The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานวิจัยในชั้นเรียน 2-63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anirut, 2021-05-11 10:48:12

งานวิจัยในชั้นเรียน 2-63

งานวิจัยในชั้นเรียน 2-63





การวจิ ัยในช้นั เรียน

การเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน ของนกั ศกึ ษา วชิ าคณิตศาสตร์เรอ่ื งรอ้ ยละ
โดยใช้ส่ือ E – book ระดับประถมศกึ ษา กศน. ตาบลแหลมกลัด อาเภอเมอื ง จงั หวัดตราด

โดย
นายอนิรทุ ธ์ ตันตระกูล

วิจัยเรื่องน้ีเป็นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลกั สตู ร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ชือ่ เร่ืองวิจยั การเปรียบเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา วิชาคณิตศาสตร์เร่อื งร้อยละ
โดยใชส้ อื่ E – book ระดับประถมศึกษา กศน.ตาบลแหลมกลัด อาเภอเมือง
จังหวัดตราด

ผู้วิจยั นายอนิรุทธ์ ตันตระกูล
ปที วี่ ิจัย 2564

บทคัดยอ่



จากการวิจัยการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามสภาพความเป็นจริงของ
นักศึกษาระดับประถมศึกษา กศน.อาเภอเมือง จังหวัดตราด โดย ใช้สื่อ E – book ในการจัดการ
เรียนการสอน เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองร้อยละ ก่อนและหลังเรียนจากสื่อ
E– Book และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับประถมศึกษา กศน.ตาบลแหลมกลัด
อาเภอเมือง จังหวัดตราด โดยการใช้ส่ือ E-Book การให้ทาแบบทดสอบมีผลสัมฤทธ์ิเรื่องร้อยละ
เพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีสาเหตุมาจากนักศึกษามีคะแนนเร่ืองร้อยละต่ากว่าเกณฑ์ เม่ือพบปัญหาจึงได้
วางแผนในการหาวธิ ีแกไ้ ขหรือพัฒนานักศกึ ษาเพ่ือนามาใช้ในการเรียนรู้โดยใช้สื่อ E – book มาใช้
ในการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์เรื่องรอ้ ยละซ่ึงเริ่มวันที่ 23 มกราคม 2564-13 มีนาคม 2564 เมอื่ ดูผล
การพฒั นาการเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรูส้ งู ขึ้น

จงึ สรปุ ไดว้ า่ ผลการวิจัยการทาวจิ ัยกลุ่มตัวอย่างมีประสิทธภิ์ าพเพ่ิมข้นึ นกั ศกึ ษามี
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนดีข้ึน

คานา



หัวใจสาคัญของการปฏิรูปการศึกษา คือ การปฏิบัติการเรียนรู้ในการเรียนรู้ครู
จะต้องดาเนินการใน 5 ประเด็นคือ จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ จัดกิจกรรมโดยยึด
นักศึกษาเป็นสาคัญใชแ้ หลง่ เรยี นรปู้ ระเมนิ ตามสภาพจริงและทาการวิจัยในชั้นเรยี น

ครูผู้สอนจะทาการวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพการเรียนรู้ของนักศึกษาเพ่ือหา
แนวทางในการแกไ้ ขปัญหา หรอื พัฒนาให้นักศึกษามีคุณภาพท่ีสูงข้ึน ในการจัดการเรยี นการสอนวิ
ชคณิตศาสตร์ซึ่งผู้วิจัยได้ทาการวิเคาระห์ปัญหาและพบว่านักศึกษาส่วนใหญ่ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนเร่ืองร้อยละอ่อน จึงได้ดาเนินการวิจัยเพ่ือแก้ปัญหาให้นักศึกษา โดยได้นารูปแบบการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชส้ ือ่ E- book มาทดลองใช้ซง่ึ ประสบผลสาเรจ็ เปน็ อย่างดีนักศึกษา
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ืองร้อยละสูงข้ึน ความสาเร็จของการปฏิบัติการวิจัยในครั้งนั้ได้รับการ
อนุเคราะห์ด้วยดีจากผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมือง จังหวัดตราด ส่งเสริมสนับสนุนให้มีความรู้
และสามารถปฏิบัติการวิจัยในช้ันเรียนได้ประสบความสาเร็จหากผลงานการวิจัยครั้งนี้จะเกิด
ประโยชนแ์ กผ่ สู้ นใจศึกษาหาความรโู้ ดยท่วั ไป ขอมอบความดีอันพงึ มีแก่ผ้เู กย่ี วข้อง

นายอนริ ุทธ์ ตันตระกูล
ผ้วู ิจยั

สารบัญ

ปก จ

บทคัดย่อ หน้า

คานา ข

สารบัญ ค

บทที่ 1 บทนา ง

- ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา 1
- วัตถปุ ระสงค์
- ขอบเขตของการวิจยั 1
- นิยามคาศัพท์ 1
- ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รับ 2
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวข้องกับการวิจยั (สอื่ E- book ทีเ่ กี่ยวข้อง) 2
บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนินการวจิ ยั 2
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล 3
บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 7
บรรณานกุ รม 10
ภาคผนวค 12
14
15

1

บทท่ี 1
บทนา
ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หาการวจิ ัย

คณิตศาสตร์เป็นวิชาท่ีมีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ทาให้มนุษย์มี
ความคิดสร้างสรรคิค์ดอย่างมีเหตุผลเป็นระบบมีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ไดอ้ย่างถี่
ถว้ น รอบคอบชว่ ยให้คาดการณว์ างแผน ตัดสนิ ใจแกป้ ญั หาและนาไปใช้ในชีวติ ประจาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
และคณิตศาสตร์เป็นวิชาท่ีว่าด้วยเหตุผลกระบวนการคิดและการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์จึงเป็นวิชาท่ีช่วย
เสริมสร้างให้นักศึกษาเป็นคนมีเหตุผล มีการคิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบตลอดจนมี ทักษะการ
แก้ปัญหา ยิ่งกว่าน้ันคณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือสาคัญในการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตลอดจน
ศาสตร์อ่ืนๆ ทาให้มีการพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมากมายในทุกวันน้ี ดังนั้นหลักสูตร
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 จึงได้จัดให้คณิตศาสตร์เป็นสาระการเรียนรู้หน่ึงท่ีสถานศึกษาต้องใช้
เป็นหลักในการจัดการเรียนการสอน เพ่ือสร้างพ้ืนฐานการคิดและเป็นกลยุทธ์ในการแก้ป้ญหาและวกิฤตของ
ชาติ(กรมวิชาการ, 2551) แม้ว่าคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีความสาคัญก็ตาม แต่การจัดการเรียนการสอน
คณิตศาสตร์ที่ผ่านมายังไม่ประสบผลสาเร็จเท่าที่ควร เห็นได้จากการประเมินของสานักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคณุ ภาพการศึกษา (สมศ.) ในรอบแรกได้ขอ้ สรุปทวั่ ประเทศวา่ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นคณติ ศาสตร์
อยู่ในระดับปรับปรุงมีจานวนนักศึกษาท่ีมีผลสัมฤทธ์ิ ที่อยู่ในระดับดี ผ่านเกณฑ์ 75 % มีเพียงร้อยละ 2.5 ซ่ึง
อยใู่ นระดับน้อยมาก (สานักรบั รองมาตรฐานและการประเมนิ คุณภาพการศึกษา, 2551)

จากปัญหาข้างต้นท่ีกล่าวมาน้ัน จะพบวิชาคณิตศาสตร์จึงจะต้องได้รับการพัฒนาทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์โดยจะต้องเนน้ เร่อื งทักษะกระบวนการแก้ปัญหาเป็นหลักเน่ืองจากในระหว่างทม่ี ี
การแก้ปัญหานั้นจาเป็นตองมีการแสดงออกถึงการให้เหตุผล การส่ือสาร ส่ือความหมาย การนาเสนอรู้จัก
เช่ือมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ืนๆ และเกิดความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ควบคู่กันด้วย (สถาบันส่งเสริม
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, 2553: 339)

ดังนั้นผู้วิจัยซึ่งในฐานะท่ีเป็นท้ังครูผู้สอนเห็นความสาคัญของจัดการเรียนการสอนท่ีเ น้นเป็น
สาคัญจึงได้ทาการวิจัยเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองร้อยละ จัดการเรียนรู้ โดยใช้ส่ือ
E – book ระดับประถมศกึ ษา กศน.อาเภอเมือง จังหวัดตราด

วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย
- เพอ่ื เปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น เร่ืองรอ้ ยละ ก่อนและหลังเรยี นจากส่ือ E– Book
- เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา กศน.อาเภอเมือง จงั หวดั ตราด

โดยการใชส้ ื่อ E-Book

2

ขอบเขตของการวจิ ยั
1. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษา กศน.อาเภอเมือง จังหวัดตราด ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา

2563 สังกดั สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดตราด จานวน 3 คน ไดม้ า
โดยวิธกี ารสุ่มแบบกลุ่ม ด้วยวิธีการจับฉลากมา 1 ห้องเรียน จากทง้ั หมด 2 ห้องเรียน ซ่ึงทาง กศน.อาเภอเมือง
จงั หวัดตราด ไดจ้ ัดนักศกึ ษาแต่ละห้องแบบคละความสามารถ คือ จดั นักศึกษาเก่ง ปานกลางออ่ น ในอัตราส่วน
ทเ่ี ท่า ๆ กนั ทั้ง 2 ห้องเรียน

2. ตวั แปรท่ศี ึกษา ประกอบด้วย
2.1 ตัวแปรตน้ จดั การเรยี นการสอนโดยใช้ส่ือ E-Book
2.2 ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธ์กิ ารเรยี นเร่อื งร้อยละ

ระยะเวลาในการศึกษา ในการวจิ ัยครัง้ นี้ ผ้วู จิ ัยไดก้ าหนดระยะเวลาในการวจิ ยั ต้ังแต่ 23 มกราคม 2564-13
มีนาคม 2564
นิยามคาศัพทเ์ ฉพาะ

