The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นิตยสารทุ่งคา
ปีที่ 2 ฉบับที่ 6 เมษายน - มิถุนายน 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sukanda, 2021-10-21 23:29:23

นิตยสารทุ่งคา

นิตยสารทุ่งคา
ปีที่ 2 ฉบับที่ 6 เมษายน - มิถุนายน 2564

Keywords: นิตยสารทุ่งคา

ตแบอ่ บกสาอรบจถดาั มทคำ�วานมติ พยงึ พสอาใรจ Thung Ka

ตอนท่ี ๑ ข้อมลู ทั่วไป โปรดทำ� เคร่ืองหมาย / ลงในช่องทต่ี รงกับความคดิ เหน็ ของทา่ นมากทส่ี ุด

เพศ อายุ อาชีพ

หญงิ ต่ำ� กว่า ๒๐ ปี รับราชการ / รัฐวสิ าหกจิ
ชาย ผู้ประกอบการ / เจา้ ของกจิ การ
๒๐ - ๓๐ ปี ผู้ค้าขายรายย่อย / อาชีพอิสระ
ลูกจ้าง / พนักงานบรษิ ัท
๓๑ - ๔๐ ปี แม่บ้าน / พ่อบ้าน
๔๑ - ๕๐ ปี อ่ืน ๆ

๕๑ - ๖๐ ปี
๖๑ ปขี ้ึนไป

ตอนท่ี ๒ ความพงึ พอใจเกีย่ วกับนิตยสารทงุ่ คา

โปรดทำ� เคร่อื งหมาย / ลงในช่องทต่ี รงกบั ความคดิ เหน็ ของท่านมากทส่ี ุด น้อยทสี่ ุด น้อย ปานกลาง มาก มากทสี่ ุด

การจดั รูปแบบ ตัวอักษร ภาพประกอบ สีสัน
ความเข้าใจภาษาทใ่ี ช้ในนติ ยสาร
ประโยชนท์ ไี่ ด้รับจากเน้ือหา
ปกนติ ยสาร
ความพึงพอใจโดยรวม

ตอนท่ี ๓ ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ

ทา่ นได้รับประโยชนใ์ ดบ้างจากนติ ยสาร

ทา่ นต้องการใหเ้ ทศบาลปรบั ปรุงแก้ไขนติ ยสารในส่วนใดบ้าง

ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ

ช่ือและทอี่ ยู่ ส�ำหรับรบั ของทร่ี ะลึก

แบบสอบถามความ ึพงพอใจ สง่ มาท่ี
่ตอการ ัจดท�ำ ินตยสาร ่ทุงคา
งานประชาสัมพันธ์ กองวชิ าการและแผนงาน

เทศบาลนครภเู กต็ ๕๒ / ๑ ถนนนรศิ ร
อ�ำเภอเมือง จงั หวัดภเู กต็
โทร ๐ ๗๖๒๑ ๒๑๙๖ โทรสาร. ๐ ๗๖๒๑ ๓๕๐๑

๘๓๐๐๐

รู้ไว้ใชว่ า่ ใส่บา่ แบกหาม 52

๘๖ ปี เทศบาลนครภเู ก็ต

จากสุขาภบิ าล ส่เู ทศบาลอยูเ่ คยี งขา้ งประชาชน

จุดเริ่มต้นของการก่อก�ำเนิดเทศบาล เกิดข้ึนในรัชสมัย
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั ทรงปฏริ ูปการบรหิ าร
ราชการแผ่นดินของไทยให้ทันสมัยเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน
กับนานาอารยประเทศ โดยจัดให้มีการปกครองส่วนท้องถิ่น
ในรูปแบบสุขาภิบาลข้ึนเป็นครั้งแรก ที่สุขาภิบาลท่าฉลอม
ต่อมาเม่ือประเทศไทยเปล่ียนแปลงการปกครองเป็นระบอบ
ประชาธิปไตยในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ จึงได้มีการตรา พ.ร.บ.
ระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. ๒๔๗๖
ข้ึน และได้ประกาศใช้พ.ร.บ.จัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. ๒๔๗๖
เมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๔๗๖ โดยไดม้ ีการยกฐานะสุขาภบิ าลข้ึน
เป็นเทศบาล ต่อมาได้มีการแก้ไขเปล่ียนแปลง ยกเลิกกฎหมาย
เกยี่ วกบั เทศบาลหลายครงั้ จนในทสี่ ดุ ไดม้ กี ารตรา พ.ร.บ.เทศบาล
พ.ศ. ๒๔๙๖ ยกเลิกพระราชบัญญัติเดิม จึงท�ำให้เทศบาลเป็น
องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ รูปแบบหน่งึ ตงั้ แตน่ นั้ มา

