The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thasakaes65030064, 2020-08-27 02:58:00

สื่อ60พรรษา ชุดกิจกรรมวิทย์ ป.6 เล่ม1

Sue60Ps_Sci61

Keywords: S60PSci61

ช่ือ-สกลุ เดอื น ช้นั เลขที่ บ. ๒.๑/ ผ. ๑.๑-๐๒
วนั ท่ี พ.ศ.

ผลการสืบค้นเพม่ิ เติม

แผนผังสรปุ ความสัมพันธร์ ะหว่างสง่ิ มชี วี ิตและแหลง่ ทอี่ ยู่

ทห่ี ลบภยั เชน่

ท่อี ยอู่ าศยั เชน่

มีความสมั พันธ์กบั แหล่งทอี่ ยูใ่ นดา้ น

กลุ่มส่งิ มีชีวิต

๙๖ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สําหรับนกั เรียน) กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

ชอ่ื -สกลุ เดือน ชัน้ เลขท่ี บ. ๒.๑/ ผ. ๑.๑-๐๒
วันท่ี พ.ศ.

ค�าถามหลังจากทา� กจิ กรรม
๑. กลุ่มส่ิงมีชวี ติ มคี วามสัมพนั ธก์ ับแหล่งที่อยอู่ ย่างไรบา้ ง

๒. จากกิจกรรมนี้ สรุปได้ว่าอยา่ งไร

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู (สาํ หรบั นักเรียน) กลมุ สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ๙๗

ช่ือ-สกุล เดอื น ชัน้ เลขท่ี บ. ๒.๑/ ผ. ๑.๑-๐๓
วนั ที ่ พ.ศ.

ใบงาน ๐๓ : แบบฝกึ หัด เร่อื งความสัมพนั ธ์ของกลุ่มสงิ่ มชี วี ติ

๑. เลอื กขอ้ ความตอ่ ไปน ้ี แลว้ เตมิ ลงในชอ่ งวา่ งใหถ้ กู ตอ้ ง (สามารถสบื คน้ ขอ้ มลู จากแหลง่ อน่ื ได)้

ความสัมพนั ธ ์ : แหล่งอาหาร ท่ีอยู่อาศัย ทวี่ างไข่
ที่เลีย้ งลูกออ่ น ท่ีสืบพนั ธ ์ุ ทห่ี ลบภยั

ตวั อยา่ ง : ไก่มตี ้นไมไ้ วเ้ ป็นท่ีอยู่อาศัย และจกิ กนิ ไส้เดือนดินท่อี ยใู่ นดินเปน็ แหลง่ อาหาร

๑.๑ ไขก่ บมีลักษณะเปน็ เมด็ สดี �า มวี นุ้ หมุ้ อยู่รอบๆ ลอยอยตู่ ามผวิ นา�้ ซ่ึงอาจเปน็
................................... ของปลาบางชนิด โดยไข่กบที่รอดจากการกนิ ของปลา
จะสามารถเจรญิ เตบิ โตเปน็ ลูกอ๊อดและมีน้า� เป็นแหล่งอาหาร
และเป็น........................... มีกอพืชน้�าเปน็ ....................................จากศัตรู
๑.๒ ปลาหางนกยูง มักใชก้ อสาหร่ายหางกระรอกเป็น ....................................จาก
ศัตรู เป็น.......................... เมอื่ ตงั้ ทอ้ งจะออกลกู เปน็ ตวั ลกู นา้� ของยงุ จะเปน็
...........................................ของปลาหางนกยงู
๑.๓ เป็ดมแี หล่งนา้� เป็นทงั้ ท่เี ลีย้ งลกู อ่อน ................................. ............................
เป็ดบางชนิดเช่น เปด็ ผีเลก็ ใช้กองสนนุ่ หรือพชื กลางนา้� เป็นที่อยอู่ าศยั
เปน็ .......................... และเปน็ ที่เลยี้ งลูกเป็ดตัวเล็ก ๆ อกี ด้วย
๑.๔ ปมู โี พรงดนิ เปน็ ทอ่ี ยอู่ าศยั ................................. และ........................จากศตั รู
มีก้ามเป็นอวัยวะท่ใี ชใ้ นการจับอาหารกนิ โดยเราสามารถพบปใู นท้องนา
เพราะท้องนาเปน็ ............................................ ................................ของปู
๑.๕ แมลงเม่าชอบบินมาตอมไฟเวลาท่ฝี นตกเสรจ็ ใหม ่ ๆ ท�าให้เราสามารถพบจ้ิงจก
อยใู่ นบริเวณนน้ั ด้วย เพราะแมลงเมา่ เป็น...................................ของจิง้ จก
เม่อื แมลงเม่าหมด จง้ิ จกมกั กลับขึ้นไปอยบู่ รเิ วณบนเพดาน เพราะเพดานเปน็
................................ และสามารถใช.้ ................................จากศตั รไู ด้

๙๘ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นกั เรียน) กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

ชอ่ื -สกุล เดือน ชนั้ เลขที่ บ. ๒.๑/ ผ. ๑.๑-๐๓
วันท่ ี พ.ศ.

๒. ตวั นกั เรียนมคี วามสมั พนั ธ์กบั แหลง่ ท่ีอยูใ่ นด้านใดบา้ ง อย่างไร

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นกั เรยี น) กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง) ๙๙

ใบงาน

บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๒

หน่วยยอ่ ยที่ ๑

ส่งิ มีชีวติ และสง่ิ ไม่มีชีวิต

เรื่อง โซ่อาหารและสายใยอาหาร

๑๐๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรยี น) กลุมสาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

ชื่อ-สกลุ เดอื น ชน้ั เลขท่ี บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๒-๐๑
วันท ่ี พ.ศ.

กิจกรรมที่ ๑ ใครกนิ ใครกนั แน่

จุดประสงค์
แสดงบทบาทสมมตแิ ละอธบิ ายการถา่ ยทอดพลงั งานในโซอ่ าหารและสายใยอาหาร

วัสด-ุ อุปกรณ์
๑. บัตรบทบาทหน้าท่ี
๒. อปุ กรณ์ทา� หวั ลกู ศร เช่น กระดาษแขง็
ปากกาเคมีส ี ลวดเย็บกระดาษ กรรไกร

วิธที �า
ตอนที่ ๑
๑. แตล่ ะคนในกลมุ่ รบั บตั รบทบาทจากคร ู ไดแ้ ก ่ บทบาทผผู้ ลติ บทบาทผบู้ รโิ ภคพชื
บทบาทผู้บริโภคสัตว์ และบทบาทผู้บริโภคท้ังพืชและสัตว์ เขียนชื่อส่ิงมีชีวิต
ที่มีบทบาทต่าง ๆ ลงในด้านหลังของบัตรบทบาท และเขียนโซ่อาหาร
ตามความเขา้ ใจลงในใบงาน ๐๑
๒. นักเรียนท่ีได้รับบทบาทเดียวกันในแต่ละกลุ่ม มาเข้ากลุ่มใหม่ท่ีตรงกับบทบาท
ท่ีนักเรียนได้รับ เพื่อเรียนรู้และท�าความเข้าใจร่วมกัน จากนั้นเม่ือนักเรียน
เรียนร้บู ทบาทของตนเองดีแลว้ กลบั ไปเข้ากล่มุ เดิม
๓. นกั เรยี นอธบิ ายบทบาทของตนใหเ้ พอ่ื นสมาชกิ ในกลมุ่ ฟงั และแสดงบทบาทสมมต ิ
ของส่งิ มีชีวิตในแหลง่ ท่ีอยู่
๔. ร่วมกันอภิปรายแล้วเขียนโซ่อาหารโดยการวาดรูป เขียนช่ือสิ่งมีชีวิต
ใส่หัวลกู ศรในการถา่ ยทอดพลงั งานให้ถกู ตอ้ งในใบงาน ๐๑
๕. นา� เสนอโซ่อาหาร

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนักเรยี น) กลุม สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ ) ๑๐๑

ช่อื -สกลุ เดอื น ชัน้ เลขท่ี บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๒-๐๑
วันท่ ี พ.ศ.



ตอนท่ี ๒

๑. นา� ผลการบนั ทกึ โซอ่ าหารของแตล่ ะกลมุ่ มารวมกนั เพือ่ เขยี นสายใยอาหาร
ของกลมุ่ สงิ่ มีชวี ิตนี้
๒. น�าเสนอสายใยอาหาร

๑๐๒ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นักเรยี น) กลุม สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

ชอื่ -สกลุ เดอื น ชั้น เลขท่ี บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๒-๐๑
วนั ที ่ พ.ศ.

