The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thasakaes65030064, 2020-08-27 02:58:00

สื่อ60พรรษา ชุดกิจกรรมวิทย์ ป.6 เล่ม1

Sue60Ps_Sci61

Keywords: S60PSci61

ช่อื -สกุล ช้นั เลขที่ บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๑ - ๐๑
วนั ที่ พ.ศ.
เดอื น

๓. ลน้ิ มหี น้าทอี่ ะไรในการย่อยอาหาร

๔. น้�าลายเกี่ยวข้องกับการยอ่ ยอาหารในปากหรอื ไม่ อย่างไร

๕. การเคีย้ วอาหารให้ละเอียดมผี ลดตี อ่ การย่อยอาหารอยา่ งไร
๖. จากกจิ กรรมน้ ี สรปุ ได้วา่ อยา่ งไร

๔๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรบั นกั เรยี น) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

ชอื่ -สกลุ เดอื น ชน้ั เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๑ - ๐๒
วันที่ พ.ศ.

กจิ กรรมท่ี ๒ การยอ่ ยอาหารในกระเพาะอาหารเกดิ ขน้ึ อยา่ งไร
จุดประสงค์
อธบิ ายหน้าที่ของกระเพาะอาหาร และกระบวนการย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร
วสั ดุ – อุปกรณ์

-
วธิ ีทา�
๑. อา่ นใบความร้ ู เรือ่ งการย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร
๒. รว่ มกนั อภปิ รายการย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร และตอบค�าถามในใบงาน

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรบั นกั เรียน) กลมุ สาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) ๔๗

ช่อื -สกลุ เดอื น ชนั้ เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๑ - ๐๒
วันท ่ี พ.ศ.

ใบความรู้

เรื่อง การยอ่ ยอาหารในกระเพาะอาหาร

กล้ามเน้อื หรู ดู หลอดอาหาร
กล้ามเน้ือหรู ดู

ก้อนอาหาร

รปู กระเพาะอาหาร

กระเพาะอาหาร เป็นอวัยวะทีม่ ีสว่ นกวา้ งท่สี ุดของระบบยอ่ ยอาหาร รปู ร่าง
คลา้ ยถงุ มผี นงั เปน็ กลา้ มเนอื้ บาง ๆ ยดื หยนุ่ ได ้ อยใู่ ตก้ ะบงั ลมทางซกี ซา้ ยของชอ่ งทอ้ ง
ส่วนบนของกระเพาะอาหารจะตอ่ จากหลอดอาหารลงมา สว่ นล่างตดิ กบั ลา� ไส้เล็ก
ผนังด้านในมีต่อมเล็ก ๆ ท�าหน้าท่ีผลิตน้�าย่อยย่อยโปรตีนเท่านั้น ผนังด้านใน
ของกระเพาะอาหารนจี้ ะเคลอื บดว้ ยชน้ั เมอื กหนา เพอ่ื ปอ้ งกนั ตวั เองจากการถกู ยอ่ ย
จนท�าให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารได้ ด้านบนและด้านล่างของกระเพาะอาหาร
มีกล้ามเน้ือหูรูดป้องกันไม่ให้อาหารย้อนกลับขึ้นไปที่หลอดอาหาร และป้องกัน
ไมใ่ หอ้ าหารผา่ นลงสลู่ า� ไสเ้ ลก็ ทนั ท ี อาหารจะอยใู่ นกระเพาะประมาณ ๓ - ๔ ชว่ั โมง
กระเพาะอาหารทา� หนา้ ทบ่ี ดอาหารโดยการหดตวั ของกลา้ มเนอื้ ทา� ใหเ้ กดิ การเคลอื่ นไหว
แบบเคร่ืองปั่น การเคล่ือนไหวนี้จะบีบรัดอาหารแล้วคลุกเคล้าอาหารกับน้�าย่อย
และน�้าเมือกจนเป็นอาหารเหลวแล้วส่งต่อไปยังล�าไส้เล็ก น้�าย่อยจะหล่ังออกมา
เมอื่ ถงึ เวลากนิ อาหาร ถา้ กนิ อาหารไมต่ รงเวลา กจ็ ะมคี วามเสย่ี งตอ่ การถกู กรดทา� ลาย
ผนังกระเพาะอาหาร ท�าให้ปวดท้องได้

๔๘ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรับนักเรยี น) กลุม สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

ชื่อ-สกลุ เดือน ชน้ั เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๑ - ๐๒
วนั ท ่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๒ : การย่อยภายในกระเพาะอาหาร

บนั ทึกผลการท�ากิจกรรม
อา่ นใบความรูแ้ ละตอบค�าถามตอ่ ไปน้ีใหถ้ กู ต้อง
๑. กระเพาะอาหารที่นกั เรยี นสงั เกตเหน็ มีลักษณะอย่างไร

๒. ส่วนบนของกระเพาะอาหารเชือ่ มต่อกบั อวยั วะใด
๓. สว่ นล่างของกระเพาะอาหารเชอ่ื มต่อกบั อวยั วะใด
๔. น�้าย่อยทก่ี ระเพาะอาหาร ย่อยสารอาหารประเภทใด
๕. กลา้ มเนื้อหูรดู ของกระเพาะอาหารมีหน้าที่อย่างไร

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรับนกั เรยี น) กลุม สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ ) ๔๙

ชื่อ-สกุล เดือน ชัน้ เลขที่ บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๑ - ๐๒
วนั ท่ี พ.ศ.