53 รู้ไว้ใชว่ ่า ใสบ่ ่าแบกหาม

เทศบาลนครภูเก็ต เป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย เดิมมี กนั แล้ว กไ็ ดย้ ้ายส�ำนักงานไปอยู่ทโ่ี รงเรยี นสตรเี ดมิ (บรเิ วณ
ฐานะเปน็ สขุ าภบิ าลเมืองภเู กต็ ไดร้ บั การยกฐานะเปน็ เทศบาล โรงเรยี นเทศบาลปลูกปญั ญา ในพระอุปถมั ภฯ์ ในปจั จุบนั ) ตอ่
เมือง โดยพระราชกฤษฎีกาการจัดตั้งเทศบาลเมืองภูเก็ต มาเม่ือปี พ.ศ. ๒๔๙๙ เทศบาลฯ ไดส้ รา้ งอาคาร ส�ำนักงานใหม่
จงั หวดั ภเู กต็ พ.ศ. ๒๔๗๘ เรยี กวา่ “เทศบาลเมืองภเู กต็ ” เม่อื วนั ที่ถนนภูเก็ต ตามแบบแปลนของกรมโยธาธิการและผังเมือง
ที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๘ และไดเ้ ปลี่ยนแปลงฐานะเปน็ เทศบาล แต่เนื่องจากกิจการของเทศบาลขยายเพิ่มข้ึน อาคารที่สร้าง
นครภเู กต็ เม่ือวนั ที่ ๑๓ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๗ มีพ้ืนที่ ๑๒ ตร.กม. ตามแบบคบั แคบ จงึ ไดต้ อ่ เตมิ ขยายอาคารออกไปทง้ั สองขา้ ง
มีพ้ืนที่รับผิดชอบ ๒ ต�ำบล คือ ต�ำบลตลาดเหนือและต�ำบล จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๒๓ เทศบาลฯ ได้ให้เอกชนเข้าด�ำเนิน
ตลาดใหญ่ โครงการเทศพาณชิ ย์ โดยกำ� หนดเงอื่ นไขใหผ้ ู้ดำ� เนนิ โครงการ
ต่อมาเม่ือวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการ ตอ้ งกอ่ สรา้ งอาคารส�ำนักงาน อาคารสถานีดบั เพลิง บ้านพัก
กระทรวงมหาดไทย ได้อนุมัติให้เทศบาลนครภูเก็ตขยายเขต พนักงานดับเพลิง บ้านพักปลัดเทศบาล บ้านพักสมุห์บัญชี
เทศบาลนครภเู กต็ ครอบคลุมพ้ืนทบ่ี รเิ วณสะพานหนิ ซ่ึงเปน็ และอาคารพาณชิ ย์ ให้เทศบาลฯ จากโครงการดังกล่าวทำ� ให้
ที่ราบชายฝ่ ังทะเลพ้ืนท่ี ๐.๕๖๒ ตร.กม. ท�ำให้พื้นที่เทศบาล เทศบาลฯ มีอาคารส�ำนกั งานแหง่ ใหม่บรเิ วณถนนนรศิ ร (ย้าย
นครภเู กต็ มีขนาดรวม ๑๒.๕๖๒ ตร.กม. มีอาณาเขตทศิ เหนือ เม่ือปีพ.ศ. ๒๕๓๒)
และทิศตะวันออกจดต�ำบลรัษฎา ทิศใต้และทิศตะวันตกจด
ตำ� บลวชิ ิต
ส�ำนักงานเทศบาลเมื องภูเก็ต ครั้งแรกต้ังอยู่ท่ี
ส�ำนักงานสุขาภิบาลเดิม (บริเวณโรงเรียนสตรีภูเก็ตใน
ปัจจุบัน) เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๘๓ ย้ายไปอาศัยจวนเทศาภิบาล
มณฑลภเู กต็ (บรเิ วณโรงเรยี นเทศบาลพบิ ลู สวสั ดใี นปจั จุบนั )
อยู่จนถึง ปี พ.ศ. ๒๔๙๐ จึงได้ย้ายมาอาศยั โรงเรียนช่างปูน
ซ่ึงอยู่ติดกับบริเวณสุขาภิบาลเดิมเป็นการชั่วคราว เพราะ
ทจี่ วนเทศาภบิ าลอยหู่ า่ งไกลชุมชน ประชาชนไม่สะดวกในการ
ตดิ ตอ่ กบั เทศบาลฯ และในระหวา่ งนัน้ กไ็ ดต้ ดิ ตอ่ กบั กระทรวง
ศึกษาธิการ เพ่ือแลกเปลี่ยนสถานที่สุขาภิบาลเดิมกับที่ดิน
ของโรงเรยี นสตรีภเู กต็ เม่ือการแลกเปลี่ยนทดี่ นิ เป็นทตี่ กลง

รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บา่ แบกหาม 54

ตลอดระยะเวลา ๘๖ ปี เทศบาลนครภเู กต็ ไดม้ ุ่งมั่นดแู ล
พ่ีน้องประชาชนอย่างต่อเน่ือง พร้อมพัฒนาในทุกด้าน
ทง้ั ดา้ นสาธารณปู โภค สาธารณปู การ และการจดั ระบบบรกิ าร
สาธารณะ เช่น ระบบไฟฟา้ น้�ำประปา ถนน ดา้ นคณุ ภาพชีวติ
การศึกษา ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจ รวมทั้งการส่งเสริมและ
อนรุ กั ษส์ ถาปตั ยกรรม วฒั นธรรม และประเพณอี ันดงี ามของ
ทอ้ งถนิ่ น อกจากนี้เทศบาลนครภเู กต็ มหี นา้ ทใี่ นการจดั เกบ็ ภาษี
ทด่ี นิ และสงิ่ ปลกู สรา้ ง ภาษปี า้ ย ออกใบอนญุ าตกอ่ สรา้ งอาคาร
สนบั สนนุ น้ำ� อปุ โภคบรโิ ภค ช่วยเหลือสาธารณภยั รบั แจง้ เรอื่ ง
ราวร้องทุกข์ แจ้งเกิด แจ้งตาย ย้ายที่อยู่ ก�ำหนดเลขที่บ้าน
ขอมีบัตรประจ�ำตัวประชาชน (คร้ังแรก) ขอมีบัตรประจ�ำตัว
ประชาชน (บตั รเดมิ หมดอาย)ุ การขออนญุ าตประกอบกจิ การ
ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ การขออนุญาตจัดต้ังตลาด การ
ขออนุญาตจัดตั้งสถานที่จ�ำหน่ายอาหารหรือสถานที่สะสม
อาหาร การขออนุญาตจ�ำหน่ายสินคา้ ในทห่ี รอื ทางสาธารณะ
รั บ ข้ึ น ท ะ เ บี ย น เ พื่ อ รั บ เ งิ น ส ง เ ค ร า ะ ห์ เ บี้ ย ยั ง ชี พ ผู้ สู ง อ า ยุ
ผู้พิการ ผู้ป่วยเอดส์ โดยมีหน่วยงานให้บริการสาธารณะ
แก่ประชาชนท้ังหมด ๔ ส�ำนัก ๕ กอง คือ ส�ำนักการช่าง
สำ� นกั การศกึ ษาสำ� นกั การคลงั สำ� นกั ปลดั เทศบาลกองการประปา
กองวิชาการและแผนงาน กองสาธารณสุขและส่ิงแวดล้อม
กองการแพทย์ กองสวัสดกิ ารสังคม และสถานธนานุบาล

55 รู้ไว้ใชว่ า่ ใสบ่ า่ แบกหาม

เทศบาลนครภูเก็ตพร้อมจะดูแลและพัฒนาในทุกดา้ น
เพื่อใหเ้ กดิ ประโยชน์สขุ แกป่ ระชาชนมากทีส่ ุด

สขุ ใจ @ นครภเู ก็ต 56

สูงวัยอยา่ งมีคุณคา่ ผู้สูงอายุหลายคนท่ีไม่ยอมให้ตัวเลขมาฉุดร้ังการมีความสุข
(เพราะ) อายุเปน็ เพียงตวั เลข ใ น ชี วิ ต ไ ด้ แ ล ะ ค อ ลั ม น์ สุ ข ใ จ @ น ค ร ภู เ ก็ ต ฉ บั บ น้ี
ขอเป็นอีกหน่ึงเสียงที่ยืนยันว่า “อายุจะเท่าไหร่นั้นไม่ส�ำคัญ
เคยวาดภาพตัวเองกันหรือยังว่า เม่ือถึงวัยเกษียณ เพราะทุกอย่างอยู่ท่ีหัวใจ” น�ำเสนอเร่ืองราวการใช้ชีวิตของ
เราจะเป็นอย่างไร ? จะยังมีแรงเฮฮาสนุกสนานกับเพื่อนฝูง ผู้สูงอายุท้ัง ๔ ทา่ น ผู้แฮปป้ ีกับทกุ ช่วงเวลาของชีวติ พวกทา่ น
กนั ไหม ดว้ ยอายทุ ม่ี ากข้นึ อาจทำ� อะไรไมส่ ะดวกเหมือนช่วงวยั รุน่ ได้เปลี่ยนวัยเกษียณให้เป็นวัยเก๋าอย่างมีคุณค่า มีความสุข
แต่เดยี๋ วก่อน อย่าลืมคำ� ทบี่ อกวา่ “อายุเปน็ เพียงตวั เลข” ยังมี และท�ำประโยชน์ให้กับสังคม มาเรียนรู้ชีวิตผ่านมุมมองและ
ข้อคดิ ดี ๆ จากท้งั ๔ ท่าน กันคะ่

“สูงวยั แตใ่ จออ่ นเยาว”์
เปลี่ยนวิธคี ิด ชวี ติ มคี วามสุข

“เดิมที เส้นทางการสร้างครอบครัวของป้าไม่ได้โรย
ดว้ ยกลบี กหุ ลาบ เลย้ี งดสู มาชิกทกุ คนดว้ ยการทำ� ขนมลอดช่อง
ขายตามหมู่บา้ นและรบั จา้ งในช่วงค่ำ� เม่ือทกุ อยา่ งเขา้ ทเี่ ขา้ ทาง
ความเปน็ อยู่ทกุ วนั นก้ี ็ดขี ้ึนตามล�ำดบั
นิสัยของป้า คือ เป็นคนไม่ชอบอยู่เฉย ๆ ตอนน้ีก็เลย
เป็นประธานชมรมผู้สูงอายุชุมชนร่วมใจพัฒนา ระยะเวลา
๓ - ๔ ปแี ล้ว มีหนา้ ทค่ี อยดแู ลทกุ คนทเ่ี ขา้ มาตดิ ตอ่ ประสานงาน
เร่ืองต่าง ๆ ป้ารู้สึกสบายใจที่ได้ช่วยเหลือคนอื่น ให้เขา
ได้อยู่สบาย เพราะเราเองไม่รู้จะอยู่ได้สักก่ีวัน และยังเป็น
คณะกรรมการชุมชนอีกด้วย ได้ไปศึกษาดูงานท่ีต่างจังหวัด
กลับมาก็สามารถน�ำความรู้ที่ได้มาพัฒนาชุมชนของเราต่อไป
ป้าชอบไปวัดและไปเท่ียวสนุกสานเฮฮากับเพ่ือนฝูง ชอบ
ท�ำกิจกรรม ได้เต้น ได้หัวเราะ ทุกวันนี้ป้าใช้ชีวิตด้วยคติที่ว่า
ใช้ชีวิตให้สบาย เคล็ดลับการใช้ชีวิต คือ อย่าคิดเล็กคิดน้อย
ถ้าเราท�ำตัวเองให้ดีชีวิตก็จะดีต้งั ใจท�ำงาน อย่าไปสร้างหน้สี ิน
แม้แตบ่ าทเดยี วปา้ กไ็ ม่เคยตดิ ค้างใคร
ขอฝากถึงลูกหลานชาวภูเก็ตว่า จงท�ำความดีไม่ว่า
กับใครก็ตาม ท�ำงานก็ขอให้รุ่งเรือง ใครชอบอะไรรักอะไร
ก็ขอให้ได้สมปรารถนาทุกสิ่งอย่าง ใช้ชีวิตให้เบา อย่าแบก
ทุกเร่อื งทเ่ี จอ แล้วจะรู้วา่ ความสุขมีได้ไม่ยากค่ะ”

นางประคอง อดออม

57 สุขใจ @ นครภูเกต็

“นักประดษิ ฐห์ ัวใจจิตอาสา”
สร้างคุณค่าชว่ ยเหลอื ผปู้ ่วย

“ป้าชอบงานประดิษฐ์มาต้ังแต่เด็ก หมั่นฝึกฝน
ตงั้ ใจหาความรเู้ พมิ่ เตมิ จนสามารถตอ่ ยอดเปน็ อาชพี ได้
เม่ือถึงจุดหน่ึง ไม่คิดว่าความชอบและความสามารถ
ของเราจะสร้างประโยชน์ให้กับผู้อื่นได้เช่นกัน จาก
ท่ีท�ำงานประดิษฐ์อยู่แต่บ้าน ชีวิตวัยเกษียณของป้า
มีโอกาสไปเป็นจิตอาสาที่ศูนย์บริการสาธารณสุข ๓
เทศบาลนครภเู กต็ กไ็ ดใ้ ช้ความชอบและความสามารถ
ของเราช่วยงานที่น่ี ท�ำตุ๊กตาบริหารมือให้ผู้ป่วย
ท�ำหมอนจากหลอดพลาสติก ถ้ามีเวลาว่างก็
เย็บกระเป๋าให้เขาไปขาย เพ่ือให้มีรายได้ไปซ้ือ
ของใช้ให้ผู้ป่วย เวลาว่างก็ไปท�ำที่สาธารณสุข
วันไหนไม่ว่างแล้วงานเยอะเขาก็เอางานมา
ให้ท�ำที่บ้าน และป้ายังเป็นอสม. อีกด้วย
รับผิดชอบชุมชนสามัคคีสามกอง ดูแล
ชาวบ้าน ๓๐ หลังคาเรือน
ความสุ ขในทุกวันน้ีของป้า คือ
การไดท้ ำ� ในสง่ิ ทช่ี อบ งานประดษิ ฐป์ า้ ทำ� ทกุ อยา่ ง
เย็บผ้า ถักกระเป๋า สานตะกร้า ท�ำโมบาย ของใช้
ส่วนใหญป่ า้ ทำ� เองหมดเลย ชอบเปน็ ชีวติ จติ ใจไปแล้ว
การได้ท�ำในสิ่งที่ชอบท�ำให้เรามีความสุข นอกเหนือ
จากสิ่งทช่ี อบแล้ว ยงั เตมิ ความสุขดว้ ยการใช้เวลาวา่ ง
ไปท�ำกิจกรรมกับเพ่ือน ๆ ไปออกก�ำลังกายเพ่ือ
สุขภาพที่ดี และทีส่ �ำคัญ คือ สามารถน�ำสิ่งทีเ่ ราชอบ
ไปสร้างประโยชน์ให้กับผู้อื่นได้ ตรงนี้ท�ำให้เรารู้สึกดี
และมีคุณค่า”