ใบงาน ๐๑ : โซ่อาหารและสายใยอาหาร

บันทึกผลการท�ากจิ กรรม

ตอนที่ ๑ : โซอ่ าหาร

แหลง่ ท่ีอย ู่ คอื
นกั เรียนได้รับบทบาทเป็น
มหี นา้ ท ่ี คือ
โซ่อาหารตามความเขา้ ใจ เป็นดงั นี้

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู (สําหรบั นกั เรียน) กลุมสาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง) ๑๐๓

ชอื่ -สกลุ เดือน ช้ัน เลขที่ บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๒-๐๑
วันที ่ พ.ศ.

โซ่อาหารหลังจากทเ่ี รียนรู้จากบทบาทสมมติ เป็นดังน้ี

ค�าถามหลังจากท�ากิจกรรม
๑. ผู้ผลิตในโซอ่ าหารคือสิ่งมชี วี ิตชนิดใด
๒. ผู้บริโภคพืชในโซอ่ าหารคอื สิง่ มชี ีวติ ชนดิ ใด
๓. ผ้บู ริโภคสตั ว์ในโซอ่ าหารคอื สง่ิ มชี ีวิตชนดิ ใด
๔. ผบู้ ริโภคท้ังพืชและสัตว์ในโซ่อาหารคอื สิ่งมีชีวิตชนดิ ใด
๕. ผูบ้ ริโภคข้นั สูงสุดในโซอ่ าหารคอื สิง่ มชี วี ติ ชนดิ ใด
๖. โซอ่ าหารหมายความว่าอยา่ งไร

๑๐๔ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรับนกั เรียน) กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

ชอ่ื -สกุล ชน้ั เลขท่ี บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๒-๐๑
วันที่ เดอื น พ.ศ.

ตอนท่ี ๒ : สายใยอาหาร
สายใยอาหารของกล่มุ ส่งิ มชี วี ิต

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรบั นกั เรยี น) กลุม สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ ) ๑๐๕

ชื่อ-สกุล ชัน้ เลขที่ บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๒-๐๑
วนั ท่ี เดือน พ.ศ.

ค�าถามหลงั จากทา� กจิ กรรม

๑. สิง่ มีชวี ิตทเี่ ป็นผู้ผลิตในสายใยอาหารน ้ี ไดแ้ กอ่ ะไรบา้ ง

๒. ส่งิ มีชีวติ ทเ่ี ปน็ ผบู้ ริโภคพืชในสายใยอาหารน้ ี ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง

๓. ส่งิ มชี ีวิตทเ่ี ปน็ ผูบ้ ริโภคสตั ว์ในสายใยอาหารน ี้ ได้แกอ่ ะไรบ้าง

๔. สง่ิ มชี ีวติ ท่เี ปน็ ผ้บู รโิ ภคทงั้ พืชและสตั วใ์ นสายใยอาหารน ้ี ไดแ้ กอ่ ะไรบา้ ง

๕. ส่งิ มีชวี ติ ที่เปน็ ผบู้ รโิ ภคขน้ั สงู สดุ ในสายใยอาหารนี ้ ไดแ้ ก่อะไรบ้าง

๖. โชอ่ าหารและสายใยอาหารมคี วามสมั พนั ธ์กันอยา่ งไร

๑๐๖ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนกั เรียน) กลุมสาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

ชอื่ -สกลุ เดอื น ชั้น เลขที่ บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๒-๐๑
วนั ท ี่ พ.ศ.

๗. ถา้ โซอ่ าหารนขี้ าดผผู้ ลติ จะเกดิ อะไรขน้ึ

๘. จากกจิ กรรมทัง้ ๒ ตอน สรปุ ได้วา่ อยา่ งไร

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรบั นักเรยี น) กลมุ สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง) ๑๐๗

ชื่อ-สกลุ เดอื น ชั้น เลขท่ี บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๒-๐๒
วันท ่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๒ : แบบฝึกหดั เรื่องโซอ่ าหารและสายใยอาหาร

๑. สรา้ งโซอ่ าหารของสง่ิ มชี วี ติ จากรปู สงิ่ มชี วี ติ ทก่ี า� หนดให ้ และสงิ่ มชี วี ติ อน่ื ๆ นอกจากในรปู
ใหไ้ ดท้ ง้ั หมด ๖ โซอ่ าหาร พรอ้ มระบบุ ทบาทหนา้ ทข่ี องสงิ่ มชี วี ติ ใหถ้ กู ตอ้ ง และสรา้ ง
สายใยอาหารจากโซอ่ าหารให้สมบรู ณ์

บทบาทหน้าที ่ : ผผู้ ลิต ผู้บรโิ ภคพชื ผบู้ ริโภคสัตว ์ ผบู้ รโิ ภคทงั้ พืชและสัตว์
ส่งิ มชี ีวติ

หนอน ผเี สอื้ งู สาหร่าย

มด ปลา หอย กบ

เหย่ยี ว ต้นข้าว ปู เป็ด

ไก่ หนู ต๊กั แตน แมลงปอ

๑๐๘ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนักเรยี น) กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

ชือ่ -สกุล ช้นั เลขท่ี บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๒-๐๒
วนั ท่ี เดอื น พ.ศ.

โซอ่ าหารทง้ั ๖ โซอ่ าหาร ไดแ้ ก่

๑.

หนา้ ท ี่
๒.

หนา้ ที่
๓.

หนา้ ท่ี

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนักเรยี น) กลมุ สาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง) ๑๐๙

ชือ่ -สกุล เดอื น ช้ัน เลขท่ี บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๒-๐๒
วนั ท ี่ พ.ศ.

๔.

หนา้ ที่
๕.

หนา้ ที่
๖.

หนา้ ท่ี

๑๑๐ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรับนักเรยี น) กลุม สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

ช่อื -สกุล เดอื น ช้นั เลขที่ บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๒-๐๒
วันท่ ี พ.ศ.

สายใยอาหารจากโซ่อาหารทไ่ี ด้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรับนกั เรียน) กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง) ๑๑๑

ชื่อ-สกลุ เดือน ช้นั เลขท่ี บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๒-๐๒
วนั ท ี่ พ.ศ.

๒. จากสายใยอาหารท่สี รา้ งขน้ึ ตอบค�าถามดงั ตอ่ ไปนี้
๒.๑ สง่ิ มชี วี ิตท่ีเปน็ ผู้ผลิตมกี ี่ชนดิ อะไรบ้าง

๒.๒. หากไมม่ กี บ จะเกิดผลเปน็ อยา่ งไร

๒.๓ ถ้าหอยเพม่ิ จา� นวนข้นึ เปน็ ๒ เทา่ ของจา� นวนทีม่ ีอยู่เดิม จะเกดิ ผลเปน็
อย่างไร

๑๑๒ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรบั นักเรยี น) กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

ใบงาน

บ. ๒.๓ / ผ. ๑.๓

หน่วยย่อยท่ี ๑

สง่ิ มชี ีวิตและส่งิ ไมม่ ชี วี ติ

เร่ือง ความสัมพนั ธ์ของสิ่งมชี วี ติ กับสิ่งแวดลอ้ ม

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู (สําหรบั นกั เรียน) กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) ๑๑๓

ชื่อ-สกลุ เดือน ชน้ั เลขท่ี บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๓-๐๑
วันที ่ พ.ศ.

กิจกรรมท่ี ๑ โครงสรา้ งของสิ่งมีชวี ติ มีความเหมาะสมกบั ส่งิ มีชีวิตหรอื ไม่

จุดประสงค์
สบื ค้นขอ้ มลู และอธิบายโครงสร้างของสิง่ มีชวี ติ ท่เี หมาะสมกับการดา� รงชีวติ
ในแหล่งทีอ่ ยู่และการปรบั ตวั ของสิง่ มีชวี ิต

วสั ดุ-อปุ กรณ์
๑. รปู ส่ิงมีชีวิต
๒. กาว
๓. กรรไกร

วธิ ีทา�
๑. จบั สลากรปู สง่ิ มชี วี ติ ๓ ชนดิ และตดิ รปู สงิ่ มชี วี ติ ทงั้ ๓ ชนดิ ลงในใบงาน ๐๑
๒. สงั เกตโครงสรา้ งของสงิ่ มชี วี ติ และสบื คน้ ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ เกยี่ วกบั โครงสรา้ ง
ของสง่ิ มชี วี ติ วา่ มคี วามเหมาะสมตอ่ การดา� รงชวี ติ ในแหลง่ ทอ่ี ยหู่ รอื ไม ่ บนั ทกึ ผล
๓. นา� เสนอผลการสังเกตและการสบื คน้ ข้อมูล
๔. สบื คน้ ขอ้ มลู ตวั อยา่ งการปรบั ตวั ของสง่ิ มชี วี ติ รว่ มกนั อภปิ ราย นา� เสนอและ
บันทึกผล

๑๑๔ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนักเรยี น) กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

ชือ่ -สกุล เดือน ชั้น เลขท่ี บ. ๒.๑/ ผ. ๑.๓-๐๑
วันที่ พ.ศ.

