The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thasakaes65030064, 2020-08-27 02:58:00

สื่อ60พรรษา ชุดกิจกรรมวิทย์ ป.6 เล่ม1

Sue60Ps_Sci61

Keywords: S60PSci61

ชชุดุดกกจิิจกกรรรรมมกกาารรเเรรียียนนรรูู ((สสําาํ หหรรับบั นนักักเเรรยียี นน))

กลระุมดสบั าชรน้ั ะปกรภาะารถคเมเรรศยี ยี กึ นนษทรา่ีวูป๑ทิท ี่ย๖าศเลามส๑ตร
กลระมุ ดสับาชรน้ั ะปกรภะาาถรคมเเรรศียียึกนนษทาร่ีปูว๑ทิที่ ย๖าเศลาม ส๑ตร

ตามมาตรฐานการเรียนรแู ละตัวชวี้ ดั
ตตกากามลมลุมหมุหสลสลาักากั รรสสะะูตตู กกรราาแแรรกกเเรนรนยีียกกนนลลรราาวูวูงงิทิทกกยยาาารารศศศศากึาึกสสษษตตาารขรข้ัน้นั((ฉพฉพบบน้ืืน้ ับบัฐฐปาปานรนรบับั พปพปุทรุทรงุงุธธศศพพกักั ..ศรศราา..ชช๒๒๕๒๕๒๖๕๖๕๐๐๕๕))๑๑

จจัดดั ททาําํ โโดดยย

สสําาํ นนกั กั งงาานนคคณสณาํะสะนกาํกักนรรรงกัรมามงกนากานโาครรโกครกางรารกงรศกศากึรากึ สษรษสมาามขเขดนั้เนั้ดจ็พพจ็พ้นื นื้พรฐฐระาาะเนนทเทพสสพรถถรัตาาตั บนบนันรนั ราสสาชงงช เสเสสสดุ รดุรามิมิากกฯฯาารรสสสสยยออาานนมมววบิทบทิ รยรยมมาาศรรศาาาาชชสสกกตตมมุุรรแแาาลรลรีีะะเเททคคโโนนโโลลยยีี

ชุดเอกสารสื่อ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
ลิขสิทธิ์ของ สํานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์
พิมพครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๑ จํานวน ๒๒,๐๐๐ ชุด
จัดพิมพโดย องคการคาของ สกสค.

สารบัญ หน�า

หนวยการเรยี นรทู ี่ ๑ รา งกายของเรา ๑
หนวยยอยที่ ๑ รางกายของเรา ๒
เร่ือง การเจรญิ เตบิ โตของมนษุ ยใ นแตละวยั ๒
หนวยยอ ยที่ ๒ อาหารกบั การรบั ประทานอาหาร ๑๑
เรอื่ ง อาหารและสารอาหาร ๑๑
เรอ่ื ง การรบั ประทานอาหารใหเหมาะสมกับเพศและวัย ๒๔
หนว ยยอยท่ี ๓ ระบบรางกายมนษุ ย ๔๓
เรอ่ื ง ระบบยอยอาหาร ๔๓
เรื่อง ระบบหมุนเวยี นเลือด ๕๖
เรอ่ื ง ระบบหายใจ ๗๑
เร่อื ง ความสัมพนั ธของระบบยอยอาหาร ๗๙
ระบบหมุนเวียนเลือด และระบบหายใจ
๘๕
หนว ยการเรียนรทู ่ี ๒ ชีวิตกบั ส่ิงแวดลอม ๘๖
หนว ยยอ ยท่ี ๑ ส่ิงมชี ีวติ และส่งิ ไมม ชี วี ติ ๘๖
เร่อื ง ความสมั พนั ธข องกลมุ สิง่ มีชวี ิตในแหลงทีอ่ ยู ๑๐๐
เรอื่ ง โซอ าหารและสายใยอาหาร ๑๑๓
เรอ่ื ง ความสัมพันธข องสงิ่ มีชีวิตและส่ิงแวดลอ ม ๑๒๑
หนวยยอ ยที่ ๒ ทรพั ยากรธรรมชาติ ๑๒๑
เรื่อง แหลง ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นทอ งถนิ่ ๑๔๓
เร่อื ง การเพ่มิ ของประชากรกบั การใชท รพั ยากรธรรมชาติ ๑๕๓
เรื่อง สงิ่ มีชวี ติ กับการเปลีย่ นแปลงของสงิ่ แวดลอ ม ๑๕๙
เร่ือง การดูแลทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม ๑๖๗
๑๖๘
หนว ยการเรยี นรูท่ี ๓ สารในชวี ติ ประจําวัน ๑๖๘
หนวยยอยที่ ๑ สมบตั ิของสาร ๑๘๒
เรอ่ื ง ของแข็ง ๑๙๙
เรอ่ื ง ของเหลว
เรื่อง แกส

สารบญั (ต‹อ) หนา�

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๔ การแยกสาร การจําแนกสารในชวี ิตประจาํ วัน ๒๑๕
หนว ยยอยท่ี ๑ การแยกสาร ๒๑๖
เรื่อง การแยกสารดวยวธิ กี ารตาง ๆ ๒๑๘
๒๔๓
แบบทดสอบ

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑
ร่างกายของเรา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรับนกั เรยี น) กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ๑

ใบงาน

บ. ๑.๑ / ผ. ๑ 

หนว่ ยย่อยท่ี ๑

การเจรญิ เติบโตของมนษุ ย์

เร่ือง การเจรญิ เติบโตของมนษุ ย์ในแต่ละวยั

๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สาํ หรบั นักเรียน) กลมุ สาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ช่ือ-สกุล เดือน ช้นั เลขท่ี บ. ๑.๑ / ผ. ๑ - ๐๑
วันท ี่ พ.ศ.

กิจกรรมท่ี ๑ ร่างกายของเรามีการเจริญเติบโตหรอื ไม่
จุดประสงค์

๑. สงั เกตและอธบิ ายการเจรญิ เติบโตของร่างกายของตนเอง
๒. วดั และเปรียบเทยี บส่วนสงู ชง่ั น้�าหนัก ความยาวแขนและ

ความยาวขาของตนเองกับเพ่อื น
๓. เปรยี บเทยี บการเจริญเตบิ โตของรา่ งกายมนุษย์ในแตล่ ะเพศและวยั

วสั ดุ – อุปกรณ์
๑. ทวี่ ัดสว่ นสูง
๒. เครือ่ งช่ังน�า้ หนัก
๓. สายวดั
๔. ไม้บรรทดั

วธิ ีท�า
๑. น�าขอ้ มลู สว่ นสูง น�า้ หนกั จากสมดุ สขุ ภาพของตนเองในปที ีแ่ ล้ว
บนั ทกึ ผลลงในตาราง
๒. วดั สว่ นสูง และช่ังน�า้ หนกั ของตนเอง บันทกึ ผลในตาราง
๓. เปรยี บเทยี บการเจริญเติบโตตามเพศของตนเองในปีท่แี ลว้ และปัจจบุ นั บนั ทกึ ผล
๔. น�าขอ้ มูลสว่ นสูงและน้า� หนักปจั จบุ นั บันทกึ ลงในกราฟเกณฑอ์ ้างองิ น้า� หนกั
ตามเกณฑ์สว่ นสงู ของเพศชายหรือเพศหญงิ อายุ ๕-๑๘ ปี
๕. จบั คกู่ บั เพอ่ื นสลับกนั วดั ความยาวแขนและความยาวขา บันทึกผล
๖. เปรยี บเทยี บสว่ นสูง น�้าหนัก ความยาวแขนและความยาวขาในปปี ัจจุบนั ของตนเอง
กับเพอื่ น
๗. เปรยี บเทียบกราฟนา�้ หนกั และส่วนสงู ของเพศชายและเพศหญิงในช่วงอายุ ๐-๒๐ ป ี
บันทกึ ความรทู้ ีไ่ ดใ้ นรูปแบบทน่ี า่ สนใจ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรบั นกั เรียน) กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) ๓

ชอื่ -สกลุ เดอื น ชน้ั เลขที่ บ. ๑.๑ / ผ. ๑ - ๐๑
วันที่ พ.ศ.

กราฟที่ ๑ นา้� หนักของเพศชายและเพศหญิงในช่วงอาย ุ ๐-๒๐ ปี

นา้� หนกั ใส่ เพศชาย
(กิโลกรมั ) เพศหญิง

อายุ(ป)ี

กราฟท ่ี ๒ ความสงู ของเพศชายและเพศหญงิ ในชว่ งอาย ุ ๐-๒๐ ปี

ความสูง ใส่ เพศชาย
(เซนติเมตร) เพศหญิง

อาย(ุ ป)ี

ทม่ี า: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

๔ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นกั เรยี น) กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

ช่อื -สกุล เดอื น ชั้น เลขท่ี บ. ๑.๑ / ผ. ๑ - ๐๑
วันที ่ พ.ศ.

ใบงาน ๐๑ : การเจริญเตบิ โตของรา่ งกายมนุษย์

บันทกึ ผลการท�ากิจกรรม
ตาราง การวัดการเจรญิ เตบิ โตของรา่ งกายมนุษย์

ปีทวี่ ัดการเจรญิ เตบิ โต ส่งิ ท่วี ดั

ปีที่แล้ว พ.ศ. ส่วนสูง (เซนติเมตร) นา้� หนกั (กิโลกรมั )
ปัจจบุ ัน พ.ศ.

ความยาวแขน เซนตเิ มตร
ความยาวขา เซนตเิ มตร

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นกั เรยี น) กลุม สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง) ๕

ช่อื -สกุล เดือน ชัน้ เลขที่ บ. ๑.๑ / ผ. ๑ - ๐๑
วนั ที่ พ.ศ.

กราฟเกณฑ์อา้ งองิ น้�าหนกั ตามเกณฑส์ ่วนสงู ของเพศชาย อายุ ๕-๑๘ ปี

ท่ีมา : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. ๒๕๔๒

๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนกั เรียน) กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

ชอ่ื -สกลุ เดือน ช้นั เลขที่ บ. ๑.๑ / ผ. ๑ - ๐๑
วนั ที ่ พ.ศ.

กราฟเกณฑอ์ ้างอิงน้�าหนกั ตามเกณฑ์ส่วนสงู ของเพศหญิง อาย ุ ๕-๑๘ ปี

ท่มี า : กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๔๒

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนักเรยี น) กลุม สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง) ๗

ชอ่ื -สกุล เดอื น ชั้น เลขท่ี บ. ๑.๑ / ผ. ๑ - ๐๑
วันที ่ พ.ศ.

สรุปความรู้ทไี่ ด้จากการเปรียบเทยี บกราฟนา้� หนกั และสว่ นสงู ของเพศชายและ
เพศหญงิ ในช่วงอายุ ๐-๒๐ ปี

๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรยี น) กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

ช่ือ-สกุล เดอื น ช้นั เลขท่ี บ. ๑.๑ / ผ. ๑ - ๐๑
วันที่ พ.ศ.

คา� ถามหลังจากท�ากจิ กรรม
๑. ร่างกายของนักเรยี นมีการเจรญิ เตบิ โตหรือไม ่ สังเกตไดจ้ ากอะไรบา้ ง

๒. ในปีปจั จบุ ันกบั ปที ีแ่ ลว้ ร่างกายนักเรยี นมกี ารเปลย่ี นแปลงการเจรญิ เตบิ โต
หรือไม ่ อยา่ งไร

๓. เพศชายและเพศหญิงมกี ารเจรญิ เติบโตเหมอื นหรอื แตกตา่ งกัน อยา่ งไร

๔. จากกิจกร รมนี้ สรุปไดว้ ่าอยา่ งไร

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สาํ หรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) ๙

ช่อื -สกลุ เดือน ชั้น เลขท่ี บ. ๑.๑ / ผ. ๑ - ๐๒
วันที่ พ.ศ.

ใบงาน ๐๒ : แบบฝึกหัด เรื่องการเจริญเตบิ โตของรา่ งกายมนุษย์

ขดี √ หน้าข้อความท่ถี ูก และขีด X หนา้ ข้อความทผ่ี ิด

๑. การเจรญิ เตบิ โตสามารถวัดได้จากขนาดของร่างกาย เชน่ ส่วนสูง น�า้ หนกั
๒. เพศชายและเพศหญิงมีการเจริญเตบิ โตเทา่ กันจนถงึ อายุ ๒๐ ปี
๓. คนในวยั เด็ก (๖-๑๒ ปี) สว่ นใหญจ่ ะมีการเจรญิ เตบิ โตขนึ้ ทกุ ปี
๔. ศรี ษะเป็นอวยั วะที่มขี นาดเล็กเม่ือเทียบกบั ขนาดของล�าตัว แขน และขา
๕. ความยาวขาไมส่ ามารถบอกถงึ การเจริญเติบโตของรา่ งกายได้
๖. ขาเป็นอวัยวะท่มี กี ารเพมิ่ ขนาดมากกวา่ ศรี ษะ ลา� ตัวและแขน
๗. เพศหญิงจะเข้าสู่วัยรุ่นกอ่ นเพศชาย

๑๐ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรบั นกั เรียน) กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

ใบงาน

บ. ๑.๒ / ผ. ๒.๑ 

หนว่ ยย่อยท่ี ๒

อาหารกับการรับประทานอาหาร

เรื่อง อาหารและสารอาหาร

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นกั เรยี น) กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ๑๑

ชือ่ -สกุล เดือน ชัน้ เลขท่ี บ. ๑.๒ / ผ. ๒.๑ - ๐๑
วนั ที ่ พ.ศ.

กจิ กรรมที่ ๑ สารอาหารคืออะไร

จุดประสงค์
๑. รวบรวมข้อมลู บอกความหมายและประโยชน์ของสารอาหาร
๒. จา� แนกประเภทของสารอาหาร

วัสดุ – อปุ กรณ์


วธิ ีทา�
๑. รว่ มกนั รวบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกบั สารอาหารทพี่ บในอาหารหลกั ๕ หม ู่ และประโยชนข์ อง
สารอาหารจากใบความรู้เรื่องประโยชน์ของสารอาหาร และจากแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ
น�าเสนอในรูปแบบท่ีน่าสนใจ
๒. สา� รวจสารอาหารในอาหารที่ตนเองรับประทานใน ๑ มอ้ื บนั ทกึ ผล
๓. แลกเปลี่ยนข้อมูลกับเพ่ือน ตรวจสอบความถูกต้องในการจ�าแนกประเภทของ
สารอาหารในอาหารทีร่ ับประทาน และอภิปรายประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับจากสารอาหาร
บันทกึ ผล

๑๒ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สําหรบั นักเรียน) กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

ชือ่ -สกุล เดอื น ชนั้ เลขท่ี บ. ๑.๒ / ผ. ๒.๑ - ๐๑
วนั ท่ี พ.ศ.

ใบความรู้

เรื่องประโยชนข์ องสารอาหาร

สารอาหาร หมายถึง สารที่มีอยูใ่ นอาหาร ซ่ึงร่างกายสามารถน�าไปใช้ประโยชน์
ในการดา� รงชวี ติ ได้ แบง่ ออกเป็น ๖ ประเภท คือ คารโ์ บไฮเดรต โปรตนี ไขมัน วิตามนิ
เกลอื แร ่ และนา�้ โดยใน ๑ วนั เราควรรบั ประทานอาหารทม่ี สี ารอาหารครบทงั้ ๖ ประเภท
ถ้าต้องการจ�าแนกสารอาหารตามเกณฑ์การได้รับพลังงานจากสารอาหาร สามารถ
แบง่ สารอาหารออกเป็น ๒ กลมุ่ ใหญ่ ๆ คือ

๑. สารอาหารที่ให้พลงั งาน ไดแ้ ก ่ ไขมัน โปรตีน และ คาร์โบไฮเดรต
๒. สารอาหารทไี่ ม่ใหพ้ ลงั งาน ได้แก่ วติ ามิน เกลอื แร ่ และน�้า
โดยสารอาหารแต่ละกลุ่มจะให้ประโยน์ที่แตกตา่ งกนั ดังน ี้

กลมุ่ สารอาหารท่ีใหพ้ ลังงาน ไดแ้ ก่ ไขมัน โปรตนี และคาร์โบไฮเดรต

๑. ไขมัน
ไขมัน พบในน้�ามันและไขมัน
จากพืชและสัตว์ ให้พลังงานแกร่ า่ งกาย
๙ กิโลแคลอรีต่อกรัม ช่วยให้ร่างกาย
อบอนุ่ และควบคมุ การทา� งานของรา่ งกาย
ใหเ้ ปน็ ปกต ิ ถา้ ขาดสารอาหารประเภทไขมนั
จะทา� ใหร้ า่ งกายซบู ผอม ผวิ หนงั เหย่ี วยน่
และอาจจะทา� ใหข้ าดวติ ามนิ ชนดิ อน่ื ไปดว้ ย

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรบั นกั เรียน) กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรุง) ๑๓

ช่อื -สกลุ เดือน ช้ัน เลขท่ี บ. ๑.๒ / ผ. ๒.๑ - ๐๑
วนั ท่ ี พ.ศ.

๒. โปรตนี

โปรตนี พบในเนอื้ สตั ว ์ ไข ่ นม ถวั่ ๓. คารโ์ บไฮเดรต
เมลด็ แหง้ และงา ใหพ้ ลงั งานแกร่ า่ งกาย คาร์โบไฮเดรต พบในข้าว แป้ง
๔ กิโลแคลอรีต่อกรัม ท�าให้ร่างกาย เผือก มันและน�้าตาล ให้พลังงานแก่
เจริญเติบโต มีสุขภาพดี เสริมสร้างและ ร่างกาย ๔ กิโลแคลอรีต่อกรัม ช่วย
ซ่อมแซมส่วนท่ีสึกหรอ ช่วยควบคุม ควบคมุ การทา� งานของรา่ งกายใหเ้ ปน็ ปกติ
การท�างานของร่างกายให้เป็นปกติ ถา้ ขาดสารอาหารประเภทคารโ์ บไฮเดรต
ถา้ ขาดสารอาหารประเภทโปรตนี จะทา� ให้ จะทา� ใหร้ า่ งกายออ่ นแอ ไมม่ แี รง ซบู ผอม
รา่ งกายซบู ผอม ตวั ซดี เหนอื่ ยงา่ ย ผมรว่ ง ความตา้ นทานโรคมนี อ้ ย อาจเกดิ โรคแทรก
ออ่ นเพลยี เลือดจาง ได้งา่ ย

๑๔ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรับนกั เรียน) กลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

ช่ือ-สกลุ ชัน้ เลขที่ บ. ๑.๒ / ผ. ๒.๑ - ๐๑
วนั ท ี่ พ.ศ.
เดือน

กลุ่มสารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน ได้แก่
วติ ามนิ เกลือแร่ และน้า�

๑. วติ ามนิ ๒. เกลอื แร่
วิตามิน พบในผลไม้ พืช ผัก เกลือแร่ พบในผลไม้ พืช ผัก
ช่วยเสริมสร้างการท�างานของร่างกาย ช่วยเสริมสร้างการท�างานของร่างกาย
ให้เป็นปกต ิ ทา� ใหร้ ่างกายเจริญเติบโต ให้เป็นปกติ ท�าให้ร่างกายเจริญเติบโต
มีสุขภาพดี ถ้าขาดวิตามินอาจท�าให้ มสี ขุ ภาพด ี ตลอดจนเปน็ สว่ นประกอบหลกั
เป็นโรคต่าง ๆ เช่น ขาดวิตามินเอ ของอวยั วะ เชน่ กระดกู และฟนั รา่ งกาย
ท�าให้เกิดโรคตาฟาง ตาบอดกลางคืน ตอ้ งการเกลอื แรใ่ นปรมิ าณนอ้ ย แตข่ าดไมไ่ ด ้
ป้องกันโดยการรับประทานอาหาร เกลอื แรท่ ร่ี า่ งกายตอ้ งการ เชน่ แคลเซยี ม
ประเภทไขมนั ผกั ใบเขยี วและใบเหลอื ง ฟอสฟอรสั ไอโอดนี เหลก็ แมกนีเซียม
เช่น มะละกอ คะน้า ต�าลึง ไข่ และโซเดยี ม
นม มะม่วงสุก ผักบุ้ง ขาดวิตามิน
บีหนึ่ง ท�าให้ใจส่ัน เกิดโรคหัวใจโต
และเต้นเร็ว หอบ เหน่อื ย โรคเหน็บชา
ปอ้ งกนั ไดโ้ ดยการรบั ประทานอาหารที่มี
วิตามินบีหนึ่งเป็นประจ�า เช่น
ขา้ วซอ้ มมอื ถว่ั เมลด็ แหง้

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนกั เรียน) กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ ) ๑๕

ช่อื -สกุล เดือน ชัน้ เลขท่ี บ. ๑.๒ / ผ. ๒.๑ - ๐๑
วนั ท่ ี พ.ศ.

โรคขาดเกลือแร่
ถ้ารา่ งกายขาดเกลือแรก่ จ็ ะท�าใหเ้ กิดโรคตา่ ง ๆ เชน่
ถ้าขาดธาตุแคลเซียม จะเป็นโรคกระดูกอ่อน กระดูกไม่แข็งแรง อาการของโรค
จะทา� ใหข้ อ้ ตอ่ กระดกู บวม ขาโคง้ โกง่ กลา้ มเนอื้ หยอ่ น กระดกู ซโี่ ครงดา้ นหนา้ รอยตอ่ นนู ทา� ใหอ้ ก
เป็นสันเรียกว่าอกไก่ ป้องกันได้โดยการรับประทานอาหารประเภท นมสด ปลาท่ีกินได้
ทั้งกระดูก กระดูกอ่อน ผักสีเขียว และควรเสริมด้วยน�้ามันตับปลา
ถา้ ขาดธาตเุ หลก็ จะเปน็ โรคโลหติ จาง รา่ งกายออ่ นแอ เบอ่ื อาหาร ความตา้ นทานโรคตา�่
เปลอื กตาขาวซดี ลนิ้ อกั เสบ เลบ็ เปราะ ปอ้ งกนั ไดโ้ ดยการรบั ประทานอาหารจ�าพวกเคร่ืองใน
เชน่ ตบั หัวใจ เลอื ด เน้อื สตั ว์ ผักใบเขยี ว
ถา้ ขาดธาตไุ อโอดนี ไดแ้ ก ่ โรคคอหอยพอก ตอ่ มไทรอยดบ์ วม และถา้ เปน็ ในเดก็ จะทา� ให้
รา่ งกายแคระ สตปิ ญั ญาเสอื่ ม หรอื ทเ่ี รยี กวา่ โรคเออ๋ ปอ้ งกนั ไดโ้ ดยการรบั ประทานอาหารทะเล
ของเคม็ เกลือสมทุ ร (เกลือทมี่ าจากทะเล)

๑๖ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนกั เรยี น) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

ชื่อ-สกุล เดือน ชั้น เลขท่ี บ. ๑บ.๒. ๑ /. ๒ผ ./๒ ผ.๑. ๒ - .๐๑๑ - ๐๑
วนั ท่ ี พ.ศ.

๓. นา้�

ร่างกายมนุษย์มีน้�าเป็นส่วนประกอบประมาณ ๖๐ เปอร์เซ็นต์ของน�้าหนักตัว
น�้าท�าหน้าที่ล�าเลียงอาหารและสารต่าง ๆ ไปท่ัวร่างกาย ถ้าร่างกายขาดน�้า
จะทา� ใหอ้ ณุ หภมู ขิ องรา่ งกายสงู เกดิ ตะครวิ หมดแรง หนา้ มดื วงิ เวยี น จนเสยี ชวี ติ ได ้
ดงั นน้ั ในแตล่ ะวนั เราจงึ ควรดมื่ นา้� อยา่ งนอ้ ย ๖ – ๘ แกว้ หรอื รบั ประทานผกั ผลไมท้ มี่ ี
น�้าสะสมอยู่มาก เช่น แตงโม ส้ม สับปะรด แตงกวา โดยทั่วไปมนุษย์จะขาดนา�้
ไดไ้ มเ่ กนิ ๗ วนั ปรมิ าณนา้� ทจ่ี า� เปน็ ตอ้ งดมื่ ตอ่ วนั ขน้ึ อยกู่ บั ความรอ้ นของอากาศและ
กจิ กรรมของมนษุ ย ์ ในวนั ทอี่ ากาศรอ้ นจดั รา่ งกายอาจสญู เสยี นา�้ ถงึ ๒ ลติ รตอ่ ชว่ั โมง
หรอื นกั กฬี าทต่ี อ้ งออกกา� ลงั มากเปน็ ระยะเวลานาน เชน่ นกั วง่ิ มาราธอนจะตอ้ งดมื่ นา�้
เพ่ิมมากกว่าปกติ เพราะร่างกายสูญเสียน้�าไปมากทั้งทางเหงื่อและลมหายใจออก
เนอื่ งจากตอ้ งหายใจเรว็ และแรงมากกวา่ ปกต ิ นกั วงิ่ อาจจะสญู เสยี นา้� ๑ – ๒ ลติ รตอ่ ชวั่ โมง
ในแต่ละวัน เราควรรับประทานอาหารให้ได้รับสารอาหารครบท้ัง ๖ ประเภท
เพอื่ ใหร้ า่ งกายไดร้ บั ประโยชนจ์ ากสารอาหาร และทา� ใหเ้ รามกี ารเจรญิ เตบิ โตและดา� รงชวี ติ ได้
เหมาะสมตามเพศและวยั

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนกั เรียน) กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรุง) ๑๗

ช่ือ-สกุล เดือน ชั้น เลขที่ บ. ๑.๒ / ผ. ๒.๑ - ๐๑
วันท่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๑ : อาหารกบั สารอาหาร

บันทึกผลการท�ากจิ กรรม
ข้อมูลเกี่ยวกบั สารอาหารท่ีพบในอาหารหลกั ๕ หมูแ่ ละประโยชนข์ องสารอาหาร

๑๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลมุ สาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง)

ชอื่ -สกลุ เดือน ชั้น เลขท่ี บ. ๑บ.๒. ๑ /. ๒ผ ./๒ ผ.๑.  ๒- .๐๑๑ - ๐๑
วนั ท่ี พ.ศ.


เขยี นชอื่ อาหาร จา� แนกสว่ นประกอบในอาหารทร่ี ับประทาน แล้วขดี √ ในช่องสารอาหารทีพ่ บ
ในส่วนประกอบของอาหารนน้ั ๆ พร้อมทง้ั เขยี นประโยชน์ท่ีไดร้ ับจากสารอาหาร

ตาราง สารอาหารท่ไี ดจ้ ากการรับประทานอาหาร ๑ มอ้ื


สารอาหาร

ชอ่ื อาหาร ส่วนประกอบในอาหาร โปร ีตน ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ
คาร์โบไฮเดรต

ไข ัมน
วิตา ิมน
เกลือแ ่ร

น�้า

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู (สําหรบั นกั เรยี น) กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรงุ ) ๑๙

ชื่อ-สกลุ เดอื น ชั้น เลขท่ี บ. ๑บ..๒ ๑ /.๒ ผ /. ๒ผ..๑ ๒ -. ๑๐ -๑ ๐๑
วนั ท่ ี พ.ศ.
ประโยชน์ที่ไดร้ บั
ตาราง สารอาหารท่ีได้จากการรบั ประทานอาหาร ๑ มอื้ (ต่อ)

สารอาหาร

ชอ่ื อาหาร สว่ นประกอบในอาหาร โปร ีตน
คาร์โบไฮเดรต

ไข ัมน
วิตา ิมน
เกลือแร่

น�้า

๒๐ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง)

ช่ือ-สกลุ เดอื น ชั้น เลขท่ี บ. ๑.๒ / ผ. ๒.๑ - ๐๑
วันท่ี พ.ศ.