๖. ถา้ นกั เรียนรบั ประทานอาหารไม่ตรงเวลาจะทา� ใหเ้ กดิ ผลอย่างไร

ค�าถามหลงั จากทา� กจิ กรรม
๑. กระเพาะอาหารมหี นา้ ที่อะไร
๒. ลกั ษณะของกระเพาะอาหารมีประโยชนก์ บั การยอ่ ยอาหารอย่างไร
๓. จากกจิ กรรมน ้ี สรุปได้ว่าอยา่ งไร

๕๐ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนกั เรียน) กลมุ สาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชอื่ -สกลุ เดือน ชั้น เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๑ - ๐๓
วันท ่ี พ.ศ.

กจิ กรรมท่ี ๓ ระบบยอ่ ยอาหารทา� งานอย่างไร

จุดประสงค์
๑. สงั เกต และอธบิ ายการทา� งานของระบบย่อยอาหาร
๒. เขยี นทางเดินอาหารในระบบยอ่ ยอาหาร

วสั ดุ – อุปกรณ์
การต์ นู เรื่องลีมอนผจญภยั

วธิ ีทา�
๑. รว่ มกนั เขยี นเสน้ ทางการเคลอื่ นทขี่ องอาหารในระบบยอ่ ยอาหารตามความเขา้ ใจ
๒. อา่ นการต์ นู เร่ืองลีมอนผจญภยั อภิปรายการท�างานของอวยั วะตา่ ง ๆ

ในระบบย่อยอาหาร
๓. เขยี นเสน้ ทางการเคลือ่ นท่ขี องอาหารในระบบย่อยอาหาร น�าเสนอ

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สําหรับนกั เรยี น) กลุม สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) ๕๑

ช่อื -สกุล เดือน ช้ัน เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๑ - ๐๓
วันที่ พ.ศ.

ใบงาน ๐๓ : การท�างานของระบบย่อยอาหาร

บันทกึ ผลการทา� กจิ กรรม

เสน้ ทางการเคลื่อนที่ของอาหารในระบบยอ่ ยอาหาร

ตามความเขา้ ใจ จากการอา่ นการ์ตนู เร่ืองลมี อนผจญภัย

๕๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนกั เรยี น) กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

ชื่อ-สกลุ เดือน ชนั้ เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๑ - ๐๓
วันที ่ พ.ศ.

คา� ถามหลังจากทา� กจิ กรรม
๑. อวัยวะทเี่ กยี่ วขอ้ งในระบบย่อยอาหารมีอะไรบา้ ง และแต่ละอวยั วะท�าหนา้ ทอี่ ะไร

๒. อวยั วะต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในระบบยอ่ ยอาหารท�าหนา้ ทรี่ ว่ มกันหรอื ไม่ ยกตวั อยา่ ง
๓. ระบบยอ่ ยอาหารมีหน้าทอี่ ะไร
๔. จากกิจกรรมน ้ี สรปุ ไดว้ า่ อย่างไร

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรบั นกั เรียน) กลุม สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) ๕๓

ชื่อ-สกลุ เดือน ช้นั เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๑ - ๐๔
วันท ่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๔ : แบบฝึกหัด เรอ่ื งระบบยอ่ ยอาหาร

๑. เขยี นชอ่ื อวยั วะทเ่ี กย่ี วขอ้ งในระบบยอ่ ยอาหารลงในชอ่ งวา่ งใหถ้ กู ตอ้ ง

๒. การยอ่ ยอาหารเรม่ิ ตน้ ทอ่ี วยั วะใดและส้นิ สดุ ท่อี วยั วะใด

๕๔ ชุดกจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรับนกั เรยี น) กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

ชื่อ-สกุล เดือน ช้ัน เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๑ - ๐๔
วันที่ พ.ศ.

๓. เขยี นผังมโนทัศนเ์ กย่ี วกับหน้าทข่ี องอวยั วะต่าง ๆ ที่เกย่ี วขอ้ งในระบบย่อยอาหาร

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู (สําหรบั นักเรยี น) กลุม สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ ) ๕๕

ใบงาน

บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๒

หน่วยย่อยท่ี ๓

ระบบร่างกายมนุษย์

เรื่อง ระบบหมุนเวยี นเลือด

๕๖ ชุดกจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรบั นกั เรยี น) กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

ช่อื -สกุล เดอื น ช้ัน เลขที่ บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๒-๐๑
วันที่ พ.ศ.

กิจกรรมที่ ๑ หวั ใจทา� งานอยา่ งไร

จดุ ประสงค์
สังเกตและอธบิ ายการทา� งานของหัวใจและหลอดเลอื ดจากแบบจา� ลอง

วสั ดุ – อุปกรณ์
๑. ทสี่ ูบน้า� แบบใชม้ อื บีบ
๒. เมด็ พลาสตกิ ทีม่ ขี นาดผา่ นวาลว์ ของทส่ี ูบนา�้
๓. น�้าผสมสแี ดง
๔. กรรไกร

วิธที า�
๑. ตัดปลายท่อพลาสตกิ เสน้ ตรงของทีส่ บู น�า้ คร่ึงหนง่ึ
๒. เติมน�า้ สีแดงและเม็ดพลาสติกลงในปลายท่อพลาสติกของทีส่ ูบน�้า
ด้านใดด้านหนึ่งพอประมาณ
๓. สอดปลายท่อพลาสติกของทสี่ ูบน�า้ ด้านโค้งเขา้ ไปในปลายท่อเสน้ ตรง
๔. บบี และคลายหัวที่สบู นา้� แบบใช้มอื บบี อยา่ งช้า ๆ สังเกตและบนั ทกึ ผล

๑. ๒. ๓. ๔.

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรยี น) กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง) ๕๗

ชื่อ-สกลุ เดือน ช้นั เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๒-๐๑
วันท ่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๑ : การทา� งานของหัวใจและหลอดเลือด

บันทกึ ผลการท�ากจิ กรรม

ตาราง ผลการสงั เกตแบบจ�าลองการทา� งานของหวั ใจและหลอดเลอื ด

กิจกรรม ผลการสังเกต

บีบหัวท่ีสบู น�้าแบบใชม้ ือบบี

คลายหัวท่สี ูบน�า้ แบบใช้มอื บบี

๕๘ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรับนกั เรียน) กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

ชอ่ื -สกลุ เดอื น ชั้น เลขที่ บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๒-๐๑
วนั ท ่ี พ.ศ.

คา� ถามหลังจากท�ากิจกรรม

๑. เมื่อออกแรงบีบท่ีหัวท่สี ูบนา�้ แบบใช้มอื บบี น้�าในสายยางมกี ารหมุนเวียนอยา่ งไร

๒. เมอื่ คลายมอื ออกจากหวั ทส่ี บู นา้� แบบใชม้ อื บบี นา�้ ในสายยางมกี ารหมนุ เวยี นอยา่ งไร

๓. ถา้ เปรยี บหวั ทสี่ บู นา้� เปน็ หวั ใจ สายยางเปน็ หลอดเลอื ด เมด็ พลาสตกิ และนา้� เปน็ เลอื ด
การหมนุ เวยี นของเลอื ดในร่างกายเปน็ อยา่ งไร

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู (สําหรบั นักเรียน) กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) ๕๙

ชอ่ื -สกลุ เดือน ช้นั เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๒-๐๑
วนั ท ่ี พ.ศ.

๔. จากกจิ กรรมนี ้ สรุปไดว้ า่ อยา่ งไร

๖๐ ชดุ กิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

ชอื่ -สกุล เดือน ช้ัน เลขที่ บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๒-๐๒
วนั ท่ ี พ.ศ.

กจิ กรรมท่ี ๒ ระบบหมุนเวียนเลอื ดทา� งานอย่างไร

จุดประสงค์
๑. อธบิ ายการท�างานของระบบหมนุ เวียนเลอื ด
๒. บอกลักษณะและหน้าทีข่ องหวั ใจและหลอดเลือด

วสั ดุ – อุปกรณ์


วิธีทา�
๑. อา่ นใบความรู ้ เร่ืองระบบหมนุ เวยี นเลอื ด
๒. อภิปรายและเขยี นสรปุ ลักษณะและหนา้ ที่ของหวั ใจและหลอดเลือด
และการหมนุ เวยี นเลือดในร่างกายจากใบความรู้
๓. น�าเสนอในรูปแบบทีน่ า่ สนใจ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรบั นักเรยี น) กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรุง) ๖๑

ช่อื -สกลุ เดือน ชน้ั เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๒-๐๒
วันท่ ี พ.ศ.

ใบความรู้

เร่ืองระบบหมนุ เวยี นเลอื ด

หลงั จากทม่ี กี ารยอ่ ยอาหารและสารอาหาร
ถูกดูดซึมเข้าสู่หลอดเลือดบริเวณล�าไส้เล็ก
ระบบหมนุ เวยี นของเลอื ดจะลา� เลยี งสารอาหาร
ท่ีได้จากระบบย่อยอาหารไปยังส่วนต่าง ๆ
ของรา่ งกายโดยอาศยั การหมนุ เวียนของเลอื ด
ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดทา� หนา้ ทใี่ นการลา� เลยี ง
สารอาหาร แกส๊ ของเสยี และสารอน่ื ๆ ทร่ี า่ งกาย
ต้องใช้หรือขจัดออก โดยล�าเลียงไปกับเลือด
อวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือด คือหัวใจและ
หลอดเลอื ด
หัวใจเป็นอวัยวะที่ท�าหน้าที่เช่นเดียวกับ
ทสี่ บู นา้� แบบใชม้ อื บบี คอื จะบบี ตวั และคลายตวั
เพอ่ื สบู ฉดี เลอื ดผา่ นหลอดเลอื ดไปยงั สว่ นตา่ ง ๆ
ของรา่ งกาย ขณะบบี ตวั เลอื ดจะถกู ดนั ออกจาก
หวั ใจทางหลอดเลอื ดแดง ขณะทหี่ วั ใจคลายตวั
เลือดจะไหลเข้าสู่หัวใจทางหลอดเลือดด�า
การไหลเวยี นของเลอื ดเกดิ ขน้ึ ภายในหลอดเลอื ด
ตลอดเวลา และไหลเวียนไปทางเดียวกัน
ไม่ไหลย้อนกลับ เรียกระบบหมุนเวียนเลือด
ในลกั ษณะนวี้ า่ การหมนุ เวยี นเลอื ดแบบวงจรปดิ

๖๒ ชุดกิจกรรมการเรยี นรู (สําหรับนักเรยี น) กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

ชือ่ -สกุล เดือน ชัน้ เลขที่ บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๒-๐๒
วันท ี่ พ.ศ.

ในการหมนุ เวยี นเลอื ด หลอดเลอื ดดา� นา� เลอื ดออกจากสว่ นตา่ ง ๆ
ของรา่ งกายทง้ั สว่ นบนและสว่ นลา่ งเขา้ สหู่ วั ใจหอ้ งบนขวา หวั ใจหอ้ งบนขวา
จะบบี ตวั ใหเ้ ลอื ดไหลลงสหู่ วั ใจหอ้ งลา่ งขวา เมอ่ื หวั ใจหอ้ งลา่ งขวาบบี ตวั
เลอื ดดา� จะไหลเขา้ สหู่ ลอดเลอื ด ซงึ่ นา� เลอื ดไปยงั ปอดเพอ่ื แลกเปลยี่ นแกส๊
โดยปลอ่ ยแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดอ์ อก และรบั แกส๊ ออกซเิ จนเขา้ สหู่ ลอดเลอื ด
กลบั สหู่ วั ใจหอ้ งบนซา้ ย ซง่ึ จะบบี ตวั ใหเ้ ลอื ดไหลเขา้ สหู่ วั ใจหอ้ งลา่ งซา้ ย
หัวใจห้องล่างซ้ายจะบีบตัวสูบฉีดเลือดท่ีมีแก๊สอกซิเจนสูงไปเล้ียง
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

หลอดเลือดดา� รับเลอื ด หลอดเลอื ดแดงส่งเลอื ด
จากรา่ งกายส่วนบน ไปยงั สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย

หลอดเลือดด�าไปยังปอด หลอดเลอื ดด�าไปยงั ปอด
หลอดเลือดแดงรบั เลอื ดของปอด
หลอดเลอื ดแดงรับเลือดของปอด หัวใจห้องบนซ้าย
หวั ใจห้องบนขวา
หัวใจหอ้ งล่างขวา หัวใจห้องล่างซา้ ย

หลอดเลอื ดด�ารบั เลือด
จากรา่ งกายส่วนลา่ ง

รปู ที ่ ๑ หวั ใจ

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นกั เรยี น) กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) ๖๓

ช่ือ-สกุล เดอื น ช้นั เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๒-๐๒
วนั ท่ี พ.ศ.

หัวใจห้องบนขวารับเลือด หลอดเลอื ดดา� หลอดเลือดแดง หัวใจห้องบนซ้ายรับเลือด
ที่มีแก๊สออกซิเจนต่�าแต่มี ที่มแี ก๊สออกซิเจนสงู จากปอด
แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดส์ งู
จากสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย

หวั ใจหอ้ งลา่ ขวาสง่ เลอื ด หลอดเลอื ดฝอย หลอดเลอื ดฝอย หัวใจห้องล่างซา้ ยสง่ เลอื ด
ทมี่ แี กส๊ ออกซเิ จนตา่� แตม่ ี ทม่ี แี กส๊ ออกซเิ จนสูงไปยัง
แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ สว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย
สงู ไปยังปอด
หลอดเลือดฝอย

ปอดขวา ปอดซา้ ย

หลอดเลอื ดดา� หลอดเลือดแดง

รูปที่ ๒ การไหลเวียนของเลือดผ่านหัวใจ
การเตน้ ของหัวใจเกดิ จากการหดและคลายตัว
ของกล้ามเน้ือหัวใจเป็นจังหวะ สามารถวัดอัตราการเต้นของ
หวั ใจโดยใชส้ เตตโทสโคป หรอื นบั จา� นวนการเตน้ ของหลอดเลอื ด
ใน ๑ นาท ี เรยี กจงั หวะการเตน้ นวี้ า่ ชพี จร ซงึ่ เกดิ ขน้ึ ตลอดเวลา
ท่ีมีชีวิตอยู่ ต�าแหน่งท่ีตรวจชีพจรมีหลายต�าแหน่ง แต่นิยม
ตรวจที่หลอดเลือดของข้อมือ ชีพจรของคนวัยหนุ่มสาวจะเต้น
ประมาณ ๗๐-๘๐ ครั้งต่อนาที อัตราการเต้นของชีพจร
จะมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับกิจกรรมที่ท�า เพศ และวัยของบุคคล

๖๔ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนกั เรยี น) กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

ชอ่ื -สกุล เดือน ชัน้ เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๒-๐๒
วนั ที่ พ.ศ.

หลอดเลือดของเราแบ่งออกเป็น ๓ ชนิด คือ
๑. หลอดเลอื ดแดง เปน็ หลอดเลอื ดทม่ี ปี รมิ าณ
แก๊สออกซิเจนในเลือดมาก และน�าเลือด
ออกจากหวั ใจไปยงั สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย
ยกเวน้ หลอดเลอื ดทน่ี า� เลอื ดออกจากหวั ใจ
ไปยังปอด ซึ่งเป็นเลือดที่มีปริมาณ
แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดม์ าก หลอดเลอื ดแดง
มผี นงั หนาและแขง็ แรงเพอื่ ใหม้ คี วามทนทาน
ตอ่ แรงดนั สงู ของเลอื ดทถ่ี กู ฉดี ออกจากหวั ใจ

๒. หลอดเลอื ดดา� เปน็ หลอดเลอื ดทม่ี ปี รมิ าณ
แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดม์ าก และนา� เลอื ด
จากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเข้าสู่หัวใจ

ยกเว้นหลอดเลือดด�าท่ีน�าเลือดจาก
ปอดมายังหัวใจซึ่งเป็นเลือดมีปริมาณ
แกส๊ ออกซเิ จนมาก ภายในหลอดเลอื ดดา�
จะมีล้ินปอ้ งกันไมใ่ ห้เลือดไหลย้อนกลบั

๓. หลอดเลือดฝอย เป็นหลอดเลือด
ท่ีมีขนาดเล็กมากและมีผนังบาง

มอี ยจู่ า� นวนมากในรา่ งกาย บรเิ วณผนงั
ของหลอดเลอื ดฝอยจะมกี ารแลกเปลยี่ น
สารอาหาร แกส๊ ตา่ ง ๆ ระหวา่ งเลอื ด

กับสว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นักเรียน) กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง) ๖๕

ช่อื -สกลุ เดือน ช้ัน เลขที่ บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๒-๐๒
วนั ที่ พ.ศ.

