The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

62410058 สุชาวดี มรรคสิริสุข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lavishdelicious, 2021-03-15 04:18:00

62410058 สุชาวดี มรรคสิริสุข

62410058 สุชาวดี มรรคสิริสุข

คำนำ



1

2

ข้อมลู ทำงชีววทิ ยำและนิเวศวทิ ยำ

หญ้ำทะเลมลี กั ษณะโครงสร้ำง 3

4

ชนดิ พนั ธ์ุของหญ้ำทะเล

ชนดิ พนั ธ์หุ ญ้ำทะเล ในน่ำนนำ้ ไทยพบหญ้ำทะเล 13 ชนิด จำกจำนวนทงั้ สนิ ้
ประมำณ 60

ชนดิ พนั ธ์ทุ พ่ี บทว่ั โลก (Waycoott et al., 2004) ในฝั่งทะเลอนั ดำ
มนั พบหญ้ำทะเล 12 ชนิด ขำดเพยี งชนิดเดยี วคือ หญ้ำตะกำนนำ้ เค็ม
(Ruppiamaritima) ซงึ่ พบเฉพำะทำงฝ่ังทะเลอ่ำวไทยเทำ่ นัน้ สว่ นฝ่ัง
อำ่ วไทย พบหญ้ำทงั้ สนิ ้ 12 ชนิดเชน่ กนั โดยไมพ่ บหญ้ำเงำใบใหญ่
(Halophila major) ซงึ่ เป็นหญ้ำทะเลท่ีเพง่ิ มรี ำยงำนกำรพบเฉพำะ
ทำงฝั่งอนั ดำมนั ของประเทศไทยเมอื่ ไม่นำนมำนี ้โดยชนดิ พนั ธ์ุหญ้ำทะเล
สำมำรถแบง่ ได้ง่ำยๆตำมลกั ษณะของใบเป็น2กล่มุ คอื

กลมุ่ ท่ีมีใบแบนยำวหรือใบกลมยำวและกลมุ่ ที่มีใบแบนสนั้ รูปรี

5

กำรแพร่กระจำย

"แหลง่ หญ้ำทะเล"

ในประเทศไทยสำมำรถพบได้ในหลำยพนื ้ ที่ เช่น แหลง่ นำ้ กร่อย หรือปำก
แม่นำ้ ที่ติดป่ ำชำยเลน ชำยฝั่งนำ้ ตืน้ ทม่ี พี ืน้ ทรำยหรือทรำยปนโคลน และท่ลี กึ
ติดกบั แนวปะกำรัง (Chansang and Poovichiranon, 1994)
โดยพบแพร่กระจำยพนั ธ์อุ ย่ำงกว้ำงขวำงในเขตนำ้ ตนื ้ ชำยฝ่ังทะเลรวมถึงเกำะ
แกง่ ตำ่ งๆ ทงั้ ในอ่ำวไทยและทะเลอนั ดำมนั ครอบคลมุ พืน้ ท่ี 19 จงั หวดั
ชำยฝั่ง ได้แก่ จงั หวดั ชลบรุ ี ระยอง จนั ทบรุ ี ตรำด เพชรบรุ ี ประจวบคีรีขนั ธ์
ชมุ พร สรุ ำษฎร์ธำนี นครศรีธรรมรำช พทั ลงุ สงขลำ ปัตตำนี นรำธิวำส ระนอง
พงั งำ ภเู กต็ กระบี่ ตรัง และสตลู

6

ประโยชน์และควำมสำคญั

1. เป็นผ้ผู ลิต (producer) ในระบบนิเวศ และโครงสร้ำงของ
แหลง่ หญ้ำทะเลมีควำมซบั ซ้อน เหมำะสมตอ่ กำรเป็นแหลง่ ท่ีอย่อู ำศยั
อนบุ ำลตวั ออ่ น แหล่งหำกิน และแหลง่ หลบซอ่ นศตั รูของสตั ว์ทะเลนำนำชนิด
โดยเฉพำะปลำทะเล ก้งุ ทะเลและปมู ้ำ ไม่เพยี งเฉพำะกลมุ่ สตั ว์นำ้ ขนำดเล็กที่
กลำ่ วถึง แต่ยงั มสี ตั ว์ขนำดใหญ่ เช่น เตำ่ ทะเล และพะยนู ทีพ่ ่ึงพำระบบนเิ วศ
หญ้ำทะเลอยู่

7

2. ระบบนิเวศหญ้ำทะเลยงั เป็นแหล่งเชื่อมตอ่ ระหว่ำงระบบนเิ วศ จำก
ป่ำชำยเลนกบั แนวปะกำรังเข้ำด้วยกนั มีควำมเป็นไปได้ของควำมสมั พนั ธ์
ทำงด้ำนกำรประมงของระบบนิเวศป่ำชำยเลนกบั แหลง่ หญ้ำทะเล และแหลง่
หญ้ำทะเลกบั แนวปะกำรัง มีควำมสมั พนั ธ์กนั โดยมกี ำรสนบั สนนุ ธำตอุ ำหำร
ไหลเวียนไปมำระหวำ่ งระบบ