นางกระจา่ ง ประทีบ ณ ถลาง

สขุ ใจ @ นครภเู กต็ 58

“สร้างโอกาสใหต้ ัวเอง”
สู่การหยิบยน่ื ให้ผ้อู ืน่

“เดิมทีป้าเป็นคนชนบท ครอบครัวประกอบอาชีพท�ำ
สวน ความเปน็ อยคู่ อ่ นขา้ งล�ำบาก แตไ่ ม่ไดย้ อ่ ทอ้ พยายามตอ่ สู้
กบั อุปสรรคทเ่ี ขา้ มา จนกา้ วผา่ นทกุ อุปสรรค สรา้ งเนอ้ื สรา้ งตวั
ด้วยความพยายามของตัวเอง
ด้วยความท่ีชีวิตได้ผ่านอุปสรรคมามากมาย ณ วันน้ี
พ อ เ ร า มี ค ว า ม พ ร้ อ ม มี โ อ ก า ส ก็ อ ย า ก จ ะ ยื่ น มื อ เ ข้ า ไ ป ช่ ว ย
ผู้อ่ืนบ้าง ก็ได้เข้าไปอยู่ในชมรมผู้สูงอายุเทศบาลนครภูเก็ต
อยากจะไปดูว่าเมื่อย่างเข้าวัยผู้สูงอายุแล้วควรจะท�ำยังไง
อะไรท่ีเราเสียสละได้ก็อยากจะช่วยเขา ใช้โอกาสท่เี รามีตอนน้ี
ช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่หวังผลก�ำไร ในชุมชนจะช่วยเยอะ
เพราะป้าเป็น อสม. ด้วย มีเขตรับผิดชอบของตัวเองในพื้นท่ี
หากชาวบ้านต้องการความช่วยเหลือ ป้าก็จะเข้าไปดูแลอย่าง
เต็มท่ี ไม่ว่าเร่ืองอุปโภคบริโภคหรือความเป็นอยู่ด้านอ่ืน ๆ
อีกท้งั ยังท�ำงานจติ อาสาในการตรวจคดั กรองโควดิ อีกด้วย
อยากฝากถงึ พนี่ อ้ งชาวภเู กต็ ทกุ คนวา่ การใช้ชีวติ ส�ำคญั
ท่ีสุด ตนเป็นท่ีพ่ึงแห่งตน เราต้องพ่ึงตัวเองก่อนถึงจะไปพ่ึง
คนอ่ืน และขอฝากเรื่องการดูแลผู้สูงอายุ การกินส�ำคัญที่สุด
คือ กิน ๒ ม้ือ ตอนเช้ากินช่วง ๙ โมงคร่ึง ตอนบ่ายกินช่วง
๓ โมงคร่งึ ม้ือค่ำ� ไม่กนิ แตก่ นิ ผลไม้แทน ตอ่ มา คอื การออกกำ� ลงั
กาย ถือได้ว่าเป็นสุดยอดอาหาร ต้องดูแลตัวเองให้ดี ถ้าเรา
ไม่รักตวั เองแล้วใครจะมารกั ส่ิงส�ำคญั ทสี่ ุด คอื การรักตวั เอง
เม่ือมีโอกาสเราก็ท�ำในสิ่งทเี่ ราไม่เคยได้รับ แม้ว่าจะเสียทรัพย์
ไปบ้างแตถ่ ้าบ้นั ปลายชีวติ เขาส�ำเร็จ เขาจะคดิ ถงึ เราตลอด”

นางซิจน้ิ แซ่โคว้

59 สุขใจ @ นครภเู กต็

“Youtuber รุ่นใหญ่”

ความสามารถเกนิ วัย ตอ้ งกดตดิ ตาม

“ด้วยความท่ีครอบครัวประกอบอาชีพขายขนม
เปน็ เหตผุ ลทท่ี ำ� ใหป้ า้ ชอบท�ำขนม ทำ� อาหาร ถ้าชอบอาหาร
ร้านไหนสามารถแกะสูตรได้ด้วยตัวเอง อีกท้ังได้ศึกษา
หาความรู้เพิ่มเติม ทั้งการเรียนด้านคหกรรม และคิดค้น
สูตรเมนตู า่ ง ๆ
จนน�ำไปสู่การเรม่ิ ทำ� ยูทูบ ด้วยความทล่ี ูกชายทำ� งาน
ดา้ นกราฟกิ เขาเหน็ ปา้ ชอบทำ� อาหารเขากม็ าถา่ ย ถา่ ยเล่น ๆ
แลว้ โพสตล์ งยทู บู สว่ นใหญจ่ ะทำ� ขนมพน้ื บา้ นเช่นขนมกลว้ ย
ขนมจูจ้ ุน ผชู้ มถกู ใจเขา้ มาดกู นั เยอะ ทำ� มา ๓ ปี แล้วไดร้ ายได้
จากตรงนด้ี ว้ ย กร็ ูส้ กึ ภมู ิใจ พดู กบั ลกู วา่ เหมือนไดเ้ งนิ บำ� นาญ
ไวใ้ ชต้ อนแก่ทกุ วนั นป้ี า้ มคี วามสขุ กบั การทำ� อาหารมคี วามสขุ
กบั การไดใ้ ช้เวลากบั ลูก ไดถ้ า่ ยทอดอาหารภเู กต็ แกล่ ูกหลาน
สูตรอาหารทง้ั หมดยดึ ฉบบั โบราณซ่งึ เปน็ สูตรดง้ั เดมิ เพราะ
ท�ำเองเราให้ความส�ำคัญในเร่อื งของความสะอาด และใส่ใจ
ในทกุ กรรมวธิ ี ใครอยากไดส้ ูตรอาหารหรอื ขนมปา้ ยนิ ดสี อน
อยากให้เขาได้มีอาชีพตดิ ตัว
สุดท้ายนี้ขอฝากข้อคิดในการใช้ชีวิตส�ำหรับพี่น้อง
ชาวภูเก็ต รู้จักแบ่งเวลาให้เป็น การสร้างความเข้าใจกับ
สมาชิกในครอบครัวเป็นเร่ืองส�ำคัญ ผู้สูงอายุอย่างเรา
เอาแตใ่ จมากเกนิ ไปกจ็ ะอยกู่ บั ลูกหลานไม่ได้ มีปญั หากต็ ้อง
หันหน้าเข้าหากัน เอาใจเขามาใส่ใจเรา จะได้อยู่ด้วยกัน
อย่างมีความสุขและอยู่ด้วยกันนาน ๆ คะ่ ”

นางปราณี มานะจิตต์

Think+ คิดบวก 60

คัดแยกขยะ
จากตน้ ทาง

จดุ เรม่ิ ต้นของการจัดการขยะ

และ

ดูแลสิ่งแวดล้อมอยา่ งสมบูรณ์

นายวิโรจน์ ภู่ต้อง

ประธานมูลนธิ ิเพื่อสิ่งแวดล้อมภเู กต็

จงั หวดั ภเู กต็ เมืองแหง่ การทอ่ งเทย่ี ว ทใี่ นแตล่ ะปี คนมีความรู้ ความเขา้ ใจในเรือ่ งของสิ่งแวดล้อม และมีทศั นคติ
มีจ�ำนวนนักท่องเที่ยวแวะเวียนเข้ามาไม่ต่�ำกว่า ๑๐ ทด่ี ที จ่ี ะช่วยกันในการแก้ไขปัญหา ฉะน้นั มูลนธิ ิฯ จงึ ทำ� งานกับ
ล้านคน มีจ�ำนวนขยะมากกวา่ ๙๐๐ – ๑,๐๐๐ ตนั / วนั เยาวชนค่อนข้างเยอะ รณรงค์ผ่านกิจกรรมให้เขาเข้าใจเร่ือง
ที่ถูกน�ำมาก�ำจัด ณ ศูนย์ก�ำจัดขยะมูลฝอยและบ�ำบัด ของการจัดการขยะ เริ่มต้นจาก หลัก 3R (Reduce Reuse
น้ำ� เสยี เทศบาลนครภเู กต็ แมค้ วามสนกุ จากการทอ่ งเทยี่ ว Recycle) ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด ใช้ซ้�ำ และน�ำกลับมา
ส้ินสุดลง แต่ภาพความสวยงามและความประทับใจ ใช้ใหม่ โดยเพิ่มเตมิ ใหเ้ ขาเหน็ ถงึ ประโยชนข์ องการคดั แยกขยะ
จากการทอ่ งเทยี่ วจะคงอยตู่ อ่ ไปอกี แสนนาน เชน่ เดยี วกบั จากแหล่งกำ� เนดิ ใหไ้ ดน้ ำ� ไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจำ� วนั จนชิน และ
ปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนจากการท่องเท่ียวและอยู่อาศัย ใหเ้ หน็ ถงึ การนำ� ขยะ อย่างขยะอินทรยี ์ มาใช้เป็นประโยชนต์ ่อ
ที่จะคงอยู่กับโลกไปอีกหลายร้อยปี หากไม่ได้รับ ในรูปแบบปุ๋ยและน้�ำหมักชี วภาพ เป็นต้น ซ่ึงในส่วนน้ี
การจัดการอย่างเข้าใจและรับผิดชอบต่อสังคมและ ทางมูลนิธิฯ ได้รับการสนับสนุนอย่างเข้มแข็งจากเทศบาล
ส่ิงแวดล้อม นครภูเก็ต ในการด�ำเนินงานต่าง ๆ ของมูลนิธิฯ รวมถึง
ให้ความอนุเคราะห์ใช้ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการ
วโิ รจน์ ภตู่ อ้ ง ประธานมลู นธิ ิเพอ่ื สงิ่ แวดลอ้ มภเู กต็ ข ย ะ อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น ภ า ย ใ น บ ริ เ ว ณ ก ลุ่ ม ง า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
อดตี อาจารยป์ ระจำ� คณะเทคโนโลยแี ละสงิ่ แวดล้อม มหาวทิ ยาลยั โรงเตาเผาขยะ เป็นทท่ี ำ� การของมูลนธิ ิฯ และเป็นแหล่งเรยี นรู้
สงขลานครนิ ทร์วทิ ยาเขตภเู กต็ ผรู้ กั ในการทำ� งานดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม แบบเปิด ท่ีจะให้ความรู้พร้อมสาธิตถึงการจัดการขยะอย่าง
ได้เล่าถึงความต้ังใจในการท�ำงานด้านส่ิงแวดล้อมโดยเฉพาะ ครบวงจร ตง้ั แตจ่ ุดเรม่ิ เปน็ ขยะ การคดั แยกขยะ การใช้ประโยชน์
เร่ืองการจัดการขยะให้ฟังว่า “ปัญหาขยะ เป็นปัญหาหน่ึง จากขยะในดา้ นตา่ งๆเพอื่ สง่ เสรมิ และสรา้ งจติ สำ� นกึ ใหแ้ กเ่ ยาวชน
ที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อด้านสิ่งแวดล้อม ทางมูลนิธิฯ ประชาชน และนักท่องเที่ยวได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
จึงมองในเรื่องของการพัฒนาคนเป็นหลัก ท�ำอย่างไรให้ และบ�ำรุงรักษาส่ิงแวดล้อมของจังหวัดภูเก็ต ผ่านการเร่ิมต้น
จดั การขยะด้วยตนเอง