ใบงาน ๐๑ : โครงสร้างท่เี หมาะสมตอ่ การด�ารงชวี ิตของสง่ิ มชี ีวติ

บันทกึ ผลการทา� กจิ กรรม
ตวั อยา่ ง :

ส่ิงมีชวี ติ ทีน่ กั เรยี นไดร้ ับ คอื กระรอก
มแี หลง่ ท่อี ยอู่ าศยั คอื ตน้ ไม้
โครงสร้างท่ีมคี วามเหมาะสมต่อการด�ารงชวี ติ คอื
- มฟี ันสองซี่หน้า สา� หรับแทะเมลด็ พชื ท่ีมเี ปลือกแขง็
- มีขนสนี �า้ ตาลท�าใหก้ ลมกลืนกับเปลอื กของตน้ ไม้

๑. สิ่งมชี ีวิตทีน่ กั เรยี นได้รับ คือ
มแี หล่งทอี่ ย่อู าศยั คือ
โครงสรา้ งท่ีมีความเหมาะสมต่อการด�ารงชีวิต คือ

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนักเรยี น) กลุมสาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ ) ๑๑๕

ชอื่ -สกุล เดอื น ช้ัน เลขท่ี บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๓-๐๑
วันท ี่ พ.ศ.

๒. ส่ิงมชี ีวิตที่นกั เรยี นไดร้ บั คอื
มีแหลง่ ท่อี ยอู่ าศัย คอื
โครงสรา้ งทมี่ คี วามเหมาะสมต่อการด�ารงชวี ติ คือ

๓. สิ่งมชี ีวติ ทีน่ ักเรยี นได้รบั คือ
มีแหล่งทอี่ ยอู่ าศยั คอื
โครงสรา้ งทีม่ คี วามเหมาะสมตอ่ การด�ารงชีวติ คือ

๑๑๖ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรบั นกั เรยี น) กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชือ่ -สกุล เดอื น ชน้ั เลขที่ บ. ๒.๑/ ผ. ๑.๓-๐๑
วนั ท ี่ พ.ศ.

ตวั อยา่ งการปรับตวั ของสงิ่ มีชีวิต

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นกั เรยี น) กลุมสาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ๑๑๗

ช่ือ-สกลุ เดอื น ช้ัน เลขที่ บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๓-๐๒
วันท ่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๒ : แบบฝกึ หดั เรอื่ งโครงสรา้ งและการปรบั ตวั ของสงิ่ มชี วี ติ

๑. ตอบค�าถามจากสถานการณต์ อ่ ไปนี้ (สามารถสืบคน้ ขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ ได้)
๑.๑ ต้นหูกวาง : เป็นพืชที่มีการทิ้งใบในฤดูหนาวช่วงประมาณเดอื นตลุ าคม
ถงึ เดอื นพฤศจกิ ายน กอ่ นจะทงิ้ ใบ ใบจะเปล่ียนเป็นสีเหลืองหรือสีส้มแดง

การทิ้งใบของตน้ หูกวางมผี ลดีอย่างไร

๑.๒ กบ : เป็นสัตว์สะเทินน�้าสะเทินบกท่ีม ี
การจา� ศลี โดยการฝงั ตวั อยใู่ นดนิ ตามขอบบอ่ นา้�

คคู ลองในฤดูหนาวหรอื ฤดูแล้ง
การจา� ศีลของกบมผี ลดีอย่างไร

๑๑๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

ชอ่ื -สกุล เดือน ชั้น เลขท่ี บ. ๒.๑/ ผ. ๑.๓-๐๒
วนั ที ่ พ.ศ.

๑.๓ ควาย : มีพฤติกรรมในการนอนปลัก
หรอื แชน่ า้� แชโ่ คลนในวันท่ีมีอากาศร้อนจัด
การแชใ่ นปลักมผี ลดตี ่อควายอยา่ งไร

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรบั นักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ ) ๑๑๙

ชือ่ -สกุล เดือน ชั้น เลขท่ี บ. ๒.๑ / ผ. ๑.๓-๐๒
วนั ที่ พ.ศ.

๒. อา่ นสถานการณ์ตอ่ ไปน ้ี และตอบค�าถาม

อูฐเป็นสัตว์ชนิดหนึ่งท่ีอาศัยอยู่ในทะเลทราย
ซ่ึงมีอุณหภูมิสูง อูฐมีโหนก มีขนเกรียนและหนาแน่น
บรเิ วณสนั หลงั มอี งุ้ เทา้ ทเ่ี ปน็ กบี และมขี นท�าใหเ้ ดนิ แลว้
ไมจ่ มทราย มขี ายาว อฐู สามารถเดนิ ในทะเลทรายไดไ้ กล

อฐู มีโครงสร้างที่เหมาะสมต่อการดา� รงชวี ิตในทะเลทรายหรือไม่ อย่างไร

๑๒๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

ใบงาน

บ. ๒.๒ / ผ. ๒.๑

หน่วยยอ่ ยที่ ๒

ทรพั ยากรธรรมชาติ

เร่อื ง แหล่งทรพั ยากรธรรมชาติในทอ้ งถน่ิ

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรบั นักเรยี น) กลุมสาระการเรียนรูว ิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ๑๒๑

ชื่อ-สกุล เดือน ชนั้ เลขที่ บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑
วันท่ี พ.ศ.

กจิ กรรมท่ี ๑ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นมีอะไรบ้าง

จุดประสงค์
๑. สบื คน้ ขอ้ มลู และอภปิ รายแหลง่ ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นทอ้ งถนิ่
๒. บอกประโยชนข์ องทรัพยากรธรรมชาติ

วสั ดุ-อุปกรณ์
-

วิธที า�
๑. รว่ มกนั สบื คน้ ขอ้ มลู แหลง่ ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นทอ้ งถนิ่ จากคนในชมุ ชน ผปู้ กครอง
และแหลง่ เรยี นรอู้ น่ื ๆ บนั ทกึ ชอ่ื และประโยชนข์ องทรพั ยากรธรรมชาติ
๒. อภิปรายและน�าเสนอ
๓. เลือกอ่านใบความรู้เรือ่ ง น้�า อากาศ ดนิ สัตวป์ า่ และปา่ ไม ้ แลว้ สรุปในรปู แบบ
ที่นา่ สนใจติดรอบห้องเรยี น

๑๒๒ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรับนกั เรยี น) กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

ชือ่ -สกุล เดือน ช้นั เลขท่ี บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑
วันที่ พ.ศ.

ใบความรู้เรื่องน�้า

น้�า เป็นทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีความส�าคัญต่อชีวิตคน พืช และสัตว์มากท่ีสุด
น�้าเป็นปัจจัยส�าคัญในการด�ารงชีวิตของมนุษย์และเป็นองค์ประกอบท่ีส�าคัญ
ของส่งิ มชี ีวติ ท้ังหลาย

ประโยชนข์ องนา�้ ทมี่ ีตอ่ มนษุ ย์

๑. ใช้ส�าหรับการบริโภคและอุปโภค เช่น ด่ืม กิน ประกอบอาหาร ช�าระร่างกาย
ท�าความสะอาด
๒. ใช้ส�าหรับการเกษตร เช่น การเพาะปลูก เล้ียงสัตว์ เป็นที่อยู่อาศัยของปลาและ
สัตว์น้า� อ่นื ๆ ทีม่ นุษยใ์ ช้เป็นอาหาร
๓. ใชส้ า� หรบั อตุ สาหกรรม เชน่ ใชน้ า้� ในกระบวนการผลติ ลา้ งของเสยี หลอ่ เครอ่ื งจกั ร
และระบายความรอ้ น
๔. การทา� นาเกลอื โดยการระเหยนา�้ เคม็ จากทะเล หรอื ระเหยนา้� ทใ่ี ชล้ ะลายเกลอื สนิ เธาว์
๕. เป็นแหลง่ พลงั งานในการผลิตกระแสไฟฟา้
๖. เปน็ เสน้ ทางคมนาคม เชน่ แมน่ �้า ล�าคลอง ทะเล มหาสมทุ ร
๗. เป็นสถานทที่ อ่ งเทย่ี ว เช่น ทะเล ลา� ธาร แม่น้า� น�า้ ตก ทะเลสาบ

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นกั เรยี น) กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรุง) ๑๒๓

ชื่อ-สกลุ เดือน ชั้น เลขที่ บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑
วันท่ ี พ.ศ.