3. เป็นแหล่งทำประมงทส่ี ำคญั ชำวประมงและชมุ ชนได้นำสตั ว์
ทะเลทพ่ี บในแหลง่ หญ้ำทะเลเหลำ่ นีม้ ำบริโภคและซือ้ ขำยในท้องตลำด

4. ลดควำมรุนแรงของกระแสนำ้ ทพ่ี ดั พำเข้ำสฝู่ ่ัง ทำให้อตั รำกำร
พงั ทลำยของชำยฝั่งลดลงโครงสร้ำงของแหลง่ หญ้ำทะเล ช่วยลดกำรฟ้งุ
กระจำยของตะกอน ช่วยในกำรตกตะกอนของอินทรีย์วตั ถุ ตะกอนดิน และ
กรองของเสยี และยงั ทำให้เกิดกำรหมนุ เวียนและสะสมแร่ธำตตุ ำ่ งๆ ในระบบ
นเิ วศ

8

ปัจจยั สิ่งแวดล้อม

"ส่ิงแวดล้อมในระบบนเิ วศ" แหลง่ หญ้ำทะเลเป็นมีควำมสำคญั ตอ่ กำร
เจริญเตบิ โตของหญ้ำทะเลและควำมสมดลุ ในระบบนิเวศแหลง่ หญ้ำทะเลโดย
ปกตแิ ล้วปัจจยั สง่ิ แวดล้อมท่เี อือ้ ตอ่ กำรเจริญเตบิ โตของหญ้ำทะเลมดี งั นี ้
1.อนภุ ำคดินตะกอน เป็นตวั กำหนดชนิดอตั รำกำรเจริญเตบิ โตและกำรอยู่
รอดของหญ้ำทะเลซง่ึ แตกตำ่ งกนั ไปในแตล่ ะชนิดพบตงั้ แตท่ รำยหยำบทรำย
ปนซำกปะกำรังทรำยปนโคลนไปจนถึงโคลนละเอยี ด

2.ควำมเค็มของนำ้ ทะเลหญ้ำทะเล แตล่ ะชนิดมีควำมทนทำนตอ่ กำร
เปลีย่ นแปลงระดบั ควำมเค็มของนำ้ ทะเลตำ่ งกนั ชนิดท่ีทนทำนตอ่ กำร

9

เปลย่ี นแปลงได้ดสี ำมำรถเจริญได้ในบริเวณทม่ี กั มีระดบั ควำมเค็ม
เปล่ียนแปลงตลอดเวลำเช่นบริเวณนำ้ กร่อยปำกแม่นำ้ สว่ นหญ้ำทะเลชนิดท่ี
ไมท่ นทำนตอ่ กำรเปลย่ี นแปลงมกั เจริญในบริเวณท่ีมรี ะดบั ควำมเค็มคงท่ี

3.ควำมลกึ ของนำ้ ทะเล มีควำมสมั พนั ธ์กบั ควำมทนทำนตอ่ กำรผึ่งแห้ง
เนื่องจำกหญ้ำทะเลท่ีเจริญในบริเวณนำ้ ตืน้ มกั มีควำมทนทำนตอ่ กำรผง่ึ แห้ง
ในขณะที่นำ้ ลงมำกๆชนิดท่ที นทำนได้ดีสำมำรถเจริญได้ดสี ว่ นชนดิ ที่ทนทำน
ได้ไม่ดนี กั มกั เจริญในบริเวณนำ้ ลกึ อย่ำงไรก็ตำมหญ้ำทะเลจำเป็นต้องใช้แสง
ในกระบวนกำรสร้ำงอำหำรดงั นนั้ หญ้ำทะเลมกั เจริญเตบิ โตในระดบั ท่ีระดบั
ควำมลกึ ที่มีควำมเข้มแสงเพียงพอเพื่อกำรเจริญเติบโต

10

4.ควำมข่นุ ของนำ้ ทะเล บริเวณที่มกี ำรหมนุ วนของนำ้ บริเวณทมี่ ีตะกอนดิน
เชน่ บริเวณปำกแม่นำ้ ป่ำชำยเลน หรือบริเวณทม่ี ีกิจกรรมของมนษุ ย์ เช่น
กำรทำเหมืองแร่ในทะเล เกิดกำรแขวนลอยของตะกอนหรืออนภุ ำคของสำรใน
มวลนำ้ โดยควำมข่นุ สง่ ผลตอ่ คณุ ภำพของแสงที่สอ่ งผ่ำนผิวนำ้ ลงไปยงั หญ้ำ
ทะเลกล่ำวคือถ้ำนำ้ มีควำมข่นุ มำกคณุ ภำพแสงจะลดลงสง่ ผลกระทบตอ่
อตั รำกำรสงั เครำะห์ด้วยแสงของหญ้ำทะเลด้วย