สื่อ E-Book หมายถึง หนังสือที่สร้างข้ึนด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นเอกสาร
อิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ ท้ังในระบบ
ออฟไลน์และออนไลน์ผู้อ่านสามารถอ่านผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พกพาอ่ืนๆ
ได้ สาหรับหนังสือ หรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์นี้ จะมีความหมายรวมถึงเน้ือหาท่ีถูกดัดแปลงอยู่ในรูปแบบท่ี
สามารถแสดงผลออกมาได้โดยเคร่ืองมืออิเล็กทรอนิกส์ แต่ก็ให้มีลักษณะการนาเสนอที่สอดคล้องและ
คล้ายคลึง กับการอ่านหนังสือท่ัวๆไปในชีวิตประจาวัน แต่จะมีลักษณะพิเศษ คือ สะดวกและรวดเร็วใน การ
ค้นหา และผู้อ่านสามารถอ่านพร้อมๆ กันได้โดยไม่ต้องรอให้อีกฝ่ายส่งคืนห้องสมุด เช่น เดียวกับหนังสือใน
หอ้ งสมุดทั่วๆ ไป

กศน. หมายถึง “การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย”ก่อนน้ีน้ันคาว่า กศน.
แปลว่า “การศึกษานอกโรงเรียน” แต่ปัจจุบัน หลังจากมีพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2551

ร้อยละ หมายถงึ คือ อัตราส่วนทเ่ี ราตอ้ งการ ทมี่ ีการเปรยี บเทียบกบั 100 หรือ อัตราสว่ นท่ีมี
ส่วนเปน็ 100 เราเรยี กว่า เปอรเ์ ซ็นต์ ใชส้ ัญลักษณ์ แทนดว้ ยเครือ่ งหมาย %

ผลสัมฤทธ์ิ หมายถึง งาน บริการ หรือกิจกรรมท่ีเกิดจากการททางาน ท่ีได้ผลผลิต ตาม
เป้าหมาย และเกิดผลลัพธ์ ตรงตามวัตถุประสงค์ กล่าวคือ ผลผลิตสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง
หรือเป็นท่พี งึ พอใจ

ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะได้รับ

1. ได้ทราบผลจากการจดั การเรียนการสอนโดยการใชส้ ่อื E-Book
2. มผี ลสัมฤทธิ์เรือ่ งร้อยละเพ่ิมข้นึ
3. ทราบปญั หาและแนวทางการพฒั นาในการเรยี นการสอนเร่อื งรอ้ ยละ

3

บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจยั ทเี่ กี่ยวข้อง
รายงานการเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ของนักศึกษา วิชาคณติ ศาสตรเ์ รือ่ งร้อยละ
โดยใช้สื่อ E – book ระดบั ประถมศกึ ษา กศน. อาเภอเมือง จงั หวดั ตราด ผรู้ ายงานได้ศึกษาหลักการ แนวคดิ
และทฤษฎีจากเอกสาร งานวิจยั ทเี่ ก่ียวข้อง ดังหวั ข้อต่อไปนี้

1. หนังสือ E-Book
ความหมายและความสาคัญของส่ือ E – Book
หนังสือ E-Book หมายถึง หนังสือที่สร้างข้ึนด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลักษณะคล้าย

หนังสือจริง สามารถเปิดอ่านได้ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ และมีลักษณะพิเศษคือสามารถส่ือสารกับผู้อ่านใน
ลักษณะของมัลติมีเดียได้ ได้แก่ ข้อความ ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง แต่ยังคงรักษารูปแบบความเป็ น
หนงั สอื ไว้ไมว่ า่ จะเปน็ รปู ร่าง หรือลักษณะการเปิดอ่าน

E-book สามารถใช้เป็นส่ือการเรยี นการสอนท่สี นับสนนุ การเรยี นให้เกิดพัฒนาการเรียนรู้และ
เข้าใจเน้ือหาวิชาได้เร็วและดีข้ึน กล่าวคือ เป็นส่ือท่ีรวมเอาจุดเด่นของส่ือแบบต่างๆ มารวมอยู่ในสื่อตัวเดียว
คือ สามารถแสดงภาพ แสง เสียง ภาพเคล่ือนไหว และการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ มีลักษณะไม่ตายตัว สามารถ
แกไ้ ขปรบั ปรุงเปล่ยี นแปลงได้ตลอดเวลา อกี ทง้ั ยงั สามารถเช่อื มโยงไปสขู่ ้อมูลท่ีเกี่ยวข้องได้โดยใชค้ วามสามารถ
ของไฮเปอร์เท็กซ์ และถ้าหากว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตหรืออินทราเน็ตจะ
ทาให้การกระจายส่ือทาได้อย่างรวดเร็ว และกว้างขว้างสามารถที่จะตอบสนองความต้องการของ และสามารถ
ศึกษาได้ทุกที่ทุกเวลา จาก งานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการแก้ปัญหาและการพัฒนาการเรียนการสอนท่ีใช้ E-
Book พบว่าการให้การแก้ปัญหาและพัฒนาเร่ืองน้ันมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดาเนินการได้ทุก
เรอ่ื ง

สรุปแล้วหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ คือ ส่ือการสอนท่ีอยู่ในรูปแบบของหนังสือที่มีลักษณะของ
หนังสืออยู่แต่ว่าสามารถอ่านผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มีคุณสมบัติท่ีกระตุ้นความสนใจของผู้อ่าน ซ่ึง
ประกอบด้วย ภาพ เสยี ง มลั ตมิ ีเดยี และหนงั สือสามารถโตต้ อบกบั ผอู้ ่านไดน้ ่นั เอง
พฒั นาการของ E–Book

E-Book มีมาภายหลังปี ค.ศ. 1940 ซ่ึงปรากฏในนิยายวิทยาศาสตร์เรื่อง หน่ึง เป็นหลักการ
ใหม่ของคอมพิวเตอร์ตามแบบแผน IBM มีผลิตภัณฑ์คือ Book Masterเน้ือหาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในปี
1980 และก่อน 1990 ในชว่ งแรกมี 2 ส่วน คอื เรือ่ งเก่ยี วกบั คูม่ ืออ้างอิงและการศกึ ษาบนั เทิง ตอ่ มาเทคโนโลยี
แล็บท็อปคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีส่วนช่วยให้ E-Book มีการรุดหน้าเร็วขึ้นจนสามารถ บรรลุผลในการเป็น
หนังสือที่สมบูรณ์แบบเพราะได้นาบางส่ว นของแล็บท็อปมาประยุก ต์ใช้จนทาให้ E-Bookมีคุณภา พ แล ะ
ประสิทธิภาพที่ดีได้ การถ่ายทอดข้อมูลในระยะต่อมา จะถ่ายทอดผ่านทางแป้นพิมพ์ และประมวลผลออกมา
เปน็ ตัวหนงั สือและขอ้ ความด้วยคอมพวิ เตอรด์ งั น้นั หนา้ กระดาษกเ็ ปล่ยี นรูปแบบไปเปน็ แฟ้มข้อมลู (Files) แทน
ทั้งยังมีความสะดวกต่อการเผยแพร่และจัดพิมพ์เป็นเอกสาร(documents printing) รูปแบบของหนัง
อิเล็กทรอนิกส์ยุคแรกๆ มีลักษณะเป็นเอกสารประเภท .doc, .txt, .rtf, และ .pdf ไฟล์ ต่อมาเม่ือมีการพัฒนา

4

ภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ข้อมูลต่างๆ ก็จะถูกออกแบบและตกแต่งในรูปของเว็บไซต์
หลงั จากนั้นได้พฒั นาโปรแกรมจนกระท่งั สามารถผลิตเอกสารออกมาเป็นลักษณะเหมือนกับหนงั สอื ทัว่ ไปได้

ประโยชนข์ อง E-Book
1. ช่วยให้สามารถย้อนกลับมาอ่านได้และสามารถเลือกอ่านได้ตามเวลา-สถานท่ีที่ตนเอง

สะดวก
2. การตอบสนองที่รวดเร็วของคอมพิวเตอร์ที่ให้ท้ังสีสัน ภาพ และเสียง ทาให้เกิดความ

ตนื่ เต้นและไมเ่ บือ่ หนา่ ย
3. สามารถปรับเปล่ียน แก้ไข เพิ่มเติมข้อมูลได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว ให้ทันสมัยกับ

เหตุการณไ์ ด้เปน็ อย่างดี
2. เทคนคิ การใชส้ ือ่ การเรยี นการสอน

การใช้ส่ือการเรียนการสอน ย่อมจะมีเทคนิคที่แตกต่างกันไปตามเงื่อนไขต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง
เช่น ลักษณะและคุณสมบัติของสื่อแต่ละประเภท กลุ่ม ผู้สอน สถานที่ ความพร้อมของอุปกรณ์และเคร่ืองมือ
ประกอบ ตลอดจนสภาพแวดล้อมต่าง ๆ เป็นต้น แต่หลักการ สาคัญที่จะต้องคานึงถึงอยู่เสมอก็คือ “เงื่อนไข
การเรียนรู้” คินเตอร์ ไดใ้ ห้ข้อเสนอแนะในการใช้ ส่ือการเรียนการสอนไว้ ดังต่อไปนี้

1.ไม่มีวิธีการสอนหรือวัสดุประกอบการสอนชนิดใด ท่ีจะสามารถใช้กับและ บทเรียนท่ัวไปได้
วิธสี อนและวสั ดปุ ระกอบการสอนแตล่ ะประเภทย่อมมีจดุ มงุ่ หมายเฉพาะของมันเอง

2. ในบทเรียนหน่ึง ๆ ไม่ควรใช้สื่อการเรียนการสอนมากเกินไป ควรใช้เพียงแต่เท่าที่จาเป็น
เท่านนั้ ในบางคร้ัง กไ็ ม่ควรใชส้ ่อื อย่างเดียวตลอด

3. สอ่ื การเรียนการสอนท่ีใช้ ควรจะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั บทเรียนและกระบวนการเรียน การสอน
4. ส่ือการเรียนการสอน ควรสร้างให้เกิดโอกาสที่ได้มีส่วนร่วมในการเตรียมและ การใช้ อัน
ก่อใหเ้ กิดประสบการณก์ ารเรียนรทู้ ีไ่ ม่ลมื งา่ ย
5. ก่อนใช้ส่ือการเรียนการสอน ผู้สอนควรทดลองใช้ก่อนเพ่ือความแน่ใจว่าจะใช้ได้ ถูกต้อง
และมีประสทิ ธภิ าพ นอกจากนัน้ ยงั ต้องจัดเตรยี มอุปกรณ์และเครอ่ื งมือประกอบ ใหพ้ ร้อมทกุ อยา่ ง

3. ประเภทของสื่อการเรียนการสอน
ส่ือการเรยี นการสอนที่ใชป้ ระกอบการเรียนการสอน พอสรุปเปน็ ประเภทตา่ ง ๆ ดังน้ี คอื
1. กระดานดา
2. หนงั สือเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถม/ ใบความรู้และใบงาน
3. แผน่ นภาพ
4. แผ่นใส /สไลดอ์ เิ ล็กทรอนิกส์
5. โมเดลพลาสติก
6. ภาพสไลด์และแผน่ ภาพยนตร์
7. แถบบันทึกเสยี ง
8. แถบวดิ ที ศั น/์ แผ่นวดิ ีทัศน์
9. ห่นุ จาลอง

5

10. อุปกรณ์ทดลอง/ สาธติ
11. บทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน หรือซอฟต์แวร์คอมพวิ เตอร์อื่น ๆ เป็นต้น
4. งานวิจยั ทีเ่ ก่ียวข้อง

วารุณี คงวิมล: การพัฒนาหนังสือ E-Book เร่ือง การใช้โปรแกรม PHOTOSHOPเพื่อผลิตส่ือ
การสอน สาหรับครูระดับประถมศึกษา (THE DEVELOPMENT OF ELECTRONIC BOOKS (E-BOOK) ON
'PHOTOSHOP PROGRAM' FOR INSTRUCTIONAL MEDIA PRODUCTION FOR PRIMARY LEVEL
TEACHERS) คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์: ภูเบศ เลอ่ื มใส, กศ.ด., พงศป์ ระเสริฐ หกสวุ รรณ, กศ.ด., 188
หน้า. ปี พ.ศ. 2559. การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เรื่อง การใช้งาน
โปรแกรม Photoshop เพื่อผลิตสื่อการสอนสาหรับครูระดับประถมศึกษา ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์
มาตรฐาน 90/90 และเพ่ือเปรยี บเทยี บคะแนนจากการทดสอบก่อน และหลงั การใชห้ นังสือ E-Book เรื่อง การ
ใช้งานโปรแกรม Photoshop เพื่อผลิตสื่อ การสอนสาหรับครูระดับประถมศึกษา ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึน้ ประชากร
ทใ่ี ชใ้ นการวิจยั คร้ังนี้ ได้แก่ ครู ระดบั ประถมศึกษา โรงเรียนเซนตห์ ลุยส์ ฉะเชิงเทรา กลุ่มตวั อย่างเป็นครูระดับ
ประถมศึกษา ได้มาจากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้
ประกอบด้วย หนังสือ E-Book แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และ แบบสอบถามความคิดเห็นของ
ผู้เช่ียวชาญด้านเทคนิคและเนื้อหา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน คา่ ร้อยละ และการทดสอบค่า t (t-test Dependent Sample) ผลการวิจัย พบวา่ หนงั สอื E-Book
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Photoshop เพื่อผลิตส่ือการสอนสาหรับครูระดับประถมศึกษา มีประสิทธิภาพ
91.17/90.00 เป็นไป ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 standard) ท่ีตั้งไว้ และมีคะแนนหลังเรียนสูง
กวา่ คะแนน ก่อนเรียนอยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ .05

สิริภัทร เมืองแก้ว และ กุลสิรินทร์ อภิรัตน์วรเดช คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) พัฒนาหนังสือ E-Book
รายวิชาภาษาและวัฒนธรรมเพื่อนบ้าน (ภาษาจีน) ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) ศึกษาผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนหลังการใช้หนังสืออิ E-Book 3) ศึกษาความพึงพอใจของท่ีมีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E-book
กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงนิสิตที่ลงทะเบียน เรียนในรหัสวิชา2001103 วิชาภาษาและวัฒนธรรมเพ่ือนบ้าน
(ภาษาจนี ) ปกี ารศึกษา 2559 จ านวน 70 คน เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ น การวิจยั ได้แก่ หนังสอื E-book รายวชิ าภาษา
และวัฒนธรรมเพ่ือนบ้าน (ภาษาจนี ) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจ
ของ สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การหาค่าความเช่ือมั่น ค่าความ
ยากง่าย ค่าอานาจจาแนก การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิt-test แบบ Dependent Samples ผลการวิจัย พบว่า
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E-book รายวิชาภาษาและวัฒนธรรมเพ่ือนบ้าน (ภาษาจีน) มีประสิทธิภาพ ตาม
เกณฑE์ 1 /E2 เท่ากับ 81.38/ 82.50 นสิ ติ มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนหลงั การใช้หนังสือ E-book รายวิชา ภาษา
และวัฒนธรรมเพ่ือนบ้าน (ภาษาจีน) สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และผลการ
ประเมินความ พึงพอใจของนิสิตหลังการใช้หนังสือE-book อยู่ในระดับดี ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.29 และมีค่า
เบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.72 โดยมีความเห็นว่าหนังสือ E-Book ช่วยให้มีความรู้เก่ียวกับภาษาจีน เกิดการ

6

เรียนรู้ด้วยตนเอง และเน้ือหาในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นประโยชน์และน าไปประยุกต์ใช้ได้จริงใน
ชวี ิตประจาวัน คาสาคัญ: หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ภาษาจนี ประสทิ ธิภาพ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน ความพึงพอใจ

จากการศึกษางานวิจยั ในประเทศเก่ียวกับการใช้สอ่ื E – Book จัดการเรียนการสอบ พบว่ามี
ผลผลสมัฤทิธท์ างการเรียนคณิตศาสตรข์ องนักศกึ ษา ดขี น้ึ

7

บทท่ี 3
วิธดี าเนนิ การวจิ ัย

ในการวจิ ยั ในครงั้ นี้ ผู้วจิ ยั ไดด้ าเนินการตามขนั้ ตอนดงั น้ี
1. การดาเนนิ งานการวจิ ยั
1.1 วเิ คราะห์ปญั หาและสาเหตขุ องปญั หาการเรียยนรู้
คณิตศาสตร์เป็นวิชาท่ีมีบทบาทสาคัญอย่างย่ิงต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ทาให้มนุษย์มี

ความคิดสร้างสรรคค์คิดอย่างมีเหตุผลเป็นระบบมีแบบแผน สามารถวิเคราะหป์ ัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่
ถว้ น รอบคอบช่วยใหค้ าดการณ์วางแผน ตัดสนิ ใจแก้ปัญหาและนาไปใชใ้ นชีวิตประจาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
และคณิตศาสตร์เป็นวิชาท่ีว่าด้วยเหตุผลกระบวนการคิดและการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์จึงเป็นวิชาที่ช่วย
เสริมสร้างให้นักศึกษาเป็นคนมีเหตุผล มีการคิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบตลอดจนมี ทักษะการ
แก้ปัญหา ยิ่งกว่าน้ันคณิตศาสตร์ยังเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตลอดจน
ศาสตร์อ่ืนๆ ทาให้มีการพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมากมายในทุกวันน้ี ดังนั้นหลักสูตร
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 จึงได้จัดให้คณิตศาสตร์เป็นสาระการเรียนรู้หน่ึงท่ีสถานศึกษาต้องใช้
เป็นหลักในการจัดการเรียนการสอน เพื่อสร้างพื้นฐานการคิดและเป็นกลยุทธ์ในการแก้ป้ญหาและวิกฤตของ
ชาติ(กรมวิชาการ, 2551) แม้ว่าคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีความสาคัญก็ตาม แต่การจัดการเรียนการสอน
คณิตศาสตร์ท่ีผ่านมายังไม่ประสบผลสาเร็จเท่าท่ีควร เห็นได้จากการประเมินของสานักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในรอบแรกไดข้ ้อสรปุ ทวั่ ประเทศว่าผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนคณิตศาสตร์
อยู่ในระดับปรับปรุงมีจานวนนักศึกษาท่ีมีผลสัมฤทธิ์ ท่ีอยู่ในระดับดี ผ่านเกณฑ์ 75 % มีเพียงร้อยละ 2.5 ซึ่ง
อย่ใู นระดบั น้อยมาก (สานักรับรองมาตรฐานและการประเมินคณุ ภาพการศึกษา, 2551)

จากปัญหาข้างต้นที่กล่าวมานั้น จะพบวิชาคณิตศาสตร์จึงจะต้องได้รับการพัฒนาทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์โดยจะต้องเนน้ เรอ่ื งทักษะกระบวนการแก้ปญั หาเป็นหลักเน่ืองจากในระหว่างท่ีมี
การแก้ปัญหาน้ันจาเป็นต้องมีการแสดงออกถึงการให้เหตุผล การสื่อสาร สื่อความหมาย การนาเสนอรู้จัก
เช่ือมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ืนๆ และเกิดความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ควบคู่กันด้วย (สถาบันส่งเสริม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2553: 339)

ดังนนั้ ผวู้ ิจยั ซึ่งในฐานะที่เปน็ ท้ังครผู ู้สอนเห็นความสาคญั ของจัดการเรียนการสอนท่เี น้นเป็น
สาคัญจึงได้ทาการวิจัยเพอ่ื เปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น เรือ่ งรอ้ ยละ จดั การเรยี นรู้ โดยใช้ส่ือ E –
book ระดบั ประถมศึกษา กศน.อาเภอเมือง จังหวดั ตราด

1.2 ศกึ ษาหลักสตู รและวเิ คราะห์เนือ้ หารายวิชาคณิตศาสตร์
ศึกษาหลักสูตรเน่อื หาวิชาตณิตศาสตร์ ของ กศน. ตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

1.3 ศกึ ษาแนวคดิ และเครื่องมอื ในการทาวิจัยวิชาคณิตศาสตร์
ศึกษาแนวคดิ การพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถเพิม่ ข้นึ โดยใช้เทคนิค/สื่อต่าง ๆ มาพฒั นา
ให้มผี ลสมั ฤทธเิ์ พ่ิมขึน้

8

1.4 กาหนดรูปแบบเครอ่ื งมือการทาวิจัยวิชาคณติ ศาสตรเ์ รอ่ื งรอ้ ยละ โดยมี

1. แผนการจัดการสอน

จัดทาแผนการสอนกลุ่มความรู้พื้นฐาน รายวิชาคณิตศาสตร์ พค 11001 ระดับประถมศึกษา

เร่ืองร้อยละ การจัดกิจกรรมการเรียน จานวน 6 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โดยข้ันจัดกิจกรรม

การเรียนรู้ มีการทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน เร่ืองร้อยละ เพื่อวัดความรู้ ซ่ึงแผนการสอนมีการใช้ส่ือ

E – Book ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และแผนนั้นได้รับการประเมินคุณภาพจากผู้เช่ียวชาญ 3 ท่าน

จัดทาขึน้ ในรูปแบบมาตรประมาณคา่ rating scale ให้คะแนน 5,4,3,2 และ 1 โดยมีเกณฑด์ งั น้ี

คะแนนเฉลี่ย ความหมายหรือผลการประเมิน

4.50 - 5.00 มากท่สี ดุ

3.50 – 4.49 มาก

2.50 – 3.49 ปานกลาง

1.50 – 2.49 นอ้ ย

1.00 – 1.49 นอ้ ยท่ีสุด

สรุป รวมการวเิ คราะห์ข้อมลู ผลการประเมินระดับความเหมาะสมของแผนการสอน

เร่ืองรอ้ ยละ คะแนนเฉล่ีย 4.80 แปรผล มากที่สุด คา่ S.D. 0.29

2. สอ่ื E – Book

จดั ทาสอ่ื E - Book รายวชิ าคณติ ศาสตร์ พค 11001 ระดับประถมศึกษา เรือ่ งร้อยละ

และสื่อ E - Book นนั้ ไดร้ บั การประเมินคุณภาพจากผเู้ ช่ยี วชาญ 3 ทา่ น จดั ทาขึน้ ในรปู แบบมาตรประมาณค่า

rating scale ใหค้ ะแนน 5,4,3,2 และ 1 โดย สรุป รวมการวิเคราะห์ข้อมูลผลการประเมนิ ระดับความ

เหมาะสมของส่ือ E - Book เร่ืองร้อยละ คะแนนเฉลยี่ 4.70 แปรผล มากทีส่ ุด ค่า S.D. 0.10

3. แบบทดสอบก่อนเรยี น – หลงั เรยี น

จดั ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น – หลงั เรยี น รายวิชาคณิตศาสตร์ พค 11001 ระดับประถมศึกษา

เรือ่ งรอ้ ยละ นนั้ ได้รับการประเมนิ คณุ ภาพจากผเู้ ช่ียวชาญ 3 ทา่ น จัดทาข้ึนในรูปแบบมาตรประมาณค่า rating

scale ใหค้ ะแนน 5,4,3,2 และ 1 โดย สรปุ รวมการวเิ คราะห์ข้อมลู ผลการประเมินระดับความเหมาะสมของ

แบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลงั เรียน เรอ่ื งร้อยละ คะแนนเฉลยี่ 4.71 แปรผล มากท่สี ุด ค่า S.D. 0.29 และให้

ผเู้ ชย่ี วชาญ 3 ทา่ น ประเมนิ การวเิ คราะห์ข้อมลู ผลการประเมนิ ระดบั ความเหมาะสมของแบบทดสอบ

เร่อื งร้อยละเป็นรายข้อ โดยใชม้ าตรประมาณคา่ rating scale ใหค้ ะแนน 5,4,3,2 และ 1 โดย สรุป รวมการ

วเิ คราะห์ข้อมูลผลการประเมินระดบั ความเหมาะสมของสื่อ E - Book เร่ืองรอ้ ยละ คะแนนเฉลย่ี 4.04 แปรผล

มากท่ีสดุ ค่า S.D. 0.35 หลังจากท่ีผู้เช่ียวชาญ 3 ทา่ น ไดป้ ระเมินแบบทดสอบเร่ืองร้อยละเป็นรายข้อ พบวา่

มี 3 ข้ออยู่ในระดบั น้อยจาก 15 ข้อ จึงได้นาแบบทดสอบเร่อื งร้อยละมาใชจ้ านวน 10 ข้อ

4. แบบสอบถามความพึงพอใจ

จากการจดั ทาแบบสอบถามความพึงพอใจ ไดน้ าไปใหผ้ ูเ้ ชย่ี วชาญ 3 ทา่ น ประเมนิ จดั ทาข้ึนใน

รูปแบบมาตรประมาณค่า rating scale ให้คะแนน 5,4,3,2 และ 1 โดยมีผลสรุป แบบประเมินความเหมาะสม

ของแบบสอบถามความพึงพอใจ คะแนนเฉล่ีย 4.73 แปรผล มากท่ีสุด คา่ S.D. 0.11

9

2. ขัน้ ตอนการนาเคร่ืองมือการทาวิจัยวิชาคณิตศาสตร์เรอ่ื งรอ้ ยละไปใช้
2.1 รูปแบบการวิจัยหรอื รูปแบบการทดลอง

การวจิ ัยในครัง้ นเ้ี ป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นการสอน
ท่ใี ช้ส่อื E – Book และดาเนินการทาสอบก่อนเรียน - หลงั เรียน เพอ่ื การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
ของนักศึกษา วชิ าคณติ ศาสตรเ์ รอื่ งรอ้ ยละ

2.2 ประชาการกลุม่ ตวั อยา่ งหรอื นกั ศึกษากลมุ่ เป้าหมาย

ประชากร ได้แก่นักศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา กศน. อาเภอเมอื งตราด จังหวดั ตราด ภาคเรียน
ท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 จานวน 2 ห้อง จานวนนักศกึ ษา 30 คน

กลุ่มตัวอย่างได้แก่ได้แก่นักศึกษาระดับประถมศึกษา กศน. อาเภอเมืองตราด จังหวัดตราด
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 1 ห้อง จานวนนักศึกษา 15 คน ซ่ึงได้มาจากการสุ่มแบบกลมุ่ โดยมี
หอ้ งเรยี นเปน็ หน่วยการสุ่ม

2.3 เครื่องมอื เก็บรวบรวมข้อมูล
1. แผนการสอนเรอ่ื งร้อยละ
2. สือ่ E – Book เรอื่ งรอ้ ยละ
3. แบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลังเรียน เรื่องร้อยละ
การทาแบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียนด้วย Google Form ซึอ่ โปรแกรมจะเก็บข้อมูลของ
การทาแบบทดสอบใหว้ า่ นกั ศึกษาคนใดสอบไดค้ ะแนนเท่าไร นาขอ้ มูลไปกรอกในตารางชุดโปรแกรมช่วยการ
วิเคราะห์งานวจิ ัยทางการศึกษา (นายปกรณ์ ประจันบาน มหาวทิ ยาลยั นเรศวร,2541)
4. แบบสอบถามความพงึ พอใจในการใชส้ อ่ื E – Book จดั การเรียนการสอน
5. โปรแกรมช่วยการวเิ คราะห์งานวจิ ยั ทางการศกึ ษา

2.4 การใชน้ วตั กรรมหรือการแก้ไขปญั หา
นวัตกรรมทีใ่ ช้คือ สือ E – Book วิชาคณติ ศาสตร์ เรือ่ งร้อยละ ระดบั ประถมศกึ ษา กศน.
นามาแก้ไขปัญหาข้องทาให้เกิดความเขา้ ใจงา่ ยข้นึ และสามารถเรียนร้ไู ด้ทุกท่ีทุกเวลา

2.5 การเก็บรวบรวมข้อมลู
นาขอ้ มลู ทาแบบทดสอบก่อนเรียน หลงั เรยี นด้วย Google Form ช่ือโปรแกรมจะเกบ็ ข้อมลู
ของการทาแบบทดสอบให้ว่านกั ศกึ ษาคนใดสอบได้คะแนนเท่าไร นาข้อมูลไปกรอกในตารางชุดโปรแกรมชว่ ย
การวเิ คราะหง์ านวิจยั ทางการศึกษา (นายปกรณ์ ประจนั บาน มหาวิทยาลยั นเรศวร,2541)

2.6 การวิเคราะห์ข้อมลู
นาข้อมูลไปกรอกในตารางการเปรยี บเทียบคะแนนก่อนเรียน – หลงั เรยี นของนกั ศึกษา

10

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู

การวเิ คราะห์ขอ้ มลู มี 2 ตอนดังนี้

ตอนที่ 1 ผลการเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองรอ้ ยละ ก่อนและหลงั เรียนจากสอ่ื

E – book ปรากฏดงั ตารางที่ 1 - 2

คะแนนเฉล่ีย คะแนนเฉลี่ย คะแนนผลต่างเฉลี่ย

ก่อนเรียน หลงั เรียน D

4.33 7.67 3.34

จากตารางท่ี 1 พบวา่ คะแนนแบบทดสอบกอ่ นเรยี น และหลังเรยี น เร่อื งร้อยละ มีคะแนน

ผลต่างเฉลี่ย 3.34 คะแนน

ตารางที่ 2 แสดงผลคะแนนแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี นเร่ืองร้อยละ จากการจัด

กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ สอ่ื E – book ของนักศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา กศน.อาเภอเมืองตราด

นักศกึ ษาจานวน 15 คน มีผลดังน้ี

นกั ศกึ ษา คะแนน คะแนน คะแนนผลตา่ ง ผลการประเมิน

คนท่ี กอ่ นเรยี น หลงั เรยี น D

1 2.00 8.00 6.00 ดี

2 5.00 7.00 2.00 ดี

3 5.00 7.00 2.00 ดี

4 5.00 8.00 3.00 ดี

5 6.00 7.00 1.00 ดี

6 5.00 7.00 2.00 ดี

7 6.00 9.00 3.00 ดมี าก

8 6.00 8.00 2.00 ดี

9 3.00 8.00 5.00 ดี

10 4.00 8.00 4.00 ดี

11 3.00 8.00 5.00 ดี

12 3.00 8.00 5.00 ดี

13 2.00 6.00 4.00 พอใช้

14 5.00 8.00 3.00 ดี

15 5.00 8.00 3.00 ดี

เฉลีย่ รวม 4.33 7.67 3.34 ดี

11

จากตารางที่ 2 พบวา่ คะแนนแบบทดสอบเรื่องร้อยละ มีคะแนนผลตา่ งอยู่ที่ 3.34 คะแนน
ผลการประเมนิ อย่ใู นระดบั ดี

ตอนที่ 2 ผลการศกึ ษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับประถมศึกษา กศน.อาเภอเมอื ง
จังหวัดตราด โดยการใชส้ อ่ื E-Book ปรากฏดงั ตารางที่ 3 - 4

ตารางที่ 3 แสดงผลความพงึ พอใจของนกั ศึกษาระดับประถมศึกษา กศน.อาเภอเมือง จงั หวดั
ตราด โดยการใช้สื่อ E-Book จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่องรอ้ ยละ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
นกั ศึกษาจานวน 15 คน ดงั น้ี

ท่ี หวั ข้อการประเมิน ค่าเฉลยี่ แปรผล
1 ทา่ นไดม้ ีสว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรม 3.80 มาก
2 ทา่ นไดร้ บั ความรู้จากสื่อ E – Book ที่ใชใ้ นการจดั กิจกรรม 4.30 มาก
3 รปู แบบ/หัวข้อ ในการจัดกจิ กรรมมคี วามเหมาะสม 4.00 มาก
4 ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมมีความเหมาะสม 4.00 มาก
5 ภาพรวมความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรมครง้ั น้ี 3.93 มาก
4.06 มาก
เฉล่ียรวม

จากตารางท่ี 3 พบว่าผลของการประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
โดยใชส้ ือ่ E – Book เร่อื งรอ้ ยละ มคี า่ เฉลีย่ รวม 4.06 คา่ เฉลย่ี ก่อนเรียน 4.64 อยู่ในระดับ มาก

ตารางที่ 4 สรปุ ผลการวิเคราะห์

Mean S.D. ค่าเฉล่ยี ของ S.D. t df Sig
ผลตา่ ง คา่ เฉล่ีย 8.919 * 14 1 tailed
ผลต่าง
ก่อนเรยี น 4.33 1.397 3.33 0.000
หลงั เรยี น 7.67 0.724 1.447

จากตารางที่ 4 พบวา่ การทดสอบคะแนนของนักศึกษา มีคะแนน กอ่ นเรียน เฉลย่ี
เทา่ กับ 4.33 คะแนน และมีคะแนนหลงั เรยี น เฉลยี่ เท่ากับ 7.67 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบระหวา่ งคะแนน
สอบทั้งสองครัง้ พบว่า คะแนนสอบหลงั เรยี นสูงกวา่ ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดับ .05

12

บทที่ 5
สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

การวิจยั เรอ่ื งการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ของนกั ศกึ ษา วชิ าคณิตศาสตร์เรื่องร้อย
ละ โดยใช้สอ่ื E – book ระดบั ประถมศึกษา กศน. อาเภอเมอื ง จังหวัดตราด ในครงั้ นี้ ผวู้ จิ ยั มวี ัตถุประสงค์
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองร้อยละ ก่อนและหลังเรียนจากสื่อ E – book จานวนนักศึกษา
15 คน โดยนักศึกษาระดับประถมศึกษา กศน. อาเภอเมืองตราด จงั หวัดตราด ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563
จานวน 2 ห้อง จานวนนักศึกษา 30 คน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาระดับประถมศึกษา กศน. อาเภอเมือง
ตราด จังหวัดตราด ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 1 ห้อง จานวนนักศึกษา 3 คน ซึ่งได้มาจากการ
สุ่มแบบกลุ่ม โดยมีห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม และการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีใช้ในงานวิจัยครั้งน้ีจากผลคะแนน
การทาแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน และนามาคิดค่าเฉลี่ยแล้วบรรยายผล ซึ่งจากการวิเคราะห์ข้อมูล
สามารถ สรุปผลการวจิ ยั อภิปรายผล และข้อเสนอแนะไดด้ ังนี้

เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา ระดับประถมศึกษา กศน.อาเภอเมือง จังหวัดตราด
โดยการใช้สอ่ื E- Book หลงั จากจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนได้ให้นกั ศึกษาประเมินนความพงึ พอใจในการจดั
กจิ กรรมโดยการใชส้ ่ือ E – book

สรปุ ผลการวิจัย

จากการวิจยั เร่ืองการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ของนักศึกษา วิชาคณติ ศาสตร์เรอ่ื ง
ร้อยละ โดยใช้สือ่ E – book ระดบั ประถมศึกษา กศน. อาเภอเมือง จงั หวดั ตราด ซ่ึงได้กลุ่มตวั อยา่ งโดยการ
จัดการเรยี นการสอน และวัดประเมนิ ผลโดยการทาแบบทดสอบก่อนเรยี น-หลงั เรยี น นกั ศกึ ษาจานวน 1 หอ้ ง
15 คน จากนักศึกษาทัง้ หมด 2 หอ้ ง 30 คน ผ้วู ิจัยจงึ ได้ใชส้ ่ือ E – book ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
พบวา่ สอ่ื E – book วชิ าคณิตศาสตร์ เรือ่ งร้อยละ ช่วยเพ่ิมผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ของนักศึกษา เมื่อทดสอบ
ก่อนเรยี นได้คะแนนเฉลี่ย 4.33 และหลังเรยี นทดสอบได้คะแนนเฉล่ยี 7.67 คะแนนเฉล่ยี ผลตา่ ง 3.34 สรุปผล
การประเมินเฉลีย่ คะแนนอยู่ในระดบั ดี

จากจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนไดใ้ ห้นักศึกษาประเมินความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรมโดย
การใช้ส่ือ E – book เพื่อศึกษาความพงึ พอใจของนักศึกษา ระดับประถมศึกษา กศน.อาเภอเมือง จงั หวัดตราด
พบวา่ นักศึกษามคี วามพึงพอใจในการใชส้ ื่อ E- Book ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่ใู นระดับ ดี

อภิปรายผล

จากการเปรียบเทียบผลคะแนนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการใช้ส่ือ E – Book
วชิ าคณิตศาสตร์เรื่องร้อยละ ของนักศึกษาระดับประถมศึกษา กศน.อาเภอเมืองตราด จงั หวดั ตราด กอ่ นเรียน
และหลังเรียน โดยใช้แบบทดสอบเร่ืองร้อยละ พบว่าผลจากการทาแบบทดสอบของนักศึกษาหลังเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียน ซ่ึงเป็นไปตามสมมติฐานท่ีได้ตั้งไว้ แสดงให้เห็นว่าการใช้สื่อ E – Book ในการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน ชว่ ยเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าคณติ ศาสตร์เร่ืองร้อยละได้

13

ขอ้ เสนอแนะ
การจัดกิจกรรมการใช้สื่อ E – Book น้ัน สามารถให้นักศึกษา ไปศึกษาเพิ่มเติมจากใบความรู้

เก่ียวกับการใช้ส่ือ E – Book เพ่ือศึกษาเพ่ิมเติมก่อนล่วงหน้าได้ และอ่านหลังเรียนได้ เพ่ือเพิ่มความรู้ความ
เข้าใจ และสามารถอา่ นไดท้ ุกที่ ทุกเวลา สะดวก และง่ายตอ่ การเรียนรู้

14

บรรณานุกรม

สิริภัทร เมอื งแก้ว และ กุลสริ นิ ทร์ อภิรัตนว์ รเดช, การพฒั นาหนังสืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ E-book รายวิชา
ภาษาและ. วัฒนธรรมเพิอ่ นบ้าน (ภาษาจนี ) สาหรบั นิสิตชนั้ ปีทิ่1 มหาวิทยาลัยราชภฏั บ้านสมเด็จเจา้ พระยา,
(ปริญาตร/ี ศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม,่ ปที 2ี่ , ฉบับท1ี่ , 2561), หนา้ 18

วารณุ ี คงวมิ ล, การพัฒนาหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Book) เร่ือง การใช้โปรแกรม Photoshop เพอ่ื
ผลติ ส่ือการสอน สาหรบั ครรู ะดับประถมศึกษา, พิมพค์ รั้งที่ 1 (กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพม์ หาวทิ ยาลัย
บรู พา, 2559), หน้า 8-50, คน้ วนั ที่ 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 จาก
http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/55920485.pdf

นายไชโย มว่ งบญุ มี และ นางสาวกรุณา ตยริ ตั นาภรณ, ร้อยละ, บทท4่ี , พิมพค์ รงั้ ท,ี่ กรงุ เทพมหานคร :
สานกั งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั , 2551, 280 หนา้

15

ภาคผนวก

16

สื่อ การสอน

https://online.pubhtml5.com/glmg/ssck/

17

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอเมอื งตราด

แผนการจดั การเรยี นรู้ ครัง้ ที่ 1

กลมุ่ ความรู้พน้ื ฐาน รายวิชาคณิตศาสตร์ พค 11001

ระดับ ประถมศึกา กศน.ตาบลแหลมกลัด อาเภอเมอื งตราด จงั หวัดตราด

เร่ือง ร้อยละ จานวน 6 ชว่ั โมง

ผสู้ อน นายอนริ ุทธ์ ตนั ตระกูล ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดับ
มาตรฐานท่ี 2.2 มีความรคู้ วามเข้าใจ และทกั ษะพน้ื ฐานเกย่ี วกับคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละ

เทคโนโลยี

ตัวช้วี ัด
1. หาค่าของร้อยละ
2. แกโ้ จทย์ปญั หาในสถานการณ์ต่างๆ เกย่ี วกับอัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละ

เนือ้ หา
1. ร้อยละ
2. การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับอัตราส่วน สดั ส่วนและร้อยละ

การจดั กระบวนการเรยี นรู้
ขน้ั นา
1. ผู้สอนทกั ทาย ติดตามงานที่ไดม้ อบหมายในสปั ดาหท์ ีผ่ ่านมาวา่ มีปญั หา อปุ สรรค อะไรบ้าง
2.ผู้สอนนาภาพเรื่องร้อยละ ถามวา่ ภาพนคี้ ือภาพอะไร โดยให้ออกความคิดเห็น และเกยี่ วข้องกบั ชีวติ

เราอยา่ งไร
ข้นั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้
1. ใหท้ าแบบทดสอบกอ่ นเรียนเรื่องร้อยละเพ่ือวัดความร้เู ดิม โดยทาจาก Google Form
https://forms.gle/wWouXgcVn5XWjqf77 (ลิงกแ์ บบทดสอบ)
2.ร่วมกนั ศึกษาใบความรู้ เรือ่ ง ร้อยละ ที่ผสู้ อนแจกให้ พร้อมทงั้ อธิบายเพ่มิ เติม

18

3.ร่วมกันศึกษาความรู้จากสอื่ E - BooK โดยผูส้ อนสง่ ลิงกใ์ ห้ในไลนก์ ล่มุ กศน.ระดับประถมศึกษา
แล้วให้ผู้รยี นร่วมกนั ฝึกทาแบบฝึกหดั จากสอื่ E - BooK โดยการแสดงวธิ ีทา
ข้นั สรุป
1.ผ้สู อนและสรปุ องคค์ วามร้รู ่วมกัน
2.ทาแบบทดสอบหลงั เรยี นเร่ืองร้อยละ โดยทาจาก Google Form

https://forms.gle/wWouXgcVn5XWjqf77 (ลงิ กแ์ บบทดสอบ)
สื่อและแหล่งเรียนรู้

1.ใบความรู้
การวัดและประเมินผล

คะแนนแบบทดสอบ
เกณฑ์การให้คะแนนแบบทดสอบย่อย รวม 10 คะแนน
1. ไดค้ ะแนน 1 – 4 คะแนน = ต้องปรับปรุง
2. ไดค้ ะแนน 5 – 6 คะแนน = พอใช้
3. ได้คะแนน 7– 8 คะแนน = ดี
4. ได้คะแนน 9– 10 คะแนน = ดีมาก

19

ตอนท่ี 1 จงเลอื กคาตอบท่ถี ูกต้องที่สดุ เพยี งข้อเดียว 6. จากการสารวจเปอรเ์ ซน็ ต์ของคา่ ใช้จา่ ยของครอบครัว

( 1 ข้อ 1 คะแนน) หนงึ่ พบวา่ จา่ ยค่าอาหาร 35% จ่ายคา่ ผอ่ นบา้ น

1. ข้อสอบคณติ ศาสตร์ 40 ขอ้ ดาวทา ถูก 85% ดาวทา 25% จา่ ยคา่ รักษาพยาบาล 5% เงินออม

ข้อสอบผดิ กีข่ ้อ 15% คา่ ใช้จ่ายอน่ื ๆ 20% ถา้

ก. 5 ขอ้ ข. 6 ขอ้ ครอบครัวนจี้ า่ ยค่ารกั ษาพยาบาล 325 บาทจงหาว่า

ค. 15 ข้อ ง. 34 ข้อ ครอบครวั นจ้ี า่ ยท้ังหมดก่บี าท

2. รอ้ ยละ15 ของ 250 เท่ากับเทา่ ไร ก. 6,000 ข. 6,500

ก. 35.5 ข. 36.5 ค. 7,000 ง. 7,500

ข. 37.5 ง. 38.5 7. วันดขี ายผลไม้ไดเ้ งนิ 780 บาท ได้กาไร 20% วันดีขาย

3. พอ่ ค้า ตดิ ราคาจักรยานคันหนง่ึ ไว้ 1,200 บาท ซึ่งได้ ผลไมไ้ ด้กาไรกบี่ าท

กาไร 20% ชว่ งปใี หม่ลดราคาให้ 10% พ่อค้ายงั คงได้ ก. 124 ข. 132

กาไรเท่าไร ค. 142 ง. 156

ก. 80 8. หญิงใหญ่ซื้อเสื้อมาขายให้หญิงกลางในราคา 480 บาท

ข. 100 ไดก้ าไร 20% หญิงกลางใสไ่ ม่พอดตี วั จึงขายต่อใหห้ ญงิ

ค. 120 เล็ก โดยขายขาดทนุ 20% หญงิ ใหญแ่ ละหญงิ เลก็ ซื้อเสอื้

ง. 200 ตัวน้ีมาในราคาตา่ งกนั กี่บาท

4. ขอ้ ใดอธบิ ายความหมายของรอ้ ยละได้ถูกท่สี ดุ ก. 12 ข. 14

ก. รอ้ ยละ คือ การเปรียบเทียบจานวน 2 จานวนโดย ค. 16 ง. 18

ให้จานวนที่สองในอัตราสว่ นเป็น100ใช้ สญั ลกั ษณ์ 9. ดาวเปน็ พนักงานของบริษทั แหง่ หนงึ่ ปีนีบ้ ริษทั ขึน้

% เปอรเ์ ซ็นต์ เงินเดอื นให้ดาว 12 เปอรเ์ ซ็นต์ ทาให้เธอได้รบั เงินเพิ่มขึ้น

ข. ลดราคาสนิ คา้ 5% หมายความว่า ติดราคาไว้100 เดือนละ 1,158 บาท อยากทราบวา่ ปีท่แี ล้วดาวไดร้ บั

บาท ลดให้ 5 บาท ขายไปราคา 95 บาท เงินเดอื นเดือนละกีบ่ าท

ค. ขายของขาดทุน 15% หมายความวา่ ทนุ 100 บาท ก. 7,650 ข. 8,650

ขาดทุน 15 บาท ขายไปราคา 85 บาท ค. 9,650 ง. 10,650

ง. ถูกทุกข้อ 10. คอมพิวเตอรเ์ คร่ืองหนงึ่ ติดราคาไว้ 32,000 บาท ถ้า

5. ชมพู มีเงนิ 850 บาท นาไปฝากธนาคาร 80% ของ ซือ้ เงนิ สดไดล้ ด 10% ถา้ ซอ้ื เงินผ่อนตอ้ งจา่ ยเงินดาวน์

เงินท้ังหมด ชมพูนาเงนิ ไปฝากธนาคารกีบ่ าท 6,400 บาท แลว้ ผ่อนส่งอีก 10 เดอื น เดอื นละ 3,000 บาท

ก. 580 ข. 680 ซ้อื เงนิ ผ่อนจ่ายเงนิ มากกวา่ ซ้ือเงินสดก่บี าทเปน็ ประธาน

ค. 720 ง. 830 สมาชกิ ของอาเซียน

ก. 4,600 บาท ข. 5,600 บาท

ค. 6,600 บาท ง. 7,600 บาท

ขอให้โชคดที ุกคน..

20

เฉลยแบบทดสอบ 4. ง 5. ก 6. ข 7. ง 8. ค 9. ค 10. ง
1. ข 2. ค 3. ค

แบบสอบถามความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรม

https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLScBN6id8dJZ7Ayo-
K_V2Kk6qwtHxCPtMQ2hQL8m3BU0jHn0ZA/viewform

21

แบบประเมินความเหมาะสมของส่ือการสอน E – Book เร่อื งรอ้ ยละ

แบบประเมินความเหมาะสมของสื่อการสอน E – Book เร่ืองร้อยละ จัดทาขึ้นในรูปแบบ
มาตรประมาณคา่ rating scale ใหค้ ะแนน 5,4,3,2 และ 1 โดยกาหนดรายการประเมนิ ความเหมาะสมของสื่อ
การสอน E – Book เรือ่ งร้อยละ จานวน 10 ขอ้ โดยทาเคร่อื งหมาย  ไว้ในชอ่ งระดบั คุณภาพทีต่ รงกบั ความ
คิดเห็นของท่าน และหากท่ามีข้อเสนอแนะ กรุณาระบุรายละเอียด เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงต่อไป โดย
กาหนดเกณฑป์ ระเมนิ ดังน้ี

ระดับ 5 หมายถึง ดมี าก
ระดบั 4 หมายถึง ดี
ระดบั 3 หมายถงึ ปานกลาง
ระดับ 2 หมายถงึ พอใช้
ระดับ 1 หมายถงึ ควรปรับปรงุ

ขอ้ ท่ี หัวข้อการประเมนิ (5) (4) (3) (2) (1)
เนื้อหาเร่ืองรอ้ ยละใน E - Book

1. รูปแบบและขนาดของตัวอักษร
2. การเนนขอความทีเ่ กิดประโยชนตอเน้ือหาสาระ
3. การสะกดคา ความความถูกตองของรูปประโยคและ ขอ้ ความ
4. รูปภาพประกอบเปนของตนเอง สอดคลองและส่งผลตอความเขาใจใน

เนอ้ื หา
5. มีการออกแบบโครงสรางเนื้อหาทีช่ ดั เจน (สวนนา สวนขยาย สวนสรุป)
6. มปี ฏสิ มั พนั ธกบั ผอู าน (แบบทดสอบ-แบบฝึกหัด)
7. ขนาดรปู เลม จานวนหนา เหมาะสมกบั เน้ือหาและระดับของผูใช
8. องคประกอบความเปนหนังสือครบถวน
9. มวี ัตถปุ ระสงคของการจดั ทาท่ชี ัดเจน
10. มีรปู แบบการอางองิ ทีเ่ ปนระบบนาเชอ่ื ถือ

รวม

ข้อเสนอแนะอื่น ๆ (ถา้ มี)
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................

(ลงชอ่ื )...........................................................ผู้ประเมนิ
(.........................................................)

วันท.่ี ............เดอื น........................พ.ศ.............

22

แบบประเมนิ แบบทดสอบเรื่องรอ้ ยละ
แบบประเมินความเหมาะสมของแบบทดสอบเรื่องร้อยละ จัดทาขึ้นในรูปแบบมาตรประมาณ
ค่า rating scale ให้คะแนน 5,4,3,2 และ 1 โดยกาหนดรายการประเมินความเหมาะสมของแบบทดสอบเรอื่ ง
ร้อยละ จานวน 8 ข้อ โดยทาเคร่ืองหมาย  ไว้ในช่องระดับคุณภาพที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน และหาก
ท่ามีข้อเสนอแนะ กรุณาระบุรายละเอียด เพ่ือเป็นแนวทางในการปรับปรุงต่อไป โดยกาหนดเกณฑ์ประเมิน
ดังนี้

ระดับ 5 หมายถึง ดมี าก
ระดับ 4 หมายถงึ ดี
ระดับ 3 หมายถงึ ปานกลาง
ระดับ 2 หมายถึง พอใช้
ระดบั 1 หมายถงึ ควรปรับปรงุ

ผลการประเมินแบบทดสอบ (5) (4) (3) (2) (1)
ที่ หัวข้อการประเมนิ
1 เนื้อหาในแบบทดสอบสอดคล้องกบั วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้
2 เนื้อหาในแบบทดสอบครอบคลมุ วตั ถุประสงค์การเรยี นรู้
3 รูปแบบการประเมนิ เหมาะสมกบั เน้ือหาการเรียนรู้
4 เนื้อหาในแบบทดสอบมีความยากงา่ ยทเี่ หมาะสม
5 เนอ้ื หาการทดสอบมคี วามเหมาะสมกบั ระยะเวลาทกี่ าหนด
6 ขอ้ ความตวั เลอื กในแบบทดสอบมีอานาจจาแนกได้
7 การใชภ้ าษาในการตง้ั คาถาม ชัดเจน เหมาะสม
8 สามารถใชป้ ระโยชน์จากผลการทดสอบเพอ่ื การพัฒนาได้
รวม

ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ (ถ้ามี)
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................

