The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panjinowan, 2021-03-14 08:10:55

โครงการ

โครงการ

ผงหอมหัวใหญ่
Onion powder

ปณิตา จิโนวรรณ์

โครงการนี้เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสตู ร
ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สงู

สาขาวชิ าการโรงแรม ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว
วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเชียงใหม่
ปกี ารศึกษา 2563

ผงหอมหวั ใหญ่
Onion powder

ปณติ า จโิ นวรรณ์

โครงการนี้เป็นส่วนหนึง่ ของการศกึ ษาตามหลักสตู ร
ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชัน้ สงู

สาขาวชิ าการโรงแรม ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว
วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาเชียงใหม่
ปีการศกึ ษา 2563



ใบรับรองโครงการ
วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาเชยี งใหม่

เรือ่ ง ผงหอมหัวใหญ่
โดย นางสาวปณติ า จโิ นวรรณ์ รหสั 63307010066

ไดร้ บั การรับรองใหน้ ับเป็นสว่ นหนึ่งของการศึกษาตามหลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชั้นสูง
สาขาวิชา การโรงแรม ประเภทวิชา อุตสาหกรรมทอ่ งเที่ยว

................................หวั หน้าแผนกวชิ าการโรงแรม .………………………รองผอู้ ำนวยการฝา่ วชิ าการ

(นางอัปสร คอนราด) (นายณรงศักด์ิ ฟองสนิ ธ์ุ)

วันท่ี…..เดือน……….พ.ศ……….... วนั ท่…ี ..เดือน………พ.ศ……….

คณะกรรมการสอบโครงการ

...................................................................ประธานกรรมการ
( นายทนิ กร ติ๊บอินถา )

....................................................................กรรมการ
( นางสาวนพรรณพ ดวงแก้วมลู )

....................................................................กรรมการ
( นางสาวพิชญาภา นวิ รตั น์ )



กิตติกรรมประกาศ

โครงการผงหอมหวั ใหญ่ ของนักศกึ ษาแผนกวิชาการโรงแรม วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเชียงใหม่
ฉบับน้ีสำเร็จลลุ ่วงไปไดด้ ้วยดีเน่อื งจากไดร้ ับความกรุณา ความอนุเคราะห์ การสนับสนนุ และการให้
คำแนะนำแนวทางในการดำเนินงานจากหลายทา่ น

ขอขอบพระคุณ นายทินกร ติ๊บอินถา ครูที่ปรึกษาวิชาโครงการ ที่ให้คำปรึกษาโครงการ
แนะนำและให้ขอ้ คดิ ตา่ ง ๆ ในการทำโครงการ ตลอดจนแกไ้ ขข้อบกพร่อง จนทำโครงการฉบบั นี้เสร็จ
สมบรู ณ์

ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ และผู้ปกครอง ที่ให้คำปรึกษาและช่วยเหลือในการ
ทำงานมาโดยตลอด รวมทง้ั เปน็ กำลงั ใจท่ดี เี สมอมา

ตลอดจน ผู้ตอบแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจทุกคน ที่สละเวลาอันมีค่าช่วยเหลือ
และอนุเคราะห์ในการตอบแบบสอบถาม จนทำให้โครงการฉบับนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี รวมถึงผู้มี
ส่วนเกี่ยวขอ้ งทกุ ทา่ นที่เป็นกำลังสำคัญในการให้คำปรกึ ษา เป็นกำลงั ใจและให้ความชว่ ยเหลือตลอด
มา จนทำโครงการเลม่ นีส้ ำเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี

ปณติ า จิโนวรรณ์



ช่อื : นางสาวปณติ า จโิ นวรรณ์
ช่อื โครงการ : ผงหอมหวั ใหญ่

สาขาวชิ า : การโรงแรม
ประเภทวชิ า : อุตสาหกรรมทอ่ งเทีย่ ว

อาจารย์ประจำวิชาโครงการ : นายทินกร ติ๊บอินถา
อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาวิชาโครงการ : นายทินกร ตบิ๊ อินถา
ปีการศกึ ษา : 2563

บทคัดยอ่

โครงการ เรือ่ ง ผงหอมหัวใหญ่ มีวัตถปุ ระสงค์เพอื่ ผลิตให้ผู้ทีไ่ ม่ชอบรบั ประทานหอมหัวใหญ่
เพ่ือศึกษาความพงึ พอใจของผู้ทร่ี ับประทานหอมหัวใหญ่ โดยมกี ลุ่มตวั อย่างแบบเจาะจง ( Purposive
sampling ) เป็นการเลือกกลุ่มตวั อย่างโดยพิจารณาจากการตดั สินใจของผู้วิจัยเอง ลักษณะของกลุ่ม
ทเี่ ลือกเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ กลมุ่ ผทู้ ดลองรับประทานผงหอมหัวใหญ่ จำนวน 50
คน ระหว่างวันที่ 7 ธันวาคม ถึงวันที่ 12 มีนาคม 2564 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ แบบ
บันทึกผลการทดลอง แบบสอบถามความพึงพอใจของผงหอมหัวใหญ่ ผลการดำเนนิ งานผู้ศึกษาพบว่า
ผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญ่เป็นเพศหญงิ คิดเปน็ ร้อยละ 74 ข้อมูลส่วนบคุ คลด้านอายุ พบว่าผู้ตอบ
แบบสอบถามส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 18-19 ปี คดิ เป็นรอ้ ยละ 60 และผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจ
ของผู้ที่รับประทานผงหอมหัวใหญ่ พบว่าความแปลกใหม่ของผงหอมหัวใหญ่ ผลการประเมินอยู่ใน
ระดับมาก ( ̅=4.4) รองลงมาคือ มีความเหมาะสมในด้านรสชาติผงหอมหัวใหญ่ อยู่ในระดับมาก
( ̅=4.32) ผลติ ภณั ฑส์ ามารถปรงุ รสไดจ้ ริง อยูใ่ นระดับมาก ( ̅=4.26) มคี วามสะอาด ถูกหลักอนามัย

อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.26) มีความสะดวกในการใช้ผงหอมหัวใหญ่ อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.2) ผง
หอมหัวใหญม่ กี ล่นิ หอม อยใู่ นระดับมาก ( ̅=4.12) ความเหมาะสมในด้านปริมาณของผงหอมหัวใหญ่
อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.12) บรรจุภัณฑ์มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.06) สีสันของผง
หอมหัวใหญ่ อยู่ในระดับมาก ( ̅=3.94) การเก็บรักษาผงหอมหัวใหญ่ อยู่ในระดับมาก ( ̅=3.9)
ตามลำดบั



สารบัญ หน้า

เรอ่ื ง ก

ใบรับรองโครงการ ค
กติ ติกรรมประกาศ ง
บทคัดยอ่ จ
สารบัญ ฉ
สารบญั (ตอ่ ) ช
สารบญั ตาราง
สารบัญภาพ 1
บทที่ 1 บทนำ 2
2
1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของโครงการ 2
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 3
1.3 ขอบเขตโครงการ
1.4 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ บั 4
1.5 นยิ ามศัพท์ 8
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกยี่ วข้อง 11
2.1 ขอ้ มูลเก่ียวกบั หอมหัวใหญ่ 13
2.2 โรคท่ีสำคญั ของหอมหัวใหญ่ 13
2.3 แมลงศรตั รูท่ีสำคัญของหอมหัวใหญ่
2.4 วิธกี ารทำหอมหวั ใหญผ่ ง 15
2.5 งานวจิ ยั ท่เี กยี่ วขอ้ ง 15
16
บทท่ี 3 วิธีการดำเนนิ การศกึ ษา 17
17
3.1 ผลิตภณั ฑแ์ ละกล่มุ ตวั อยา่ ง
3.2 เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการศกึ ษา 19
3.3 ขนั้ ตอนวิธีดำเนนิ การศึกษา 21
3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 22
3.5 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 23
บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย
24
4.1 สรุปขั้นตอนการทำผงหอมหัวใหญ่
4.2 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลส่วนบคุ คล
4.3 ผลการวเิ คราะห์ความพงึ พอใจของผทู้ ี่รบั ประทานผงหอมหวั ใหญ่
4.4 การจดั ลำดบั ผลการวิเคราะห์ความพงึ พอใจของผทู้ ร่ี ับประทาน
ผงหอมหวั ใหญ่
4.5 ผลสรปุ ขอ้ เสนอแนะ

สารบัญ (ตอ่ ) จ

เรือ่ ง หนา้

บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ ปรายและข้อเสนอแนะ 25
5.1 สรปุ ผล 26
5.2 อภปิ รายผล 26
5.3 ขอ้ เสนอแนะ

บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

ภาคผนวก ก แบบนำเสนอโครงการวิชาชีพ
ภาคผนวก ข แบบบนั ทึกผลการทดลอง
ภาคผนวก ค แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
ภาคผนวก ง การคำนวณค่าแบบประเมินความพงึ พอใจ
ประวตั ผิ จู้ ัดทำ

สารบัญตาราง ฉ

ตารางท่ี หนา้
21
1 ตารางแสดงผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ส่วนบคุ คลดา้ นเพศ 22
2 ตารางแสดงผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ส่วนบคุ คลดา้ นอายุ 22
3 ตารางแสดงผลการวเิ คราะห์ความพงึ พอใจของผทู้ ่รี บั ประทาน 23
ผงหอมหวั ใหญ่
4 ตารางการจดั ลำดับผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้ที่
รับประทานผงหอมหวั ใหญ่

สารบัญภาพ ช

ภาพท่ี หน้า

2.1 โรคแอนแทรคโนส 8
2.2 โรคใบไหม้ 9
2.3 โรคใบจุดสมี วง 9
2.4 โรคเนาคอดนิ 10
2.5 โรคราดํา 10
2.6 เพล้ยี ไฟ 11
2.7 หนอนกระทูหอม 12
4.1 ปลอกเปลือกหอมหวั ใหญ่ 19
4.2 ซอยหอมหวั ใหญ่ใหเ้ ป็นชน้ิ เลก็ 20
4.3 นำหอมหวั ใหญใ่ ส่ในกระดง้ 20
4.4 นำหอมหัวใหญไ่ ปตากแดดใหแ้ หง้ 20
4.5 นำหอมท่แี หง้ แลว้ ปั่นใหล้ ะเอยี ดจนกลายเป็นผง 21
4.6 นำไปร่อนเพื่อให้เศษตกตะกอน 21
4.7 นำไปใสภ่ าชนะทเี่ ตรยี มไว้ 21

บทที่ 1

บทนำ

1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ

หอมหัวใหญ่เป็นพืชที่มีกลิ่นแรง แต่มีสรรพคุณมากมาย เช่น ช่วยรักษาเบาหวาน รักษา
โรคหัวใจ ช่วยละลายล่มิ เลอื ด แกท้ อ้ งอืด ขบั สารพิษในร่างกาย ช่วยผ่อนคลาย แกก้ ารนอนไม่หลับ
ในหอมหัวใหญพ่ บว่ามวี ิตามินซีสงู และสารอื่น ๆ เช่น สารเคอร์ซที ิน สามารถช่วยตอ่ ตา้ นสารอนมุ ลู
อิสระในร่างกาย ป้องกันโรคต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าหอมหัวใหญ่มี
สรรพคุณมากมาย ดังนน้ั การรบั ประทานหอมหัวใหญช่ ่วยรกั ษาโรคต่างๆ หอมใหญ่เป็นเครอ่ื งเทศที่มี
รสเผ็ดร้อน ใช้แต่งกลิ่นอาหารได้หลายชนิด เช่น ยำ สลัด ไข่ยัดไส้ อาหารประเภทผัด เช่น ผัดเน้ือ
เครื่องดื่ม เหล้า ขนมผิง เยลลี่ ซอส น้ำซุป น้ำมัน เป็นต้นฯ เป็นพืชที่ปลูกมากในภาคเหนือ
เชน่ เดยี วกบั กระเทียมและหอมแดง โดยมกี ารปลกู มาเป็นเวลาไม่ต่ำกวา่ 40 ปี

จากที่ได้สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติภายในท้องถิ่น ตำบลบ้านกาด
พบวา่ ผลผลติ หอมหัวใหญ่ในเขตแมว่ าง จงั หวดั เชยี งใหม่ ในแตล่ ะปี ออกสทู่ อ้ งตลาดเป็นจํานวนมาก
ซึ่งส่งผลต่อราคาจําหน่าย ผลผลิตหอมหัวใหญ่ล้นตลาดจะมีผลทําให้ราคาตกต่ำหรือขายไม่ได้ราคา
นอกจากน้ียังพบว่าหอมหัวใหญ่จํานวนหนึ่งมีขนาดไม่ได้มาตรฐานจําหน่ายได้เฉพาะตลาดสด
ภายในประเทศเท่านั้นและในแต่ละปีมีการทิ้งหอมหัวใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีความต้องการที่จะ
แก้ปญั หาราคาตกต่ำ โดยการอบแหง้ แล้วนําไปผลิตเปน็ หอมผงต่อไป อตุ สาหกรรม อาหารใช้หอมผง
เป็นส่วนผสมของเคร่ืองปรุงอาหารทําให้ หอมผงมีราคาสูงกว่าหอมสด (อาจารีย์ และคณะ, 2553)
ดังนั้นการผลติ หอมผงจงึ เป็นแนวทางหนึ่งที่จะเพ่ิมมูลค่าให้กับหัวหอมใหญ่ การศึกษาความเป็นไปได้
ในการผลติ หอมผงที่ผ่านมาพบวา่ หอมหวั ใหญ่ที่เป็นผลผลิตจากและแม่วางสามารถนํามาอบแห้งและ
ทาํ เป็นผงไดเ้ ชน่ กัน การพฒั นาการผลิตหอมผงให้มีคณุ ภาพดีไดน้ ั้นจะต้องศึกษาสภาวะท่ีเหมาะสมใน
การอบแห้งรวมถึงการศึกษาสมบัติทางเคมี กายภาพ จุลชีววิทยาของหอมผงระหว่างการเก็บรักษา
และการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต แต่ละปี พบว่าการนําเข้าหอมผงจากต่างประเทศของกลุ่ม
อตุ สาหกรรมอาหาร เปน็ เงินหลายล้านบาท (กรมส่งเสรมิ การเกษตร, 2550) การนําเขา้ จะดาํ เนินการ
ผ่านชุมนุมสหกรณ์ผู้ปลูกหอมหัวใหญ่แห่งประเทศไทยจํากัด (สํานักงานต้ังอยู่ท่ีตําบลหนองหอย
อําเภอเมอื ง จังหวดั เชียงใหม)่ สาํ หรบั ปี พ.ศ. 2551 ชมุ นุมสหกรณ์ฯไดร้ บั โควตาจากกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ให้นาํ เขา้ หอมผงประมาณ 364 ตันและหอมอบแห้งประมาณ 1 ตัน รวมมูลค่าประมาณ
36 ล้านบาท หอมผงดังกล่าวนํามาใช้เป็นส่วนผสมในอาหารและเคร่ืองปรุงอาหารต่างๆเช่น ซุบ
แป้งสําหรับชุบทอด และ เครื่องปรุงอ่ืนๆเป็นต้น และเป็นส่วนหนึ่งในการเพ่ิมมูลค่าของสินค้า
(ศุภธณิศร์, 2556) การวิจัยในครั้งน้ีได้พัฒนากระบวนการอบแห้งหอมหัวใหญ่และการผลิตหอมผง
จากหอมหวั ใหญท่ ่ีอบแหง้ แล้ว เพื่อใหไ้ ดผ้ ลติ ภัณฑ์หอมผงท่ีมีคุณภาพดี