คา� ถามหลงั จากท�ากจิ กรรม
๑. สารอาหารหมายถงึ อะไร

๒. สารอาหารทใี่ ห้พลังงานไดแ้ ก่อะไรบ้าง

๓. สารอาหารทไ่ี มใ่ ห้พลังงานไดแ้ กอ่ ะไรบ้าง

๔. นกั เรียนได้รับสารอาหารจากการรับประทานอาหารใน ๑ มอื้ ครบทงั้ ๖ ประเภท
หรือไม่ อย่างไร

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สําหรับนกั เรยี น) กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง) ๒๑

ชื่อ-สกลุ เดือน ช้ัน เลขที่ บ. ๑.๒ / ผ. ๒.๑ - ๐๑
วนั ที ่ พ.ศ.

๕. นกั เรยี นได้ประโยชนจ์ ากอาหารทรี่ บั ประทานอะไรบ้าง

๖. ถ้าใน ๑ วันเราควรรบั ประทานอาหารใหค้ รบทง้ั ๖ ประเภท อีก ๒ ม้อื
นกั เรยี นควรรบั ประทานอาหารทม่ี ีสารอาหารอะไรอกี บ้าง ยกตวั อยา่ งอาหาร

๗. จากกิจกรรมน ้ี สรปุ ได้ว่าอย่างไร

๒๒ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สําหรับนกั เรียน) กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

ชอ่ื -สกลุ เดอื น ช้นั เลขที่ บ. ๑.๒ / ผ. ๒.๑ - ๐๒
วันท่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๒ : แบบฝึกหดั เร่ืองอาหารและสารอาหาร

ขดี √ หน้าข้อความทีถ่ กู และขดี X หนา้ ขอ้ ความที่ผดิ

๑. อาหารหมู่ขา้ ว แปง้ นา้� ตาล เผอื ก มัน จะใหส้ ารอาหารประเภท
คาร์โบไฮเดรตเปน็ ส่วนใหญ่แก่รา่ งกาย

๒. ผักและผลไม้ใหส้ ารอาหารประเภทวติ ามินและเกลือแร่
๓. อาหารหมไู่ ขมนั พืชและสัตว์ จะให้พลังงานและความอบอุ่นแกร่ า่ งกาย
๔. การรบั ประทานอาหารประเภทเนอื้ สัตวเ์ ป็นประจ�า จะชว่ ยให้ร่างกาย
ไดร้ บั แตว่ ิตามนิ และเกลือแรเ่ พ่ิมมากขึ้น
๕. ถ้าร่างกายขาดวติ ามินซีจะทา� ใหเ้ กิดโรคลกั ปดิ ลกั เปดิ ได้
๖. อาหารประเภทเคร่อื งในสัตว ์ ไข่แดง และผกั ใบเขียว จะใหเ้ กลือแร่

ประเภทเหล็กแก่ร่างกาย
๗. การรบั ประทานอาหารให้เหมาะสมกับเพศและวัยจะทา� ให้รา่ งกาย

เจรญิ เตบิ โตและแขง็ แรง
๘. ผู้ทีต่ อ้ งการลดนา�้ หนกั ไม่ควรบรโิ ภคสารอาหารประเภทคารโ์ บไฮเดรต

และไขมนั มากเกินความตอ้ งการของรา่ งกาย
๙. เราควรด่ืมน้า� อย่างนอ้ ยวนั ละ ๖-๘ แก้ว
๑๐. ถ้าขาดสารอาหารประเภทโปรตีนจะท�าใหเ้ กิดโรคหัวใจได้

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนกั เรยี น) กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรับปรุง) ๒๓

ใบงาน

บ. ๑.๒ / ผ. ๒.๒ 

หนว่ ยย่อยท่ี ๒

อาหารกบั การรับประทานอาหาร

เรอื่ ง การรับประทานอาหารให้เหมาะสมกบั เพศและวยั

๒๔ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนักเรียน) กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

ช่อื -สกลุ เดอื น ชนั้ เลขท่ี บ. ๑.๒ / ผ. ๒.๒-๐๑
วันท่ ี พ.ศ.

กจิ กรรมที่ ๑ เราได้รบั พลังงานเพียงพอกบั ร่างกายหรอื ไม่

จดุ ประสงค์
สืบค้นขอ้ มลู เปรียบเทยี บปริมาณพลงั งานทไี่ ด้รบั จากการรบั ประทาน

อาหารใน ๑ วัน และพลังงานทรี่ ่างกายต้องการทีเ่ หมาะสมกับเพศและวัย

วัสดุ – อปุ กรณ์


วิธีทา�
๑. ร่วมกันวิเคราะห์ปริมาณพลังงานที่ร่างกายต้องการจากการอ่านใบความรู้
เรอื่ งปรมิ าณพลงั งานท่รี า่ งกายต้องการในช่วงอายุตา่ ง ๆ บนั ทกึ ผล
๒. ส�ารวจการรับประทานอาหารของตนเองใน ๑ วนั ท้ัง ๓ มื้อ บนั ทกึ ผล
๓. สืบคน้ ข้อมูลและบันทกึ ปริมาณพลงั งานทไี่ ดร้ บั จากอาหารทีร่ บั ประทานในข้อ ๒
จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
๔. คา� นวณหาปรมิ าณพลงั งานทไี่ ดร้ บั ทง้ั หมดจากอาหารทร่ี บั ประทานใน ๑ วนั บนั ทกึ ผล
๕. เปรียบเทียบและอภิปรายเกี่ยวกับปริมาณพลังงานจากอาหารท่ีรับประทานกับ

พลังงานทรี่ ่างกายต้องการใน ๑ วนั

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรับนักเรยี น) กลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง) ๒๕

ชื่อ-สกลุ เดือน ชนั้ เลขที่ บ. ๑.๒ / ผ. ๒.๒-๐๑
วันที่ พ.ศ.