ใบความร้เู รอื่ งอากาศ

อากาศ มีประโยชน์ต่อโลกที่เราอาศัยอยู่และมีความส�าคัญอย่างยิ่งต่อส่ิงมีชีวิต
ที่อาศัยอยู่บนโลก อากาศที่อยู่รอบตัวเราและห่อหุ้มโลกที่เหมาะต่อการด�ารงชีวิตของ
สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ จะอยู่ในบริเวณที่นับจากพ้ืนผิวโลกขึ้นไปประมาณ ๕-๖ กิโลเมตรเท่าน้ัน
เนื่องจากในบริเวณนี้มีแก๊สออกซิเจน และแก๊สต่าง ๆ เป็นองค์ประกอบท่ีค่อนข้างคงท ี่
แต่ปรากฏว่าปัจจุบันโลกของเราได้รับผลกระทบจากมลภาวะของอากาศอย่างมาก
ท�าใหอ้ งค์ประกอบในอากาศเปล่ียนไป

๑๒๔ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนกั เรียน) กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

ชอื่ -สกุล เดอื น ชน้ั เลขที่ บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑
วันที่ พ.ศ.

ประโยชน์ของอากาศที่มตี ่อมนษุ ย์
๑. มีแก๊สทจี่ �าเปน็ ตอ่ การมีชีวิตของมนษุ ย ์ สัตว์และพืช
๒. มีอิทธิพลต่อการเกิดทรัพยากรธรรมชาติรวมท้ังมีอิทธิพลต่อปริมาณ และคุณภาพ
ของทรพั ยากรธรรมชาตอิ นื่ ๆ เชน่ นา้� ปา่ ไมแ้ ละแรธ่ าต ุ แลว้ ทา� ใหเ้ กดิ ประโยชน์
ตอ่ มนษุ ยต์ อ่ ไป
๓. ช่วยปรับอุณหภูมิของโลก โดยเฉพาะไอน�้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซ่ึงจะช่วย
ปอ้ งกนั การสญู เสยี ความรอ้ นจากพนื้ ดนิ ทา� ใหอ้ ณุ หภมู ริ ะหวา่ งกลางวนั กบั กลางคนื
และฤดูร้อนกับฤดูหนาวไม่แตกต่างกันมาก และท�าให้บริเวณผิวโลกอบอุ่นขึ้น
๔. ทา� ให้เกิดลมและฝน
๕. มผี ลตอ่ การดา� รงชวี ติ สภาพจติ ใจ และรา่ งกายของมนษุ ย ์ ถา้ สภาพอากาศไมเ่ หมาะสม
เชน่ แห้งแลง้ หรือหนาวเยน็ เกนิ ไป คนจะอยู่อาศยั ด้วยความยากล�าบาก
๖. ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีของดวงอาทิตย์ โดยแก๊สโอโซนในบรรยากาศ
จะกรองหรอื ดดู ซบั รงั สอี ลั ตราไวโอเลต ซง่ึ ทา� ใหผ้ วิ ไหมเ้ กรยี ม และเกดิ โรคมะเรง็ ผวิ หนงั
และโรคต้อกระจก
๗. ช่วยเผาไหมว้ ัตถุท่ตี กมาจากฟา้ หรืออกุ กาบาตให้กลายเปน็ อนุภาคเล็ก ๆ จนไม่

เปน็ อนั ตรายตอ่ มนษุ ย์และทรัพย์สนิ
๘. ท�าให้ท้องฟ้ามีสีสวยงาม โดยอนุภาคของส่ิงอ่ืนท่ีปนอยู่กับแก๊สในบรรยากาศ
จะทา� ให้แสงหักเห เราจึงมองเห็นท้องฟ้ามสี ีท่ีงดงามแทนทจี่ ะเห็นเป็นสดี �ามืด

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรบั นกั เรยี น) กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง) ๑๒๕

ชื่อ-สกลุ เดอื น ชัน้ เลขท่ี บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑
วันท่ ี พ.ศ.

ใบความรู้เรอ่ื งสตั ว์ป่า

สัตว์ป่า เป็นทรัพยากรธรรมชาติอย่างหนึ่ง ซึ่งหมายถึง สัตว์ที่มนุษย์ไม่ได้เล้ียงดู
และมนษุ ยไ์ มไ่ ดเ้ ปน็ เจา้ ของ
ประเภทของสตั วป์ า่ ตามพระราชบญั ญตั สิ งวนและคมุ้ ครองสตั วป์ า่ พ.ศ. ๒๕๓๕ แบง่ สตั วป์ า่
ออกเปน็ ๒ ประเภท คอื
๑. สัตว์ป่าสงวน เป็นสัตว์ป่าที่หายาก ห้ามล่า หรือมีไว้ในครอบครองโดยเด็ดขาดและ
ปัจจุบันมีจ�านวนน้อยมาก บางชนิดสูญพันธุ์ไปแล้ว สัตว์ป่าสงวนมีอยู่ ๑๕ ชนิด คือ
นกเจา้ ฟา้ หญงิ สริ นิ ธร แรด กระซ ู่ กปู รหี รอื โคไพร ควายปา่ ละองหรอื ละมง่ั สมนั หรอื เนอื้ สมนั
เลยี งผา นกแตว้ แลว้ ทอ้ งดา� นกกระเรียน แมวลายหินอ่อน สมเสร็จ เก้งหม้อ และพะยูน
หรือหมนู ้�า

สัตว์ป่าสงวนทงั้ ๑๕ ชนดิ

กระซู่ กูปรี แรด
ชื่อสามัญ : Sumatran Rhino ชอื่ สามญั : Kouprey ชอ่ื สามัญ : Javan Rhino
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Didemocerus sumatrensis ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Bos sauveli ช่อื วิทยาศาสตร์ : Rhinoceros sondaicus

๑๒๖ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนักเรียน) กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

ชอ่ื -สกลุ เดือน ชั้น เลขท่ี บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑
วนั ท่ี พ.ศ.

เกง้ หมอ้ แมวลายหนิ ออ่ น นกเจา้ ฟ้าหญิงสริ ินธร
ชื่อสามญั : Fea’s Barking Deer ชื่อสามัญ : Marbled Cat ชอื่ สามัญ : White-eyed River- Martin
ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Muntiacus feai ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Pardofelis marmorata ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Pseudochelidon sirintarae

นกกระเรยี น พะยูน นกแตว้ แล้วทอ้ งดา�
ชอ่ื สามัญ : Sarus crane ชื่อสามัญ : Dugong ชือ่ สามัญ : Gurney’s Pitta
ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Grus antigone ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dugong dugon ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Pitta gurneyi

สมเสรจ็ กวางผา เลยี งผา
ช่อื สามัญ : Malayan Tapir ช่อื สามญั : Goral ชอ่ื สามญั : Serow
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Tapirus indicus ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Naemorhedus griseus ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Capricornis sumatraensis

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู (สําหรบั นักเรียน) กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง) ๑๒๗

ชื่อ-สกุล เดือน ชัน้ เลขท่ี บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑
วนั ที่ พ.ศ.