2

หอมหัวใหญ่เปน็ พืชหวั เป็นพืชลม้ ลุกและมลี กั ษณะกลมมีเปลอื กนอกบางๆหุม้ เมือ่ แหง้ จะมีสี
นำ้ ตาลอ่อน ภายในเปน็ กาบสขี าวซอ้ นกนั ลกั ษณะของดอกมสี ขี าว เป็นช่อ มีดอกยอ่ ยเปน็ จำนวนมาก
ก้านช่อดอกยาว แทงออกจากลำต้นใต้ดิน ช่วงเวลาในการเพาะปลูกและเก็บผลผลิต : ให้ผลผลิต 2
ครงั้ ใน 1 ปี คือ ชว่ งเดือน มกราคม ถึง เมษายน และในช่วงเดือน พฤศจกิ ายน ถึง กมุ ภาพันธ์ ปลูกได้
ในชว่ งฤดหู นาว สามารถปลกู ได้ในดนิ ทุกชนิดท่ีมกี ารระบายน้ำและอากาศดี เจริญไดด้ ีที่ค่าความเป็น
กรด-เบสช่วง 6.0–6.8 อุณหภูมิท่ีเหมาะสมอยู่ในช่วง 15–24 องศาเซลเซยี ส และมีความเค็มของดิน
ปานกลาง สามารถนำไปปรงุ แตง่ อาหารได้ และผคู้ นสว่ นมากไมช่ อบทานหอมหวั ใหญ่

ดงั นัน้ ทางผู้จดั ทำโครงการจึงไดม้ ีแนวคิดการแปรรูปหอมหัวใหญ่ผง ซงึ่ มีวัตถุดิบท่ีหาได้ง่าย
ตามทอ้ งถ่นิ ของตำบลบ้านกาด อำเภอแมว่ าง จงั หวดั เชียงใหม่ นน่ั คือหอมหวั ใหญ่ เพอื่ นำมาเพิ่มมูลค่าให้
ทรัพยากรท้องถิ่นของตำบลบ้านกาด อำเภอแมว่ าง จังหวัดเชียงใหม่ และในสว่ นของหอมหัวใหญ่ผง
จะช่วยให้ผู้ที่ไมช่ อบรับประทานอาหารไดท้ านง่ายขึ้น และเพิ่มประโยชน์ต่อรา่ งกายใหก้ ับผูท้ ี่ไดท้ าน
หอมหวั ใหญผ่ ง

1.2 วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ
1) เพือ่ ศึกษาคน้ คว้าขน้ั ตอนการทำผงหอมหัวใหญ่
2) เพอ่ื ศกึ ษาค้นคว้าเก่ียวกบั ประโยชน์ของหอมหัวใหญ่

1.3 ขอบเขตโครงการ (เป้าหมาย, กลมุ่ ประชากร)
เปา้ หมายของโครงการ

1) เชิงปรมิ าณ
- จำนวน หอมหวั ใหญ่ผง จำนวน 10 กระปกุ
- กลุ่มตวั อยา่ ง ผใู้ ชห้ อมหวั ใหญ่ผง จำนวน 50 คน

2) เชิงคุณภาพ
- ผลิตภัณฑ์หอมหัวใหญ่ผงมีกลิ่นทห่ี อมและทานไดง้ า่ ย

3) ระยะเวลาและสถานท่ีในการดำเนนิ งาน
- ระยะเวลาดำเนินงาน ระหว่างวันที่ 7 ธนั วาคม ถึงวนั ท่ี 12 มนี าคม 2563
- สถานท่ีดำเนนิ งาน วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาเชียงใหม่ และ 126 ตำบลบ้านกาด

อำเภอแมว่ าง จังหวดั เชยี งใหม่

1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ บั
1) ทราบขั้นตอนการทำผงหอมหัวใหญ่
2) ทราบถงึ ประโยชน์ของหอมหัวใหญ่

3

1.5 นิยามศัพท์
หอมหวั ใหญ่ คือ เป็นพชื หัว ปลกู ได้ในชว่ งฤดูหนาว มีลักษณะกลม มีเปลอื กนอกบางๆหุ้ม

อยู่ เมื่อแหง้ จะมีสีนำ้ ตาลออ่ น ภายในเปน็ กาบสีขาวซ้อนกัน
หอมหวั ใหญ่ผง คอื การแปรรปู ให้เป็นผง มีกล่นิ หอม มสี รรพคุณชว่ ยรกั ษาโรคต่างๆ

นำไปใช้สำหรบั การปรงุ อาหาร

บทท่ี2

แนวคดิ ทฤษฎีและงานศึกษาที่เกี่ยวข้อง

ในการศึกษาเรื่อง หอมหัวใหญ่ผง ผู้จัดทำโครงการได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีและ
หลกั การตา่ งๆ จากเอกสารและงานศกึ ษาทเี่ กย่ี วขอ้ ง ดังน้ี

2.1 ข้อมูลเกย่ี วกับหอมหัวใหญ่
2.2 โรคท่ีสำคัญของหอมหัวใหญ่
2.3 แมลงศรตั รทู ี่สำคญั ของหอมหัวใหญ่
2.4 วธิ ีการทำหอมหวั ใหญ่ผง
2.5 งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้อง

2.1. ขอ้ มูลเกี่ยวกบั หอมหวั ใหญ่
หอมหัวใหญ่ มชี ื่อวิทยาศาสตร์ว่า Alium cepa Linn. ภาษาอังกฤษเรียกว่า Onionเดิมเป็น

พชื พืน้ เมืองของทวีปเอเชียตะวนั ตก เป็นพืชลม้ ลุกมหี วั อายุยืนได้ 2 ปี มลี กั ษณะตน้ ใบ และหัวใต้ดิน
คล้ายกับหอมบั่วแต่ขนาดใหญ่กว่า ในหัวหอมชนิดนี้มีน้ำมันหอม (Onion Oil) ซึ่งเป็นน้ำมันหอม
ระเหยที่มีปริมาณน้อย และมีสารอาหารจำพวกนํา้ ตาล ไวตามินเอ ไวตามินซี ไวตามินบี 1 และบี 2
และสารเปคติน มรี สประกอบกำมะถนั เปน็ สารหลักแตเ่ ปน็ สารไม่มกี ล่ิน สารทท่ี ำให้เกิดกลิ่นท่ีสำคัญ
เช่น เมททิลโปรปิลไดซลั ไฟด์ (methylpropyl disulfide), เมททิลโปรปิลไตรซลั ไฟด์(methylpropyl
trisulfide), ไดโปรปิลไตรซัลไฟด์ (dipropyl trisulfide) และอัลลิลโปรปิลไดซัลไฟด์ (allylpropyl
disulfide) เมอื่ ปอกหอมแล้วจะเกิดอาการระคายเคืองท่ีตา ทำให้นํา้ ตาไหล ทัง้ น้เี นื่องมาจากสารชื่อ
ไทโอโปรปานาลซัลฟอกไซด์(thiopropanal sulfoxide), กรดโปรปินิลซัลฟีนิค (propenylsulfenic
acid) และกรดเอททีนซัลฟินิค (ethenesulfenic acid) ซึ่งสารเหล่านี้เรียกว่าสารหลั่งนํ้าตาในหอม
หัวเล็กจะมีสารหลั่งนํ้าตาในปริมาณมากกว่าหอมหัวใหญ่ หัวหอมที่ทำให้สุกจะมีรสหวาน ทั้งนี้เป็น
เพราะสารอัลลิลโปรบิลไดซัลไฟด์ ที่พบในหัวหอมสดนั้นจะระเหยไปในขณะปรุงอาหารส่วนหนึ่งจะ
เปลี่ยนไปเป็นอนุพันธุ์ของโปรปิลเมอร์แคปแทน(propylmercaptan) และไดโปรปิลซัลไฟด์
(dipropylsulfide) ซง่ึ มรี สหวาน

พันธุ์
เกษตรกรนิยมใช้พันธุ์กราเน็กซ์ ซึ่งเป็นพันธุ์ดั้งเดิมที่นำมาจากประเทศสหรัฐอเมริกา หัวมี
ลักษณะค่อนขา้ งกลม คอเลก็ เปลอื กสีน้ำตาลปนเหลอื ง เน้อื มสี ขี าว อายกุ ารเกบ็ เกีย่ วประมาณ 150
วนั นับตงั้ แตว่ ันเพาะเมล็ด การปลูกหอมหัวใหญส่ ามารถทำได้หลายวิธี เช่น หยอดเมล็ดในแปลงปลูก
โดยตรง และเพาะกลา้ ปลกู สำหรบั ในประเทศไทยนิยมเพาะกลา้ แล้วย้ายปลูก
การเพาะกล้า
1. การเตรียมเมล็ดพันธุ์ การเพาะหอมหัวใหญ่ในพื้นที่ 1 ไร่ จะต้องใช้เมล็ดพันธุ์ 1 ปอนด์
หรอื ประมาณ 454 กรัม โดยนำเมลด็ พันธุห์ อมหัวใหญแ่ ช่นำ้ คา้ งคืนไว้ 1 คืน เพื่อใหเ้ มลด็ พันธ์ุงอก

5

อย่างสม่ำเสมอ แล้วนำมาคลุกด้วยสารป้องกันกำจัดโรคแมลง ทิ้งให้หมาด แล้วนำไปหว่านในแปลง
เพาะ

2. การเตรียมแปลงเพาะกล้า ใหเ้ ลอื กพน้ื ท่ที ท่ี ำแปลงกลา้ ใกล้บรเิ วณทีม่ ีแหลง่ น้ำ ไม่มีน้ำขัง
แปลงกล้านจ้ี ะตอ้ งเตรียมใหด้ ีกวา่ แปลงกล้าพชื ผักอ่นื ๆ เพราะกล้าหอมหวั ใหญ่จะตอ้ งอยู่ในแปลงนาน
ถึง 40-45 วัน จึงจะย้ายปลูกได้ กำจัดวัชพืชออกให้หมด ย่อยดินให้ละเอยี ด ตากดินไว้ 7-10 วัน ใส่
ปุ๋ยอินทรีย์ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก อัตรา 1-2 ตัน/ไร่ ปุ๋ยเคมี สูตร 15-15-15 อัตรา 30กก./ไร่ แล้ว
คลกุ เคล้าดินกบั ปุ๋ยใหเ้ ขา้ กัน ปรบั และเกลีย่ ดนิ ในแปลงใหเ้ รยี บร้อย

3. การเพาะกล้าและดูแลรักษา โรยเมล็ดให้เป็นแถวตามความกวา้ งของแปลง หรือตามแนว
ขวางบนแปลงเพาะแตล่ ะแถวห่างกัน 10 เซนติเมตร แล้วหยอดเมล็ดลงในร่องที่ทำไว้ ให้เมล็ดในแต่
ละแถวห่างกันประมาณ 1-2 เซนตเิ มตร เพือ่ ไมใ่ หต้ น้ กลา้ ขึ้นแนน่ และแย่งอาหารกนั จากนั้นกลบดว้ ย
ดินหนา 1 เซนติเมตร ควรฉีดสารป้องกันกำจัดวัชพืช เช่น อะลาคลอร์ หรือ โกล 2 อี เป็นต้น
หลังจากนั้นใช้ฟางหรือหญา้ แห้งที่สะอาดคลุมแปลง รดน้ำพอชุ่ม แต่อย่าใหแ้ ฉะ วันต่อไปตอ้ งรดนำ้
ให้ชุม่ อยเู่ สมอ เมล็ดจะงอกภายใน 4-5 วัน

หลังจากทำการเพาะกล้าหอมหัวใหญ่แล้ว ควรทำหลังคาผ้าหรือพลาสติกคลุมแปลงเพาะ
เพื่อช่วยรักษาดินให้ชุ่มชืน้ พอเหมาะและเพื่อป้องกันแสงแดดและฝนด้วย โดยใช้ไม้ไผ่เหลาดัดโคง้ ทำ
เป็นโครงหลงั คาแล้วคลุมทบั ด้วยผ้าดิบหรอื ผ้าพลาสติกแล้วขงึ ให้ตงึ เมือ่ กล้าอายุได้ 2-3 วนั ใหด้ ึงเศษ
ฟางหรอื หญ้าแห้งท่ีคลุมออกให้เหลือบาง ๆ และเปิดผ้าคลมุ แปลงให้กล้าไดร้ ับแสงอาทิตย์โดยปฏิบัติ
ดงั นี้
สปั ดาห์แรก เปดิ ช่วงเชา้ 6.00-9.00 น.บ่าย 16.00-18.00 น.
สัปดาห์ที่ 2 เปดิ ช่วงเชา้ 6.00-10.00 น.บ่าย 15.00-18.00 น.
สปั ดาห์ท่ี 3 เปิดชว่ งเช้า 6.00-11.00 น.บ่าย 15.00-18.00 น.
หลังจากนไี้ ปเปดิ ผ้าคลมุ ตลอดวัน จะปิดก็ตอ่ เม่อื ฝนตกหนกั เท่าน้ัน

การเตรยี มแปลงปลกู
หอมหัวใหญเ่ ป็นพืชผักประเภทลงหัว ฉะนั้นดนิ ท่ีจะปลูกหอมหวั ใหญ่ควรเปน็ ดินร่วน หรือ
ดินร่วนปนทรายควรไถพลิกดิน ตากแดดไว้อย่างน้อย 7 วัน และใส่ปุ๋ยอินทรีย์อย่างน้อย 2 ตัน/ไร่
และใส่ปุ๋ยเคมีสูตรที่มีฟอสเฟตสูง หรือ 15-15-15 ในอัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ รองพื้นคลุกเคล้าไปกับ
การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ขนาดของแปลงควรกว้างประมาณ 1-1.20 เมตร ระยะปลูกที่เหมาะสม คือ ใช้
ระยะระหวา่ งต้น 10-15 เซนติเมตร ระยะระหวา่ งแถว 15-20 เซนตเิ มตร
การยา้ ยกลา้ ปลกู
การย้ายกล้าปลูกควรย้ายกล้าปลูกในขณะที่แดดยังอ่อนอยู่หรือในช่วงเวลาประมาณ
16.00-18.00 น.จะเป็นเวลาที่เหมาะสมที่สุด กล้าที่ใช้ต้องแข็งแรงสมบูรณ์ และต้นกล้าควรมีอายุ
ประมาณ 45 วัน หลงั จากเพาะกลา้ เพราะถา้ กล้าอายุเกิน 45 วันไปแลว้ จะเริ่มลงหวั การขุดต้นกล้า
ต้องระมัดระวังอย่าให้รากขาดเพราะจะทำให้หอมหัวใหญ่ชะงักการเจริญเติบโต แช่ต้นกล้าในสาร
ป้องกันกำจัดเชื้อราซึง่ ผสมไว้ให้เข้มข้นกว่าฉีดในแปลง 1 เท่าตัว เพื่อป้องกันโรคเข้าทำลายตามรอย
แผลของโคนหวั หอมจากนัน้ จึงนำกล้ามาปลูกหลุมละ 1 ต้น กดดนิ รอบ ๆ ต้นให้แนน่ รดน้ำแต่พอชุ่ม
อย่าให้แฉะในการเลือกกลา้ ย้ายปลูกน้ีควรเลอื กกล้าทมี่ ีขนาดเดยี วกัน หากเอากลา้ ขนาดเล็กและใหญ่

6

ปลูกปนกัน ต้นกล้าจะโตไม่ทันกัน ทำให้ไมส่ ะดวกในการเกบ็ เกยี่ ว ควรใชฟ้ างคลุมแปลงภายหลังจาก
ย้ายปลกู ไปแล้ว เพ่อื ชว่ ยเกบ็ รกั ษาความช้นื ในดินและช่วยป้องกันไม่ให้ดินจับตวั กันแน่น แต่ควรคลุม
แปลงให้บาง ๆ เพอื่ ตน้ หอมจะได้แทงใบข้ึนไดง้ ่าย

การดูแลรกั ษา
การใส่ปุ๋ย การปลูกหอมหัวใหญใ่ นช่วงนอกฤดูซึ่งตรงกับช่วงฤดฝู นของบา้ นเรา ซึ่งฝนจะตก
ชกุ ในชว่ งดงั กล่าว การให้เฉพาะปุย๋ สตู ร 15-15-15 อยา่ งเดียวไมเ่ พียงพอ เกษตรกรผจู้ ัดทำแปลงควร
ให้ปยุ๋ ยูเรียเสริมด้วย เพ่อื เรง่ การเจรญิ เติบโตของหอมหัวใหญ่ โดยใสป่ ุย๋ หลังจากท่ีหอมหัวใหญ่มีอายุ
60-65 วัน นับจากวันเพาะกล้า อัตรา 25 กก./ไร่ และ ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อีก 2 ครั้ง ครั้งละ 30
กก./ไร่ ครั้งแรกเมื่อหอมหัวใหญ่มอี ายุ 80-85 วัน และครั้งทส่ี องเม่ือหอมหัวใหญม่ ีอายุ 95-100 วัน
การให้น้ำ การให้น้ำกล้าหอมหัวใหญ่ที่ย้ายลงปลูกในแปลงใหญ่โดยปกติจะให้น้ำวันเว้นวัน
และหลงั จากตง้ั ตัวไดแ้ ลว้ ให้นำ้ 3-5 วนั ตอ่ ครั้ง แต่ท้งั น้ใี ห้ดคู วามชื้นของดนิ ประกอบไปดว้ ย การให้น้ำ
สามารถทำได้หลายวิธคี ือใช้สายยางรด ใช้สปรงิ เกอร์ หรอื ปลอ่ ยนำ้ เขา้ ตามร่องแบบการให้น้ำพืชไร่แต่
ตอ้ งจดั ระบบการระบายน้ำให้ดอี ย่าให้ขงั แฉะ เพราะถา้ น้ำขงั แฉะมากเกินไปจะทำให้หอมหัวใหญ่เน่า
ได้ง่าย และเมื่อสังเกตเห็นว่าดินเริ่มแห้งจึงเริ่มให้น้ำสำหรับแปลงที่ใช้ฟางคลุมอยู่แล้วอาจจะให้น้ำ
เพียงสัปดาห์ ละคร้ังก็ได้ วิธีการท่ใี หน้ ้ำดที ่ีสุดคือปลอ่ ยนำ้ ให้เข้าตามร่อง เพอื่ ใหน้ ้ำซึมเข้าแปลงอย่าง
เพยี งพอ แล้วจงึ ระบายน้ำออกอยา่ ใหข้ ังแฉะและจะลดปญั หาการระบาดของโรคได้
การพรวนดินและกำจัดวัชพืช วัชพืชนับว่าเป็นศัตรูที่สำคัญต่อผลผลิตและคุณภาพของ
หอมหัวใหญ่ เพราะถ้าปล่อยให้วัชพืชเจริญเติบโตแล้ว จะมาแย่งอาหารของหอมหัวใหญ่ ดังนั้น
ในขณะที่หอมหัวใหญ่ยังมีขนาดลำต้นเล็กอยู่ ควรพรวนดินประมาณ 1-2 ครั้ง เพ่ือกำจัดหญ้าและ
วัชพืชอ่ืนทีไ่ ม่ตอ้ งการออกไป และเมอื่ หอมหวั ใหญม่ ีอายุ 70 วันไปแลว้ ควรหยุดพรวนดินเพราะราก
ของหอมหัวใหญ่จะแผ่เต็มแปลง การพรวนดินระวังอย่าให้บริเวณลำต้นหอมหัวใหญ่เป็นแผล ซึ่งจะ
เป็นชอ่ งทางใหโ้ รคเข้าไปทำลาย และจะทำใหห้ อมหัวใหญเ่ นา่ ได้ นอกจากน้ีหากเกษตรกรมีการใช้ฟาง
หรือหญ้าแหง้ คลมุ แปลง จะช่วยป้องกันกำจัดวัชพชื ได้เปน็ อย่างดี
การใชส้ ารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูของหอมหัวใหญ่
1. การใช้น้ำปูนใสรดต้นกล้าหอมหัวใหญ่จะช่วยป้องกันโรคกล้าเน่าตาย โดยใช้ปูนขาว 1 ถุง
ซึง่ หนกั ประมาณ 5 กิโลกรมั ละลายในน้ำประมาณ 60 ลิตร กวนให้เขา้ กัน ท้งิ ไว้ 1 คืน ร่งุ เช้าปูนขาว
จะนอนกน้ ตักเอาเฉพาะส่วนเป็นนำ้ ใสมา 1 ส่วน นำไปผสมกับน้ำอีก 5 ส่วน แลว้ นำไปใช้รดกล้าทกุ
7 วนั เพอ่ื ป้องกันกลา้ เนา่ เสีย
2. ใชส้ ารป้องกันกำจดั เช้ือรา ผสมน้ำตามอัตราทใ่ี ช้ปฏิบตั ิตามฉลาก
- ใชฉ้ ีดพน่ ต้นกลา้ ในช่วงหลงั ย้ายกล้าแลว้ จนถงึ ระยะใกล้เก็บเกีย่ ว เพอื่ ปอ้ งกันโรคแอนแทรคโนส ซึ่ง
เป็นโรคทรี่ ะบาดในชว่ งฤดฝู นและความช้นื สงู
- ใช้เชอื้ ไวรสั ฉดี พน่ เพ่อื ป้องกันกำจัดหนอนหลอดหอม
การเกบ็ เกี่ยว
ควรเก็บเกี่ยวหอมหัวใหญ่ที่แก่จัด อายุประมาณ 150 วัน นับจากวันเพาะเมล็ด หรือสังเกตว่าเม่ือ
หอมหัวใหญ่เริม่ แกซ่ ง่ึ ใบจะเริม่ ถ่างออกทง้ั สองดา้ น ใบหอมหวั ใหญเ่ ปล่ียนเปน็ สเี ขยี วปนเทาและเริ่มมี
สีเหลือง สีของเปลือกหุ้มหัวเป็นสีน้ำตาล แสดงว่าหอมหัวใหญ่เริ่มแก่จัดสามารถทำการเก็บเกี่ยวได้

7

เหตุท่ตี ้องเกบ็ หอมหัวใหญม่ ีอายุแก่จัดน้นั เพราะจะทำใหส้ ามารถเก็บรักษาไดน้ าน รากจะไมง่ อก และ
มีการแทงยอดข้นึ มาเร็วกว่าปกติ

วธิ ีการเกบ็ เกย่ี ว เม่ือหอมหัวใหญม่ ีอายุประมาณ 150 วัน ใช้จอบหรือเสียมขุดลงไปลึกกว่า
ระดับของหัวหอมเล็กน้อย หรือถ้าหัวลอยอยูก่ ส็ ามารถถอนข้ึนมาไดเ้ ม่ือถอนขึ้นมาแล้วควรนำมามัด
จกุ ไว้ และผงึ่ ในทรี่ ม่ ให้แหง้ สนทิ

การปฏิบตั หิ ลงั การเก็บเก่ียว เมอ่ื ถอนขึน้ มาแลว้ ควรนำมามัดจุกไว้ ผึง่ ในท่ีร่มให้แห้งสนิทไม่
ควรตัดต้นหอมหวั ใหญข่ ณะท่ีตน้ และใบยังสดอยู่เด็ดขาด เพราะจะทำให้เชื้อโรคเข้าทางแผลได้ ควร
ตัดต้นหอมเมื่อใบและต้นหอมหัวใหญ่แห้งดีแล้ว โดยตัดตรงคอหอมให้สูงจากหัวประมาณ 2-3
เซนติเมตร ส่วนการตัดรากนั้นควรตัดให้ชิดกับหัวเมื่อรากแห้งแล้ว และนำมาคัดขนาดตาม
เส้นผ่าศูนยก์ ลางของหวั เปน็ ประเภท ๆ ไป ควรคัดหอมทเี่ นา่ และหอมแฝดออก เพราะหอมประเภทน้ี
เมอ่ื นำไปจำหน่ายจะไม่ไดร้ าคาสำหรับหอมหัวใหญท่ ่ีจะต้องแขวนเก็บไวน้ ั้น ควรเก็บไว้ในชายคาบ้าน
หรือโรงเรอื นทม่ี ีอากาศถา่ ยเทไดด้ ี

ถ่นิ กำเนิดหอมหวั ใหญ่
ถน่ิ กำเนิดของหอมหัวใหญ่เชือ่ ว่ามีถิ่นกำเนิดอยู่ในแถบเอเชยี กลางและเอเชียตะวันตกเฉียง
ใต้ ในประเทศอัฟกานสิ ถาน อหิ ร่านและปากสี ถานมากวา่ 5000 ปแี ลว้ โดยได้มีหลกั ฐานการปลูกและ
บริโภคตงั้ แตส่ มยั ตน้ ประวตั ิศาสตร์ Hippocrates ชาวกรีก ได้บนั ทึกเรอ่ื งราวเกีย่ วกบั หอมเมอ่ื 430 ปี
ก่อนครสิ ศักราช ชาวอยี ปิ ต์ นิยมบรโิ ภคหอม ซึง่ คน้ พบจากหลกั ฐาน ในหลุมฝงั ศพท่ีฝังต้ังแต่ 3,200 –
2,780 ปีก่อนคริสศักราช ที่อินเดีย จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่ามีการเพาะปลูกหอมตั้งแต่
สมัยโบราณ ต่อมาค่อยๆ เริ่มแพร่กระจายเข้าสู่แถบประเทศยุโรปผ่านทางประเทศอียิปต์ และตุรกี
โดยเริ่มปลูกมากในยุโรปในช่วงศตวรรษที่ 13-14 หลังจากนั้น ประมาณศตวรรษที่ 16-17 ได้มีการ
พฒั นาสายพันธ์ุหอมหัวใหญ่ให้มขี นาดใหญ่ขึ้น ส่วนในอเมรกิ า เร่ิมปลูกในช่วง ปี ค.ศ. 1629 ในแถบรฐั
เทกซัส และแคลฟิ อรเ์ นีย สำหรับแหล่งผลิตที่สำคัญในปัจจุบัน ไดแ้ ก่ ประเทศจีน สหรัฐอเมริกา และ
ประเทศอนิ เดยี สำหรบั ในประเทศไทยมแี หล่งเพาะปลูกหอมหวั ใหญ่ท่ีสำคญั ๆ คอื จ.เชียงใหม่ และ
จ.กาญจนบรุ ี เปน็ ตน้
ประโยชน์และสรรพคณุ หอมหวั ใหญ่
หอมหัวใหญ่จัดเป็นผักที่นิยมนำมาใช้ในการปรุงอาหารเพื่อบริโภคมาตั้งแต่ในอดีตแล้ว โดย
ประเทศทางตะวันตกถึงกับยกย่องให้เปน็ ราชินีของพืชผักเลยทีเดียว ส่วนในประเทศไทยก็มีการใช้
ประโยชน์จากหอมหัวใหญใ่ นดา้ นต่างๆ ดงั น้ี หวั ใชร้ ับประทานเป็นผัก หรือนำมาใช้ประกอบอาหาร
หรอื ใช้เป็นเคร่อื งเทศเพื่อชว่ ยดบั กลิน่ คาวในอาหารได้เปน็ อย่างดี และช่วยทำให้กระดูกอ่อนนุ่ม เมื่อ
นำมาใช้ต้มกบั กระดกู สัตว์ หรอื จะใช้แปรรูปเปน็ ผลิตภัณฑ์หอมดอง หอมแห้ง สำหรับประกอบอาหาร
กไ็ ด้ นอกจากนี้ยังนำมาสกดั ทำเป็นเคร่ืองสำอางบางชนิด เช่น ยาสระผม ยาบำรงุ เส้นผม เนื่องจากมี
สารเพกติน กลูโดคินนิ และไกลโคไซด์ ที่จะช่วยขจดั รังแคท่ีเกิดจากเชอ้ื แบคทเี รยี หรอื เชือ้ ราต่าง ๆ ได้
ส่วนสรรพคุณทางยาของหอมหัวใหญ่นั้นตามตำรายาไทยระบุว่า หอมใหญ่ มีสรรพคุณ
เชน่ เดียวกับกระเทียม แต่มีฤทธิ์ออ่ นกว่ากนิ เปน็ ประจำช่วยลดความดนั โลหติ ลดไขมันโคเลสเตอรอล
ลดน้ำตาลในเลือด เป็นยาบำรุงธาตุช่วยขบั ลม แก้ทอ้งร่วง แก้ท้องอืดเฟ้อ ช่วยขับปัสสาวะขับพยาธิ
ขับเสมหะ แก้ลมพิษ แก้ปวดบวม ทำให้ไข้หวัดหายเร็วขึ้น บดทาหรือประคบแผล ช่วยให้แผลแห้ง

