มาตรา 10 กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิตอ้ งมีคุณสมบตั ิและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดงั ต่อไปน้ี
(1) มีสญั ชาติไทย
(2) มีอายไุ มต่ ่ำกว่าสามสบิ หา้ ปีบรบิ รู ณ์ และต้องไมเ่ กินเจบ็ สบิ ปบี ริบรู ณ์
(3) ไม่เป็นสมาชิกสภาพผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ข้าราชการการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหาร
ทอ้ งถ่ิน หรือผ้ดู ำรงตำแหนง่ ใด ๆ ในพรรคการเมอื ง
(4) ไมเ่ ป็นบคุ คลวกิ ลจรติ หรอื จติ ฟั่นเฟือนไมส่ มประกอบ
(5) ไม่ติดยาเสพติดให้โทษ
(6) ไมเ่ ป็นบุคคลลม้ ละลายหรือไม่เคยเปน็ บุคคลล้มละลาย
(7) ไมเ่ ปน็ คนไร้ความสามารถหรอื คนเสมอื นไร้ความสามารถ
(8) ไม่เปน็ บคุ คลทีต่ ้องคำพิพากษาให้จำคุกและถกู คุมขังอยู่โดยหมายของศาล
(9) ไม่เป็นบุคคลที่เคยต้องคำพิพากษาให้จำคุกตั้งแต่สองปีขึ้นไป โดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึงห้าปีในวันท่ี
ได้รับการเสนอชื่อ เวน้ แต่ในความผิดอนั ได้กระทำโดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ
(10) ไม่เป็นบุคคลที่เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ำรวย
ผดิ ปกตหิ รอื มที รพั ย์สนิ เพ่ิมข้ึนผดิ ปกติ
(11) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานของเอกชน
เพราะทจุ ริตต่อหนา้ ที่ หรือประพฤตชิ ่วั อย่างรา้ ยแรง หรือถอื วา่ กระทำการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบในวงราชการ
มาตรา 11 กรรมการผ้ทู รงคุณวุฒิมวี าระการดำรงตำแหนง่ คราวละสี่ปี
ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ หรือในกรณีที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นในระหว่างที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตำแหน่งให้ผู้ได้รับแต่งต้ัง
แทนตำแหน่งที่ว่างหรือเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้น อยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการ
ผทู้ รงคุณวฒุ ซิ ่ึงได้แตง่ ต้ังไว้แลว้
ในกรณีที่กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิพน้ จากตำแหนง่ ก่อนวาระ ใหค้ ณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด
ทีม่ ีอยู่จนกว่าจะมีการแตง่ ตั้งกรรมการผ้ทู รงคุณวฒุ ิ
เมื่อครบกำหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ให้กรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตำแหน่งเพื่อดำเนินงานต่อไปจนกว่ากรรมก ารผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง
ไดร้ บั แตง่ ตั้งใหมเ่ ข้ารบั หน้าท่ี
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระ อาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้แต่จะดำรงตำแหน่ง
ติดต่อกนั เกนิ สองวาระไมไ่ ด้
ค่มู อื ปฏิบตั ิงานการประชมุ ผ่านสอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 51
มาตรา 12 นอกจากพน้ จากตำแหน่งตามวาระ กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิพน้ จากตำแหนง่ เมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) คณะรฐั มนตรีใหอ้ อกเพราะบกพรอ่ งต่อหน้าที่ มีความประพฤติเสอ่ื มเสีย หรือหย่อนความสามารถ
(4) ขาดคณุ สมบัติหรือมีลกั ษณะตอ้ งห้ามอย่างหน่ึงอย่างใดตามมาตรา 10
มาตรา 13 คณะกรรมการมีอำนาจหนา้ ท่ี ดังตอ่ ไปน้ี
(1) เสนอแนะนโยบายและมาตรการตอ่ คณะรฐั มนตรใี นเรื่องดังตอ่ ไปนี้
(ก) การใชป้ ระโยชน์จากพลังงานนวิ เคลยี ร์
(ข) การกำกับดแู ลทางนิวเคลียร์และรงั สี เพื่อความปลอดภัยและเพือ่ ประโยชน์แก่การป้องกันหรือระงับเหตุ
เดือดร้อนรำคาญ ความเสียหาย หรืออันตราย ที่จะมีผลกระทบต่อบุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์หรือสิ่งแวดล้อม หรือการกำหนด
แนวทางหรอื ลกั ษณะการดำเนนิ การเกย่ี วกบั การควบคมุ ส่ิงดังกล่าวใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพเศรษฐกิจและสงั คม
(2) ให้คำแนะนำแก่รฐั มนตรีในการออกกฎกระทรวงตามพระราชบญั ญัตนิ ี้
(3) วางระเบียบควบคุมและดำเนินกิจการใหเ้ ป็นไปตามข้อกำหนดหรือเงื่อนไขในใบอนุญาตท่ีออกให้ตาม
พระราชบัญญตั ินี้
(4) กำหนดมาตรฐานตา่ ง ๆ อันพงึ ใช้โดยเฉพาะเก่ยี วกับพลงั งานนวิ เคลยี ร์