ใบความรู้

เร่อื ง ปริมาณพลังงานท่รี า่ งกายตอ้ งการในชว่ งอายุตา่ งๆ

สารอาหารในอาหารท่ีรับประทานจะให้ปริมาณพลังงานแตกต่างกัน ดังน้ัน
การรบั ประทานอาหารในแตล่ ะวนั ตอ้ งคา� นงึ ถงึ ปรมิ าณพลงั งานทไี่ ดร้ บั ใหเ้ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ
ในแตล่ ะเพศและวยั ดงั ตาราง
หน่วยท่ีใช้วัดพลังงานในอาหารเรียกว่า แคลอรี (Calorie) โดย ๑,๐๐๐ แคลอรี
เท่ากับ ๑ กิโลแคลอรี

ตาราง ปริมาณพลังงานท่รี า่ งกายตอ้ งการในชว่ งอายตุ ่างๆ ใน ๑ วัน

อายุ (ป)ี ปรมิ าณพลงั งาน (กิโลแคลอรี)

๑-๓ เพศชาย เพศหญงิ
๔-๕ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐
๖-๘
๙-๑๒ ๑,๓๐๐ ๑,๓๐๐
๑๓-๑๕
๑๖-๑๘ ๑,๔๐๐ ๑,๔๐๐
๑๙-๓๐
๓๑-๕๐ ๑,๗๐๐ ๑,๖๐๐
๕๑-๗๐
๗๑ ๒,๑๐๐ ๑,๘๐๐

๒,๓๐๐ ๑,๘๕๐

๒,๑๕๐ ๑,๗๕๐

๒,๑๐๐ ๑,๗๕๐

๒,๑๐๐ ๑,๗๕๐

๑,๗๕๐ ๑,๕๕๐

๒๖ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรบั นักเรยี น) กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุง)

ชอื่ -สกลุ เดอื น ช้นั เลขที่ บ. ๑.๒ / ผ. ๒.๒-๐๑
วนั ที ่ พ.ศ.

ใบงาน ๐๑ : ความต้องการปรมิ าณพลงั งานจากอาหาร

บนั ทึกผลการท�ากจิ กรรม
ข้อมลู ของตัวฉัน
ฉันอาย ุ ป ี ปริมาณพลงั งานทค่ี วรไดร้ ับ

จากการรับประทานอาหารใน ๑ วันเท่ากบั กโิ ลแคลอรี

อาหารที่เรารับประทานในแต่ละม้ือใน ๑ วนั

ช่อื อาหาร อาหารเช้า
ปริมาณพลงั งาน (กิโลแคลอรี)

รวม

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นกั เรียน) กลุมสาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง) ๒๗

ชอื่ -สกุล เดือน ชัน้ เลขที่ บ. ๑.๒/ ผ. ๒.๒ - ๐๑
วันท ี่ พ.ศ.

อาหารท่เี รารบั ประทานในแตล่ ะมือ้ ใน ๑ วัน (ต่อ)

ชื่ออาหาร อาหารกลางวนั
ปรมิ าณพลงั งาน (กิโลแคลอร)ี

รวม อาหารเยน็
ช่อื อาหาร ปริมาณพลงั งาน (กิโลแคลอร)ี

รวม

๒๘ ชุดกจิ กรรมการเรียนรู (สําหรับนกั เรยี น) กลุม สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ )

ชอ่ื -สกลุ เดอื น ชน้ั เลขท่ี บ. ๑บ..๒ ๑/. ๒ผ/.  ๒ผ..๒ ๒ -.๒ ๐ -๑ ๐๑
วันท่ี พ.ศ.

รวมปรมิ าณพลงั งานท่ไี ด้รับจากอาหารที่รับประทานใน ๑ วนั เท่ากับ

๑. อาหารเชา้ = กิโลแคลอรี

๒. อาหารกลางวนั = กิโลแคลอรี

๓. อาหารเย็น = กิโลแคลอรี

รวมปรมิ าณพลงั งานท้งั หมดเทา่ กับ กิโลแคลอรี

สรปุ นักเรียนได้รับปริมาณพลงั งานทไ่ี ดร้ ับจากอาหารท่รี บั ประทานใน ๑ วนั

มากเกินไป พอด ี น้อยเกินไป

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนกั เรยี น) กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ๒๙

ชอื่ -สกุล เดอื น ชัน้ เลขท่ี บ.บ ๑. .๑๒./๒ ผ/ .ผ ๒. .๒๒. ๒-  ๐- ๑๐๑
วนั ท่ี พ.ศ.

ค�าถามหลงั จากท�ากิจกรรม

๑. จากการส�ารวจการรบั ประทานอาหารใน ๑ วนั เราควรรับประทานอาหาร
ตามทส่ี า� รวจนต้ี อ่ ไปหรือไม่ เพราะเหตุใด

๒. ถ้าปรมิ าณพลังงานทไ่ี ดร้ ับจากอาหารท่รี ับประทานมากกวา่ ปรมิ าณพลงั งาน
ทร่ี า่ งกายตอ้ งการใน ๑ วันจะเกดิ อะไรขนึ้

๓. จากกจิ กรรมนี ้ สรปุ ได้ว่าอยา่ งไร

๓๐ ชุดกจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรบั นกั เรียน) กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

ชื่อ-สกลุ เดือน ชน้ั เลขท่ี บ. ๑.๒/ ผ. ๒.๒ - ๐๒
วันที ่ พ.ศ.

กิจกรรมที่ ๒ รับประทานอาหารอยา่ งไรให้เหมาะสมกับรา่ งกาย

จุดประสงค์
สืบคน้ ขอ้ มูลและอธิบายการรับประทานอาหารใหไ้ ด้สดั ส่วนตามธงโภชนาการ

วัสดุ – อปุ กรณ์


วิธีทา�
๑. รว่ มกนั สืบคน้ ข้อมลู เกี่ยวกับการกนิ อาหารให้ได้สัดส่วนตามธงโภชนาการ

บันทึกผล
๒. บันทึกช่ืออาหาร ส่วนประกอบของอาหารและปริมาณของแต่ละส่วนประกอบ
ในอาหารทรี่ บั ประทานใน ๑ วนั ตามหนว่ ยทร่ี ะบไุ วใ้ นธงโภชนาการลงในตาราง
๓. วเิ คราะห์ปริมาณของอาหารว่าได้สัดสว่ นเหมาะสมตามธงโภชนาการหรือไม ่

บันทึกผล

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรบั นักเรียน) กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ ) ๓๑

ชื่อ-สกลุ เดือน ชนั้ เลขที่ บ. ๑.๒/ ผ. ๒.๒ - ๐๒
วนั ท ่ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๒ : หลกั ในการรบั ประทานอาหาร

บนั ทึกผลการทา� กจิ กรรม
เขยี นตวั เลขแสดงปรมิ าณอาหารทีเ่ ด็กไทยควรบรโิ ภคใน ๑ วนั

ทพั พี

ทพั พี สว่ น
แกว้ ชอ้ นกนิ ขา้ ว
ชอ้ น

ธงโภชนาการ

๓๒ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นักเรยี น) กลุม สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

ชือ่ -สกุล เดอื น ชนั้ เลขท่ี บ. ๑.๒/ ผ. ๒.๒ - ๐๒
วนั ท ี่ พ.ศ.