ใบงาน ๐๒ : ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด

บันทกึ ผลการทา� กิจกรรม
สรปุ ลกั ษณะและหน้าทขี่ องหวั ใจ หลอดเลอื ดและระบบหมุนเวียนเลือด

๖๖ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สําหรบั นักเรยี น) กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชื่อ-สกลุ เดือน ชัน้ เลขที่ บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๒-๐๒
วนั ท ่ี พ.ศ.

ค�าถามหลงั จากทา� กิจกรรม
๑. ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดประกอบดว้ ยอวัยวะอะไรบ้าง และแตล่ ะอวัยวะท�าหนา้ ทอ่ี ะไร

๒. เม่ือหัวใจบบี ตวั จะเกิดอะไรขนึ้
๓. เม่ือหัวใจคลายตัวจะเกิดอะไรขึ้น
๔. เลือดออกจากหวั ใจไปเลย้ี งสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกายเน่อื งจากการท�างาน

ของหวั ใจหอ้ งใด

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรับนักเรียน) กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง) ๖๗

ช่ือ-สกุล เดอื น ชัน้ เลขที่ บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๒-๐๒
วันท ่ี พ.ศ.

๕. นักเรยี นคิดวา่ ท�าไมเลือดจงึ ไม่ไหลย้อนกลับ

๖๘ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นักเรียน) กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

ช่ือ-สกลุ เดือน ชน้ั เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๒-๐๓
วันที ่ พ.ศ.

ใบงาน ๐๓ : แบบฝกึ หดั เรื่องระบบหมนุ เวียนเลือด

๑. น�าค�าทก่ี า� หนดให้ไปเตมิ ลงในช่องว่างในแผนภาพใหถ้ ูกตอ้ งสมบูรณ์

บนขวา ลา่ งขวา ส่วนของร่างกาย

บนซา้ ย ลา่ งซา้ ย ปอด

แผนภาพการหมนุ เวยี นของเลอื ดในหวั ใจและหลอดเลอื ด

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนกั เรียน) กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง) ๖๙

ชอื่ -สกุล ช้ัน เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๒-๐๓
วนั ท่ี พ.ศ.
เดือน

๒. เติมคา� ลงในปรศิ นาอกั ษรไขว้ให้ถกู ตอ้ ง

๑.
๒.

๑. ๒.
๓.

๓. ๔.

แนวนอน แนวตงั้
๑. เปน็ อวยั วะทมี่ กี ารแลกเปลย่ี นแกส๊ ๑. แกส๊ ในเลอื ดทมี่ ปี รมิ าณมากขน้ึ หลงั จากเลอื ด

ที่มาจากนอกร่างกายกับแก๊สใน สไปู่หเัวลใีย้ จงสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกา ยแล้วกลับเขา้
เลอื ด

๒. เปน็ อวยั วะทมี่ กี ารดดู ซมึ สารอาหาร ๒. เป็นหลอดเลือดที่นำเลือดออกจากหัวใจไปยัง
ท่ีผ่านการย่อยเข้าสู่หลอดเลือด สว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย
๓. เปน็ หลอ ดเล อื ดทนี่ า� เลอื ดจากสว่ นตา่ งๆ ของ
๓. เปน็ หลอดเลือดขนาดเลก็
จา� นวนมาก เกดิ การแลกเปลยี่ นแกส๊ รา่ งกายกลบั ไปยังหวั ใจ
ในเลอื ดกบั ส ว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกายได้
๔. แก๊สที่มีมากในเลือดที่ออกจากหัวใจ
ไปยงั สว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย



๗๐ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรบั นกั เรยี น) กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

ใบงาน

บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๓

หน่วยยอ่ ยท่ี ๓

ระบบรา่ งกายมนษุ ย์

เร่ือง ระบบหายใจ

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรับนกั เรยี น) กลุม สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ๗๑

ชอื่ -สกลุ เดอื น ช้ัน เลขที่ บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๓ - ๐๑
วนั ที่ พ.ศ.

กิจกรรมที่ ๑ ขณะที่เราหายใจเขา้ - ออก อวัยวะตา่ ง ๆ เป็นอย่างไร

จุดประสงค์
๑. บอกอวัยวะทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการหายใจเขา้ และหายใจออก
๒. อธิบายการเคล่อื นทข่ี องอวัยวะ ขณะหายใจเขา้ และหายใจออกออก

วสั ดุ – อปุ กรณ์
กระดาษเยอื่ บางขนาด ๑ x ๕ เซนติเมตร

วิธีทา�
๑. ใชก้ ระดาษเยือ่ บางองั บริเวณจมูกแลว้ หายใจเข้า - ออกตามปกติ
สังเกตการเคลอื่ นทขี่ องกระดาษ และบนั ทกึ ผล
๒. สงั เกตการเคลอ่ื นทข่ี องกระดกู ซโี่ ครงและลกั ษณะของทอ้ ง ขณะหายใจเขา้ และ
หายใจออกตามปกติ
๓. ใชม้ อื หนงึ่ สมั ผสั บรเิ วณหนา้ อก และอกี มอื หนง่ึ สมั ผสั กบั บรเิ วณทอ้ งของตน
แลว้ สังเกตการเคลอ่ื นทีข่ องกระดูกซโ่ี ครงและหน้าทอ้ ง ขณะทห่ี ายใจเข้า
และหายใจออก
๔. สบื ค้นขอ้ มูลการท�างานของอวัยวะทีเ่ ก่ยี วขอ้ งขณะหายใจเข้า - ออก
จากแหลง่ เรียนรูต้ ่าง ๆ บันทึกผล