8

และหายเร็ว รวมถึงลดการติดเช้ือของแผล รักษาแผลเป็นหนอง และลดอาการอักเสบของแผล ช่วย
รักษาโรคผิวหนัง เช่น รังแค กลาก ส่วนในตำรายาจีนระบุว่า หอมหัวใหญ่ มี ฤทธิ์อุ่น รสเผ็ด ไม่มี
พิษ เข้าเส้นลมปราณ ปอดและกระเพาะอาหาร หอมหัวใหญ่ดิบ ฤทธิ์สุขุม รสเผ็ด หอมหัวใหญ่สุก
ฤทธิ์อุ่น รสเผ็ด มีสรรพคุณ ทำให้พลังลงสู่ด้านล่าง สลายการตกค้างของอาหาร ทำให้เจริญอาหาร
ฆา่ พยาธิ ทำใหพ้ ลังการไหลเวยี นในอวัยวะภายในคลอ่ งตัว รักษาบวมจากพษิ ด้วยการใช้ภายนอก
และในปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยพบว่าหอมหัวใหญ่ มีบทบาทต่อการรักษาสภาพของหลอดเลือดใน
หลายๆ ด้าน เช่น ฤทธิ์ในการลดความดันเลือด เนื่องจากบทบาทของสารพรอสตาแกลนดินสามารถ
ลดความดน้ เลือด ป้องกันการเกิดเส้นเลือดอดุ ตัน ป้องกนั โรคหวั ใจและสมอง ป้องกนั การแข็งตัวของ
หลอดเลือด ลดการเกาะตัวของลิ่มเลือด ได้ถึงร้อยละ 34 การกินระยะยาวทำให้หลอดเลือดสะอาด
ลดการแข็งตัวของหลอดเลือด ลดระดับไขมันในเลือด มีสารต้านอนุมูลอิสระ ต้านการก่อมะเร็ง ลด
ภาวะกระดูกพรุน โดยเฉพาะในสตรีวัยหมดประจำเดือน ช่วยเพิ่มไขมันดี (เอชดีแอล) ในเลือด ช่วย
ควบคมุ ระดับน้ำตาลในเลือด เป็นต้น

2.2 โรคที่สำคัญของหอมหวั ใหญ่
ขณะทยี่ งั อยูใ่ นแปลงปลูก การเกดิ โรคมกั จะเริม่ ข้นึ ในระยะท่ีพืชลงหัวโตเต็มท่ีใกลเ้ กบ็ เกี่ยวได้

แล้ว การเข้าทำลายของเชอื้ มักจะเร่ิมตรงส่วนคอหรอื โคนตน้ โดยผา่ นทางแผลที่ใบแก่ท่ีเหี่ยวหรือหัก
พับ จากนั้นเชื้อก็จะเจริญเติบโตเคลื่อนลงมายังกาบ (scale) ของหัวที่ต่อเชื่อมกับใบหรือลึกเข้าไป
ภายในตน้ กอ่ ใหเ้ กดิ อาการแผลเนา่ ขยายลุกลามกว้างขวางออกไป มองดภู ายนอกแผลจะมีลักษณะช้ำ
เป็นสนี ้ำตาลหรอื เทาออ่ นๆ เม่ือเอามือจับหรือกดดจู ะร้สู ึกออ่ นนมิ่ พร้อมกับจะมีน้ำเหลวๆ ซมึ ออกมา
จากแผลดงั กล่าว เช้อื อาจจะเขา้ ทำลายโดยตรงที่ส่วนของหัวหอมขณะเก็บเกยี่ ว โดยผ่านทางแผลรอย
ช้ำ และหากนำไปเก็บไว้ในที่อับชื้นอุณหภูมิสูงก็จะก่อให้เกิดอาการเน่าขึ้นกับกาบของหัวหอม
ชั้นนอกๆ ที่ถูกเชื้อเข้าไปในตอนแรก และถ้าปล่อยทิ้งไว้นานๆ ในที่สุดอาจจะเน่าเสียหมดทั้งหัว
อาการเน่าเละของหอมที่เกิดจากเชื้อ E. carotovora ปกติจะมีกลิ่นเหม็นเฉพาะตัวเช่นเดียวกับเนา่
เละในผักชนิดอื่นๆ แต่บางครั้งอาจมีกลิ่นฉุนคล้ายกำมะถันหรือกลิ่นเปรี้ยว คล้ายกรดน้ําส้มเกิดขึน้
ตามมา ทั้งนีเ้ นอ่ื งจากมเี ชอ้ื แบคทเี รียชนิดอ่ืนเข้าไปชว่ ยทำลายตอ่ ทำให้กาบที่เรยี งซอ้ นเป็นชั้นๆ ของ
หัวหอมทีเ่ นา่ จะลอ่ นล่ืนหลดุ ออกมาได้โดยงา่ ย เม่ือไปจับต้องหรือสัมผัสเขา้

2.2.1 โรคแอนแทรคโนส (anthracnose)
สาเหตุ เกดิ จากเชือ้ รา
ลักษณะอาการ เชื้อราจะสามารถเข้าทำลายได้ทุกส่วนของพืช เชน ที่ใบ คอ หรือสวนหัว
ทำใหเกิด เปนแผล ซึ่งเนื้อแผลเป็นแอ่งต่ำกว่าระดับผิวปกติเล็กน้อย บนแผลมีสปอรของเช้ือราเป็น
หยดของเหลวสีสมอมชมพซู งึ่ เมอื่ แหงแลวจะเปนตมุ่ สดี ําเล็กๆ เรียงเปนวงรซี อนกันหลายช้ัน โรคน้ีทํา
ใหใบเนาเสียหายตนหอมแคระแกรน ใบบิดโคงงอ หัวลีบยาว เลื้อย ไมลงหัว ระบบรากสั้น ทําใหต
นหอมเนาเสียหายในแปลงปลูก เก็บเกี่ยวไมได หรือไปเนาเสียในชวงเก็บรักษา มักจะพบระบาด
รุนแรงในฤดฝู น หรือภายหลังฝนตกในฤดูหนาว ซึ่งอาจจะทําใหเกิดความเสียหาย 50-100%
การปองกันกาํ จดั
- กอนปลูกหอมหัวใหญทุกครง้ั ควรปรบั ปรุงดนิ ดวยการใสปนู ขาวและปยุ คอก เพือ่ ฟนฟู

9

สภาพของดินใหดขี น้ึ ปูนขาวควรใสกอนปลูก 1-2 สปั ดาห
- ควรเกบ็ ชิน้ สวนของพชื ที่เปนโรคไปเผาทําลายทุกคร้ัง เพอ่ื ลดแหลงแพรกระจายของโรค

พนดวยสารปองกันกําจัดโรคพืชจําพวกคารเบนดาซิม หรือแมนโคเซ็บประมาณ 3-5 วัน/ครั้ง ถา
ระบาดรนุ แรงพนดวยสารโปรคลอราส แมงกานีส 3-5 วัน/ครงั้ พนสกั 2-3 ครัง้ จนโรคเบาบางลง
แลวพนสลบั ดวยคารเบนดาซิมหรือแมนโคเซบ เพราะถาพนดวยโปรคลอราสแมงกานสี อยางเดียวเปน
เวลานาน จะทาํ ใหเกดิ การดอื้ ยาได

ภาพท่ี 2.1 โรคแอนแทรคโนส
ทม่ี า:https://www.svgroup.co.th/blog

2.2.2 โรคใบไหม้
สาเหตุเกดิ จากเชือ้ บักเตรี
ลักษณะอาการ ใบหอมจะเปนแผลฉํ่าน้ํา ซึ่งในตอนเชาตรูจะพบหยดน้าํ เลก็ ๆเกาะอยูบนแผล
แผลนจี้ ะแหงเม่ือถกู แสดงแดดตอนสาย แผลบนใบเปนรูปรีหัวทายแหลม เน้อื เย่อื ตรงกลางโปรงใส
มขี อบแผลฉ่าํ นํ้า ถาเปนมากแผลจะมีขนาดใหญทําใหใบหักพบั ลงแลวใบหอมทงั้ ใบจะเหย่ี วมีสเี ขียวอม
เทาเหมือนถูกนา้ํ รอนลวก ตอมาเปล่ยี นเปนสนี ้าํ ตาลแหงตายในทสี่ ดุ
การปองกันกําจดั
- พนปองกนั ดวยสารพวกคาโนรอน อตั ราตามฉลากทุก 7-10 วนั ถาระบาดมากใหพนทกุ
3-5วนั รดแปลงกลาดวยนํา้ ปูนใสจะชวยใหกลาแขง็ แรงทนทานตอโรค

ภาพที่ 2.2 โรคใบไหม้
ทมี่ า: https://www.svgroup.co.th/blog

10

2.2.3 โรคใบจดุ สีมวง
สาเหตเุ กิดจากเชอื้ รา
ลักษณะอาการ อาการเริ่มแรกใบหอมจะเปนจุดขาวเล็กๆ ตอมากลายเปนแผลใหญรูปไข
สนี าํ้ ตาลปนมวง ซึง่ มสี ปอรสีดาํ เปนผงละเอียดอยูบนแผล ขอบแผลมีสีเหลอื งขนาดของแผลไมแนนอน
ใบทเ่ี ปนแผลจะมปี ลายใบแหง ระบาดมากในฤดูหนาว
การปองกนั กําจดั
- ปรับปรุงดินดวยปูนขาวและปยุ อนิ ทรีย
- พนยาปองกันกําจดั พวกเดอโรซาน บาวีสตนิ แมนเซทดอี ยางใดอยางหน่ึง
- ถาการระบาดรุนแรงควรใชรอฟรัลฉีดพน โดยใชอัตราตามฉลากไมควรใชติดตอกันนาน
ควรใชสลับกบั พวกเดอโรซาน บาวีสตนิ จะไดผลดี

ภาพที่ 2.3 โรคใบจดุ สีมวง
ทมี่ า:https://www.facebook.com/tangnamkaset/posts/1103995879717777/

2.2.4 โรคเนาคอดิน
สาเหตุเกิดจากเชอ้ื รา
ลกั ษณะอาการ ตนกลามีปลายใบแหงและยุบตายเปนหยอมๆ ถอนดพู บวาบริเวณรากจะ
เนาและมีสีนํ้าตาลที่โคนตน บริเวณคอดินมีรอยชํ้าสีนํ้าตาลเปนจุดเล็กๆ กอน ตอมารอยชํ้าจะเพิ่ม
ขนาดจนเต็มรอบโคนตน ทําใหตนกลาหักพบั แลวแหงตาย
การปองกนั กาํ จดั
- คลกุ เมลด็ หอมก่อนปลูกดวยยาคลุกเมล็ด เชน เอพรอน 35 หรือไดเทนเอม็ 45 (ชนิดสแี ดง)
- หวานเมล็ดใหบาง ๆ จะทําใหตนกลาไมข้ึนแนนเกินไป และอยารดน้ําแฉะเกินไป
- ถาโรคเริม่ ระบาดใหใชสารพวกพีซเี อ็นบีเทอราคลอรพรวี ิเคอรเอน็ อยางใดอยางหนึ่ง
อัตราสวนตามฉลาก หลังจากนั้นใชนํ้าปูนใสรดแปลงกลาทกุ วัน

11

ภาพที่ 2.4 โรคเนาคอดิน
ที่มา: https://www.kasetkawna.com/article/213

2.2.5 โรคราดํา
สาเหตุเกิดจากเชือ้ รา
ลักษณะอาการ จะพบโรคนี้ในโรงเก็บเพราะหอมที่เก็บเกี่ยวเมื่อเก็บไวในที่ ๆ อากาศช้ืน
มกั จะมีราสีดาํ เปนกอนใหญ ข้ึนระหวางกาบหัวหรือระหวางกลีบของหวั หอมเสนใยรามหี ัวสีดาํ ซึ่งจะ
ฟุงกระจายไดงาย เมื่อมีการกระทบกระเทือนเนื้อเยื่อท่ีขึ้นราจะเนาเปอยกนิ ลึกเขาไปทลี ะนอย และ
ขยายวงกวางออกไปไมมีขอบเขตจํากัด สวนมากเชือ้ ราจะเจริญเขาไปทางแผลที่เกิดจากการตดั ใบ ซึ่ง
ยังไมแหงสนิท (เพราะเก็บกอนแกจัด) เปนชองทางใหโรคเขาทําลายไดงาย หอมหัวใหญที่เปนโรค
จะเนาเสยี หาย และระบาดลุกลามในระหวางการเกบ็ รักษาและจําหนาย

ภาพท่ี 2.5 โรคราดาํ
ทม่ี า: https://kaset1009.com/th/articles/141323

2.3 แมลงศรัตรูท่สี ำคัญของหอมหัวใหญ่
2.3.1 เพลยี้ ไฟ
เปนแมลงศัตรูหอมที่มีขนาดเล็กลาํ ตัวยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร สีนํ้าตาลออนถึงเขมตวั แก

มีปก เปนแมลงที่นบั วาจะมีความสาํ คัญมากขึน้ แผลที่เกิดจากการทําลายของเพลี้ยไฟมักจะเปนชอง
ทางใหเกิดโรคราสีมวงเขาทําลายได เพลี้ยไฟมักจะระบาดชวงทายของการปลกู ประมาณเดือนกุมภา
พนั ธ-เมษายน

การปองกนั กําจดั
ควรตรวจแปลงบอยๆ ถาพบเพล้ยี ไฟมากใหใชยากลมุ โมโนโครโตฟอส เชน นวู าครอน

12

อโซดริน หรือมี ทามิโดฟอส เชน ทามารอนโมนิเตอร ในแหลงที่ใชสารเคมีกําจัดเพลี้ยไฟมานาน
สําหรับแหลงที่ยังมีการใชสารเคมีไมมาก ควรใชพอสซฉีดพนจะไดผลดี สําหรับอัตราใชตามฉลากที่
กําหนด ควรผสมสารเคมกี ําจดั โรคราสีมวงในการพนแตละครัง้ เพอื่ ปองกนั โรคราสมี วงระบาดดวย

ภาพที่ 2.6 เพลีย้ ไฟ
ทีม่ า:https://www.allkaset.com/diseases

2.3.2 หนอนกระทูหอม
หนอนกระทูหอมเปนหนอนท่ีมีลกั ษณะลําตวั อวน หนงั ลาํ ตวั เรยี บตามปกติแลวมีหลายสี ต้ัง
แตเขียวออน เทา หรือนํ้าตาล สังเกตดูดานขางจะมีแถบสีขาวขางละแถบ พาดตามยาวของลําตัว
หนอนกระทูหอมจะเขาทําลายโดยกัดกินใบยอด กาบใบ นอกจากนั้นยังมีพืชอาหารที่สําคัญกวา 20
ชนิด
การปองกันกาํ จัด
ตองเขาใจอุปนิสัยของหนอนกระทูหอมใหดีพอ คือหนอนนี้จะออกมากัดกินใบหอมในเวลา
กลางคนื จนถึงเชา สวนตอนกลางวนั หนอนจะหลบแดดอยูใตวัสดุคลมุ ดิน ดงั น้นั การใชสารฆาแมลงท่ี
ไดผล เชนสารไพรีทรอยดออรแกนโนฟอสเฟต หรือคลอไพรฟี อส ซึ่งจะออกฤทธิ์ถูกตัวตาย ควรจะพ
นในชวงเวลาเย็นหรืออุณหภูมสิ งู ไมเกนิ 28-30C จะไดผลดีมาก
- ควรหลกี เลีย่ งการปลูกพชื ซ้ําและพืชอาหารท่ีหนอนชอบ จะปองกันการระบาดไดดี
- ควรใชสารทีม่ พี ษิ ตกคางคอนขางสนั้ และเลอื กซ้ือจากบรษิ ัท หรือรานคาที่ เชอ่ื ถอื ได จะทํา
ใหการปองกนั กําจดั ไดผลดี-
การใชเช้ือจลุ ินทรยี เอน็ พีวี (NPV) ของหนอนกระทูหอมเปนท่ยี อมรับวาปลอดภยั และไดผล
นอกจากนั้นแลวยังมีการใชสารสะเดาในการปองกันกําขัดไดผลเชนกัน ซึ่งสามารถขอรายละเอียด
เพ่ิมเตมิ ไดจากหนวยปองกนั กําจัดศตั รพู ชื

13

ภาพท่ี 2.7 หนอนกระทูหอม
ท่มี า: http://www.ptcn.ac.th/digital_library/agri/onion/onion11.htm

2.4 วธิ กี ารทำหอมหัวใหญผ่ ง
การเตรยี มหอมหัวใหญ่
หอมหวั ใหญ่คดั ทิ้งไดม้ าจากการปลกู หอมหวั ใหญข่ องนาตนเอง ทาํ ความสะอาด โดยลา้ งด้วย

น้ำเปลา่ ลอกเปลือกนอกท่ีเปน็ สีน้ำตาลออก ตัดดา้ นบน และล้างหัวหอมออกด้านละ 1 เซนติเมตร ผ่า
คร่ึงและเอาแกนกลางออก ห่ันตามยาวขนาด 2-5 มิลลเิ มตร

การอบหรอื ตากหอมหัวใหญ่
หอมหวั ใหญท่ ี่หนั่ เปน็ ชิ้นๆ นาํ มาอบแหง้ ในตู้อบลมร้อน หรอื ตากแดดประมาณ 2-3 อาทิตย์
ใหแ้ หง้ โดยนาํ ช้ินหวั หอม เรียงลงในถาด
การป่นั หอมหัวใหญ่
เตรียมเครื่องปั่น แล้วนำหอมหัวใหญ่ที่อบหรือตากแห้งแล้วใส่เครื่องปั่น จากนั้นก็ปั่นให้
ละเอยี ด นำใส่ภาชนะบรรจุภัณฑ์ให้เรยี บร้อย

2.5 งานวิจยั ท่เี ก่ยี วข้อง
โครงการผงหอมหัวใหญ่ ผูจ้ ัดทำโครงการไดศ้ กึ ษาคน้ คว้าบทความงานวจิ ัยทเี่ ก่ียวข้อง ดังนี้

ธนภพ โสตรโยม และคณะ (พ.ศ. 2559) การทดสอบประสิทธภิ าพการยบั ย้ังแบคทีเรีย Escherichia
coli และ Salmonella spp. ของสารสกัดจากหอมหัวใหญ่ จากการศึกษาการสกัดสารสกัดหยาบ
จากหอมหัวใหญ่ ด้วยวิธีการแช่ยุ่ย (marceration) โดยใช้ตัวทาละลาย 3 ชนิด คือเฮกเซน , เอ
ทานอล และเมทานอล พบว่าการสกัดสารสกัดหยาบจากหอมหัวใหญ่ที่มีน้าหนักแห้ง 2 กิโลกรัม จะ
ได้ปริมาณสารสกัดหยาบที่สกัดได้จากตัวทาละลายทั้ง 3 ชนิด เท่ากับ 1.305 3.260 และ1.306กรัม
ตามลำดับ จากการศึกษาฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรีย 2 สายพันธุ์ ได้แก่ Escherichia
coli และ Salmonella spp. ของสารสกดั หอมหัวใหญ่โดยใช้ตวั ทำละลาย คอื
เอทานอล, เฮกเซน และเมทานอล พบว่า สารสกัดที่สกัดด้วยเอทานอลมฤี ทธิ์ในการยั้บยั้งการเจริญ
ของ Escherichia coli ได้ โดยมีขนาดของวงใสเท่ากับ 6 มิลลิเมตรแต่ไม่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของ
แบคทีเรีย Salmonella spp. ค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเช้ือ

14

Escherichia coli จากการคัดเลือกผลจากวิธี disc diffusion techniques ซึ่งพบว่าสารสกัด
หอมหัวใหญ่ที่สกัดด้วยเอทานอลมีฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญของ Escherichia coli ได้ จึง
ทำการศึกษาหาค่าความข้มข้นต่าสุด(MIC) ของสารสกัดที่สกัดด้วยเอทานอลในการยับยั้งการเจริญ
ของ Escherichia coli ด้วยวิธี Macro broth dilution technique พบว่า ที่ความเข้มข้นของสาร
สกัดหอมหัวใหญ่เท่ากับ 25 50 และ 100 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร มีการตกตะกอนของสารสกัด และ
สารละลายดา้ นบนมีลักษณะใส แสดงว่า Escherichia coli ไม่สามารถเจรญิ ได้ เมื่อเปรียบเทียบกับท่ี
ความเขม้ ขน้ ทนี่ อ้ ยกว่า 12.5 มิลลิกรมั ตอ่ มิลลิลิตร ซงึ่ สารละลายขนุ่ ทงั้ หลอด แสดงวา่ Escherichia
coli สามารถเจรญิ ได้ ดังนั้นจึงสรุปได้วา่ ค่าความเข้มขน้ ต่ำสุด (MIC) ของสารสกดั ที่สกดั ดว้ ย

เอทานอลในการยับยงั้ การเจรญิ ของ Escherichia coli เท่ากับ 25 มิลลกิ รมั ต่อมิลลิลิตร

เกียรติศักดิ์ พลสงคราม และ ยุพาพร รักศิลปะกิจ (2557) ผลการวิจัยและวิจารณ์

หอมหัวใหญส่ ดมีความช้ืน 92.56% คารโ์ บไฮเดรต 4.57% โปรตนี 2.63% ไขมนั มีเลก็ นอ้ ย ของแขง็
ท้ังหมด 7.44% และเถ้า 0.24% หอมหัวใหญ่มีความชื้นสูงและของแข็งทั้งหมดต่ำซ่ึงยังไม่เหมาะใน
การนาํ มาอบแหง้ เพราะจะได้รอ้ ยละของผลไดต้ ่ำและส้ินเปลืองพลงั งานในการกาํ จัดน้ำหอมหัวใหญ่ท่ี
ใช้เป็นวัตถดุ บิ ในการอบแหง้ ควรมีคา่ ของแขง็ ท้ังหมดอยู่ระหว่าง 15-20% อบแห้งช้ินหวั หอมดว้ ยตู้อบ
ลมร้อนท่ีอุณหภูมิ 60oC เพื่อให้ได้ความชื้นต่ำกว่า 5% พบว่าการอบแห้งท่ีอุณหภูมิ 60oC เป็นเวลา
6 ชั่วโมง ได้หอมอบแห้งมีความช้ืน 4.53 ± 0.07% ค่า water activity เท่ากับ 0.304 ± 0.001 มีสี
เหลอื งออ่ นๆและไมม่ ีกลิ่นไหม้ หอมผงมคี วามช้ืน 5.28% โปรตนี 9.02% ไขมัน 0.0058% คาร์โบไฮ
เดรท 81.72% และเถ้า 3.97% ค่า water activity เท่ากับ 0.305 สามารถป้องกันการเจริญของ
จุลินทรีย์ได้ดี สภาวะดังกล่าวยังลดการเกิดออกซิเดชันของลิพิดซึ่งจะทําให้หอมผงเกิดกล่ินหืนได้ชา้
หอมผงจากการวิจัยมีสีเหลอื งอ่อนๆ กลิ่นคล้ายหอมสด ไม่แสบตาและไมม่ ีกล่ินไหม้ ค่าสีของหอมผง
ด้านสีขาว (L*= 90.9 ± 0.1) มีค่าสูงทําให้หอมผงมีความสว่างมาก ค่าสีแดงติดลบเล็กน้อย (a*= -
5.1 ± 0.6) แสดงว่าปรากฏสเี ขียวเพียงเลก็ น้อย ส่วนค่าสีเหลืองมีคา่ บวก (b*= + 22.4 ± 0.6)แสดง
ว่าปรากฏสีเหลืองเมื่อเปรียบเทียบกับหอมผงนําเข้าพบว่าหอมผงจากวิจัยมีความสว่างหรือสีขาว
มากกวา่ ส่วนหอมนําเขา้ จะมีสีเหลืองนอ้ ยกว่าหอมจากวิจัยฟลาโวนอยล์ท่ีสาํ คัญในหวั หอม ได้แก่ เค
วอเซทิน สารดังกล่าวมี สมบัติต้านออกซิเดช่ันหรือกําจัดอนุมูลอิสระจึงทําให้หอมเป็นพืชสมุนไพร
หอมผงจากการวิจัยมีฟลาโวนอยด์ เท่ากับ 10.95 ± 0.59 mg quercetin/g ชึ่งมากกว่าหอมผง
นําเข้า (6.90 ± 0.01 mg quercetin/g) ทํานองเดียวกันก็พบว่าพอลิฟนอลในหอมผงจากการวิจัย
(4.37 ± 0.14mg GAE/g) ก็มากกว่าในหอมผงนําเข้า (1.89 ± 0.05 mg, GAE/g)การวิเคราะห์
จุลินทรีย์ของหอมผงพบว่าการเก็บรักษาเป็นเวลา 80 วันท่ีอุณหภูมิห้อง (26±1oC)และอุณหภูมิ
4±1oC ไดค้ ่า total plate count เทา่ กบั 1.1 102 และ 1.4 102 CFU/g ตามลาํ ดบั (estimated
aerobic plate count)ปริมาณจุลินทรีย์เพิ่มข้ึนเมื่อเทียบกับก่อนที่จะเก็บรักษา (5.5 10 CFU/g)
อย่างไรก็ตามปริมาณจุลินทรีย์ยังน้อยกว่ามาตรฐานของพริกป่นซึ่งระบุไว้ว่าต้องไม่เกิน 5 105
CFU/g ตามมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน มผช. ๔๙๒/๒๕๔๗

บทที่ 3

วิธกี ารดำเนนิ การศกึ ษา

การดำเนินโครงการผงหอมหวั ใหญ่ มีวัตถปุ ระสงค์ 1.) เพอ่ื ถนอมหอมหวั ใหญไ่ ม่ให้เน่าเสีย
2.) เพ่ือสะดวกแกก่ ารบรโิ ภค 3.) เพอ่ื สร้างรายได้ให้แก่ชมุ ชน
ซ่ึงผู้ศกึ ษาไดด้ ำเนนิ การศกึ ษาดังนี้

3.1 ผลิตภัณฑแ์ ละกลุ่มตัวอยา่ ง
3.2 เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการศกึ ษา
3.3 ขัน้ ตอนวธิ ดี ำเนนิ การศกึ ษา
3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
3.5 การวิเคราะห์ขอ้ มูล

3.1 ผลิตภณั ฑแ์ ละกลมุ่ ตวั อยา่ ง
โครงการเร่อื ง ผงหอมหัวใหญ่ ผู้จดั ทำใช้วธิ ีการ เลือกกลุม่ ตัวอย่างแบบ เจาะจง ( Purposive

sampling ) เป็นการเลือกกลมุ่ ตวั อย่างโดยพจิ ารณาจากการตัดสินใจของ ผ้วู จิ ยั เอง ลกั ษณะของกล่มุ
ทเ่ี ลอื กเปน็ ไปตามวตั ถุประสงคข์ องการวิจัย คือ กลมุ่ ผทู้ ดลองรับประทานผงหอมหวั ใหญ่ จำนวน 50
คน
- จำนวน ผงหอมหวั ใหญ่ 10 กระปุก

3.2 เครอ่ื งมือทีใ่ ช้ในการศกึ ษา
3.2.1 แบบบันทึกผลการทดลอง
3.2.2แบบสอบถามความพงึ พอใจ
ผจู้ ดั ทำโครงการใช้แบบบนั ทกึ ผลฯ แบบสอบถามฯ เปน็ เครื่องมอื เพ่อื รวบรวมขอ้ มูลจากกลมุ่