61 Think+ คดิ บวก

นอกจากนี้ทางมูลนิธิฯ ได้เดินหน้าต่อ
ในงานด้านการจัดการขยะพลาสติกในทะเล
ซ่ึ ง มี ผ ล ก ร ะ ท บ ส� ำ คั ญ ต่ อ สั ต ว์ น้� ำ ท่ี กิ น ข ย ะ
พลาสติกเป็นอาหาร รวมถึงส่งผลกระทบ
ต่อมนษุ ยเ์ ราทีร่ บั ประทานอาหารทะเลด้วยเช่น
เดยี วกนั หากขยะพลาสตกิ เหล่านถี้ กู ยอ่ ยสลาย
เป็นไมโครพลาสติกเข้าสู่วงจรอาหารสัตว์ทะเล
ฉะนนั้ เรอ่ื งการจดั การขยะ จงึ เปน็ สงิ่ สำ� คญั ทจ่ี ะ
ทำ� ใหท้ กุ คนเขา้ ใจถงึ ผลกระทบดา้ นสงิ่ แวดล้อม
จากขยะ และเข้าใจถึงบทบาทการมีส่วนช่วย
ในการจดั การขยะรว่ มกนั เรม่ิ ตน้ จากการลดขยะ
จากแหล่งก�ำเนิด คัดแยกขยะ ช่วยลดปริมาณ
ขยะท่ีจะเข้าเตาเผา และน�ำขยะมาใช้ประโยชน์
ต่อเพ่ือความเป็นมิตรตอ่ ส่ิงแวดล้อมครบั ”

“มนุษย์อยู่กับส่ิงแวดล้อม ส่ิงแวดล้อมจะน่าอยู่หรือไม่น่าอยู่ ก็อยู่ที่การจัดการของพวกเราที่จะต้องช่วยกัน
เริ่มต้นจากหน่วยเล็ก ๆ พ้ืนที่เล็ก ๆ ชุมชนเราก็จะน่าอยู่ ประเทศเราก็มีสิ่งแวดล้อมที่ดี ปัญหาส่ิงแวดล้อม
นั้นส่งผลถึงเรื่องภัยพิบัติเช่นกัน อย่างปัญหาโลกร้อน เรื่องความแปรปรวนของสภาพอากาศ เป็นต้น
ฉะนั้นเราจะต้องมองปัญหานี้ในองค์รวม และต้องเช่ือมั่นว่า เราทุกคนสามารถช่วยท�ำให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้นได้
จากพลังเล็ก ๆ มือเล็ก ๆ ของพวกเราทุกคน”

Think+ คดิ บวก 62

เร่มิ ตน้ จาก

การเขา้ ใจตวั ตน

สู่การสืบสาน ตอ่ ยอดคณุ คา่
วฒั นธรรม สร้างเศรษฐกิจชมุ ชน

นายอัศวนิ อรรถธรรม

ประธานสภาวฒั นธรรมตำ� บลตลาดใหญ่

“บาบ๋า” วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ลูกคร่ึง คิดเห็นเร่ืองงานวัฒนธรรมของเมื องภูเก็ตอยู่บ่อยครั้ง
ชาวไทยจนี ทแ่ี พรห่ ลายในเมืองทา่ แถบชายฝ่ งั อันดามัน จงึ ไดร้ บั การเชิญชวนใหม้ าเปน็ หน่งึ คณะทำ� งานดา้ นวฒั นธรรมนี้
ย่ า น เ มื อ ง เ ก่ า ภู เ ก็ ต เ ป็ น ย่ า น ห น่ึ ง ที่ มี ก า ร สื บ ท อ ด อย่างเป็นทางการ
มายาวนานกว่า ๑๗๐ ปี ตั้งแต่ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ หวั ใจหลกั ของการทำ� งานดา้ นวฒั นธรรม กค็ อื การอนรุ กั ษ์
ณ บา้ นทงุ่ คา สั่งสมเปน็ มรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรม สืบสาน ฟ้ ืนฟู และพัฒนาต่อยอดวัฒนธรรมให้คงอยู่ได้ โดย
ของชาติท่ีมีอัตลักษณ์เฉพาะถ่ิน อาทิ อาคาร อาหาร สภาวัฒนธรรมฯ ให้ความส�ำคัญต่อการอนุรักษ์และส่งต่อ
อาภรณ์ และจารตี ประเพณอี ันงดงาม วัฒนธรรมแก่คนรุ่นหลัง ผ่านกลไกการท�ำงานร่วมกับคน ๓ วัย
คือ วัยอาวุโส วัยท�ำงาน และวัยเด็ก เพื่อส่งต่อและปลูกฝัง
อัศวิน อรรถธรรม ประธานสภาวัฒนธรรมตำ� บล วัฒนธรรมจากรุ่นสู่รุ่น อันเป็นการวางพ้ืนฐานท่ีดีให้เด็กและ
ตลาดใหญ่ ผู้มีความคิดบวกท�ำสิ่งดีด้านวัฒนธรรมของเมือง เยาวชน ไดร้ ูต้ วั ตน พฒั นาตวั เองและสงั คมตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งเขา้ ใจใน
ภเู กต็ ไดเ้ ล่าถงึ แนวคดิ และแรงบนั ดาลใจในการทำ� งานเพื่อชุมชน รากของวฒั นธรรมตนเอง ซ่ึงเปน็ จุดเรมิ่ ตน้ ส�ำคญั ของการสรา้ ง
และสังคมของเมืองภูเก็ตให้ฟังว่า “จุดเริ่มต้นของผม ผมต้อง สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ที่ ดี ใ ห้ กั บ ชุ ม ช น แ ล ะ สั ง ค ม ผ่ า น ก ล ไ ก
ขอขอบคุณบรรพชน ท่ีผมโชคดีได้รับการสืบทอดวัฒนธรรม ทางวฒั นธรรม
มาจากบรรพชนโดยตรง ซ่ึงผมเติบโตมาในครอบครัวใหญ่ รวมถงึ ใหค้ วามส�ำคญั ตอ่ การตอ่ ยอดวฒั นธรรม ดว้ ยการ
ท่ามกลางสังคมชาวจีนในย่านเมืองเก่าสมัยก่อน และแวดล้อม แปลงทุนทางวัฒนธรรมให้เป็นทุนขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้ โดยที่
ด้วยสภาพทางวัฒนธรรมที่ค่อนข้างสมบูรณ์ ต้ังแต่ยังเป็นเด็ก ผา่ นมาสภาวฒั นธรรมฯ ไดร้ ว่ มกบั ชุมชนยา่ นเมืองเกา่ ภเู กต็ กอ่ ตง้ั
ด้วยความชอบด้านวัฒนธรรมบาบ๋าภูเก็ตเป็นการส่วนตัว ชุมชนทอ่ งเทย่ี วยา่ นเมอื งเกา่ ภเู กต็ ข้นึ ซ่งึ ปจั จุบนั ไดพ้ ฒั นาข้นึ เปน็
ผมจึงได้ศึกษาเพ่ิมเติมอยู่เสมอ และได้มีโอกาสแสดงความ วิสาหกิจชุมชนแล้ว รวมถึงน�ำอัตลักษณ์วัฒนธรรมบาบ๋าภูเก็ต
อย่างเร่อื งอาคาร อาหาร อาภรณ์ มาเปน็ จุดขายในการส่งเสรมิ