(ลงชอ่ื )...........................................................ผู้ประเมิน
(.........................................................)

วันท่ี.............เดอื น........................พ.ศ.............

23

แบบประเมินแบบทดสอบเร่อื งรอ้ ยละ
แบบประเมินความเหมาะสมของแบบทดสอบเร่ืองร้อยละ จัดทาขึ้นในรูปแบบมาตรประมาณ
ค่า rating scale ให้คะแนน 5,4,3,2 และ 1 โดยกาหนดรายการประเมินความเหมาะสมของแบบทดสอบเร่อื ง
ร้อยละ จานวน 10 ข้อ โดยทาเครื่องหมาย  ไวใ้ นชอ่ งระดับคุณภาพท่ตี รงกบั ความคดิ เห็นของทา่ น และหาก
ท่ามีข้อเสนอแนะ กรุณาระบุรายละเอียด เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงต่อไป โดยกาหนดเกณฑ์ประเมิน
ดงั น้ี ระดับ 5 หมายถงึ ดมี าก

ระดบั 4 หมายถงึ ดี
ระดบั 3 หมายถงึ ปานกลาง
ระดบั 2 หมายถึง พอใช้
ระดับ 1 หมายถึง ควรปรบั ปรุง

ผลการประเมนิ แบบทดสอบ

ท่ี หวั ขอ้ การประเมิน (5) (4) (3) (2) (1)
1 ข้อสอบข้อที่ 1
2 ขอ้ สอบข้อที่ 2
3 ขอ้ สอบข้อที่ 3
4 ขอ้ สอบขอ้ ที่ 4
5 ขอ้ สอบข้อท่ี 5
6 ข้อสอบข้อที่ 6
7 ข้อสอบขอ้ ท่ี 7
8 ข้อสอบข้อที่ 8
9 ข้อสอบข้อท่ี 9
10 ข้อสอบข้อท่ี 10
11 ข้อสอบขอ้ ที่ 11
12 ขอ้ สอบข้อที่ 12
13 ข้อสอบขอ้ ที่ 13
14 ข้อสอบขอ้ ที่ 14
15 ข้อสอบข้อที่ 15

รวม

ข้อเสนอแนะอื่น ๆ (ถา้ ม)ี
..........................................................................................................................................................................................

(ลงชื่อ)...........................................................ผปู้ ระเมนิ
(.........................................................)

วนั ท.่ี ............เดือน........................พ.ศ.............

24

แบบประเมนิ แผนการสอนเร่อื งร้อยละ

แบบประเมินความเหมาะสมของแผนการสอนเรื่องร้อยละ จดั ทาขึน้ ในรูปแบบมาตรประมาณ

คา่ rating scale ให้คะแนน 5,4,3,2 และ 1 โดยกาหนดรายการประเมินความเหมาะสมของแผนการสอนเร่ือง

รอ้ ยละ จานวน 10 ขอ้ โดยทาเครอ่ื งหมาย  ไว้ในชอ่ งระดบั คุณภาพทีต่ รงกบั ความคดิ เห็นของทา่ น และหาก

ท่ามีข้อเสนอแนะ กรุณาระบุรายละเอียด เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงต่อไป โดยกาหนดเกณฑ์ประเมิน

ดงั นี้

ระดบั 5 หมายถึง ดมี าก

ระดับ 4 หมายถงึ ดี

ระดับ 3 หมายถงึ ปานกลาง

ระดับ 2 หมายถงึ พอใช้

ระดับ 1 หมายถงึ ควรปรับปรุง

ท่ี หัวข้อการประเมนิ (5) (4) (3) (2) (1)
1 กาหนดมาตรฐาน/ตวั ชี้วดั /จดุ ประสงค์การเรยี นรคู้ รอบคลุมพฤติกรรมการ

เรยี นรู้ ด้านพทุ ธพสิ ัย ทกั ษะพสิ ัย และจิตพิสยั
2 ความสอดคล้องมาตรฐานการเรยี นรู/ตัวชี้วดั /สาระสาคญั และกจิ กรรมการ

เรยี นรู้
3 กิจกรรมการเรียนรู้มีความครอบคลุมการพัฒนาให้มีความรู้ ทกั ษะ

กระบวนการ สมรรถนะทสี่ าคัญของและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
4 กจิ กรรมการเรียนรตู้ อบสนองความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล
5 กจิ กรรมการเรยี นรู้หลากหลายและเนน้ เปน็ สาคัญ
6 นาภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ และสื่อเทคโนโลยมี าประยุกตใ์ ช้ในการเรยี นการสอน
7 สอื่ การเรียนรมู้ ีความเหมาะสมสอดคล้องกบั กิจกรรมการเรยี นการสอน
8 ประเมนิ ความก้าวหน้าของด้วยวธิ ที ่ีหลากหลายเหมาะสมกับธรรมชาติ
9 วเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ แลว้ นามาใชใ้ นการสอนซอ่ มเสรมิ
10 วิธวี ัดและเครือ่ งมอื วดั สอดคล้องกบั พฤติกรรมที่กาหนดไว้ในตวั ชี้วดั หรือ

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
รวม

ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ (ถ้าม)ี
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................

(ลงชือ่ )...........................................................ผู้ประเมิน
(.........................................................)
วันท.ี่ ............เดอื น........................พ.ศ...........

25

แบบประเมินแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบประเมินความเหมาะสมของแบบสอบถามความพึงพอใจ จัดทาขึ้นในรูปแบบมาตร
ประมาณค่า rating scale ให้คะแนน 5,4,3,2 และ 1 โดยกาหนดรายการประเมินความเหมาะสมของ
แบบสอบถามความพึงพอใจจานวน 5 ขอ้ โดยทาเครื่องหมาย  ไว้ในชอ่ งระดบั คุณภาพทต่ี รงกับความคิดเห็น
ของท่าน และหากท่ามีข้อเสนอแนะ กรณุ าระบุรายละเอยี ด เพ่อื เป็นแนวทางในการปรบั ปรุงต่อไป โดยกาหนด
เกณฑ์ประเมนิ ดงั นี้

ระดบั 5 หมายถงึ ดมี าก
ระดับ 4 หมายถงึ ดี
ระดับ 3 หมายถงึ ปานกลาง
ระดับ 2 หมายถงึ พอใช้
ระดบั 1 หมายถึง ควรปรับปรงุ

ท่ี หัวข้อการประเมนิ (5) (4) (3) (2) (1)
1 ทา่ นได้มสี ว่ นร่วมในการจัดกิจกรรม
2 ท่านได้รับความรู้จากสื่อ E – Book ที่ใชใ้ นการจัดกจิ กรรม
3 รูปแบบ/หวั ขอ้ ในการจัดกิจกรรมมคี วามเหมาะสม
4 ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมมีความเหมาะสม
5 ภาพรวมความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมครง้ั นี้

รวม

ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ (ถา้ ม)ี
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................

(ลงช่อื )...........................................................ผปู้ ระเมิน
(.........................................................)

วนั ท่ี.............เดอื น........................พ.ศ...........

26

การวิเคราะห์ขอ้ มูลผลการประเมินระดบั ความเหมาะสมของส่อื การสอน E – Book เรอื่ งร้อยละ โดย
ใชม้ าตรประมาณค่า 5 ระดับ โดยการหาคา่ เฉลย่ี และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และนาเสนอผลการวิเคราะห์
ข้อมูลหรือผลการประเมนิ ในรูปแบบตาราง โดยกาหนดเกณฑก์ ารแปรผลคา่ เฉล่ีย ดังน้ี

คะแนนเฉลี่ย ความหมายหรือผลการประเมิน
4.50 - 5.00 มากที่สุด
3.50 – 4.49 มาก
2.50 – 3.49 ปานกลาง
1.50 – 2.49 น้อย
1.00 – 1.49 น้อยทส่ี ดุ

ข้อที่ ความคิดเห็นของผู้เชย่ี วชาญ คา่ เฉลย่ี S.D. แปรผล
คนที่ 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3
5.00 0.00 มากที่สุด
1. 5 5 5 4.33 0.58 มาก
2. 5 4 4 5.00 0.00
3. 5 5 5 4.00 0.00 มากทีส่ ดุ
4. 4 4 4 5.00 0.00 มาก
5. 5 5 5 5.00 0.00
6. 5 5 5 4.00 1.00 มากที่สดุ
7. 4 5 3 4.67 0.58 มากที่สดุ
8. 4 5 5 5.00 0.00
9. 5 5 5 5.00 0.00 มาก
10. 5 5 5 4.70 0.10 มากท่ีสดุ
รวม 47 48 46 มากที่สุด
มากทีส่ ุด
มากที่สดุ

27

การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผลการประเมินระดบั ความเหมาะสมของแบบทดสอบเร่ืองร้อยละ โดยใช้
มาตรประมาณค่า 5 ระดับ โดยการหาค่าเฉลยี่ และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
หรอื ผลการประเมนิ ในรปู แบบตาราง โดยกาหนดเกณฑ์การแปรผลคา่ เฉลย่ี ดงั นี้

คะแนนเฉลีย่ ความหมายหรือผลการประเมิน
4.50 - 5.00 มากทส่ี ดุ
3.50 – 4.49 มาก
2.50 – 3.49 ปานกลาง
1.50 – 2.49 นอ้ ย
1.00 – 1.49 นอ้ ยท่ีสดุ

ข้อที่ ความคดิ เหน็ ของผเู้ ชย่ี วชาญ ค่าเฉลีย่ S.D. แปรผล
คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนที่ 3
5.00 0.00 มากทีส่ ุด
1. 5 5 5 4.67 0.58 มากทีส่ ุด
2. 4 5 5 5.00 0.00 มากทส่ี ุด
3. 5 5 5 4.67 0.58 มากทส่ี ุด
4. 4 5 5 3.67 0.58
5. 3 4 4 4.67 0.58 มาก
6. 4 5 5 5.00 0.00 มากท่ีสดุ
7. 5 5 5 5.00 0.00 มากที่สุด
8. 5 5 5 4.71 0.29 มากทีส่ ุด
รวม 35 39 39 มากทส่ี ดุ