ตวั อยา่ ง เพอื่ สอบถามความคิดเหน็ ต่างๆ ซงึ่ มกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากการบนั ทกึ ผลการทดลองและ
แบบสอบถามความคดิ เหน็ เก่ียวกับความพงึ พอใจของผงหอมหวั ใหญ่ โดยผู้จัดทำโครงการไดแ้ ยกแบบ
บนั ทกึ ผลฯ และแบบสอบถามฯ ออกเปน็ 3 สว่ นดังนี้

แบบบนั ทกึ ผลการทดลอง ประกอบไปด้วย วตั ถุดบิ ,อปุ กรณ,์ วธิ ีการทดลอง,ผลการทดลอง
จำนวนครั้งในการทดลอง 3 คร้ัง

แบบสอบถามความพงึ พอใจ ประกอบไปดว้ ย 2 ส่วน
ส่วนที่ 1 ข้อมลู ส่วนบุคคลของผ้ตู อบแบบสอบถาม โดยสอบถามเกีย่ วกับเพศ อายุ โดยที่
ผตู้ อบได้เลือกตอบตามความเปน็ จรงิ (Check-list)
ส่วนท่ี 2 ขอ้ มูลเกย่ี วกบั การตอบแบบสอบถามความคดิ เห็น ผ้จู ดั ทำโครงการไดใ้ ช้มาตราวดั
แบบ Rating scale 5 ระดับ ตามมาตราวัดแบบลิเคิร์ท (Likert’s Scale) ในการวัดระดบั ความพงึ
พอใจ ดงั น้ี

16

5 หมายถึง มากทีส่ ดุ
4 หมายถึง มาก
3 หมายถึง ปานกลางหรือพอใช้
2 หมายถงึ นอ้ ยหรือตำ่ กวา่ มาตราฐาน
1 หมายถงึ นอ้ ยท่สี ดุ หรอื ตอ้ งปรบั ปรุงแกไ้ ข
เกณฑ์การประเมินแบบสอบถามความคิดเหน็ มี 5 ระดับ โดยผ้จู ัดทำโครงการได้เลือกวธิ กี าร
ของ เร็นสสิ เอ ลิเคริ ์ท ดงั นี้ (Likert, Rensis A. 2504)
4.50 - 5.00 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยอยู่ระดบั มากท่สี ดุ
3.50 - 4.49 หมายถึง เห็นดว้ ยอยูร่ ะดบั มาก
2.50 - 3.49 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยอยรู่ ะดับปานกกลาง
1.50 - 2.49 หมายถึง เห็นด้วยอย่รู ะดบั น้อย
1.00 - 1.49 หมายถงึ เห็นดว้ ยอยรู่ ะดบั น้อยมาก
ส่วนท3่ี ข้อเสนอแนะซ่ึงเป็นคำถามปลายเปดิ เพ่ือให้ผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคดิ เห็น
การสรา้ งเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลครง้ั นี้ โดยมกี ารสร้างข้อมลู ดังน้ี
1) ศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎี เกย่ี วกบั ผงหอมหัวใหญ่และความพงึ พอใจตอ่ ผลิตภณั ฑแ์ ละความ
คดิ เหน็ ของผู้ตอบแบบสอบถาม
2) ผู้จัดทำโครงการไดจ้ ดั ทำแบบบันทึกผลการทดลองเกีย่ วกับสตู รผงหอมหวั ใหญ่ ข้ันตอน
การทำผงหอมหัวใหญ่
3) นำแบบสอบถามที่จัดทำขึน้ ให้กับครูประจำวิชา เพือ่ ตรวจสอบความถกู ต้องตามเน้ือหา
และนำมาปรับปรุงแกไ้ ข
4) นำแบบสอบถามที่ปรับปรงุ แกไ้ ขแล้วเสนอตอ่ ครูประจำวิชาอีกคร้งั เพอื่ ตรวจสอบความ
เที่ยงตรงของเนื้อหาพรอ้ มพิจารณาความถกู ต้องชัดเจนของภาษาที่ใช้

3.3 ขน้ั ตอนวิธดี ำเนินการศึกษา
1) การวางแผน (P)
- กำหนดชื่อเร่ืองและศึกษารวบรวมข้อมลู ปัญหา ความสำคัญของโครงการ
- เขียนแบบเสนอโครงการ
- ขออนมุ ตั โิ ครงการ
2) ข้ันตอนการดำเนิน (D)
- ศกึ ษา ทดลองทำผงหอมหวั ใหญ่ผง ประเมินผลและปรับปรงุ สตู ร ครัง้ ท่ี 1
- ศึกษา หอมหวั ใหญ่ผง ประเมนิ ผลและปรบั ปรุงสตู ร คร้งั ที่ 2
- ศกึ ษา หอมหัวใหญผ่ ง ประเมินผล ครั้งท่ี 3
3) ขน้ั ตอนการตรวจสอบ (C)
- กลุ่มประชากรใช้หอมหวั ใหญ่ผง
- ประเมินผลความพึงพอใจของการใช้หอมหัวใหญผ่ ง
4) ข้ันประเมินติดตามผล (A)

17

- สรุปผลการประเมนิ ความพงึ พอใจผลิตภัณฑห์ อมหวั ใหญผ่ ง
- จัดทำเลม่ โครงการ

- นำเสนอ และเผยแพร่ใหค้ นในทอ้ งถิน่ ตำบลบ้านกาด อำเภอแมว่ าง จงั หวดั เชียงใหม่
นำออกจำหน่าย ตอ่ ยอดเขา้ สู่ทอ้ งตลาด

3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ผู้จดั ทำโครงการไดด้ ำเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมลู การทำโครงการน้ี อย่างเปน็ ขน้ั ตอนดงั น้ี

3.4.1 ผูจ้ ัดทำโครงการบันทึกผลการทดลองแตล่ ะครง้ั และสสรปุ ออกมาเปน็ รายข้อ
3.4.2 ผ้จู ัดทำโครงการทำการแจกแบบสอบถามให้กบั กล่มุ ตวั อยา่ งคณะครบู ุคลากร

นักเรยี น-นักศกึ ษา ในวิทยาลัยอาชวี ศึกษาเชียงใหม่ โดยวิธีแสกนคิวอาร์โค้ช ให้ผู้ตอบแบบสอบถาม
ออนไลน์ตอบแบบสอบถามด้วยตัวเอง

3.4.3 การรวบรวมแบบสอบถาม ผูจ้ ดั โครงการไดร้ วบรวมแบบสอบถามด้วยตัวเอง

3.4.5 ตรวจสอบความสมบูรณข์ องแบบสอบถาม เพอื่ นำข้อมลู ไปวิเคราะหท์ างสถิติ

3.5 การวิเคาระห์ข้อมูล
ขอ้ มลู ท่ไี ด้จากการรวบรวม ผู้จัดทำโครงการได้ทำการตรวจสอบความเรียบร้อยสมบูรณข์ อง

แบบสอบถามและนำขอ้ มูลมาประมวลผลวิเคราะหด์ ว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์สำเรจ็ รูปสำหรบั การ

คดิ ค่าร้อยละ การหาคา่ เฉล่ีย(Mean) และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ดังนี้

3.5.1 การวเิ คราะห์ข้อมูลส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู สว่ นบุคคลในการวเิ คราะห์ ไดแ้ ก่ การหาค่าความถี่

(Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage)
สูตรการหาคา่ รอ้ ยละ

เมอ่ื P แทน รอ้ ยละ P =



F แทน ความถ่ที ต่ี ้องการแปลค่าให้เปน็ ร้อยละ
n แทน จำนวนขอ้ มลู ทั้งหมด

3.5.2 การวิเคราะห์ขอ้ มลู สว่ นที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของผ้ใู ช้ผงหอมหวั ใหญใ่ น
การปรุงอาหาร จำนวน 10 กระปุก ของหมู่บา้ นกิว่ แลป่าเป้า ตำบลบา้ นกาด อำเภอแมว่ วาง จังหวดั

เชียงใหม่ นำออกจำหน่าย ตอ่ ยอดเขา้ สทู่ อ้ งตลาด

ในการวเิ คราะห์ ได้แก่ การหาค่าเฉล่ีย (Mean) และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D)
สตู รการหาคา่ เฉลย่ี

เมอื่ x แทน ค่าเฉลยี่ ∑
∑x ̅ =

แทน ผลรวมทงั้ หมดของความถ่ี คูณ คะแนน

N แทน ผลรวมทั้งหมดของความถ่ซี ่งึ มคี ่าเทา่ กับจำนวนขอ้ มูลท้ังหมด

18

สตู รการหาส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน

S.D. = √ ( − −( ) )

เม่อื S.D. แทน ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
n แทน จำนวนคทู่ ้งั หมด
X แทน คะแนนแตล่ ะตวั ในกลมุ่ ขอ้ มูล

∑x แทน ผลรวมของความแตกตา่ งของคะแนนแต่ละคู่
3.5.3 การวิเคราะหข์ ้อมลู ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะ ซ่ึงเปน็ คำถามปลายเปิดเพ่อื ให้ผู้ตอบ

แบบสอบถามความพงึ พอใจเกยี่ วกบั ผลติ ภัณฑ์ ผงหอมหวั ใหญ่ ไดต้ อบแบบสอบถาม โดยผจู้ ัดทำ
โครงการได้วเิ คราะห์ข้อมลู ในรูปแบบเชิงพรรณนาบรรยายตามเหตุผลของผู้ตอบแบบสอบถาม

บทท่ี 4
ผลการวิจยั

ในการศกึ ษาผลติ ภณั ฑ์ผงหอมหวั ใหญ่ มวี ัตถุประสงค์ เพอ่ื ผลติ ใหผ้ ูท้ ีไ่ ม่ชอบทานหอมหัวใหญ่
ได้ทานงา่ ยขึน้ เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของผู้รับประทานผงหอมหวั ใหญ่ ในการศึกษามีผลการดำเนิน
ดงั หวั ข้อตอ่ ไปน้ี

สว่ นที่ 1 สรุปขัน้ ตอนการทำผงหอมหัวใหญ่
ส่วนที่ 2 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล
สว่ นที่ 3 ผลการวเิ คราะห์ความพึงพอใจของผู้รับประทานผงหอมหัวใหญ่
ส่วนท่ี 4 การจัดลำดับผลการวิเคราะหค์ วามพงึ พอใจของผู้รับประทานผงหอมหวั ใหญ่
สว่ นท่ี 5 ผลสรุปขอ้ เสนอแนะ

ส่วนท่ี 1 สรปุ ขน้ั ตอนการทำผงหอมหัวใหญ่
องค์ประกอบ
- หอมหวั ใหญ่
อปุ กรณ์
1. มีด
2. เขียง
3. กระดง้
4. เครือ่ งปัน่
5. ตะแกรงรอ่ น

วิธีการทำ
1. ปลอกเปลือกหอมหัวใหญ่

ภาพที่ 4.1 ปลอกเปลอื กหอมหวั ใหญ่

20

2. ซอยหอมหัวใหญใ่ ห้เปน็ ช้นิ เลก็

ภาพท่ี 4.2 ซอยหอมหัวใหญใ่ หเ้ ป็นช้ินเล็ก

3. แลว้ นำหอมหวั ใหญใ่ สใ่ นกระด้ง

ภาพท่ี 4.3 นำหอมหวั ใหญ่ใส่ในกระดง้

4. นำหอมหัวใหญไ่ ปตากแดดให้แห้ง

ภาพท่ี 4.4 นำหอมหัวใหญไ่ ปตากแดดใหแ้ ห้ง

5. นำหอมทแี่ ห้งแลว้ ปัน่ ใหล้ ะเอียดจนกลายเปน็ ผง

ภาพท่ี 4.5 นำหอมท่ีแห้งแลว้ ปั่นให้ละเอียดจนกลายเป็นผง

21

6. นำไปร่อนเพือ่ ใหเ้ ศษตกตะกอน

ภาพท่ี 4.6 นำไปร่อนเพื่อใหเ้ ศษตกตะกอน

7. พอรอ่ นจนเสร็จหมดแล้วก็นำไปใส่ภาชนะที่เตรียมไวไ้ ด้เลย

ภาพท่ี 4.7 นำไปใส่ภาชนะทเ่ี ตรียมไว้

ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลสว่ นบุคคล

จากการศึกษาผงหอมหัวใหญ่ ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งประกอบด้วยข้อมูล

เกี่ยวกบั เพศ และชว่ งอายุ ซ่ึงผลการวิเคราะห์ปรากฏดังนี้

ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู สว่ นบคุ คลด้านเพศ

เพศ จำนวนคน ร้อยละ

ชาย 13 26.00

หญงิ 37 74.00

รวม 50 100.00

จากตารางที่ 1 ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลดา้ นเพศ ผู้ศึกษาได้สรุปผลการ
วิเคราะห์พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 74.00 และเพศชาย คิด
เป็นร้อยละ 26.00 ตามลำดับ

22

ตารางท่ี 2 ตารางแสดงผลการวเิ คราะห์ข้อมลู สว่ นบุคคลดา้ นอายุ

อายุ จำนวนคน รอ้ ยละ
8.00
16-17 4 60.00
32.00
18-19 30 100.00

20 ปีขนึ้ ไป 16

รวม 50

จากตารางที่ 2 ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมลู ส่วนบุคคลดา้ นอายุ ผ้ศู ึกษาได้สรุปผลการ
วิเคราะห์พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 18-19 คิดเป็นร้อยละ 60.00 รองลงมา
ชว่ งอายุ 20 ปขี ึน้ ไป คดิ เปน็ ร้อยละ 32.00 และชว่ งอายุ 16-17ปี คิดเปน็ ร้อยละ 8.00 ตามลำดับ

สว่ นที่ 3 ผลการวเิ คราะห์ความพึงพอใจของผู้ทร่ี ับประทานผงหอมหัวใหญ่

การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ศึกษาเรื่องผงหอมหัวใหญ่ โดยการหาค่าเฉลี่ย ( ̅) และส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) จากแบบสอบถามความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ผงหอมหัวใหญ่ ข้อมูลปรากฏ
ดังนี้