สมัน ควายปา่ ละองหรือละมัง่
ช่อื สามญั : Schomburgk’s deer ช่อื สามัญ : Wild Water Baffalo ชอ่ื สามัญ : Eld’s deer
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Rucervus schomburgki ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Bubalus bubalis ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Cervus eldi

๒. สตั ว์ปา่ ค้มุ ครอง เป็นสตั ว์ป่าเพอ่ื การอนุรักษ์ หา้ มลา่ หา้ มค้า ห้ามนา� เข้า
หรอื สง่ ออก เวน้ แต่จะได้รบั อนุญาต สัตวป์ ่าคุ้มครองแบ่งเปน็ ๗ จา� พวก ดงั นี้
๑. สัตวป์ า่ จา� พวกเลย้ี งลูกด้วยนา้� นม จ�านวน ๑๘๙ ชนิด
๒. สตั ว์ปา่ จา� พวกนก จา� นวน ๗๗๑ ชนดิ
๓. สตั ว์ป่าจ�าพวกสัตว์เลือ้ ยคลาน จา� นวน ๙๑ ชนดิ
๔. สัตวป์ า่ จ�าพวกสะเทินน�้าสะเทินบก จา� นวน ๑๒ ชนดิ
๕. สตั วป์ ่าจ�าพวกปลา จา� นวน ๔ ชนิด
๖. สตั ว์ป่าจา� พวกแมลง จา� นวน ๑๓ ลา� ดบั
๗. สัตว์ป่าจา� พวกไมม่ ีกระดูกสันหลัง จา� นวน ๑๓ ลา� ดับ

บทลงโทษ ทั้งสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครองและซากของสัตว์ป่าสงวน
หรอื ซากของสตั วป์ า่ คมุ้ ครอง หา้ มมใิ หผ้ ใู้ ดทา� การลา่ มไี วใ้ นครอบครอง คา้ ขายและนา� เขา้ หรอื สง่ ออก
หากผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษจ�าคุกไม่เกินส่ีปีหรือปรับไม่เกินส่ีหมื่นบาทหรือท้ังจ�าท้ังปรับ

๑๒๘ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นกั เรยี น) กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

ชือ่ -สกลุ เดอื น ช้ัน เลขท่ี บ.๒.๒/ ผ. ๒.๑-๐๑
วันที่ พ.ศ.

ประโยชนข์ องสัตว์ปา่

สตั วป์ า่ มปี ระโยชนน์ านาประการใหแ้ กม่ นษุ ยแ์ ละทรพั ยากรธรรมชาตอิ นื่ ๆ
มากมาย ตวั อย่างคุณค่าของสัตว์ปา่ เช่น
๑. เปน็ ตวั ควบคมุ สงิ่ มชี วี ติ อนื่ ๆ เชน่ คา้ งคาวกนิ แมลง นกฮกู และงูสิงกินหนูต่าง ๆ

นกกินตัวหนอนท่ีท�าลายพืชเศรษฐกิจ ซึ่งหากไม่มีสตั วป์ ่าตา่ ง ๆ เหลา่ น ี้ คนอาจ
ต้องเสียเงินในการก�าจัดศัตรูทั้งทางตรงและทางอ้อม
๒. คุณคา่ ของสัตวป์ ่าต่อทรพั ยากรธรรมชาติอื่น ๆ ตัวอย่างเชน่

๒.๑ สตั ว์ปา่ ช่วยทา� ลายศัตรูปา่ ไม ้ เช่น
• นกหวั ขวาน นกไตไ่ ม้ จะกินแมลงและตวั หนอนตามล�าตน้
• นกกนิ แมลง นกจับแมลง จะกนิ แมลงทม่ี าท�าลายใบ ดอก และผล
• ตนุ่ หนผู ี จะกนิ หนอนทม่ี ากนิ รากและลา� ตน้ ใตด้ นิ หากปราศจากสตั วเ์ หลา่ น ้ี
ตน้ ไม้อาจจะไดร้ ับความเสยี หายและตายได้

๒.๒ สัตว์ป่าช่วยผสมเกสรดอกไม้ เช่น นกกินปลี นกปลีกล้วย และค้างคาว
กินน�้าหวานดอกไม้ ชว่ ยผสมเกสรดอกไม้
๒.๓ สตั ว์ปา่ ชว่ ยในการกระจายเมล็ดพนั ธ์ุไม้ เชน่ นกขนุ ทอง นกเงอื ก คา้ งคาว
บางชนดิ ลิง ค่าง ชะนี กวาง เก้ง กระทงิ ววั แดง จะกินผลไมเ้ ปน็ อาหาร
แลว้ คายหรือถา่ ยเมล็ดออกมาตามทต่ี ่าง ๆ
๒.๔ สตั วป์ า่ ชว่ ยทา� ใหด้ นิ อดุ มสมบรู ณย์ ง่ิ ขนึ้ มลู ของสตั วเ์ กอื บทกุ ชนดิ ใชเ้ ปน็ ปยุ๋ ได้
อย่างดี เท่ากับเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน ในขณะเดียวกันเมื่อสัตว์ป่า
ตายลง ซากของสัตว์ปา่ ก็จะกลายเปน็ ปุ๋ยไดเ้ ชน่ เดยี วกัน

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สําหรบั นักเรียน) กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง) ๑๒๙

ชื่อ-สกลุ เดอื น ช้นั เลขที่ บ.๑.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑
วันที่ พ.ศ.

๓. การนันทนาการและด้านจิตใจ ได้แก่ การท่องเท่ียวชมสัตว์ป่าในสวนสัตว์
อทุ ยานแหง่ ชาต ิ เขตรักษาพนั ธสุ์ ตั ว์ป่าและแหลง่ สตั ว์ปา่ อนื่ ๆ
๔. ด้านวิทยาศาสตร์ การศึกษา และการแพทย์ สัตว์ป่าท�าให้นักวิทยาศาสตร์
นักศึกษาและแพทย์ ประสบผลส�าเร็จการค้นคว้า ทดลองต่าง ๆ โดยขั้นแรก
เริ่มทดลองกับสัตว์ป่าเสียก่อน เช่น ทดลองกับหนู ลิง จากนั้นจึงน�าไปใช้กับคน

๑๓๐ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรบั นักเรียน) กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

ช่ือ-สกุล เดือน ชนั้ เลขที่ บ.๒.๒/ ผ. ๒.๑-๐๑
วันท ่ี พ.ศ.

ใบความรเู้ รอื่ งดนิ

ดิน เปน็ ทรพั ยากรธรรมชาติที่มนุษนน์ �ามาใช้ประโยชน์เพื่อการดา� รงชีวติ

ลักษณะดนิ ในประเทศไทย มีความอดุ มสมบรู ณแ์ ตกตา่ งกนั ดังน้ี
๑. บริเวณที่เป็นที่ราบน�้าท่วมถึงของสองฝั่งแม่น�้า ซึ่งมีโคลนตะกอนทับถมกันทุกปี
จะมดี นิ ตะกอนทย่ี งั มอี ายนุ อ้ ย ลกั ษณะของดนิ มกั เปน็ ดนิ เหนยี วทยี่ งั ไมม่ กี ารชะลา้ ง
ธาตุอาหารในดินมากนัก ดินค่อนข้างอุดมสมบูรณ์บางแห่งอาจมีดินเป็นกรดสูง
หรอื เป็นดินเปรี้ยว ดนิ บริเวณน้เี หมาะสา� หรับการท�านา
๒. บรเิ วณทเ่ี ปน็ ทรี่ าบลมุ่ ตา�่ มาก มนี า�้ ทว่ มขงั และมซี ากของพชื ทท่ี บั ถมกนั เปน็ ชนั้ หนา
จะมีดินที่มีอินทรียวัตถุปะปนอยู่มาก แต่ใช้ประโยชน์ได้น้อย เช่น บริเวณชายฝั่ง
จงั หวดั นราธิวาส บงึ บอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์
๓. บริเวณท่ีเป็นชายฝั่งทะเล มีเนินทราย หรือหาดทรายจะมีดินเป็นทราย
ใช้เพาะปลูกไม่ได้ เช่น ชายฝั่งจังหวัดประจวบคีรีขันธ์และจังหวัดสงขลา
๔. บรเิ วณลานตะพกั ลา� นา�้ จะอยหู่ า่ งจากสองฝง่ั ของแมน่ า้� ออกไป ดนิ ถกู ชะลา้ งธาตอุ าหาร
จงึ จะเปน็ ดนิ เหนียว
๕. บรเิ วณภเู ขาทไี่ มส่ งู ชนั มาก จะมปี า่ ไมป้ กคลมุ ตามธรรมชาต ิ ดนิ จะมสี ภาพคอ่ นขา้ ง
อุดมสมบูรณ์ มีอินทรียวัตถุในดินมาก ถ้าใช้ดินในบริเวณนี้มาเพาะปลูก
จะลดความอดุ มสมบรู ณล์ งอยา่ งมาก เพราะมกี ารชะลา้ ง และพงั ทลายสงู เมอ่ื ไมม่ ปี า่ ไม้
ปกคลมุ ดนิ
๖. บริเวณท่ีมีหินประเภทด่าง เช่น หินปูน ปูนมาร์ล หินบะซอลท์ เม่ือสลายเป็นดิน
จะให้ดินท่ีมีความอุดมสมบูรณ์สูง เหมาะในการปลูกพืชไร่ พบได้ในหลายจังหวัด
เช่น สระบรุ ี ลพบุรี กาญจนบุร ี

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนกั เรียน) กลุมสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง) ๑๓๑

ช่ือ-สกุล เดือน ชัน้ เลขท่ี บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑
วนั ท่ี พ.ศ.

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ดินจึงน�ามาใช้ประโยชน์ในการปลูกพืช
โดยดินที่ดีเหมาะส�าหรับการเพาะปลูกจะต้องประกอบด้วยสมบัติ ๓ ประการ คือ
๑. ดินต้องมีความสมดุลของธาตุอาหาร ซ่ึงประกอบด้วยธาตุอาหารหลัก ได้แก่
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซียม ธาตุอาหารรอง ประกอบด้วย แคลเซียม
แมกนเี ซยี ม กา� มะถนั และปฏกิ ริ ยิ าของดนิ ทเ่ี ปน็ กลาง คอื ดนิ ตอ้ งไมเ่ ปน็ กรดเปน็ ดา่ ง
หรอื มีความเค็มจนเกินไป
๒. ดนิ ตอ้ งมคี วามรว่ นซยุ อากาศถา่ ยเทไดด้ ี มคี วามสามารถในการอมุ้ นา�้ ไดด้ ี เมด็ ดนิ เกาะกนั
อยา่ งหลวมๆ เพอื่ ชว่ ยใหร้ ากพชื สามารถแผข่ ยายและชอนไชไปหาธาตอุ าหารไดง้ า่ ย
ในระยะท่ีกว้างและไกล เป็นดนิ ที่อ่อนนุ่ม ไมแ่ ขง็ กระดา้ ง
๓. ดนิ ทม่ี จี ลุ นิ ทรยี แ์ ละสง่ิ มชี วี ติ เลก็ ๆ ในดนิ ทเ่ี ปน็ ประโยชนใ์ นปรมิ าณมาก ซง่ึ สามารถ
ควบคุมจุลินทรีย์และส่ิงที่มีชีวิตเล็กๆ อื่น ในดินที่เป็นโทษแก่พืชได้เป็นอย่างดี
และจลุ นิ ทรยี ท์ เ่ี ปน็ ประโยชนใ์ นดนิ สามารถสรา้ งกจิ กรรมตา่ งๆ ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์
แกพ่ ชื ไดด้ ี เชน่ สามารถยอ่ ยธาตอุ าหารในดนิ ทย่ี งั ไมเ่ ปน็ ประโยชนแ์ กพ่ ชื หรอื ใหป้ ระโยชนน์ อ้ ย
ให้เป็นประโยชน์แกพ่ ชื และเพ่ิมปรมิ าณทมี่ ากขึ้น

ประโยชนข์ องดนิ ทมี่ ตี ่อมนษุ ย์
๑. ใช้ในการเกษตรกรรม เปน็ แหลง่ ผลิตอาหารของมนุษย ์
๒. ใชใ้ นการเลย้ี งสตั ว์ พืชและหญา้ ที่ข้ึนอยู่บนดินเปน็ แหล่งอาหารสตั ว์ ตลอดจนเป็น

แหลง่ ทอ่ี ย่อู าศยั ของสัตว์บางชนดิ เชน่ งู หน ู แมลง
๓. เปน็ แหลง่ ท่ีอยอู่ าศยั พืน้ ดินเปน็ แหล่งท่ตี งั้ ของเมอื ง บา้ นเรือน ชมุ ชนต่าง ๆ
๔. เป็นแหล่งกักเกบ็ น�้า โดยดินกกั เก็บนา�้ ไว้ตามชอ่ งว่าง เชน่ นา้� ใตด้ นิ รวมทัง้ น้�าใน

ดินจะค่อย ๆ ซึมลงท่ีตา�่ เช่น แม่น้า� ลา� คลอง ท�าใหเ้ รามนี �้าใชต้ ลอดปี

๑๓๒ ชุดกิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นกั เรียน) กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

ชอื่ -สกุล เดอื น ชน้ั เลขท่ี บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑
วนั ท่ ี พ.ศ.

ใบความรู้เร่อื งทรพั ยากรป่าไม้

ปา่ ไม้ เปน็ ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่มี ีความส�าคัญตอ่ ส่ิงมีชีวติ มอี ยหู่ ลายประเภท
และมปี ระโยชนม์ ากมายตอ่ มนษุ ย์และสัตว์
ประเภทของป่าไม้ในประเทศไทย
ประเภทของปา่ ไมจ้ ะแตกตา่ งกนั ไปขนึ้ อยกู่ บั การกระจายของฝน ระยะเวลาทฝ่ี นตก
รวมทง้ั ปรมิ าณนา้� ฝนทา� ใหป้ า่ แตล่ ะแหง่ มคี วามชมุ่ ชนื้ ตา่ งกนั จา� แนกไดเ้ ปน็ ๒ ประเภท คอื
๑. ปา่ ประเภททีไ่ ม่ผลดั ใบ
เป็นป่าที่เขียวชอุ่มตลอดปี เนื่องจากต้นไม้แทบทั้งหมดที่ขึ้นอยู่เป็นประเภท
ทไ่ี มม่ ีการผลดั ใบ ป่าชนิดสา� คญั ซงึ่ จัดอยู่ในประเภทน ้ี ได้แก่

๑.๑. ปา่ ดงดบิ
ปา่ ดงดบิ ทม่ี อี ยทู่ ว่ั ในทกุ ภาคของประเทศ มกั กระจายอยบู่ รเิ วณทม่ี คี วามชมุ่ ชน้ื มาก ๆ
เชน่ ตามหบุ เขา รมิ แมน่ า้� ลา� ธาร หว้ ย แหลง่ นา�้ และบนภเู ขา ซงึ่ สามารถแยกออก
เป็นป่าดงดบิ ชนิดต่าง ๆ ดงั นี้

- ปา่ ดบิ ช้นื เป็นป่ารกทึบมองดูเขียวชอ่มุ ตลอดป ี มีพนั ธ์ไุ มห้ ลายร้อยชนิด
ขน้ึ เบียดเสยี ดกนั มกั พบตง้ั แตค่ วามสูง ๖๐๐ เมตรขึน้ ไป จากระดับนา�้ ทะเล
พันธไุ์ ม้ท่สี �าคัญกค็ อื ไม้ตระกลู ยางตา่ ง ๆ เชน่ ยางนา ยางเสียน
- ป่าดิบแล้ง เป็นป่าที่อยู่ในพื้นที่ค่อนข้างราบ มีความชุ่มชื้นน้อย มักอยู่สูง
จากระดบั นา้� ทะเลประมาณ ๓๐๐-๕๐๐ เมตร พนั ธไ์ุ มท้ สี่ า� คญั ไดแ้ ก ่ มะคา่ โมง
ยางนา พยอม ตะเคียนแดง กระเบากลัก และตาเสือ
- ปา่ ดบิ เขา ปา่ ชนดิ นเ้ี กดิ ขน้ึ ในพน้ื ทส่ี งู ๆ หรอื บนภเู ขา ตง้ั แต ่ ๑,๐๐๐-๑,๒๐๐ เมตร
ข้ึนไปจากระดับนา้� ทะเล ทสี่ า� คัญได้แก ่ พวกไม้ขุนและสนสามพันปี

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นกั เรียน) กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง) ๑๓๓

ช่อื -สกลุ เดือน ช้นั เลขที่ บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑
วันท่ี พ.ศ.

๑.๒. ปา่ สนเขา
ป่าสนเขามักปรากฎอยู่ตามภูเขาสูง ส่วนใหญ่เป็นพ้ืนที่ซ่ึงมีความสูง
ประมาณ ๒๐๐-๑,๘๐๐ เมตร ข้ึนไปจากระดับน�้าทะเล บางทีอาจปรากฏ
ในพืน้ ท่สี ูง ๒๐๐-๓๐๐ เมตร จากระดับนา้� ทะเลพันธุไ์ มท้ ี่ส�าคญั ของปา่ ชนิดน้ี
คอื สนสองใบและสนสามใบ
๑.๓. ปา่ ชายเลน
บางทเี รยี กวา่ “ป่าเลนน�้าเค็ม” หรือป่าเลน มีตน้ ไม้ขึน้ หนาแนน่ แต่ละชนิด
มีรากค้�ายันและรากหายใจ ป่าชนิดน้ีอยู่ตามท่ีดินเลนริมทะเลหรือบริเวณปากน�้า
แม่น้�าใหญ่ ๆ ซึ่งมีน้�าเค็มท่วมถึง ในพื้นที่ภาคใต้มีอยู่ตามชายฝั่งทะเลท้ังสองด้าน
พนั ธไ์ุ มช้ นดิ ทสี่ า� คญั คอื โกงกาง ประสกั ถว่ั ขาว ถวั่ ดา� โปรง ตะบนู แสมทะเล ลา� พู
และลา� แพน
๑.๔. ป่าพรุหรอื ป่าบึงน้�าจดื
ปา่ ชนดิ นอี้ ยใู่ นบรเิ วณทมี่ นี า�้ จดื ทว่ มมากๆ ดนิ ระบายนา�้ ไมด่ ี ปา่ พรใุ นภาคกลาง
มลี กั ษณะโปรง่ และมตี น้ ไมข้ น้ึ อยหู่ า่ ง ๆ เชน่ ครอเทยี น สนนุ่ จกิ โมกบา้ น หวายนา�้
หวายโปร่ง ระก�า อ้อ และแขม ป่าพรุในภาคใต้ขึ้นอยูต่ ามบริเวณท่ีมีน�้าขังตลอดปี
ดนิ ป่าพรุที่มเี นอ้ื ทมี่ ากทสี่ ดุ อยใู่ นบรเิ วณจังหวดั นราธิวาส ดนิ เป็นพที ซึ่งเปน็ ซากพชื
ผสุ ลายทบั ถมกนั เป็นเวลานาน ป่าพรุแบ่งออกได้ ๒ ลกั ษณะ คอื ตามบรเิ วณซงึ่ เปน็
พรนุ า้� กรอ่ ยใกลช้ ายทะเล มตี น้ เสมด็ จะขนึ้ อยหู่ นาแนน่ หรอื พน้ื ทท่ี มี่ ตี น้ กกชนดิ ตา่ ง ๆ
เรียก“ป่าพรุเสม็ด หรือ ป่าเสม็ด” อีกลักษณะเป็นป่าท่ีมีพันธุ์ไม้ต่าง ๆ มากชนิด
ขึ้นปะปนกัน พันธุ์ไม้ท่ีส�าคัญของป่าพรุ ได้แก่ อินทนิลน้�า หว้า จิก โสกน�้า
กระทมุ่ นา�้ กนั เกรา โงงงัน กะทั่งหนั

๑๓๔ ชุดกิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นักเรียน) กลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

ชอื่ -สกุล เดอื น ชน้ั เลขท่ี บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑
วันท ่ี พ.ศ.

๑.๕. ปา่ ชายหาด
เปน็ ปา่ โปรง่ ไมผ่ ลดั ใบขน้ึ อยตู่ ามบรเิ วณหาดชายทะเล นา้�ํ ไมท่ ว่ มตามฝง่ั ดนิ
และชายเขาริมทะเล ตตน้ นไไมม้สส�าําคคัญัญททข่ี ่ีขึน้ น้ึ ออยยูต่ ตู าามมหหาาดดชชาายยททะะเเลล ตต้อองงเเปปน็ นพพืชชื ททนนเเคค็ม็ม
และมกั มมลี ีลกั ักษษณณะะไมไมเ ป้เนปพ็นมุพลุ่มกั ษตณ้นะคตดน งคอด งใอบหใบนหานแาขแ็งข ง็ ไดไ้แดกแ ่ก ส สนนททะะเลเล หหูกกู ววาง
โพทะเล ตีนเป็ดทะเล เตย หญ้า ต่าง ๆ ไม้เกด กระบองเพชร เสมา ชิงชี่
หนามหนั กา�ํ จาย มะตันขอ

๒. ปา่ ประเภทท่ผี ลัดใบ
ปา่ ประเภทนจ้ี ะมองดเู ขยี วชอมุม่ พอถงึ ฤดแู ลง้ ตตน้ น ไไมมส้ ส ว่ ว นนใใหหญญจ่จ ะพากนั ผลดั ใบ
ทา�ํ ใหป้ า่ มองดโู ปรง่ ขนึ้ และมกั จะเกดิ ไฟปา่ เผาไหมใ้ บไมแ้ ละตน้ ไมเ้ ลก็ ๆ ปา่ ประเภทน้ี
ได้แ ก่

๒.๑ ปา่ เบญจพรรณ
ป่าเบญจพรรณมีลักษณณะะเปป็น ป่า โปร่ง และยังมีไม้ไ ผ่ช นิดต่า ง ๆ
ขึ้นกระจัดกระจายท่ัวไป พันธุ์ไม้ท่ีสํ�าคัญไดแ้ ก่ สัก ประดู่แ ดง มะค่า โมง
ตะแบก เสลา อ้อ ยช้าง ส้าน ยมหอม ยมหิน มะเกลือ ฯลฯ นนออกจากนี้
มไี มไผท ่สี ําคญั เชน ไผป า ไผบง ไผซ าง ไผร วก ไผไร เปน ตน

๒.๒ ป่า เตง็ รงั
ป่าเตต็ง็งรรังังมมีลีัลกัษกณษะณทะั่วทไป่ัวเไปปนเปา็นโปร่างโปพรัน่งธ ุไพมัทน่ีสธําุ์ไคมัญ้ทไี่สด�าแกคัญเตได็ง้แรกัง่
เตห็งีย งรังพ เลหวียงง กพรลาวดง กพราะดย อพมะยตอ้ิวม ตแ้ิวต วแตม้ว ะมคะาคแ่าตแปตร้ ะปดระู ดแู่แดดงง สมออไไททยย
ตะแบกเลอื ด แสลงใจ รกฟา้ ฯลฯ

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู (สําหรับนกั เรยี น) กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง) ๑๓๕

ชื่อ-สกลุ เดือน ชั้น เลขที่ บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑
วนั ท ่ี พ.ศ.

๒.๓ ป่าหญ้า
ป่าหญ้ามีอยู่ทุกภาคพบบริเวณป่าที่ถูกแผ้วถางท�าลายหรือบริเวณพื้นดิน
ท่ีขาดความสมบูรณ์และถูกท้ิงร้าง หญ้าชนิดต่าง ๆ จึงเกิดข้ึนทดแทน
และเมอื่ ถงึ หนา้ แลง้ กเ็ กดิ ไฟไหมท้ า� ใหต้ น้ ไมบ้ รเิ วณขา้ งเคยี งลม้ ตาย พน้ื ทป่ี า่ หญา้
จึงขยายมากข้ึนทุกปี พันธุ์ไม้ท่ีส�าคัญ เช่น หญ้าคา หญ้าขนตาช้าง
หญ้าโขมง หญ้าเพ็ก ปุ่มแป้ง พง แขม ตับเต่า รกฟ้า ตานเหลือง ติ้ว แต้ว

ประโยชนข์ องปา่ ไม ้ มีประโยชน์ตอ่ มนุษย์ เชน่
ประโยชน์ทางตรง ได้แก่ ปจั จยั ๔ ประการ
๑. ใช้ไม้มาสร้างอาคารบ้านเรือนและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น เฟอร์นิเจอร์ กระดาษ
ไม้ขดี ไฟ ฟนื เปน็ ตน้
๒. ใช้เป็นอาหารจากส่วนต่าง ๆ ของพชื และผล
๓. ใชเ้ สน้ ใยทไ่ี ดจ้ ากเปลอื กไมแ้ ละเถาวลั ยม์ าถกั ทอ เปน็ เครอ่ื งนงุ่ หม่ เชอื กและอนื่ ๆ
๔. ใชท้ า� ยารกั ษาโรคตา่ ง ๆ

๑๓๖ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรบั นักเรยี น) กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

ชอ่ื -สกลุ เดอื น ชัน้ เลขที่ บ.๑.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑
วนั ท่ี พ.ศ.