5.ควำมรุนแรงของคล่นื ลม แม้วำ่ ระบบรำกของหญ้ำทะเลสำมำรถชอนไช
และยดึ พนื ้ ได้ดแี ต่หำกกระแสควำมแรงของคลื่นมีมำกเกินไปจะกระทบตอ่ กำร
เจริญเตบิ โตของหญ้ำทะเลทำให้ต้นหญ้ำทะเลหลดุ ออกจำกพืน้ ดินดงั นนั้ จงึ
พบหญ้ำทะเลในบริเวณที่มีคล่ืนลมไม่รุนแรงมำกนกั

ภำวะคกุ คำมแหลง่ หญ้ำทะเล 11

1) ภำวะโลกร้อน (Greenhouse effect) ภำวะโลกร้อนสง่ ผลให้อณุ หภมู ิ
เฉลย่ี ของอำกำศใกล้พนื ้ ผิวโลกและนำ้ ในมหำสมทุ รตงั ้ แต่ช่วงคร่ึงหลงั ของ
คริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 เพ่ิมสงู ขนึ ้ ซง่ึ กำรทอี่ ณุ หภมู ิของโลกเพิ่มสงู ขนึ ้ ทำให้
ระดบั นำ้ ทะเลสงู ขนึ ้ ด้วย โดยอณุ หภมู ินำ้ ทะเลทีส่ งู มำกกว่ำภำวะปกตขิ องแหลง่
หญ้ำทะเลนนั ้ ๆ จะมีผลต่อวงจรชีวติ ของหญ้ำทะเล มีผลตอ่ กำรเจริญเติบโต กำร
ออกดอกและเมลด็ ของหญ้ำทะเลอกี ทงั้ ควำมเครียดจำกอณุ หภมู ทิ เ่ี พม่ิ ขนึ ้ ทำให้
กำรกระจำยตวั ของหญ้ำทะเลเปลยี่ นแปลง

12

1. กำรเปลย่ี นแปลงสภำพพนื ้ ท้องทะเลตำ่ งๆ เช่น กำรขดุ ลอกร่องนำ้ เพื่อกำรเดินเรือ
และกำรกอ่ สร้ำงท่ำเรือ เป็นต้น สง่ ผลให้พนื ้ ทหี่ ญ้ำทะเลถกู ทำลำยโดยตรง

2. กำรพฒั นำชำยฝั่งทะเลเชน่ กำรกอ่ สร้ำงทก่ี อ่ ให้เกิดตะกอนชะล้ำงลงสทู่ ะเล โดย
ตะกอนดงั กลำ่ วจะปกคลมุ ใบหญ้ำและปิดกนั้ กำรสงั เครำะห์แสงของหญ้ำทะเล

3) กำรเดนิ เรือ และกำรสญั จรทำงนำ้ สง่ ผลกระทบทงั้ ทำงตรงและทำงอ้อมตอ่ แหลง่
หญ้ำทะเล ทำให้ใบหญ้ำทะเลถกู ตดั ขำด หน้ำดนิ ถกู ค้ยุ เกิดกำรฟ้งุ กระจำยของ
ตะกอนในนำ้ ซง่ึ มีผลตอ่ กำรเจริญเติบโตของหญ้ำทะเล

4) กำรทำประมงบำงประเภท เชน่ ครำดหอย เรืออวนลำกขนำดเลก็ เรืออวนรุน เรือ
อวนทบั ตลง่ิ ขนำดใหญ่ ท่ีทำกำรประมงในแหลง่ หญ้ำทะเล ก่อให้เกิดควำมเสือ่ ม
โทรมแกแ่ หลง่ หญ้ำทะเล และสตั ว์ทะเล

5) นำ้ เสยี ตำมชำยฝ่ังทะเล เช่น กำรทำเหมอื งแร่ ทำ่ เทยี บเรือ สะพำนปลำ โรงงำน
อตุ สำหกรรม ชมุ ชนบ้ำนเรือน และกำรทำนำก้งุ ทำให้เกิดสภำพแวดล้อมท่ีไม่
เหมำะสมตอ่ กำรเจริญเตบิ โตของหญ้ำทะเล

ระบบฐำนข้อมลู กลำงและมำตรฐำนข้อมลู ทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง
Central Database System and Data Standard for
Marine and Coastal Resources

จดั ทำโดย
นำงสำว สชุ ำวดี มรรคสริ ิสขุ 62410058


Click to View FlipBook Version