ปรมิ าณอาหารในแตล่ ะกล่มุ ของธงโภชนาการ เทียบไดต้ ามสัดสว่ นดังน้ี

กลมุ่ ขา้ ว-แปง้ ขา้ วสกุ ๑ ทพั พ ี เทา่ กบั กว๋ ยเตย๋ี ว ๑ ทพั พ ี เทา่ กบั ขา้ วเหนยี ว
กลมุ่ ผกั ๑/๒ ทัพพี เท่ากับขนมจีน ๑ จับ เท่ากับขนมปัง ๑ แผ่น
กลมุ่ ผลไม้ เทา่ กบั บะหม ี่ ๑ กอ้ น

กลมุ่ เนอ้ื สตั ว์ ฟกั ทองสกุ ๑ ทพั พ ี เทา่ กบั ผกั คะนา้ สกุ ๑ ทพั พี
กลมุ่ นม เทา่ กบั ผกั บงุ้ จนี สกุ ๑ ทพั พ ี เทา่ กบั แตงกวาดบิ ๑/๒ ผลกลาง

ผลไม ้ ๑ สว่ น เทา่ กบั เงาะ ๔ ผล เทา่ กบั ฝรง่ั ๑/๒ ผลกลาง
เทา่ กบั มะมว่ งดบิ ๑/๒ ผล เทา่ กบั กลว้ ยนา�้ วา้ ๑ ผล เทา่ กบั
ส้มเขียวหวาน ๑ ผลใหญ่ เท่ากับมะละกอหรือสับปะรด
หรอื แตงโม ๖-๘ ชน้ิ พอดคี า� เทา่ กบั ลองกองหรอื ลา� ไยหรอื
องนุ่ ๖-๘ ผล

ปลาท ู ๑ ชอ้ นกนิ ขา้ ว (๑/๒ ตวั ขนาดกลาง) เทา่ กบั เนอ้ื หม ู
๑ ชอ้ นกนิ ขา้ ว เทา่ กบั ไขไ่ ก ่ ๑/๒ ฟอง เทา่ กบั เตา้ หแู้ ขง็ ๑/๔ ชนิ้
เทา่ กบั ถวั่ เมลด็ แหง้ สกุ ๒ ชอ้ นกนิ ขา้ ว

นมสด ๑ แกว้ เทา่ กบั โยเกริ ต์ ๑ ถว้ ย เทา่ กบั นมพรอ่ งมนั เนย
๑ แกว้

SUGAR

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรบั นกั เรียน) กลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรับปรุง) ๓๓

ชื่อ-สกุล เดอื น ชน้ั เลขที่ บ. ๑.๒/ ผ. ๒.๒ - ๐๒
วันที ่ พ.ศ.

ตาราง ส่วนประกอบและปรมิ าณของอาหารทีร่ บั ประทานใน ๑ วัน

ชื่ออาหาร ส่วนประกอบของอาหาร ปริมาณของอาหาร
(ระบหุ นว่ ยตามธงโภชนาการ)

๓๔ ชดุ กิจกรรมการเรียนรู (สาํ หรับนกั เรียน) กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ช่อื -สกลุ เดอื น ช้ัน เลขที่ บ. ๑.๒/ ผ. ๒.๒ - ๐๒
วันท ่ี พ.ศ.

ตาราง ส่วนประกอบและปริมาณของอาหารท่ีรบั ประทานใน ๑ วัน (ตอ่ )

ชือ่ อาหาร ส่วนประกอบของอาหาร ( ร ะ บหุ ปนรว่ิมยาตณาขมอธงงอโาภหชานราการ)

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู (สําหรบั นกั เรียน) กลมุ สาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรุง) ๓๕

ชอ่ื -สกลุ เดอื น ช้ัน เลขที่ บ. ๑.๒/ ผ. ๒.๒ - ๐๒
วันท่ี พ.ศ.

ตาราง ส่วนประกอบและปริมาณของอาหารที่รับประทานใน ๑ วัน (ต่อ)
ช่อื อาหาร ส่วนประกอบของอาหาร ( ร ะ บหุ ปนรว่มิ ยาตณาขมอธงงอโาภหชานราการ)

๓๖ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นักเรยี น) กลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

ชอื่ -สกุล เดอื น ชน้ั เลขที่ บ. ๑.๒/ ผ. ๒.๒ - ๐๒
วนั ท่ ี พ.ศ.

เขยี นตวั เลขปรมิ าณอาหารที่เรารบั ประทานใน ๑ วนั

ทัพพี

ทพั พี สว่ น
แก้ว ชอ้ นกนิ ขา้ ว
ธงโภชนาการ ชอ้ น

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนกั เรยี น) กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบับปรับปรงุ ) ๓๗

ช่ือ-สกลุ เดอื น ชัน้ เลขที่ บ. ๑.๒/ ผ. ๒.๒ - ๐๒
วันที่ พ.ศ.
ขีด √ ใน
การรบั ประทานอาหารใน ๑ วัน ไดส้ ัดส่วน ดังน้ี ให้ถูกตอ้ ง
น้อยเกินไป
กลมุ่ ขา้ ว-แป้ง เหมาะสม มากเกนิ ไป นอ้ ยเกนิ ไป
เหมาะสม มากเกินไป น้อยเกนิ ไป
กล่มุ ผกั เหมาะสม มากเกนิ ไป นอ้ ยเกินไป
เหมาะสม มากเกินไป น้อยเกนิ ไป
กลมุ่ ผลไม้ เหมาะสม มากเกินไป
นอ้ ยเกินไป
กลมุ่ เนอื้ สตั ว์ เหมาะสม มากเกนิ ไป

กล่มุ นม
นา�้ มนั
น้า� ตาล
เกลอื

๓๘ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรยี น) กลุม สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

ชื่อ-สกุล เดือน ชน้ั เลขท่ี บ. ๑.๒/ ผ. ๒.๒ - ๐๒
วนั ท ี่ พ.ศ.

ค�าถามหลงั จากท�ากจิ กรรม
๑. การรับประทานอาหารของนกั เรยี นใน ๑ วัน ได้รบั ปริมาณอาหารตามสดั สว่ นของ
ธงโภชนาการ

๒. ถ้านักเรียนรับประทานอาหารใน ๑ วัน แล้วไม่ได้รับปริมาณอาหารตามสัดส่วนของ
ธงโภชนาการ นกั เรยี นจะตอ้ งรบั ประทานอาหารอยา่ งไรใหไ้ ดส้ ดั สว่ นของธงโภชนาการ

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู (สาํ หรับนักเรียน) กลุมสาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) ๓๙

ช่อื -สกุล เดือน ชน้ั เลขที่ บ. ๑.๒/ ผ. ๒.๒ - ๐๒
วันที่ พ.ศ.

๓. จากกิจกรรมน้ ี สรุปได้วา่ อยา่ งไร

๔๐ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรบั นักเรยี น) กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ )

ชื่อ-สกุล เดือน ช้นั เลขท่ี บ. ๑.๒/ ผ. ๒.๒ - ๐๓
วนั ท่ ี พ.ศ.