ประโยชนท์ างออ้ ม
๑. ปา่ ไมเ้ ปน็ เปน็ แหลง่ กา� เนดิ ตน้ นา้� ลา� ธารเพราะมตี น้ ไมจ้ า� นวนมากในปา่ จะทา� ใหน้ า้� ฝน
ท่ีตกลงมาค่อย ๆ ซึมลงในดิน กลายเป็นน้�าใต้ดิน ซึ่งจะไหลซึมมาหล่อเล้ียง
ให้แม่นา้� ลา� ธารมีน้�าไหลอยู่ตลอดปี
๒. ท�าให้เกดิ ความชมุ่ ชน้ื และควบคุมสภาวะอากาศ ไอนา�้ ซงึ่ เกดิ จากการหายใจ
ของพืช ท�าให้อากาศเหนือป่ามีความชื้นสูง เม่ืออุณหภูมิลดต่�าลง ไอน�้าเหล่านั้น
ก็จะกล่ันตัวกลายเป็นเมฆแล้วกลายเป็นฝนตกลงมา ท�าให้บริเวณท่ีมีพื้นป่าไม้
มีความชุ่มช้ืนอยู่เสมอ ฝนตกต้องตามฤดูกาลและไม่เกิดความแห้งแล้ง
๓. เป็นแหล่งพักผ่อนและศึกษาความรู้ บริเวณป่าไม้จะมีภูมิประเทศท่ีสวยงาม
จากธรรมชาต ิ รวมท้งั มีสัตว์ปา่ จึงเป็นแหล่งพกั ผ่อนและได้ศึกษาหาความรู้
๔. ช่วยบรรเทาความรุนแรงของลมพายุและป้องกันอุทกภัย โดยช่วยลดความเร็ว
ของลมพายุท่ีพัดผ่านได้ตั้งแต่ ๑๑-๔๔ % ตามลักษณะของป่าไม้แต่ละชนิด
จงึ ชว่ ยใหบ้ า้ นเมอื งรอดพน้ จากวาตภยั ได ้ ชว่ ยปอ้ งกนั และควบคมุ นา�้ ตามแมน่ า�้ ไมใ่ หส้ งู ขน้ึ
รวดเรว็ จนล้นฝั่งกลายเปน็ อทุ กภัย
๕. ช่วยป้องกันการกัดเซาะและพัดพาหน้าดิน จากน�้าฝนและลมพายุ
โดยลดแรงปะทะลง การหลุดเลื่อนของดินจึงเกิดขึ้นน้อย และยังเป็นการช่วยให้
แมน่ า�้ ลา� ธารตา่ ง ๆ ไมต่ ้ืนเขินอกี ดว้ ย

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนกั เรยี น) กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง) ๑๓๗

ชือ่ -สกุล เดอื น ชัน้ เลขที่ บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑
วันที ่ พ.ศ.

ใบงาน ๐๑ : แหลง่ ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นท้องถิ่น

บนั ทกึ ผลการทา� กจิ กรรม
แหล่งทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละประโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาตใิ นท้องถ่นิ

ทรัพยากรธรรมชาติ ประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติ

๑ .

๒ .

๓ .

๔ .

๕ .

๑๓๘ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนกั เรยี น) กลุม สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

ช่ือ-สกุล เดอื น ช้นั เลขท่ี บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑
วนั ที ่ พ.ศ.

แหลง่ ทรัพยากรธรรมชาติและประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติในท้องถ่นิ (ต่อ)

ทรัพยากรธรรมชาติ ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติ

๖ .


๗.
๘ .

๙ .

๑ ๐ .

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรบั นกั เรยี น) กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ๑๓๙

ชอื่ -สกลุ ชัน้ เลขท่ี บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๑

วนั ท่ี เดือน พ.ศ.

ค�าถามหลงั จากท�ากิจกรรม

๑. แหลง่ ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นทอ้ งถน่ิ มอี ะไรบา้ ง

๒. คนในทอ้ งถิน่ ใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งไรบ้าง

๓. จากกิจกรรมน ี้ สรปุ ไดว้ ่าอยา่ งไร

๑๔๐ ชุดกจิ กรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

ชอ่ื -สกุล เดือน ชัน้ เลขท่ี บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๒
วันท่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๒ : แบบฝึกหัด เรื่องทรพั ยากรธรรมชาติ

มนุษย์ใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาตใิ นรูปอย่างไรบา้ ง

การใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาตขิ องมนุษย์

น้�า

กวางปา่

ดนิ

หิน ๑๔๑

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนักเรียน) กลุม สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

ชื่อ-สกลุ เดือน ช้ัน เลขท่ี บ.๒.๒ / ผ. ๒.๑-๐๒
วันที่ พ.ศ.

การใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาตขิ องมนุษย์

อากาศ

ป่าไม้

๑๔๒ ชุดกจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรบั นักเรยี น) กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

ใบงาน

บ. ๒.๒ / ผ. ๒.๒

หนว่ ยยอ่ ยที่ ๒

ทรพั ยากรธรรมชาติ

เรื่อง การเพม่ิ ข้ึนของประชากรกบั การใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นกั เรยี น) กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรุง) ๑๔๓

ช่ือ-สกลุ เดอื น ช้ัน เลขท่ี บ. ๒.๒ / ผ. ๒.๒-๐๑
วันท ี่ พ.ศ.

กจิ กรรมที่ ๑ การเพม่ิ ขน้ึ ของประชากรเกยี่ วขอ้ งกบั การใชท้ รพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งไร

จุดประสงค์
อา่ นขอ้ มลู และอธบิ ายการใชท้ รพั ยากรธรรมชาตทิ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การเพม่ิ ขนึ้ ของประชากร

วัสดุ-อปุ กรณ์


วธิ ที �า
๑. สงั เกตรปู อา่ นคา� ถามในใบงาน อภปิ รายกบั เพอ่ื น และสบื คน้ ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ บนั ทกึ ผล
๒. อ่านใบความรู้เรื่องผลของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของมนุษย์ ร่วมกันวิเคราะห ์

ผลของการใชท้ รพั ยากรธรรมชาตทิ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั การเพม่ิ ขน้ึ ของประชากรมนษุ ย ์ เขยี นสรปุ
ในรูปแบบทีน่ ่าสนใจ

๑๔๔ ชุดกิจกรรมการเรยี นรู (สําหรับนักเรียน) กลุม สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ชื่อ-สกลุ เดอื น ชัน้ เลขท่ี บ. ๒.๒/ ผ. ๒.๒-๐๑
วันที่ พ.ศ.

ใบความรู้
เรื่องผลของการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติของมนุษย์
มนุษย์มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว
หากใช้อย่างไม่ระมัดระวังหรือไม่ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติให้มีอยู่ไว้ใช้ตลอดไป ก็อาจ
ท�าใหเ้ กดิ ปัญหาต่าง ๆ ตามมาดงั ต่อไปนี้
ปัญหาทเี่ กดิ จากการใช้ทรพั ยากรน�้า

๑. ปรมิ าณความตอ้ งการการใชน้ า้� เพมิ่ ขนึ้ ในการอปุ โภคบรโิ ภคและการผลติ อาหารของโลก
ใหไ้ ดเ้ พยี งพอกบั จา� นวนประชากรทเ่ี พม่ิ ขน้ึ
๒. การกระจายนา้� ไปสสู่ ว่ นตา่ ง ๆ ของพนื้ ทไ่ี มเ่ ทา่ เทยี มกนั ในบางพน้ื ทเี่ กดิ ฝนตกหนกั
บา้ นเรือนไรน่ าเสยี หาย แต่ในบางพ้นื ท่แี หง้ แลง้ ขาดแคลนน�า้ เพื่อการบริโภคและ
เพื่อเพาะปลกู
๓. การเพ่ิมมลพิษในน�้า มนุษย์เป็นตัวการส�าคัญที่เพิ่มมลพิษให้กับแหล่งน้�าต่าง ๆ

เช่น การปล่อยน้�าเสีย คราบน�้ามัน น�้าท้ิงจากบ้านเรือนและโรงงานอุตสาหกรรม
การทิง้ ขยะมูลฝอยลงไปในแหลง่ น้�า
ผลกระทบของน้า� เสยี ตอ่ ส่งิ แวดล้อม
- เป็นแหลง่ แพร่ระบาดของเชื้อโรค เชน่ อหวิ าตกโรค บิด ทอ้ งเสยี
- เป็นแหลง่ เพาะพนั ธข์ุ องแมลงน�าโรคตา่ ง ๆ
- ทา� ให้เกดิ ปัญหามลพิษต่อดนิ น�า้ และอากาศ
- ทา� ใหเ้ กิดเหตุร�าคาญ เช่น กลนิ่ เหมน็ ของน้า� โสโครก
- ท�าใหเ้ กดิ การสูญเสียทัศนียภาพทีส่ วยงาม เช่น สภาพน�า้ ท่มี สี ดี �ามขี ยะ สง่ิ ปฎกิ ลู
- ท�าให้เกดิ การสญู เสยี ทางเศรษฐกิจ เชน่ การสญู เสียพันธุ์ของปลาบางชนดิ
จา� นวนสตั วน์ า�้ ลดลง
- ทา� ใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงส่งิ แวดลอ้ มตอ่ เน่อื งในระยะยาว

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนักเรียน) กลมุ สาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง) ๑๔๕


Click to View FlipBook Version