63 Think+ คดิ บวก

การท่องเที่ยว อย่างเช่ น ถนนคนเดินหลาดใหญ่ และ
งานตรุษจีนย้อนอดีตเมืองภูเก็ต เป็นต้น ซ่ึงการท�ำงานดังกล่าว
ข้างต้นนี้เป็นเพียงส่วนหน่ึงของการท�ำงานด้านวัฒนธรรม
แตเ่ ปน็ หวั ใจหลักของการตอ่ ยอดและรกั ษาวฒั นธรรมใหส้ ามารถ
คงอยู่ได้ท่ามกลางยุคสมัยที่เปล่ียนแปลง เป็นการสร้างคุณค่า
สู่มูลคา่ เปล่ียนวัฒนธรรมให้เปน็ เร่อื งทก่ี นิ ได้ และเปน็ กลไกหน่งึ
ท่ีจะท�ำให้คนภูเก็ตทุกกลุ่ม ทุกอาชีพ ทุกช่วงวัย เกิดความ
ภาคภมู ิใจในวฒั นธรรมและตวั ตนคนภเู กต็ นีร้ ว่ มกนั เพราะทนี่ ค่ี อื
บ้านของผมและบ้านของเราทุกคน”

“เรื่องวัฒนธรรมจริง ๆ เป็นเรื่องใกล้ตัว วิถีประจ�ำวันล้วนเก่ียวข้องกับวัฒนธรรมท้ังหมด เพียงแต่ว่า
เราอาจจะไม่ได้มองเห็นถึงว่าสิ่งเหล่านี้มีความส�ำคัญ และสามารถก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตัวเอง ครอบครัว และ
ชุมชนต่อไปได้ ถ้าเราเข้าใจกับสิ่งท่ีผ่านมา โดยเฉพาะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่บรรพชนส่งมอบมาให้
เราจะมีความภาคภูมิใจและใช้ประโยชน์กับทรัพยากรทางวัฒนธรรม เพื่อเกื้อกูลให้ชีวิตความเป็นอยู่ของเรา
ให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน”

ตน้ กล้า 64

อามาน่ี
ดาเนียล ๒พี่น้อง จติ รกรเด็ก ฝมี อื ชน้ั ครู

อามานี่ - วชิรวทิ ย์ และ ดาเนยี ล - อชิรวิทย์ สามารถ สองพี่น้อง
จิตรกรเด็กผู้มีใจรักการวาดภาพ ด้วยแรงสนับสนุนของคุณพ่อคุณแม่ และ
ความมุ่งมั่นฝึกฝนด้วยตนเอง ไม่เพียงแต่จะพัฒนาให้อามานี่ - ดาเนียล
มีฝีมือการวาดภาพที่เก่งเกินวัย เทียบเท่าระดับครูเท่านั้น แต่การวาดภาพ
การฝึกฝนศิลปะ ได้หล่อหลอมให้สองพี่น้องมีใจรักที่จะแบ่งปัน และทุ่มเท
ท�ำศลิ ปะเพ่ือสร้างประโยชนแ์ ละช่วยเหลือผู้คนในสังคมด้วยเช่นกนั

65 ตน้ กลา้

อามานี่ - วชิรวทิ ย์ สามารถ

อามานี่ - วชิรวิทย์ สามารถ จติ รกรเดก็ ฝมี ือช้ันครู
ผเู้ ปน็ ทรี่ ูจ้ กั ในวงกวา้ งจากรายการ SUPER 10 อัจฉรยิ ะพนั ธุ์จิว๋
สนใจวาดภาพตงั้ แตว่ ยั เพยี ง ๕ ขวบ จากการเหน็ ภาพพญานาค
ในร้านขายของทร่ี ะลึกของพ่อกับแม่ จงึ เกดิ เปน็ แรงบนั ดาลใจ
ในการวาดภาพต้ังแต่น้ันเป็นต้นมา จากการได้วาดภาพ
พญานาคในวัยเด็ก ท�ำให้อามานี่สนใจฝึกวาดภาพด้วยตนเอง
อย่างจริงจัง ผ่านการแนะน�ำและบ่มเพาะด้านศิลปะจาก
อาจารย์ปู่ - อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ศลิ ปินแห่งชาติ
สาขาทัศนศลิ ป์ (จิตรกรรม) อย่างใกล้ชิด โดยอามาน่ี ฝึกฝน
การวาดภาพหลากหลายรปู แบบทงั้ การวาดลายไทยสที องถมดำ�
การวาดสีน้�ำมัน สีอะคิริค การวาดภาพสเก็ต และภาพเหมือน
บคุ คล โดยช่ืนชอบและถนัด “การวาดลายไทย” มากทส่ี ุด
ปัจจุบันอามาน่ีอายุ ๑๕ ปี ศึกษาอยู่ในระดับช้ัน ม.๓
โรงเรียนเทศบาลปลูกปัญญา ในพระอุปถัมภ์ฯ เป็นที่รู้จัก
จากการเขียนภาพลายไทยฝีมือเก่งเกินเด็ก สามารถกวาด
รางวัลเกยี รตยิ ศมาได้หลายเวที โดยรางวัลทอ่ี ามานภ่ี าคภมู ิใจ
ทสี่ ุด คือ รางวัล CEO Awards โครงการศลิ ปกรรมช้างเผือก
ของไทยเบฟเวอเรจ และมีโอกาสได้เข้าเฝ้ารับพระราชทาน