ตารางท่ี 3 ตารางแสดงผลการวเิ คราะห์ความพึงพอใจของผู้ทรี่ ับประทานผงหอมหวั ใหญ่

รายการแบบสอบถาม ผลการประเมนิ

ผงหอมหัวใหญ่มีกลิ่นหอม ̅ S.D. ผลการประเมนิ
ผลิตภัณฑ์สามารถปรุงรสได้จริง
สีสันของผงหอมหัวใหญ่ 4.12 0.85 มาก
บรรจุภัณฑ์มีความเหมาะสม
ความเหมาะสมในด้านปริมาณของผงหอมหัวใหญ่ 4.26 0.75 มาก
ความสะดวกในการใช้ผงหอมหัวใหญ่
การเก็บรักษาผงหอมหัวใหญ่ 3.94 0.91 มาก
ความสะอาด ถูกหลักอนามัย
ความแปลกใหม่ของผงหอมหัวใหญ่ 4.06 0.74 มาก
ความเหมาะสมในด้านรสชาติผงหอมหัวใหญ่
4.12 0.77 มาก
รวม
4.2 0.73 มาก

3.9 0.79 มาก

4.26 0.78 มาก

4.4 0.73 มาก

4.32 0.71 มาก

4.158 0.06 มาก

23

จากตารางที่ 3 ตารางแสดงผลการวเิ คราะห์ความพึงพอใจของผู้ทรี่ ับประทานผงหอมหัวใหญ่
ได้สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าผลสรุปภาพรวมของความพึงพอใจของผู้ที่รับประทานผง
หอมหัวใหญ่ อยูใ่ นระดบั มาก ( ̅=4.158) เม่อื สรุปผลออกมาเป็นรายขอ้ พบว่า ความแปลกใหม่ของ
ผงหอมหัวใหญ่ ผลการประเมินอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.4) รองลงมาคือ มีความเหมาะสมในด้าน
รสชาติผงหอมหัวใหญ่ อยูใ่ นระดับมาก ( ̅=4.32) ผลิตภัณฑ์สามารถปรุงรสได้จริง อยู่ในระดับมาก
( ̅=4.26) มคี วามสะอาด ถกู หลกั อนามัยมากนอ้ ยแค่ไหน อยใู่ นระดับมาก ( ̅=4.26) มคี วามสะดวก
ในการใช้ผงหอมหัวใหญ่ อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.2) ผงหอมหัวใหญ่มีกลิ่นหอม อยู่ในระดับมาก
( ̅=4.12) ความเหมาะสมในด้านปริมาณของผงหอมหัวใหญ่ อยู่ในระดบั มาก ( ̅=4.12) บรรจุภัณฑ์
มีความเหมาะสม อยใู่ นระดับมาก ( ̅=4.06) สสี นั ของผงหอมหัวใหญ่ อย่ใู นระดับมาก ( ̅=3.94) การ
เกบ็ รกั ษาผงหอมหวั ใหญ่ อย่ใู นระดบั มาก ( ̅=3.9) ตามลำดับ

สว่ นท่ี 4 การจัดลำดับผลการวเิ คราะห์ความพงึ พอใจของผู้ทีร่ ับประทานผงหอมหวั ใหญ่

การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ศึกษาเรื่อง ผงหอมหัวใหญ่ โดยการหาค่าเฉลี่ย ( ̅) และส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) และจดั ลำดับความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ผงหอมหัวใหญ่ ขอ้ มลู ปรากฏดังน้ี

ตารางท่ี 4 ตารางการจัดลำดับผลการวเิ คราะห์ความพึงพอใจของผู้ท่ีรบั ประทานผงหอมหัวใหญ่

รายการแบบสอบถาม ผลการประเมนิ

̅ S.D. ผลการประเมิน ลำดบั ท่ี

ความแปลกใหม่ของผงหอมหัวใหญ่ 4.4 0.73 มาก 1

ความเหมาะสมในด้านรสชาติผงหอมหัวใหญ่ 4.32 0.71 มาก 2

ผลติ ภัณฑส์ ามารถปรุงรสไดจ้ รงิ 4.26 0.75 มาก 3

ความสะอาด ถูกหลักอนามยั 4.26 0.78 มาก 4

ความสะดวกในการใช้ผงหอมหัวใหญ่ 4.2 0.73 มาก 5

ผงหอมหวั ใหญ่มีกลิ่นหอม 4.12 0.85 มาก 6

ความเหมาะสมในด้านปรมิ าณของผง 4.12 0.77 มาก 7

หอมหวั ใหญ่

บรรจุภณั ฑ์มีความเหมาะสม 4.06 0.74 มาก 8

สสี นั ของผงหอมหวั ใหญ่ 3.94 0.91 มาก 9

การเก็บรกั ษาผงหอมหวั ใหญ่ 3.9 0.79 มาก 10

รวม 4.158 0.06 มาก

24

จากตารางที่ 4 ตารางการจัดลำดับผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้ที่รับประทานผง
หอมหัวใหญ่ ได้สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าผลสรุปภาพรวมของความพึงพอใจของผู้ที่
รับประทานผงหอมหวั ใหญ่ อยู่ในระดับ มาก ( ̅=4.158) เมื่อสรุปผลออกมาเป็นรายข้อพบวา่ ความ
แปลกใหม่ของผงหอมหัวใหญ่ ผลการประเมินอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.4) รองลงมาคือ มีความ
เหมาะสมในด้านรสชาติผงหอมหัวใหญ่ อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.32) ผลิตภัณฑ์สามารถปรุงรสได้จริง
อยใู่ นระดับมาก ( ̅=4.26) มคี วามสะอาด ถูกหลกั อนามยั อย่ใู นระดับมาก ( ̅=4.26) มีความสะดวก
ในการใช้ผงหอมหัวใหญ่ อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.2) ผงหอมหัวใหญ่มีกลิ่นหอม อยู่ในระดับมาก
( ̅=4.12) ความเหมาะสมในด้านปรมิ าณของผงหอมหวั ใหญ่ อยูใ่ นระดบั มาก ( ̅=4.12) บรรจุภัณฑ์
มีความเหมาะสม อยู่ในระดบั มาก ( ̅=4.06) สีสันของผงหอมหวั ใหญ่ อยู่ในระดับมาก ( ̅=3.94) การ
เก็บรักษาผงหอมหวั ใหญ่ อย่ใู นระดบั มาก ( ̅=3.9) ตามลำดบั

สว่ นที่ 5 ผลสรปุ ข้อเสนอแนะ

1) พัฒนาต่อไป
2) รสชาติกำลังดี
3) ลดกลน่ิ
4) ควรมชี ่อื สนิ ค้าและโลโก้

บทท่ี 5
สรปุ ผล อภิปปรายและขอ้ เสนอแนะ

ในการศึกษาผลิตภัณฑ์ผงหอมหัวใหญ่ มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตให้ผู้ที่ไม่ชอบรับประทาน
หอมหัวใหญ่ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ที่รับประทานหอมหัวใหญ่ โดยมีกลุ่มตัวอย่างแบบ
เจาะจง ( Purposive sampling ) เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยพิจารณาจากการตัดสินใจของ
ผู้วจิ ยั เอง ลักษณะของกลุ่มทีเ่ ลอื กเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการวจิ ัย คอื กลุ่มผ้ทู ดลองรับประทาน
ผงหอมหัวใหญ่ จำนวน 50 คน ระหว่างวนั ท่ี 7 ธนั วาคม ถงึ วันท่ี 12 มีนาคม 2564 เคร่ืองมือที่ใช้ใน
การศึกษาครั้งนี้ คือ แบบบันทึกผลการทดลอง แบบสอบถามความพึงพอใจ โดยสร้างจากกูลเกิล
ฟอร์ม (Google form) ซึ่งผู้ศึกษาสร้างขึ้นเพื่อสอบถามความพึงพอใจของผู้ทดลองรับประทานผง
หอมหัวใหญ่ ผลการศกึ ษามดี ังน้ี

5.1 สรุปผลการศึกษา
5.2 อภิปรายผล
5.3 ขอ้ เสนอแนะ

5.1 สรปุ ผลการศกึ ษา
จากการศึกษาผลิตภัณฑ์ผงหอมหัวใหญ่ สรุปผลการศึกษาดังนี้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วน

บุคคลด้านเพศ พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญเ่ ปน็ เพศหญิง คิดเปน็ รอ้ ยละ 74 ข้อมูลส่วนบุคคล
ด้านอายุ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 18-19 ปี คิดเป็นร้อยละ 60 และผลการ
วเิ คราะห์ความพงึ พอใจของผู้ท่ีรับประทานผงหอมหัวใหญ่ พบว่าความแปลกใหม่ของผงหอมหัวใหญ่
ผลการประเมนิ อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.4) รองลงมาคอื มีความเหมาะสมในด้านรสชาติผงหอมหัวใหญ่
อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.32) ผลิตภัณฑ์สามารถปรุงรสได้จริง อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.26) มีความ
สะอาด ถูกหลักอนามัย อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.26) มีความสะดวกในการใช้ผงหอมหัวใหญ่ อยู่ใน
ระดับมาก ( ̅=4.2) ผงหอมหัวใหญ่มีกลิ่นหอม อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.12) ความเหมาะสมในด้าน
ปริมาณของผงหอมหัวใหญ่ อยใู่ นระดบั มาก ( ̅=4.12) บรรจภุ ัณฑ์มีความเหมาะสม อยใู่ นระดับมาก
( ̅=4.06) สีสันของผงหอมหัวใหญ่ อยู่ในระดับมาก ( ̅=3.94) การเก็บรักษาผงหอมหัวใหญ่ อยู่ใน
ระดบั มาก ( ̅=3.9) ตามลำดับ

26

5.2 อภิปรายผล
จากการศึกษาผลิตภัณฑ์ผงหอมหัวใหญ่ สามารถอภิปรายผลไดด้ ังนี้ ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศ

หญงิ มากกว่าเพศชายดงั นนั้ ผทู้ ดลองรับประทานผงหอมหัวใหญ่สว่ นใหญ่เปน็ เพศหญิง ด้านช่วงอายุ
เนื่องจากผงหอมหัวใหญ่ ผู้ใช้ส่วนใหญม่ ักจะเป็นวัยรุ่นตอนปลายดังนั้นผูท้ ดลองใช้ส่วนใหญ่จึงมีอายุ
18-19 ปี ผลการวิเคราะห์แบบประเมินของผู้ที่รับประทานผงหอมหัวใหญ่ พบว่า ผงหอมหัวใหญ่
สามารถรับประทานไดจ้ ริง

ความแปลกใหม่ของผงหอมหัวใหญ่ ผลการประเมินอยใู่ นระดบั มาก ( ̅=4.4) เนื่องจากผู้ทดลอง
ชมิ ไดเ้ ห็นผลิตภัณฑ์คร้งั แรก

มีความเหมาะสมในด้านรสชาติผงหอมหัวใหญ่ อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.32) เนื่องจากผู้
ทดลองชมิ มคี วามพงึ พอใจในรสชาติ

ผลติ ภัณฑส์ ามารถปรงุ รสไดจ้ รงิ อยใู่ นระดบั มาก ( ̅=4.26) เนอื่ งจากผงหอมหัวใหญ่สามารถ
นำไปปรงุ รสได้จริง

ความสะอาด ถกู หลกั อนามัย อยใู่ นระดบั มาก ( ̅=4.26) เนอื่ งจากผงหอมหัวใหญไ่ ม่มีสารท่ี
เป็นอันตรายปนเปอ้ื น

มีความสะดวกในการใช้ผงหอมหัวใหญ่ อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.2)เนื่องจากผงหอมหัวใหญ่
สามารถนำไปใชไ้ ดห้ ลายรูปแบบ

ผงหอมหวั ใหญม่ ีกลน่ิ หอม อยใู่ นระดบั มาก ( ̅=4.12) เนื่องจากมีกลิ่นทไ่ี มฉ่ ุนมากเกินไป
ความเหมาะสมในด้านปริมาณของผงหอมหัวใหญ่ อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.12) เนื่องจากผง
หอมหัวใหญ่ใช้ปรงุ รสในปรมิ าณไมม่ าก
บรรจุภัณฑ์มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.06) เนื่องจากบรรจุภัณฑ์มีขนาด
เหมาะสม
สีสันของผงหอมหัวใหญ่ อยู่ในระดับมาก ( ̅=3.94) เนื่องจากเป็นสีธรรมชาติที่มาจาก
หอมหัวใหญต่ ากแหง้
การเกบ็ รักษาผงหอมหัวใหญ่ อยูใ่ นระดับมาก ( ̅=3.9) เนอ่ื งจากเปน็ ผงซงึ่ สามารถเก็บไว้ได้
นาน

5.3 ข้อเสนอแนะ
1. ขอ้ เสนอแนะในการศึกษา
ในการศึกษาผลิตภัณฑ์ผงหอมหัวใหญ่ ผู้ทดลองรบั ประทานมีความพึงพอใจในเรือ่ งของ ผง

หอมหวั ใหญ่มรี สชาติทีก่ ำลงั ดี แต่อยากให้เพมิ่ ในเรอื่ งของ โลโกผ้ ลติ ภณั ฑ์และกล่ิน
2. ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาครง้ั ต่อไป
ในการศึกษาครัง้ ต่อไปควรพัฒนาการทำผงหอมหวั ใหญ่ ให้มใี นเร่อื งของโลโก้และลดกล่ิน

บรรณานกุ รม

เครอื่ งเทศผลติ ภณั ฑ์ หอมหวั ใหญ่ (ระบบออนไลน์). ม.ป.ป.
แหลง่ ขอ้ มลู : http://www.kingfood.co.th/ThPopupProducts.php?pid=145&cid=2
(สบื ค้นวนั ที่ 30 พฤศจิกายน 2563)

ผงปรุงรสหอมหวั ใหญ่” สูตร “เจ” นวตั กรรมเพ่ือสขุ ภาพ (ระบบออนไลน์). ม.ป.ป.
แหลง่ ขอ้ มูล: http://fic.nfi.or.th/technologyandinnovation-detail.php?smid=82
(สืบคน้ วนั ที่ 30 พฤศจกิ ายน 2563)

วารสารการพฒั นาชุมชนและคณุ ภาพชีวติ . (2557). การผลิตหอมผงเพ่ือเพ่ิมมลู คา่ จากหอมหวั ใหญ่
คัดทงิ้ ของสหกรณ์ผูป้ ลูกหอมหวั ใหญส่ นั ป่าตอง อำเภอแมว่ าง จังหวัดเชยี งใหม่ (ระบบ
ออนไลน์). แหล่งข้อมลู : file:///C:/Users/HP/Downloads/133001-Article%20Text-
351063-1-10-20180705.pdf (สืบคน้ วนั ที่ 3 ธันวาคม 2563)

หอมหวั ใหญ่ ประโยชน์ดีๆ สรรพคณุ เด่นๆ และขอ้ มูลงานวิจยั (ระบบออนไลน)์ . ม.ป.ป.
แหล่งขอ้ มลู : https://www.disthai.com/17105170/หอมหัวใหญ่ (สบื คน้ วันท่ี 30
พฤศจกิ ายน 2563)

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
แบบนำเสนอโครงการวชิ าชพี

แบบนำเสนอขออนมุ ัติโครงการวชิ าชพี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชยี งใหม่

รายวิชา โครงการ รหสั วชิ า 30701 – 8501 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ชอื่ โครงการ หอมหัวใหญผ่ ง

ระยะเวลาดำเนินงาน ระหวา่ งวนั ที่ 7 ธนั วาคม ถงึ วันที่ 12 มนี าคม 2564

สถานที่ดำเนนิ งาน วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเชยี งใหม่ และ 126 หมู่ 3 ตำบลบ้านกาด

อำเภอแมว่ าง จงั หวดั เชยี งใหม่

ประมาณการคา่ ใชจ้ า่ ย 1,000 บาท (หนึ่งพนั บาทถว้ น)

ผู้จดั ทำโครงการ นางสาวปณิตา จโิ นวรรณ์ ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ขั้นสงู ช้ันปีที่ 1

สาขาวชิ าการโรงแรม (ทวิภาค)ี ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

ลงช่อื ............................................
(นางสาวปณติ า จิโนวรรณ์)
26 พฤศจิกายน 2563

ความเห็นของอาจารย์ประจำวชิ าโครงการ .......................................................................................

ลงช่อื ...............................................
(นายทินกร ติบ๊ อนิ ถา)

ลงช่ือ........................................................... ลงช่ือ....................................................
(นางอัปสร คอนราด) (นายณรงค์ศักดิ์ ฟองสนิ ธ)์ุ
รองผูอ้ ำนวยการฝ่ายวิชาการ
หวั หนา้ แผนกวชิ าการโรงแรม

แบบเสนอโครงการ

1. ช่อื โครงการ หอมหัวใหญผ่ ง
2. ผู้จัดทำโครงการ นางสาวปณิตา จิโนวรรณ์ ระดับชั้น ปวส. 1 สาขาวชิ าการโรงแรม ทวิภาคี
3. ครูทปี่ รึกษาโครงการ นายทนิ กร ติ๊บอนิ ถา
4. ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ

หอมหัวใหญ่เป็นพืชที่มีกลิ่นแรง แต่มีสรรพคุณมากมาย เช่น ช่วยรักษาเบาหวาน รักษา

โรคหัวใจ ช่วยละลายลม่ิ เลือด แกท้ ้องอืด ขบั สารพิษในร่างกาย ชว่ ยผ่อนคลาย แก้การนอนไม่หลับ

ในหอมหัวใหญ่พบว่ามีวิตามินซีสูง และสารอื่น ๆ เช่น สารเคอร์ซีทิน สามารถช่วยต่อตา้ นสารอนมุ ูล

อิสระในร่างกาย ป้องกันโรคต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าหอมหัวใหญ่มี

สรรพคณุ มากมาย ดงั น้นั การรบั ประทานหอมหัวใหญ่ชว่ ยรกั ษาโรคต่างๆ

จากท่ีได้สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติภายในท้องถิ่น ตำบลบ้านกาด

พบวา่ ผลผลติ หอมหัวใหญ่ในเขตแม่วาง จังหวดั เชียงใหม่ ในแต่ละปี ออกสู่ท้องตลาดเป็นจํานวนมาก

ซึ่งส่งผลต่อราคาจําหน่าย ผลผลิตหอมหัวใหญ่ล้นตลาดจะมีผลทําให้ราคาตกต่ำหรือขายไม่ได้ราคา

นอกจากน้ียังพบว่าหอมหัวใหญ่จํานวนหน่ึงมีขนาดไม่ได้มาตรฐานจําหน่ายได้เฉพาะตลาดสด

ภายในประเทศเท่านั้นและในแต่ละปีมีการท้ิงหอมหัวใหญ่เปน็ จำนวนมาก ซึ่งหอมหัวใหญเ่ ป็นพชื หัว

เป็นพืชล้มลุกและมีลักษณะกลมมีเปลือกนอกบางๆหุ้ม สามารถนำไปปรุงแต่งอาหารได้ และผู้คน

ส่วนมากไมช่ อบทานหอมหัวใหญ่

ดังนน้ั ทางผ้จู ดั ทำโครงการจงึ ไดม้ ีแนวคิดการแปรรูปหอมหวั ใหญ่ผง ซึง่ มีวัตถุดิบท่ีหาได้ง่าย
ตามท้องถ่นิ ของตำบลบ้านกาด อำเภอแมว่ าง จงั หวดั เชยี งใหม่ น่ันคอื หอมหัวใหญ่ เพอื่ นำมาเพิ่มมูลค่าให้
ทรพั ยากรท้องถิน่ ของตำบลบ้านกาด อำเภอแมว่ าง จังหวัดเชยี งใหม่ และในสว่ นของหอมหัวใหญ่ผง
จะช่วยให้ผูท้ ีไ่ ม่ชอบรับประทานอาหารได้ทานง่ายขึน้ และเพิ่มประโยชนต์ ่อร่างกายให้กับผู้ที่ได้ทาน
หอมหวั ใหญ่ผง

5. วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ
1) เพื่อถนอมหอมหัวใหญไ่ มใ่ หเ้ นา่ เสยี
2) เพือ่ สะดวกแก่การบริโภค
3) เพื่อสรา้ งรายได้ให้แก่ชุมชน

6. ขอบเขตโครงการ (เปา้ หมาย, กลุม่ ประชากร)
เป้าหมายของโครงการ

1 เชงิ ปริมาณ
- จำนวน หอมหัวใหญผ่ ง จำนวน 10 กระปกุ
- กลมุ่ ตัวอยา่ ง ผ้ใู ช้หอมหัวใหญ่ผง จำนวน 50 คน
2 เชงิ คุณภาพ
- ผลติ ภณั ฑ์หอมหวั ใหญผ่ งมีกล่ินทห่ี อมและทานไดง้ า่ ย
3 ระยะเวลาและสถานท่ีในการดำเนนิ งาน
ระยะเวลาดำเนนิ งาน ระหวา่ งวนั ที่ 7 ธันวาคม ถงึ วันท่ี 12 มนี าคม 2563
สถานทด่ี ำเนินงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ และ 126 ตำบลบ้านกาด

อำเภอแมว่ าง จงั หวัดเชียงใหม่

7. ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รับ
1) หอมหวั ใหญ่ไม่เน่าเสยี
2) ลดเวลาการหัน่ หอมหัวใหญ่
3) คนในชมุ ชนได้รายได้

8. นยิ ามศัพท์
หอมหัวใหญ่ คือ เป็นพืชหัว ปลูกได้ในช่วงฤดูหนาว มีลักษณะกลม มีเปลือกนอกบางๆหุ้มอยู่

เมอื่ แห้งจะมีสีนำ้ ตาลอ่อน ภายในเปน็ กาบสีขาวซอ้ นกนั
หอมหวั ใหญ่ผง คอื การแปรรูปให้เป็นผง มีกลน่ิ หอม มสี รรพคณุ ช่วยรักษาโรคต่างๆ นำไปใช้

สำหรับการปรุงอาหาร

9. วธิ ดี ำเนนิ โครงการ
1) การวางแผน (P)
- กำหนดชอ่ื เรื่องและศึกษารวบรวมข้อมูลปญั หา ความสำคญั ของโครงการ
- เขยี นแบบนำเสนอโครงการ
- ขออนุมตั โิ ครงการ
2) ขนั้ ตอนการดำเนินการ (D)
- ศกึ ษา หอมหวั ใหญผ่ ง ประเมินผลและปรับปรงุ สูตร ครงั้ ที่ 1
- ศกึ ษา หอมหวั ใหญ่ผง ประเมินผลและปรับปรงุ สตู ร ครั้งที่ 2
- ศึกษา หอมหัวใหญ่ผง ประเมนิ ผล ครง้ั ท่ี 3
3) ขน้ั ตอนการตรวจสอบ (C)
- กลมุ่ ประชากรใช้หอมหวั ใหญ่ผง
- ประเมินผลความพึงพอใจของการใช้หอมหัวใหญผ่ ง

4) ขน้ั ประเมินติดตามผล (A)
- สรปุ ผลการประเมินความพงึ พอใจผลิตภัณฑ์หอมหัวใหญผ่ ง

- จัดทำเล่มโครงการ
- นำเสนอ และเผยแพร่ใหค้ นในท้องถน่ิ ตำบลบา้ นกาด อำเภอแม่วาง จงั หวัดเชียงใหม่

10. แผนดำเนนิ โครงการ

ลำดับขั้นตอนดำเนินงาน ระยะเวลาดำเนินการ (สปั ดาหท์ ่ี 1- 18 )

(P D C A) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

1. การวางแผน (P)

- กำหนดช่อื เร่ืองและศกึ ษา

รวบรวมขอ้ มลู ปญั หา

ความสำคญั ของโครงการ

- เขียนแบบนำเสนอโครงการ

- ขออนมุ ตั ิโครงการ

2. ขัน้ ดำเนินการ(D)

- ศกึ ษา หอมหัวใหญผ่ ง

ประเมนิ ผลและปรบั ปรุงสูตร

คร้ังท่ี 1

- ศกึ ษา หอมหวั ใหญ่ผง

ประเมินผลและปรบั ปรุงสตู ร

ครง้ั ท่ี 2

- ศกึ ษา หอมหัวใหญ่ผง

ประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ สูตร

ครงั้ ที่ 3

3. ข้นั ตอนการตรวจสอบ (C)

- ผู้ใช้หอมหวั ใหญผ่ ง ไดท้ ดลอง

ใช้ผลติ ภัณฑ์

- ประเมนิ ผลความพึงพอใจของ

การใช้ หอมหวั ใหญผ่ ง

4. ขั้นประเมินติดตามผล (A)

- สรุปผลการประเมินความพึง

พอใจหอมหัวใหญ่ผง

- จัดทำเล่มโครงการ

- นำเสนอ และเผยแพร่ใหค้ นใน

ท้องถ่นิ ตำบลบา้ นกาด อำเภอ

แมว่ างจงั หวัดเชยี งใหม่

11. งบประมาณและทรัพยากร จำนวน 400 บาท

1) วสั ดุ อปุ กรณ์ เครื่องมอื เคร่ืองใช้ 600 บาท

2) เอกสารการพิมพ์ 400 บาท

รวมงบประมาณ 1,000 บาท

( หนง่ึ พันบาทถ้วน )

หมายเหตุ งบประมาณในการดำเนนิ โครงการผู้ดำเนนิ โครงการเปน็ ผรู้ ับผิดชอบดว้ ยตวั เอง

12. การติดตามประเมินผล
- แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผใู้ ช้หอมหวั ใหญ่ผง

13. เอกสารอา้ งอิง
- “หอมหัวใหญ่ ประโยชน์ดีๆ สรรพคุณเดน่ ๆ และข้อมูลงานวจิ ยั ” (ระบบออนไลน์)

แหลง่ ข้อมูล:https://www.disthai.com/17105170/%E0%B8%AB%E0%B8%AD%E0%B8%A
1%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0
%B9%88 สบื ค้น เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2563

- “ผงปรุงรสหอมหวั ใหญ่” สูตร “เจ” นวตั กรรมเพื่อสขุ ภาพ (ระบบออนไลน์) แหลง่ ขอ้ มลู :
http://fic.nfi.or.th/technologyandinnovation-detail.php?smid=82 สบื ค้น เม่อื วันที่ 30
พฤศจกิ ายน7 ธันวาคม 2563

- เคร่อื งเทศผลิตภัณฑ์ หอมหัวใหญ่ (ระบบออนไลน์) แหลง่ ข้อมลู :
http://www.kingfood.co.th/ThPopupProducts.php?pid=145&cid=2 สบื ค้น เม่ือวนั ที่ 30
พฤศจกิ ายน 2563

- วารสารการพัฒนาชมุ ชนและคุณภาพชวี ติ . (2557). การผลิตหอมผงเพื่อเพิ่มมลู คา่ จาก
หอมหัวใหญ่คดั ท้ิงของสหกรณ์ผปู้ ลูกหอมหวั ใหญ่สันป่าตอง อำเภอแมว่ าง จงั หวัดเชยี งใหม่ (ระบบ
ออนไลน)์ แหล่งขอ้ มูล:file:///C:/Users/HP/Downloads/133001-Article%20Text-351063-1-
10-20180705.pdf สบื คน้ เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2563

ภาคผนวก ข
แบบบันทึกผลการทดลอง

แบบบนั ทึกผลการทดลอง
ข้นั ตอนวิธกี ารทำครง้ั ที่ 1

1. ปลอกเปลือกหอมหวั ใหญ่

2. ซอยหอมหวั ใหญ่ให้เป็นชิน้ เล็ก

3. แล้วนำหอมหวั ใหญใ่ สใ่ นกระด้ง

4. นำหอมหัวใหญไ่ ปตากแดดใหแ้ หง้
5. นำหอมทแ่ี ห้งแลว้ ป่ันใหล้ ะเอียดจนกลายเป็นผง
6. นำไปร่อนเพอ่ื ใหเ้ ศษตกตะกอน
7. พอร่อนจนเสร็จหมดแล้วกน็ ำไปใสภ่ าชนะท่ีเตรยี มไว้ไดเ้ ลย

สรุปผลการทดลองครั้งท่ี 1
เมือ่ ทดลองเสรจ็ ครงั้ ที่ 1 พบว่า ผงหอมตดิ กันเนื่องจากความชน้ื และติดกันเป็นก้อนทำให้ยาก

ต่อการใช้ แตไ่ ด้นำผงหอมหวั ใหญท่ ี่ปั่นแล้วนำไปอบ จงึ มคี วามชื้นและการติดกันนอ้ ยลง

หมายเหตุ *
ผู้ศกึ ษาได้สรปุ ผลการทดลองทั้งหมด 2 สูตร และสตู รท่สี ัมฤทธ์ผิ ลจะอยใู่ นเนอื้ หาบทที่ 4

ภาคผนวก ค
แบบประเมินความพงึ พอใจ



ภาคผนวก ง
การคำนวณคา่ แบบประเมินความพึงพอใจ


Click to View FlipBook Version