๗๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สาํ หรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

ชือ่ -สกุล เดือน ชน้ั เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๓ - ๐๑
วนั ท ่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๑ : อวยั วะทเ่ี ก่ยี วข้องขณะท่หี ายใจเข้า - ออก

บนั ทกึ ผลการท�ากจิ กรรม
ตาราง

กจิ กรรม ผลการสังเกต

ขณะหายใจเข้า ขณะหายใจออก

เมอ่ื ใชก้ ระดาษ
องั บรเิ วณจมูก

การเคล่อื นไหวของกระดกู
ซีโ่ ครงและหนา้ ทอ้ ง
เมื่อใช้มอื สัมผัสหน้าอก
และหนา้ ทอ้ ง

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง) ๗๓

ชื่อ-สกลุ เดือน ชน้ั เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๓ - ๐๑
วนั ที ่ พ.ศ.

ผลการสืบคน้ ข้อมูล
การทา� งานของอวยั วะที่เก่ียวข้องขณะหายใจเข้าและหายใจออก เปน็ ดงั น้ี

๗๔ ชุดกจิ กรรมการเรียนรู (สําหรบั นกั เรยี น) กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

ชอื่ -สกุล เดือน ช้นั เลขที่ บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๓ - ๐๑
วันท ่ี พ.ศ.

ค�าถามหลังจากท�ากจิ กรรม

๑. กระดาษมกี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งไร เมอื่ หายใจเขา้ และหายใจออก เพราะเหตใุ ด

๒. ขณะท่ีหายใจเขา้ บริเวณหนา้ อกและบรเิ วณหน้าท้องจะมีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งไร

๓. ขณะทหี่ ายใจออก บริเวณหน้าอกและบริเวณหนา้ ท้องจะมกี ารเปล่ยี นแปลงอยา่ งไร

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นักเรียน) กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรุง) ๗๕

ชื่อ-สกลุ เดอื น ชนั้ เลขที่ บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๓ - ๐๑
วนั ท ่ี พ.ศ.

๔. อวยั วะใดบา้ งท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การหายใจเข้าและหายใจออก

๕. จากกจิ กรรมน ้ี สรปุ ไดว้ ่าอย่างไร

๗๖ ชุดกจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรบั นักเรียน) กลุม สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชื่อ-สกลุ เดอื น ชนั้ เลขที่ บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๓ - ๐๒
วันที่ พ.ศ.

ใบงาน ๐๒ : แบบฝึกหัด เรื่องระบบหายใจ

๑. บอกหนา้ ทขี่ องอวยั วะทเี่ กย่ี วขอ้ งในระบบหายใจ

หนา้ ท่ี

หลอดลม

หนา้ ท่ี

จมกู
หน้าท่ี

ปอด

หนา้ ที่
กระดูกซ่โี ครง

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนักเรยี น) กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง) ๗๗

ช่ือ-สกลุ เดือน ชัน้ เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๓ - ๐๒
วันท่ ี พ.ศ.

๒. รปู ใดเปน็ รปู การหายใจเขา้ และหายใจออก เพราะเหตใุ ด

กข

๗๘ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนักเรยี น) กลุมสาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

ใบงาน

บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๔

หน่วยยอ่ ยท่ี ๓

ระบบรา่ งกายมนุษย์

เรอื่ ง ความสมั พันธ์กนั ของระบบย่อยอาหาร
ระบบหมุนเวียนเลอื ดและระบบหายใจ

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนักเรยี น) กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง) ๗๙

ชือ่ -สกุล เดือน ช้ัน เลขที่ บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๔-๐๑
วนั ท่ี พ.ศ.

กจิ กรรมที่ ๑ ระบบตา่ ง ๆ ในรา่ งกายมนุษยส์ มั พนั ธก์ นั อยา่ งไร

จดุ ประสงค์
อภิปรายและบอกความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลอื ด
และระบบหายใจ

วสั ดุ – อุปกรณ์


วธิ ที �า
๑. รว่ มกนั อภปิ รายความสัมพันธ์ของระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด
และระบบหายใจ
๒. น�าเสนอผลการอภิปรายในรปู แบบทนี่ า่ สนใจ

๘๐ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนักเรยี น) กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

ชอ่ื -สกลุ เดอื น ชั้น เลขที่ บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๔-๐๑
วนั ท่ ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๑ : ความสมั พันธข์ องระบบในรา่ งกายมนษุ ย์

บันทึกผลการท�ากิจกรรม
ความสัมพนั ธร์ ะบบย่อยอาหาร ระบบหมนุ เวียนเลอื ด และระบบหายใจ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรบั นกั เรียน) กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง) ๘๑

ช่อื -สกุล เดือน ชัน้ เลขที่ บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๔-๐๒
วนั ที ่ พ.ศ.

ใบงาน ๐๒ : แบบฝึกหัด เรื่องความสมั พันธก์ นั ของระบบยอ่ ยอาหาร
ระบบหมุนเวยี นเลอื ดและระบบหายใจ

เลือกชอ่ื อวยั วะทก่ี า� หนดให้ต่อไปนี้ เขียนชอ่ื อวยั วะในแตล่ ะระบบ และบอกหนา้ ที่
ของระบบอวัยวะในแตล่ ะระบบใหถ้ กู ตอ้ ง

ปาก หวั ใจ หลอดเลอื ด จมูก หลอดอาหาร หลอดลม
กระเพาะอาหาร กลา้ มเนือ้ กะบงั ลม ลา� ไส้เล็ก ลา� ไส้ใหญ่

อวยั วะในระบบยอ่ ยอาหาร ไดแ้ ก่

ระบบย่อยอาหารมีหนา้ ที ่

อวยั วะในระบบหมนุ เวียนเลอื ด ไดแ้ ก่
ระบบหมุนเวียนเลือดมีหนา้ ท่ี

๘๒ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนักเรียน) กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

ชื่อ-สกลุ เดอื น ชั้น เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๔-๐๒
วนั ท ่ี พ.ศ.