ต้นกล้า 66

รบั รางวัลจาก สมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี จากการสร้างสรรคผ์ ลงาน ‘พระราชาของเด็ก ๑๐ ขวบ’
รวมถึงเคยเป็นตัวแทนศลิ ปินไทยไปโชว์ความสามารถในหลายประเทศ อาทิ
ศิลปินเด็กคนเดียวที่ได้เดินทางไปวาดภาพลายไทยโชว์ที่เมืองเซี่ยเหมิน
ประเทศจนี ได้น�ำผลงานไปจดั แสดงใน Tokyo Metropolitan Art Museum
พิพิธภัณฑ์ศิลปะชื่อดังของประเทศญี่ปุ่น ซ่ึงได้รับรางวัลเหรียญทอง
จาก World Congress of Culture กลับมาด้วย

ดาเนียล - อชิรวทิ ย์ สามารถ

ไม่เพียงแค่เป็นจิตรกรเด็กมากฝีมือและท่ีมีช่ือเสียง อามาน่ี ยังเป็น
แรงบันดาลใจให้กับน้องชายคนเดยี ว อย่าง ดาเนยี ล - อชิรวิทย์ สามารถ
ในวยั ๗ ขวบ ใหห้ นั มาสนใจศลิ ปะ และมีอาจารยเ์ ฉลิมชัย โฆษติ พิพัฒน์ เปน็ ต้น
แบบทคี่ อยใหก้ ำ� ลงั ใจและใหค้ ำ� แนะนำ� อยเู่ สมอ ดาเนยี ลคน้ พบแนวทางการเขยี น
รูปของตนเอง คือ วาดภาพเหมือนบุคคล ด้วยลายเส้นดรออ้ิงที่มีพลังและ
มีชีวติ ชีวา และแตง่ แตม้ ดว้ ยการใช้สไี ม้และสีเทยี น ซ่ึงมีผลงานมากฝมี ือไม่แพ้
พี่ชาย ปัจจุบันดาเนยี ล อายุ ๑๓ ปี กำ� ลังศกึ ษาอยู่ในระดบั ชั้น ม.๑ โรงเรยี น
เทศบาลปลูกปญั ญา ในพระอุปถัมภฯ์ ซ่ึงเปน็ โรงเรยี นเดยี วกนั กับพ่ีชาย
จากวันแรกจนถึงวันน้ี สองพี่น้องคู่น้ี ได้ใช้พรสวรรค์ทางด้านศิลปะ
ของตนเองมาทำ� ประโยชนใ์ หก้ ับสังคมอย่างมากมาย โดยเฉพาะอามาน่ี ได้น�ำ
ภาพวาดออกประมูลเพ่ือน�ำเงินที่ได้ไปช่วยเหลือผู้ป่วยตามโรงพยาบาล
ซ้ืออุปกรณ์การแพทย์ ช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาสในถ่นิ ทุรกันดารตามจังหวัด
ตา่ ง ๆ รวมถงึ มอบเงนิ เพอื่ เปน็ ทนุ การศกึ ษาเดก็ ทเี่ รยี นดแี ตข่ าดแคลนทนุ ทรพั ย์
หรอื เดก็ ทมี่ ีสภาพรา่ งกายไม่พรอ้ ม ซ่ึงดาเนยี ลเองกม็ ีความมุ่งมั่นทจ่ี ะใช้ศลิ ปะ
เพ่ือช่วยเหลือผู้คนไม่แพ้พ่ีชาย และตง้ั ใจท�ำมันอย่างดที ส่ี ุดเช่นกนั

1 เคาน์เตอรเ์ ซอรว์ ิส 2 หักบัญชเี งนิ ฝาก
(COUNTER SERVICE) ธนาคาร

การชำ� ระ ชําระด้วยเงนิ สด หรือชําระดว้ ยบตั รเครดิต/เดบติ สามารถยื่นแบบขอหักบัญชไี ด้ที่
คา่ น้ำ� ประปา (เฉพาะบตั รมาสเตอร์การ์ด)
“กองการประปา
“ใบแจง้ คา่ นาํ้ ประปา เทศบาลนครภเู ก็ต”
ต้องอยภู่ ายในระยะเวลาทกี่ ําหนด
FORM
และไมม่ ยี อดคา้ งชาํ ระ”

CREDIT / DEBIT CARD

เปิดชอ่ งทาง 3 บัญชี 4 กองการประปา
ธนาคารกรงุ ไทย เทศบาลนครภูเกต็
การชำ� ระเงนิ ดงั น้ี

เลขทบี่ ญั ชี 819-0-38685-9 วนั จันทร์ - ศุกร์ เวลา 07.30 - 16.30 น.
วันเสาร์ เวลา 08.30 - 16.30 น.
ชือ่ บัญชีกองการประปา เทศบาลนครภูเกต็
เวน้ วันอาทติ ย์ วันหยุดนักขตั ฤกษ์
โดยแจ้งการชําระเงนิ ผา่ นระบบ Line และวนั หยุดชดเชย

ID Line : wpk.phuket

ชอ่ งทางการชำระหเางกนิ มีปภ0ัญ7าห6ษา-ห2ที 1ร1อืดี่13ข0อ้ินสตงแลสลอยั ดะสส2า4มา่ิงชรปว่ัถโตมลิดงตกู ่อสได้ทร่ี ้าง
และคา่ ธรรมเนยี มอ่ืน ๆ

ชอ่ งทาง ชําระเปน็ โอน ชําระโดย ชําระโดย ชาํ ระผ่าน ชาํ ระผา่ น
การชำ� ระเงนิ เงนิ สด สแกนการสแกน
ภาษที ดี่ นิ และ เข้าบัญชี ไปรษณยี ์ เคธนารา์เคตาอรร์
สง่ิ ปลกู สรา้ ง ณ เทศบาลนครภูเกต็ ธนาณัติ QR Code ตู้ ATM

ภาษปี ้าย ส่วนพัฒนา ธนาคารกรงุ ไทย ส่งั จ่าย พร้อมเพย์ อนิ เตอรเ์ น็ต
และ รายได้ ธนาคารกรงุ ไทย แบงคก์ ้ิง
เลขที่ เทศบาล
คา่ ธรรมเนยี ม ชั้น 1 นครภเู ก็ต โดย โมบายล์
อน่ื ๆ สาํ นกั การคลัง 805-1-00010-2 แบงคก์ งิ้
เทศบาลนครภเู กต็ ส่งหลกั ฐานการโอน
ส่งหลกั ฐานการโอน
ผ่านไลนไ์ อดี (Line ID)
ผา่ นไลนไ์ อดี (Line ID)
076221300 บารโ์ คด้
076221300


Click to View FlipBook Version