ใบงาน ๐๓ : แบบฝกึ หดั เรอ่ื งการรบั ประทานอาหารใหเ้ หมาะสม
กบั เพศและวยั
ศกึ ษาข้อมูลดงั ตอ่ ไปน้ีแล้วตอบคา� ถาม
เดก็ คนหนงึ่ ตอ้ งไดร้ ับปรมิ าณพลังงาน ๑,๗๐๐ กิโลแคลอรีต่อวนั โดยรบั ประทาน
อาหารตามรายการตอ่ ไปนี้

มื้ออาหาร อาหาร สว่ นประกอบในอาหาร อปารหมิ าารณ(พกโิลลงั แงคานลอในร)ี

เชา้ ขา้ วผดั หม ู ๑ จาน - ข้าว ประมาณ ๒ ทัพพี ๕๖๐
- เนือ้ หม ู ประมาณ ๔ ช้อนกนิ ขา้ ว
- ไข่ ๑ ฟอง
- ซอสถ่ัวเหลอื ง ประมาณ ๑ ชอ้ นชา
- น�้าตาลทราย ประมาณ ๑/๒ ชอ้ นชา
- น�า้ มนั พืช ๓ ช้อนโต๊ะ
- มะเขอื เทศ หอมใหญ ่ และตน้ หอมรวมกนั
ประมาณ ๑ ทัพพี

กลางวนั กว๋ ยเตยี๋ วเสน้ ใหญ่ - เสน้ ก๋วยเตย๋ี ว ประมาณ ๒ ทัพพี ๓๘๐
ราดหนา้ กงุ้ ๑ จาน - กุ้ง ประมาณ ๓ ชอ้ นกนิ ข้าว
- คะน้า ประมาณ ๑/๒ ทพั พี
- แครอท ประมาณ ๑/๒ ทพั พี
- แป้งขา้ วโพด ประมาณ ๑/๔ ทัพพี
- ซีอว๊ิ ขาว ประมาณ ๒ ชอ้ นโตะ๊
- ซอี วิ๊ ด�า ประมาณ ๑ ช้อนโต๊ะ
- นา้� มันพืช ๓ ชอ้ นโตะ๊
- กระเทยี ม พรกิ ไทย และนา้� ตาลเลก็ นอ้ ย

เยน็ ขา้ วราดหนา้ ไก่ - ข้าว ประมาณ ๒ ทพั พี ๔๐๐
๑ จาน - ไก ่ ประมาณ ๖ ช้อนกินขา้ ว
- นา้� มนั พชื ๓ ชอ้ นโต๊ะ
- น้�ามนั งา ๑ ช้อนโต๊ะ
- ซีอว๊ิ ขาว และน�้ามันหอย
อยา่ งละประมาณ ๑ ช้อนโตะ๊
- ซีอ๊วิ ดา� ๑ ช้อนชา
- แปง้ มนั ประมาณ ๑/๔ ทพั พี
- พริกไทยเล็กน้อย

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สาํ หรับนกั เรยี น) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ๔๑

ชอ่ื -สกลุ เดอื น ชั้น เลขที่ บ. ๑.๒/ ผ. ๒.๒ - ๐๓
วันท ่ี พ.ศ.

๑. เด็กชายคนนี้จะได้ปริมาณพลังงานจากอาหารเท่าใด และเพียงพอกับความต้องการ
พลงั งานของรา่ งกายหรอื ไม ่ อยา่ งไร

๒. ถา้ ไดร้ บั ปรมิ าณพลงั งานจากอาหารไมเ่ พยี งพอ เดก็ ชายคนดงั กลา่ วควรจะเลอื กรบั ประทาน
อาหารอะไรเพม่ิ เตมิ จากตารางตอ่ ไปน ้ี เพอื่ ใหไ้ ดพ้ ลงั งานเพยี งพอกบั ความตอ้ งการของ
รา่ งกาย เพราะเหตใุ ด

อาหาร ปรมิ าณพลงั งาน (กโิ ลแคลอร)ี
สม้ เขยี วหวาน ๑ ผล ๖๐

กลว้ ยหอม ๑ ผล ๑๒๐
๒๓๐
ขนมปงั สงั ขยา ๑ ชนิ้ ๒๑๐
คกุ้ กเี้ นย ๒ ชน้ิ
๑๒๐
ชอ็ กโกแลตเยน็ ๑ แกว้
นมปรงุ แตง่ รสหวาน ๑ กลอ่ ง ๒๐๐

นมเยน็ ๑ แกว้ ๑๕๐

มะละกอ ๔ ชน้ิ ๓๐

๓. เด็กชายคนนี้รบั ประทานอาหารไดส้ ดั สว่ นเหมาะสมตามธงโภชนาการหรอื ไม ่ อย่างไร

๔๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนกั เรียน) กลุม สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

ใบงาน

บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๑

หนว่ ยย่อยที่ ๓

ระบบรา่ งกายมนษุ ย์

เรอื่ ง ระบบยอ่ ยอาหาร

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู (สําหรับนักเรียน) กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรงุ ) ๔๓

ชอื่ -สกลุ เดอื น ชนั้ เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๑ - ๐๑
วนั ท่ ี พ.ศ.

กิจกรรมที่ ๑ การย่อยอาหารในปากเกดิ ขึน้ อย่างไร
จุดประสงค์
สังเกตและอธิบายกระบวนการย่อยอาหารในปาก
วสั ดุ – อุปกรณ์
ขา้ วสกุ (ข้าวเหนียวหรือข้าวสวยกไ็ ด)้
วธิ ีทา�
๑. ทกุ คนบว้ นปากใหส้ ะอาดและตกั ขา้ วสกุ ทเ่ี ตรียมมาใสป่ ากแล้วค่อย ๆ เค้ยี ว
๒. สงั เกตรสชาตเิ มือ่ เร่มิ เคีย้ วข้าวและหลงั จากเคีย้ วข้าวไป ๑ นาที บันทกึ ผล

๔๔ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู (สําหรบั นกั เรยี น) กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ (ฉบบั ปรับปรงุ )

ชอื่ -สกุล เดือน ช้นั เลขท่ี บ. ๑.๓ / ผ. ๓.๑ - ๐๑
วันที่ พ.ศ.

ใบงาน ๐๑ : การยอ่ ยอาหารในปาก

บนั ทึกผลการทา� กจิ กรรม

ตาราง

กิจกรรม รสชาติของข้าว

เมอื่ เร่มิ เคย้ี วข้าว

เคีย้ วข้าวเป็นเวลา ๑ นาที

ค�าถามหลงั จากทา� กจิ กรรม
๑. รสชาตขิ องขา้ วเม่อื เรมิ่ เค้ียวและหลังเคย้ี ว ๑ นาที แตกตา่ งกันหรอื ไม ่ อย่างไร

๒. เพราะเหตใุ ดหลังเคี้ยวข้าวจงึ มรี สชาติตามข้อท่ ี ๑

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั นักเรยี น) กลุม สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ ๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ (ฉบบั ปรบั ปรุง) ๔๕


Click to View FlipBook Version