อวัยวะในระบบหายใจ ไดแ้ ก่
ระบบหายใจมหี นา้ ท่ี

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนักเรยี น) กลมุ สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ ) ๘๓

ชื่อ-สกุล เดอื น ชนั้ เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๔-๐๒
วันท่ี พ.ศ.

๘๔ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนักเรยี น) กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๒
ชีวิตกับสิ่งแวดลอ้ ม

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรบั นักเรียน) กลมุ สาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง) ๘๕

ใบงาน

บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๑

หนว่ ยย่อยที่ ๑

ส่งิ มชี ีวติ และสง่ิ ไม่มชี ีวิต

เร่ือง ความสมั พนั ธ์ของกลุ่มสง่ิ มชี ีวิตในแหลง่ ทอ่ี ยู่

๘๖ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรับนกั เรยี น) กลมุ สาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ช่ือ-สกุล เดือน ช้ัน เลขท่ี บ. ๒.๑/ ผ. ๑.๑-๐๑
วนั ที ่ พ.ศ.

กิจกรรมที่ ๑ ส่งิ มชี ีวติ รอบตวั เราอยทู่ ไ่ี หนกนั บ้าง

จดุ ประสงค์
ส�ารวจและสังเกตกลุ่มสิ่งมชี ีวติ ในแหล่งที่อยู่

วสั ดุ-อปุ กรณ์
๑. แว่นขยาย
๒. พลัว่
๓. กลอ้ งดนู กหรือกลอ้ งส่องทางไกล

วธิ ที �า
๑. ส�ารวจสง่ิ มีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตในบรเิ วณตา่ ง ๆ ภายในโรงเรยี น เชน่ ต้นไมใ้ หญ ่
สระนา้� สนามหญ้า และบันทกึ ผล
๒. อภปิ รายผลการสา� รวจในแตล่ ะบริเวณ น�าเสนอ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนกั เรียน) กลุม สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรุง) ๘๗

ชอ่ื -สกุล เดอื น ช้นั เลขที่ บ.๒.๑ / ผ.๑.๑-๐๑
วันท่ ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๑ : การส�ารวจบริเวณต่างๆๆทท่ีอี่อยยใู่ ใู่นนโรโรงงเรเรยี ียนน

บนั ทึกผลการทา� กจิ กรรม เวลา

ผลการสา� รวจบริเวณต้นไม้ใหญ่
วนั ท่ีสา� รวจ

วาดแผนผังบริเวณทส่ี �ารวจ สภาพทั่วไป
ลักษณะของตน้ ไม้

ส่งิ มีชีวิตที่พบบริเวณรอบต้นไม้ใหญ่ ได้แก่ พฤติกรรมของสง่ิ มีชีวติ ที่พบ ไดแ้ ก่

สิง่ มชี วี ติ ทพ่ี บบนตน้ ไม้ใหญ่ ได้แก่ พฤตกิ รรมของสิ่งมชี ีวิตท่พี บ ไดแ้ ก่

๘๘ ชุดกจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรับนกั เรยี น) กลมุ สาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

ชื่อ-สกุล เดอื น ช้นั เลขที่ บ. ๒.๑/ ผ. ๑.๑-๐๑
วันท่ ี พ.ศ.

สิ่งไมม่ ชี วี ติ ทพี่ บบรเิ วณตน้ ไมใ้ หญ่ ได้แก่

กลุ่มสงิ่ มีชีวติ ท่พี บบริเวณรอบ ๆ และบนต้นใม้ใหญ่ใชป้ ระโยชน์
จากต้นไม้ใหญน่ ี้ คือ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สาํ หรับนกั เรียน) กลุม สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ๘๙

ชื่อ-สกลุ เดือน ช้นั เลขท่ี บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๑-๐๑
วันท ่ี พ.ศ.

ผลการสา� รวจบริเวณสระนา�้ เวลา
วันท่สี �ารวจ สภาพท่ัวไป
กลนิ่ และสขี องน�้า
วาดแผนผงั บรเิ วณท่สี า� รวจ

สิ่งมีชีวิตทีพ่ บในสระน�า้ ไดแ้ ก่ พฤติกรรมของสง่ิ มชี วี ติ ที่พบ ได้แก่

สิ่งไมม่ ชี วี ติ ทพ่ี บในสระนา้� ไดแ้ ก่
สิง่ มีชวี ิตท่ีพบใช้ประโยชนจ์ ากสระนา�้ คือ

๙๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรบั นกั เรียน) กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

ชือ่ -สกลุ ชน้ั เลขที่ บ. ๒.๑/ ผ. ๑.๑-๐๑
วนั ท่ ี เดอื น พ.ศ.

ผลการส�ารวจบริเวณสนามหญา้ เวลา
วนั ท่ีสา� รวจ สภาพทว่ั ไป
ลกั ษณะของหญา้ ทพ่ี บ
วาดแผนผังบริเวณท่ีสา� รวจ

สง่ิ มีชวี ิตทพ่ี บในสนามหญ้า ได้แก ่ พฤติกรรมของสงิ่ มชี วี ติ ท่พี บ ได้แก่

ส่ิงไมม่ ชี ีวิตท่ีพบในสนามหญ้า ไดแ้ ก่
สิง่ มชี วี ิตท่พี บใช้ประโยชนจ์ ากสนามหญ้า คอื

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรยี น) กลมุ สาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ ) ๙๑

ช่ือ-สกุล เดือน ชั้น เลขท่ี บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๑-๐๑
วนั ที ่ พ.ศ.

คา� ถามหลังจากทา� กจิ กรรม

๑. นกั เรยี นพบชนดิ ของส่งิ มีชีวติ ในบรเิ วณตา่ งๆ เหมือนกันหรอื ไม ่ อย่างไร

๒. สิง่ มีชีวติ ในแต่ละบรเิ วณกา� ลังทา� อะไรบ้าง ยกตัวอยา่ ง
สิ่งมีชีวิตทบ่ี รเิ วณต้นไมใ้ หญก่ �าลงั
ส่งิ มชี ีวิตทบี่ ริเวณสระน�้าก�าลัง
สิ่งมีชีวติ ทีบ่ รเิ วณสนามหญา้ กา� ลงั

๓. จากกจิ กรรมน ี้ สรุปได้วา่ อย่างไร

๙๒ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรบั นกั เรียน) กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

ชื่อ-สกลุ เดอื น ชั้น เลขท่ี บ. ๒.๑/ ผ. ๑.๑-๐๒
วันท่ี พ.ศ.

กจิ กรรมที่ ๒ ความสัมพันธ์ของกลุ่มสง่ิ มีชวี ติ กับแหล่งท่ีอย่เู ป็นอย่างไร

จดุ ประสงค์
สบื ค้นข้อมูลและอธิบายความสมั พันธ์ของกลมุ่ สง่ิ มีชวี ิตกบั แหลง่ ทอ่ี ยู่

วสั ด-ุ อปุ กรณ์
-

วธิ ีท�า
๑. อ่านบทความเร่ือง เต่ามะเฟือง ร่วมกันอภิปรายและตอบค�าถามในใบงาน ๐๒
๒. สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มส่ิงมีชีวิตกับแหล่งท่ีอยู่
จากแหล่งเรยี นรูต้ ่าง ๆ และเขยี นแผนผงั สรุปลงในใบงาน

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนกั เรยี น) กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง) ๙๓

ช่อื -สกุล เดือน ชน้ั เลขที่ บ. ๒.๑/ ผ. ๑.๑-๐๒
วนั ท่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๒ : ความสมั พันธข์ องกลุ่มส่ิงมชี วี ติ กบั แหลง่ ทอี่ ยู่เป็นอยา่ งไร

บนั ทกึ ผลการทา� กจิ กรรม
อ่านบทความต่อไปน้พี ร้อมตอบค�าถามให้ถกู ตอ้ ง

ชีวิตของเต่ามะเฟอื ง....สมั พันธ์กับแหลง่ ท่ีอยู่อยา่ งไร

เต่ามะเฟือง เป็นเต่าท่ีมีขนาดใหญ่
ท่ีสุดในโลก กระดองจะมีขนาดคล้าย
ผลมะเฟือง และครีบคู่หน้า ไม่มีเล็บ
เตา่ มะเฟอื งใชเ้ วลาอยใู่ นทะเลเกอื บชวั่ ชวี ติ
นอกจากเวลาวางไข่เท่านั้น เต่ามะเฟือง
ที่จะข้ึนมาวางไข่ท่ีหาดทราย และไข่
ของเต่ามะเฟืองจะฟักตัวอยู่ในทราย
ประมาณ ๖๐-๗๐ วนั ขน้ึ อยกู่ บั อณุ หภมู ขิ อง
สภาพแวดลอ้ ม เมอื่ ลกู เตา่ ฟกั ออกจากไข่
จะรีบคลานออกจากรังบนหาดทรายลงส ู่
ทะเลโดยทนั ทเี พอื่ ใหม้ ชี วี ติ รอดจากศตั ร ู เชน่
นกกระสา นกนางนวล เนอื่ งจากเตา่ มะเฟอื งทเี่ พง่ิ ฟกั ออกจากไขจ่ ะมขี นาดเลก็
และกระดองยังไม่แข็งแรงพอ จึงไม่สามารถป้องกันตัวจากศัตรูผู้ล่าได้
เต่ามะเฟืองมีจะงอยปากที่สบกันเหมือนกรรไกร จึงมักกินอาหารท่ีอ่อนนุ่ม
เช่น แมงกะพรนุ แพลงกต์ อน สาหรา่ ยทะเลต่าง ๆ

๙๔ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นักเรียน) กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

ชอ่ื -สกลุ เดอื น ชัน้ เลขท่ี บ. ๒.๑/ ผ. ๑.๑-๐๒
วนั ท ่ี พ.ศ.

ค�าถาม
๑. แหล่งท่อี ยู่ของเต่ามะเฟอื งคอื อะไร

๒. การวางไขแ่ ละการฟกั ไข่ของเตา่ มะเฟอื งเกดิ ขึ้นท่ีใด

๓. เตา่ มะเฟอื งกินอะไรเป็นอาหาร
๔. สตั ว์ชนิดใดเปน็ ศัตรูผู้ลา่ ของเต่ามะเฟอื ง
๕. เต่ามะเฟืองได้รับประโยชน์จากหาดทรายอย่างไร
๖. เต่ามะเฟืองได้รบั ประโยชน์จากทะเลอย่างไร

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรบั นกั เรยี น) กลุม สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ๙๕


Click to View FlipBook Version