ตำแหนง่ รองประธำนกรรมกำร
3. ผศ.ดร.อ้อยทิพย์ ผู้พฒั น์ ตำแหนง่ กรรมกำร
4. นำงสำววนำพร ฤกษ์จำรัส ตำแหนง่ แหล่งควำมรภู้ ำยใน
5. นำงสำวศริ ิญญำ ทองพลู ตำแหน่ง กรรมกำรและเลขำนุกำร
6. นำยพรอ้ มพงศ์ ทองจำเริญ ตำแหน่ง กรรมกำรและผชู้ ว่ ยเลขำนกุ ำร

29

ขอความร่วมมือตอบแบบประเมินความพึงพอใจ

การใช้ค่มู ือเทคนิคการดาเนินโครงการวิจยั ใหเ้ ปน็ ไปตามระยะเวลาท่กี าหนด


Click to View FlipBook Version