28

การวิเคราะห์ข้อมูลผลการประเมนิ ระดับความเหมาะสมของบบทดสอบเร่ืองร้อยละ โดยใช้
มาตรประมาณค่า 5 ระดบั โดยการหาคา่ เฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และนาเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู
หรอื ผลการประเมนิ ในรปู แบบตาราง โดยกาหนดเกณฑ์การแปรผลค่าเฉล่ีย ดงั นี้

คะแนนเฉลีย่ ความหมายหรือผลการประเมิน
4.50 - 5.00 มากทีส่ ดุ
3.50 – 4.49 มาก
2.50 – 3.49 ปานกลาง
1.50 – 2.49 นอ้ ย
1.00 – 1.49 นอ้ ยท่สี ดุ

ข้อที่ ความคดิ เหน็ ของผเู้ ชีย่ วชาญ ค่าเฉล่ีย S.D. แปรผล
คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3
5.00 0.00 มากที่สดุ
1. 5 5 5 4.67 0.58 มากท่สี ุด
2. 4 5 5 5.00 0.00 มากทส่ี ดุ
3. 5 5 5 3.67 0.58
4. 3 4 4 4.00 1.00 มาก
5. 4 5 3 4.67 0.58 มาก
6. 4 5 5 5.00 0.00 มากท่ีสดุ
7. 5 5 5 2.33 0.58 มากทส่ี ดุ
8. 2 3 2 2.00 0.00 น้อย
9. 2 2 2 5.00 0.00 น้อย
10. 5 5 5 4.00 1.00 มากทส่ี ดุ
11. 4 5 3 4.67 0.58 มาก
12. 4 5 5 4.67 0.58 มากทส่ี ดุ
13. 4 5 5 2.33 0.58 มากที่สุด
14. 2 2 3 3.67 0.58 น้อย
15. 3 4 4 4.04 0.35 มาก
รวม มากทส่ี ดุ

29

การวเิ คราะห์ขอ้ มูลผลการประเมนิ ระดับความเหมาะสมของแผนการสอนเร่ืองร้อยละ โดยใช้
มาตรประมาณค่า 5 ระดบั โดยการหาคา่ เฉลยี่ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล
หรอื ผลการประเมนิ ในรูปแบบตาราง โดยกาหนดเกณฑ์การแปรผลค่าเฉลย่ี ดงั น้ี

คะแนนเฉลีย่ ความหมายหรือผลการประเมิน
4.50 - 5.00 มากท่สี ุด
3.50 – 4.49 มาก
2.50 – 3.49 ปานกลาง
1.50 – 2.49 นอ้ ย
1.00 – 1.49 น้อยท่ีสดุ

ขอ้ ที่ ความคิดเห็นของผู้เชย่ี วชาญ ค่าเฉลีย่ S.D. แปรผล
คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3
5.00 0.00 มากทีส่ ดุ
1. 5 5 5 4.33 0.58 มาก
2. 5 4 4 4.67 0.58
3. 4 5 5 5.00 0.00 มากที่สุด
4. 5 5 5 4.67 0.58 มากที่สุด
5. 4 5 5 5.00 0.00 มากทีส่ ดุ
6. 5 5 5 4.67 0.58 มากทีส่ ุด
7. 4 5 5 4.67 0.58 มากทส่ี ดุ
8. 5 5 4 5.00 0.00 มากที่สดุ
9. 5 5 5 5.00 0.00 มากที่สุด
10. 5 5 5 48.00 0.29 มากที่สุด
รวม 47 49 48 มากที่สดุ

30

การวิเคราะห์ขอ้ มูลผลการประเมนิ ระดบั ความเหมาะสมของแบบสอบถามความพงึ พอใจ ละ
โดยใชม้ าตรประมาณคา่ 5 ระดับ โดยการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน และนาเสนอผลการวเิ คราะห์
ขอ้ มลู หรือผลการประเมนิ ในรูปแบบตาราง โดยกาหนดเกณฑ์การแปรผลค่าเฉล่ยี ดงั นี้

คะแนนเฉลย่ี ความหมายหรือผลการประเมิน
4.50 - 5.00 มากท่ีสดุ
3.50 – 4.49 มาก
2.50 – 3.49 ปานกลาง
1.50 – 2.49 นอ้ ย
1.00 – 1.49 น้อยที่สดุ

ขอ้ ที่ ความคดิ เหน็ ของผูเ้ ชย่ี วชาญ ค่าเฉล่ีย S.D. แปรผล
คนที่ 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3
5.00 0.00 มากที่สุด
1. 5 5 5 5.00 0.00 มากทีส่ ดุ
2. 5 5 5 4.00 0.00
3. 4 4 4 4.67 0.58 มาก
4. 4 5 5 5.00 0.00 มากทส่ี ดุ
5. 5 5 5 23.67 0.58 มากท่สี ุด
รวม 23 24 24 มากที่สดุ

31

ตารางท่ี 6 สรปุ ผลการวิเคราะห์

Mean S.D. ค่าเฉล่ียของ S.D. t df Sig
ผลต่าง คา่ เฉลย่ี ผลตา่ ง 1 tailed

ก่อนเรยี น 4.33 1.397 3.33 1.447 8.919 * 14 0.000
หลงั เรียน 7.67 0.724

จากตารางท่ี 1 พบว่า การทดสอบคะแนนของ มีคะแนน กอ่ นเรียน เฉล่ยี เท่ากบั 4.33คะแนน

และมีคะแนนหลังเรยี น เฉลี่ย เท่ากบั 7.67 คะแนน เมื่อเปรียบเทยี บระหว่างคะแนนสอบทง้ั สองครง้ั

พบวา่ คะแนนสอบหลังเรียนสูงกวา่ กอ่ นเรยี นอย่างมนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .05

ตารางที่ 8 แสดงผลความพงึ พอใจของนักศึกษาระดบั ประถมศึกษา กศน.อาเภอเมือง จงั หวัด
ตราด โดยการใช้ส่ือ E-Book จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน เรอ่ื งร้อยละ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
นักศกึ ษาจานวน 15 คน ดงั นี้

ที่ หวั ข้อการประเมิน ค่าเฉล่ยี แปรผล
1 ทา่ นได้มสี ว่ นร่วมในการจัดกิจกรรม 3.80 มาก
2 ทา่ นได้รับความรจู้ ากสื่อ E – Book ทใ่ี ช้ในการจัดกิจกรรม 4.30 มาก
3 รูปแบบ/หัวข้อ ในการจัดกิจกรรมมคี วามเหมาะสม 4.00 มาก
4 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม 4.00 มาก
5 ภาพรวมความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมครงั้ นี้ 3.93 มาก
4.06 มาก
เฉลย่ี รวม

จากตารางท่ี 8 พบว่าผลของการประเมนิ ความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
โดยใชส้ อ่ื E – Book เรอื่ งร้อยละ มีค่าเฉลีย่ รวม 4.06 คา่ เฉลีย่ ก่อนเรยี น 4.64 อยใู่ นระดบั มาก

32

ตารางที่ 9 แสดงผลการวิเคราะห์แบบทดสอบรายข้อ จากการทาแบบทดสอบหลงั การเรื่อง
ร้อยละ นกั ศกึ ษาจานวน 15 คน

ผลการวเิ คราะห์ ้ขอที่ 1
้ขอท่ี 2
้ขอ ี่ท 3
้ขอ ่ีท 4
้ขอ ่ีท 5
้ขอที่ 6
้ขอท่ี 7
้ขอที่ 8
้ขอ ีท่ 9
้ขอท่ี 10

จานวนคน 15 15 15 15 15 15 15 15 15 15

คะแนนรวม 58 53 64 64 57 60 57 61 61 57

คะแนนต่าสดุ 3 3 3 3333333

คะแนนสงู สดุ 5 4 5 5555555

คา่ เฉล่ยี 3.87 3.53 4.27 4.27 3.80 4.00 3.80 4.07 4.07 3.80

สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน 0.74 0.52 0.59 0.59 0.77 0.65 0.77 0.80 0.80 0.68

C.V.(%) 19.22 14.62 13.91 13.91 20.38 16.37 20.38 19.64 19.64 17.79

แปลผล มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก

วิเคราะหค์ ุณภาพ ข้อที่ 1
เคร่อื งมอื ข้อที่ 2
ข้อ ่ีท 3
คา่ อานาจจาแนก ้ขอ ่ีท 4
Sig ้ขอ ่ีท 5
้ขอ ่ที 6
แปลผล ข้อที่ 7
ค่าความเชอ่ื มั่น มคี ่า ้ขอที่ 8
้ขอที่ 9
เทา่ กับ ้ขอที่ 10

0.9274 0.89 0.79 0.65 0.40 0.74 0.73 0.79 0.69 0.76 0.80
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
0.00 0.00 0.01 0.14 0.00 yes yes yes yes yes

yes yes yes no yes

หมายเหต:ุ คา่ อานาจจาแนกแบบ Item Total
Correlation

และค่าความเชอื่ มน่ั แบบ
สมั ประสทิ ธ์แิ อลฟา

33

ผลของคะแนนการทาแบทดสอบ กอ่ นเรยี น -หลังเรียน

34

35

36

37

ภาพการจัดกิจกรรม

ผลการประเมนิ ความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรม

38

รายชอ่ื ผู้เชยี่ วชาญในการประเมนิ แผนการสอน,ประเมินสอื่ E – Book ,ประเมนิ แบบทดสอบ,
ประเมินข้อสอบ,ประเมนิ แบบสอบถามความพงึ พอใจ

1. นายพพิ ัฒน์ นิมิตรพนั ธ์ุ
2. นางสาวบุศรา ผ่องใส
3. นายสาธิต พร้อมจติ ร

39

ประวัติผู้วิจยั

นายอนริ ุทธ์ ตนั ตระกูล
ตาแหน่ง : ครู กศน. ตาบลแหลมกลดั อาเภอเมอื ง จงั หวดั ตราด
วุฒกิ ารศึกษา : ปริญญาตรี ศลิ ปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.)
สาขา : การเมอื งการปกครอง
สถานทศี่ ึกษา : มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง
อยู่ : บ้านเลขที่ 28 หมทู่ ่ี 10 ตาบลแหลมกลัด อาเภอเมือง

จังหวัดตราด

40


Click to View FlipBook Version