(5) ส่งเสรมิ และเผยแพรค่ วามรเู้ กยี่ วกบั ความปลอดภยั จากพลังงานนิวเคลยี ร์
(6) กำหนดแผนฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสีซึ่งเป็นแผนสนับสนุน อยู่ภายใต้แผนป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยแห่งชาตติ ามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(7) พจิ ารณาและวินิจฉัยอุทธรณค์ ำสั่งของเลขาธกิ ารตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี
(8) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการหรือตามที่
คณะรัฐมนตรมี อบหมาย
ภาพที่ 7 คณะกรรมการพลงั งานนวิ เคลยี ร์เพ่ือสนั ติ
ค่มู ือปฏบิ ตั ิงานการประชมุ ผา่ นสอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 52
มาตรา 14 การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการ
ท้งั หมดเทา่ ที่มอี ยู่ จึงจะเปน็ องคป์ ระชมุ
ในการประชุมคณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบตั ิหน้าที่ได้ ให้รองประธาน
กรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการและรองประธานกรรมไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ี
ได้ ให้ทีป่ ระชุมเลือกกรรมการคนหนง่ึ เป็นประธานในท่ีประชมุ
ในการปฏิบัติหน้าที่ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ หรือกรรมการผู้ใดมีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรง
หรอื โดยอ้อมในเรอ่ื งที่คณะกรรมการพจิ ารณา ให้ประธานกรรมการ รองประธาน กรรมการหรือกรรมการผู้นนั้ แจ้ง
ให้ทป่ี ระชุมทราบ และใหท้ ่ีประชมุ พิจารณาว่ากรรมการผูน้ ั้นสมควรรอยู่ในท่ีประชุมหรือมีมตใิ นการประชุมเร่ืองน้ัน
ไดห้ รอื ไม่
การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน
ถา้ คะแนนเสียงกนั ใหป้ ระธานในทป่ี ระชุมออกเสยี งเพม่ิ ขนึ้ อีกเสยี งหน่งึ เป็นเสยี งช้ีขาด
มาตรา 15 คณะกรรมการจะแต่งต้ังคณะอนุกรรมการเพ่ือพจิ ารณาวนิ ิจฉัยหรือปฏิบัติการอย่างใด
อย่างหน่งึ ตามที่คณะกรรมการมอบหมายก็ได้
การประชมุ คณะอนุกรรมการ ให้นำบทบญั ญัตใิ นมาตรา 14 และมาตรา 16 มาใช้บังคับโดยอนโุ ลม
มาตรา 16 ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้คณะกรรมการมีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือ
เรียกส่วนราชการ หน่วยงานของรฐั รฐั วสิ าหกจิ และเจา้ หน้าที่ของรฐั ส่งข้อมลู หรอื เอกสารใด ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องมาเพื่อ
ประกอบการพจิ ารณาได้ ในการรนอี้ าจเรยี กบคุ คลใด ๆ มาชี้แจงดว้ ยก็ได้
มาตรา 17 ให้สำนักงานปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการกับดูแลทางนิวเคลียร์และรังสี งานวิชาการและงานธุรการ
ให้แก่คณะกรรมการ รวมท้ังประสานงานและให้ความช่วยเหลอื แกห่ นว่ ยงานต่าง ๆ ทางด้านนวิ เคลียรแ์ ละรังสี และ
งานอ่นื ใดตามท่ีคณะกรรมการมอบหมาย
จากความตามมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ. 2559 ซึ่งกำหนดให้
คณะกรรมการพิจารณาแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยหรือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งตามท่ี
คณะกรรมการมอบหมายก็ได้ โดยในปัจจุบัน คณะกรรมการมีคำสั่งแต่งตั้งคณะอนกุ รรมการให้มีหน้าที่และอำนาจ
เพื่อวินิจฉยั หรือปฏิบัติการด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกำกบั ดูแลการใช้ประโยชน์จากพลังงานนวิ เคลียร์และรังสี
รวมจำนวน 15 คณะ ไดแ้ ก่
คมู่ ือปฏิบตั ิงานการประชมุ ผ่านสอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 53
1. คณะอนุกรรมการกฎหมายและการขบั เคลอื่ นใหด้ ำเนินการตามกฎหมาย
2. คณะอนุกรรมการเฝ้าระวงั เตรียมความพรอ้ ม และระงับเหตฉุ ุกเฉินทางนิวเคลยี ร์และรงั สี
3. คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนและประเมินผลนโยบายและแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านพลังงาน
นิวเคลียร์ของประเทศ
4. คณะอนุกรรมการการใช้ประโยชน์จากพลังงานนวิ เคลยี ร์ทางดา้ นการแพทย์
5. คณะอนุกรรมการการใช้ประโยชน์จากพลงั งานนิวเคลียรท์ างดา้ นการเกษตรและโภชนาการ
6. คณะอนุกรรมการการพิจารณาอุทธรณ์
7. คณะอนุกรรมการวา่ ดว้ ยการดำเนนิ การให้เป็นไปตามพันธกรณีระหวา่ งประเทศ
8. คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อดำเนินการวัดและเฝ้าระวังปริมาณรังสีที่ให้กับผู้ป่วยในทางการแพทย์
ในประเทศไทย
9. คณะอนกุ รรมการเฉพาะกจิ เพื่อดำเนนิ การเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ยด์ ้านรังสีทางการแพทย์
10. คณะอนุกรรมการเฉพาะกจิ เพ่ือดำเนนิ การจัดทำฐานข้อมลู การไดร้ ับรงั สีตามข้อกำหนดของคณะกรรมการ
วทิ ยาศาสตร์แหง่ สหประชาชาตวิ า่ ด้วยผลกระทบจากรงั สี
11. คณะอนุกรรมการกำหนดสมรรถนะ ศกั ยภาพ และมาตรฐานเจ้าหน้าท่คี วามปลอดภัยทางรงั สี
12. คณะอนกุ รรมการกำกับดูแลสถานประกอบการทางนวิ เคลยี ร์
13. คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อพิจารณาข้อเสนอโครงการความร่วมมือเชิงวิชาการระดับประเทศของ
ทบวงการพลังงานปรมาณรู ะหว่างประเทศ รอบปี พ.ศ. 2567 – 2568
14. คณะอนกุ รรมการเฉพาะกิจในการสรรหาและวเิ คราะห์ประเมนิ ข้อสอบสำหรบั ผู้ขอรบั ใบอนุญาตเจ้าหน้าที่
ความปลอดภัยทางรังสี
15. คณะอนกุ รรมการความปลอดภัยในการจัดการกากกัมมนั ตรงั สแี ละเช้ือเพลงิ นวิ เคลยี รใ์ ชแ้ ล้ว
ภาพท่ี 8 คณะอนุกรรมการภายใตค้ ณะกรรมการพลังงานนิวเคลียร์เพอ่ื สันติ
คมู่ อื ปฏบิ ตั ิงานการประชมุ ผา่ นสอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 54
5. QR Code เอกสารที่เกยี่ วขอ้ ง
1. พระราชกำหนดว่าดว้ ยการประชุมผา่ นสอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์
พ.ศ. 2563
2. พระราชกฤษฎกี าเบยี้ ประชมุ กรรมการ พ.ศ. 2543
และทแ่ี กไ้ ขเพิ่มเติม
3. ประกาศกระทรวงดิจิทลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสงั คม
เร่ือง มาตรฐานการรักษาความม่นั คงปลอดภัย
ของการประชมุ ผา่ นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2563
4. ประกาศกระทรวงดจิ ิทลั เพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เร่ือง
มาตรฐานการรักษาความม่นั คงปลอดภัยของการประชุม
ผา่ นส่ืออิเล็กทรอนิกส์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2564
5. ระเบยี บสำนกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบบั ท่ี 4)
พ.ศ. 2564
6. พระราชบัญญัติวา่ ด้วยธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. 2544
และ ท่ีแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ
7. หนังสอื กระทรวงการคลงั ดว่ นทส่ี ดุ ท่ี กค 0408.5/ว 55
ลงวนั ท่ี 24 มีนาคม 2563 เร่อื ง การอนมุ ัตหิ ลกั การเบกิ จา่ ย
คา่ ตอบแทนในการประชมุ ผ่านสอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์
8. ระเบยี บกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยการเบกิ เงินจากคลัง
การรบั เงิน การจ่ายเงิน การเกบ็ รกั ษาเงนิ
และการนำเงนิ ส่งคลัง พ.ศ. 2562
คมู่ อื ปฏบิ ตั ิงานการประชมุ ผา่ นสอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 55
9. หนังสอื กระทรวงการคลงั ด่วนที่สุด ที่ กค 0402.2/ว 140
ลงวนั ท่ี 19 สิงหาคม 2563 เรื่อง หลกั เกณฑแ์ ละวิธีปฏบิ ัติ
ในการจา่ ยเงิน การรับเงิน และการนำเงินสง่ คลงั หรือฝากคลัง
ของส่วนราชการผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Payment)
10. e-Book คู่มือการประชมุ ผ่านสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Meeting)
ของสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
(https://bit.ly/3oglzxn)
ค่มู อื ปฏบิ ตั ิงานการประชมุ ผา่ นสอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์ 56
กลมุ่ เลขานกุ ารคณะกรรมการพลงั งานนิวเคลยี รเ์ พ่อื สนั ติ
นางสาวชลาทิพย์ เกื้อกอบ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการพิเศษ (หวั หน้ากลุ่ม)
นางศนั สนีย์ บรริ ักษ์ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ
นายสรรเสรญิ ยานะพนั ธุ์ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร
นางสาวจีรนนั ท์ แสวงการ นักจัดการงานทว่ั ไปปฏิบัติการ
นางสาวมนต์ศริ ิ จินตรตั น์ เจา้ หน้าท่ีบรหิ ารงานทวั่ ไป
นายเฉลียว กลน่ิ กมล เจา้ หนา้ ที่วทิ ยาศาสตร์
โทรศัพท์ 4111 - 4112
กองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน
สำนักงานปรมาณเู พอื่ สนั ติ
กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม