The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วันลอยกระทง เป็นวันสำคัญวันหนึ่งของชาวไทย ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย ตามปฏิทินจันทรคติล้านนา มักจะตกอยู่ในราวเดือนพฤศจิกายน ตามปฏิทินสุริยคติ ประเพณีนี้กำหนดขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์และขอขมาต่อพระแม่คงคา บางหลักฐานเชื่อว่าเป็นการบูชารอยพระพุทธบาทที่ริมฝั่งแม่น้ำนัมทามหานที และบางหลักฐานก็ว่าเป็นการบูชาพระอุปคุตอรหันต์หรือพระมหาสาวก สำหรับประเทศไทยประเพณีลอยกระทงได้กำหนดจัดในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณที่ติดกับแม่น้ำ ลำคลอง หรือ แหล่งน้ำต่าง ๆ ซึ่งแต่ละพื้นที่ก็จะมีเอกลักษณ์ที่น่าสนใจแตกต่างกันไป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประเพณีลอยกะทง

วันลอยกระทง เป็นวันสำคัญวันหนึ่งของชาวไทย ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย ตามปฏิทินจันทรคติล้านนา มักจะตกอยู่ในราวเดือนพฤศจิกายน ตามปฏิทินสุริยคติ ประเพณีนี้กำหนดขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์และขอขมาต่อพระแม่คงคา บางหลักฐานเชื่อว่าเป็นการบูชารอยพระพุทธบาทที่ริมฝั่งแม่น้ำนัมทามหานที และบางหลักฐานก็ว่าเป็นการบูชาพระอุปคุตอรหันต์หรือพระมหาสาวก สำหรับประเทศไทยประเพณีลอยกระทงได้กำหนดจัดในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณที่ติดกับแม่น้ำ ลำคลอง หรือ แหล่งน้ำต่าง ๆ ซึ่งแต่ละพื้นที่ก็จะมีเอกลักษณ์ที่น่าสนใจแตกต่างกันไป

Keywords: ลอยกะทง,ประเพณี

เป็นพธิ ีอยา่ งหนึ่งทีม่ กั จะทากนั ในคนื วนั เพ็ญ เดือน 12 หรือวันข้ึน 15
ค่าเดอื น 12 อันเปน็ วนั พระจนั ทร์เตม็ ดวง และเป็นชว่ งท่ีน้าหลากเต็มตล่ิง โดยจะ
มีการนาดอกไม้ ธปู เทียนหรอื สง่ิ ของใสล่ งในส่ิงประดิษฐ์รูปต่างๆ ที่ไม่จมน้า เช่น
กระทง เรือ แพ ดอกบัว ฯลฯ แล้วนาไปลอยตามลาน้า โดยมีวัตถุประสงค์ และ
ความเชื่อต่างๆ กัน ในปีนี้ วันลอยกระทง ตรงกับ “วันศุกร์ท่ี 19 พฤศจิกายน
2564 ”ประเพณีลอยกระทง มิได้มีแต่ในประเทศไทยเท่าน้ัน ในประเทศจีน
อนิ เดีย เขมร ลาว และพม่า ก็มีการลอยกระทงคลา้ ยๆ กบั บ้านเรา จะต่างกันบ้าง
ก็คงเป็นเรือ่ งรายละเอียด พธิ ีกรรม และความเชอ่ื ในแต่ละท้องถ่ิน
แมแ้ ต่ในบ้านเราเอง การลอยกระทง ก็มาจากความเช่ือ
ท่ีหลากหลายเชน่ กัน ซ่ึงกลุม่ ประชาสัมพนั ธ์ สานักงาน
คณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ กระทรวงวฒั นธรรม
ได้รวบรวมมาบอกเลา่ ให้ทราบกนั ดงั ต่อไปน้ี

ประเพณีลอยกระทงนั้น ไม่มีหลักฐานระบุแน่ชัดว่าเริ่มตั้งแต่เม่ือใด
แต่เช่ือว่าประเพณีนี้ได้สืบต่อกันมายาวนานต้ังแต่สมัยสุโขทัย โดยในรัชสมัยพ่อ
ขุนรามคาแหง เรียกประเพณีลอยกระทงน้ีว่า “พิธีจองเปรียญ” หรือ “การลอย
พระประทปี ” และมีหลักฐานจากศิลาจารกึ หลักที่ 1 กล่าวถึงงานเผาเทียนเล่นไฟ
ว่าเป็นงานรืน่ เริงท่ีใหญท่ ี่สดุ ของกรุงสุโขทัย ทาให้เช่ือกันวา่ งานดังกล่าวน่าจะเป็น
งานลอยกระทงอยา่ งแน่นอน

ใ น ส มั ย ก่ อ น นั้ น พิ ธี ล อ ย ก ร ะ ท ง จ ะ เ ป็ น ก า ร ล อ ย โ ค ม โ ด ย
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอย่หู วั รชั กาลท่ี 5 ไดท้ รงสนั นษิ ฐานวา่
พิธลี อยกระทงเป็นพิธีของพราหมณ์ จัดข้ึนเพ่อื บชู าเทพเจ้า 3 องค์
คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ต่อมาไดน้ า
พระพุทธศาสนาเขา้ ไปเกยี่ วขอ้ ง จึงใหม้ กี ารชกั โคม เพอื่ บูชา
พระบรมสารรี ิกธาตุ และลอยโคมเพือ่ บชู ารอยพระบาทของ
พระพทุ ธเจ้า

ก่อนที่นางนพมาศ หรือ ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ สนมเอกของพระร่วงจะ
คิดค้นประดิษฐ์กระทงดอกบัวขึ้นเป็นคนแรกแทนการลอยโคม ดังปรากฏใน
หนังสือนางนพมาศท่ีว่า“คร้ันวันเพ็ญเดือน 12 ข้าน้อยได้กระทาโคมลอย คิด
ตกแต่งให้งามประหลาดกว่าโคมสนมกานัลทั้งปวงจึงเลือกผกาเกษรสีต่าง ๆ มา
ประดับเป็นรปู กระมทุ กลบี บานรับแสงจันทร์ใหญ่ประมาณเท่ากงระแทะ ล้วนแต่
พรรณดอกไม้ซอ้ นสสี ลบั ใหเ้ ปน็ ลวดลาย ”

เมื่อสมเด็จพระร่วงเจ้าได้เสด็จฯ ทางชลมารค ทอดพระเนตรกระทง
ของนางนพมาศก็ทรงพอพระราชหฤทัย จึงโปรดให้ถือเป็นเย่ียงอย่าง และให้จัด
ประเพณีลอยกระทงขึ้นเปน็ ประจาทกุ ปี โดยใหใ้ ช้กระทงดอกบัวแทนโคมลอย ดัง
พระราชดารสั ท่วี า่ “ตงั้ แตน่ สี้ บื ไปเบือ้ งหน้า โดยลาดบั กษตั ริย์ในสยามประเทศถึง
กาลกาหนดนักขัตฤกษ์วันเพ็ญเดือน 12 ให้ทาโคมลอยเป็นรูปดอกบัว อุทิศ
สักการบูชาพระพุทธบาทนัมมทานทีตราบเท่ากัลปาวสาน” พิธีลอยกระทงจึง
เปล่ียนรปู แบบต้ังแต่นน้ั เป็นต้นมา

ประเพณีลอยกระทงสืบต่อกันเร่ือยมา จนถึงกรุงรัตนโกสินทร์
ตอนต้น สมยั รัชกาลท่ี 1 ถึง รัชกาลท่ี 3 พระบรมวงศานวุ งศ์ตลอดจนขนุ นาง
นิยมประดิษฐ์กระทงใหญ่เพื่อประกวดประชันกัน ซ่ึงต้องใช้แรงคนและเงิน
จานวนมาก พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั รัชกาลที่ 4 ทรงเห็นว่าเป็ น
การสิน้ เปลือง จึงโปรดให้ยกเลิกการประดิษฐ์กระทงใหญ่แขง่ ขนั และโปรดให้
พระบรมวงศานุวงศ์ทาเรือลอยประทีปถวายองค์ละลาแทนกระทงใหญ่ และ
เรียกชื่อว่า “เรือลอยประทีป” ตอ่ มาในรัชกาลท่ี 5 และรัชกาลท่ี 6 ได้ทรงฟื น้ ฟู
พระราชพิธีนขี ้ นึ ้ มาอีกครัง้ ปัจจบุ นั การลอยพระประทีปของพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ทรงกระทา
เป็ นการสว่ นพระองค์ตามพระราชอธั ยาศยั

ภาคเหนือตอนบน นิยมทาโคมลอย เรียกว่า “ลอยโคม” หรือ
“ว่าวฮม” หรือ “ว่าวควัน” ทาจากกระดาษบางๆ กระดาษท่ีใช้ทาว่าว แล้วสุม
ควันข้างใต้ให้ลอยขึ้นไปในอากาศอย่างบัลลูน ประเพณีของชาวเหนือนี้เรียกว่า
“ยี่เป็ง” หมายถึงการทาบุญในวันเพ็ญเดือนยี่(ซ่ึงนับวันตามแบบล้านนา ตรงกับ
วันเพ็ญเดอื นสิบสองในแบบไทย)
– จังหวดั เชียงใหม่ มีประเพณี “ยีเ่ ป็ง”
เชยี งใหม่ ในทุกๆ ปจี ะมีการจัดงานข้นึ
อย่างยิง่ ใหญต่ ระการตา และมีการปล่อย
โคมลอยข้ึนเตม็ ทอ้ งฟ้า

– จังหวัดตาก จะลอยกระทงขนาดเล็กทยอยเรียงรายไปเป็นสาย เรียกว่า
“กระทงสาย”
– จงั หวัดสุโขทัย ขบวนแหโ่ คมชกั โคมแขวน การเล่นพลตุ ะไล ไฟพะเนยี ง

ภาคอีสาน ในอดีตมกี ารเรียกประเพณลี อยกระทงในภาคอีสานว่า สิบ
สองเพ็ง หมายถึงวันเพ็ญเดอื นสบิ สองซ่ึงจะมีเอกลักษณ์แตกต่างกันออกไป เช่น
– จังหวัดร้อยเอด็ มีช่อื งานประเพณีว่า “สมมาน้าคืนเพง็ เส็งประทีป” ตามภาษา
ถิ่นมีความหมายถึงการขอขมาพระแม่คงคา ในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสอง การ
ประกวดประทีปโคมไฟและกระทงอันสวยงาม มีการจาลองแห่หัวเมืองสาเกตุ
นครท้งั 11 หวั เมอื ง
– จังหวัดสกลนคร ในอดีตจะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วย ลักษณะคล้ายกับ
การทาปราสาทผ้ึงโบราณ เรียกงานนี้ว่าเทศกาลลอยพระประทีปพระราชทาน
สิบสองเพ็งไทสกล
– จงั หวัดนครพนม จะตกแต่งเรือแลว้ ประดบั ไฟ
เป็นรูปตา่ งๆ เรยี กว่า “ไหลเรือไฟ” โดยเฉพาะ
ที่จงั หวดั นครพนมเพราะมคี วามงดงามและ
อลังการท่ีสดุ ในภาคอีสาน

ภาคกลาง มีการจัดประเพณีลอยกระทงขึ้นท่วั ทุกจังหวดั
– กรุงเทพมหานคร จะมีงานภูเขาทอง เป็นรูปแบบงานวัด เฉลิมฉลองราว 7-10
วนั ก่อนงานลอยกระทง และจบลงในชว่ งหลงั วันลอยกระทง
– จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการจัดงานประเพณีลอยกระทงกรุงเก่าขึ้นอย่าง
ยง่ิ ใหญ่บริเวณอทุ ยานประวตั ศิ าสตร์พระนครศรอี ยุธยา ภายในงานมีการจัดแสดง
แสง สี เสียง อย่างงดงามตระการตา

ภาคใต้ การลอยกระทงของชาวใต้ส่วนใหญ่นาเอาหยวกมาทาเป็นแพ
บรรจเุ ครื่องอาหารแลว้ ลอยไปแตม่ ีข้อน่าสังเกตคือ การลอยกระทงทางภาคใต้ ไม่
มีกาหนดว่าเป็นกลางเดือน ๑๒ หรือเดือน ๑๑ ดังกล่าวแล้ว แต่จะลอยเม่ือมี
โรคภัยไข้เจ็บ เพื่อให้หายโรคภัยไข้เจ็บที่ตนเป็นอยู่ เป็นการลอยเพื่อสะเดาะ
เคราะห์การตกแต่งเรือหรือแพลอยเคราะห์ จะมีการแทงหยวก เป็นลวดลาย
สวยงามประดับด้วยธงทิว ภายในบรรจุดอกไม้ ธูปเทียน เงินและเสบียงต่างๆ
ตามความเชือ่ ของคนในท้องถน่ิ

สาเหตทุ ี่มปี ระเพณลี อยกระทงขน้ึ นน้ั เกิดจากความเชื่อหลายๆประการของ
แตล่ ะท้องท่ี ได้แก่

1.เพอ่ื แสดงความสานกึ ถงึ บญุ คุณของแมน่ า้ ท่ใี ห้เราได้อาศัยน้ากิน น้าใช้
ตลอดจนเป็นการขอขมาต่อพระแม่คงคา ท่ีได้ทิ้งสิ่งปฏิกูลต่าง ๆ ลงไปในน้า อัน
เป็นสาเหตุใหแ้ หล่งน้าไมส่ ะอาด

2.เพื่อเป็นการสักการะรอยพระพุทธบาทนัมมทานที เม่ือคราวท่ี
พระพทุ ธเจ้าเสด็จไปแสดงธรรมโปรดในนาคพิภพ และได้ทรงประทับรอยพระบาท
ไว้บนหาดทรายแม่น้านัมมทานที ซึ่งเป็นแม่น้าสายหน่ึงอยู่ในแคว้นทักขิณาบถของ
ประเทศอินเดีย ปจั จบุ นั เรียกวา่ แม่น้าเนรพทุ ท

3.เพือ่ เป็นการสะเดาะเคราะห์ เพราะการลอยกระทงเปรียบเหมือนการ
ลอยความทุกข์ ความโศกเศรา้ โรคภยั ไขเ้ จบ็ และส่ิงไมด่ ีตา่ ง ๆ ใหล้ อยตามแม่น้าไป
กับกระทง คลา้ ยกบั พธิ ลี อยบาปของพราหมณ์

4.เพ่อื เปน็ การบูชาพระอุปคุต ท่ีชาวไทยภาคเหนือให้ความเคารพ ซ่ึง
บาเพ็ญเพยี รบรกิ รรมคาถาอยใู่ นทอ้ งทะเลลกึ หรือสะดอื ทะเล โดยมีตานานเล่าว่า
พระอุปคุตเป็นพระมหาเถระรูปหนงึ่ ทม่ี ีอิทธิฤทธ์มิ าก สามารถปราบพญามารได้

5.เพื่อรักษาขนบธรรมเนียมของไทยไว้มิให้สูญหายไปตามกาลเวลา
และยงั เปน็ การสง่ เสริมการท่องเทีย่ วใหเ้ กิดข้ึนทง้ั ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศ

6.เพื่อความบันเทิงเริงใจ เนื่องจากการลอยกระทงเป็นการนัดพบปะ
สงั สรรค์กันในหม่ผู ไู้ ปร่วมงาน

7.เพื่อส่งเสริมงานฝีมือและความคิดสร้างสรรค์ เพราะเมื่อมีเทศกาล
ลอยกระทง มักจะมีการประกวดกระทงแข่งกัน ทาให้ผู้เข้าร่วมได้เกิดความคิด
แปลกใหม่ และยงั รกั ษาภมู ิปัญญาพื้นบา้ นไว้อีกด้วย

เพลงราวงวันลอยกระทงแต่งโดยครูแก้ว อัจฉริยกุล ผู้ให้ทานองคือ

ครเู ออ้ื สุนทรสนาน แห่งสุนทราภรณ์ ซ่ึงครูเอื้อได้แต่งเพลงน้ีต้ังแต่ ปี พ.ศ.2498

ขณะท่ีได้ไปบรรเลงเพลงที่บริเวณคณะบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมีผู้

ขอเพลงจากครูเอ้ือ ครูเอื้อจึงนั่งแต่งเพลงนี้ที่ริมแม่น้าเจ้าพระยา ในระยะเวลา

เพยี งครงึ่ ชวั่ โมงจึงเกดิ เปน็ เพลง “ราวงลอยกระทง” มีเน้อื ร้องวา่

วนั เพ็ญเดือนสบิ สอง น้านองเตม็ ตลง่ิ

เราท้ังหลายชายหญิง

สนกุ กันจรงิ วันลอยกระทง

ลอย ลอยกระทง ลอย ลอยกระทง

ลอยกระทงกันแลว้ ฟังเพลง
ขอเชิญนอ้ งแก้วออกมาราวง ลอยกระทง
ราวงวันลอยกระทง ราวงวันลอยกระทง

บญุ จะสง่ ใหเ้ ราสุขใจ บญุ จะส่งใหเ้ ราสุขใจ

มะยัง อมิ นิ า ปะทีเปนะ นัมมะทายะ
นะทยิ า ปเุ ลเนฐิตัง มุนโิ น ปาทะวะลัญชัง อะภิปเู ชมะ

อะยัง ปะทเี ปนะ มุนโิ น ปาทะวะลญั ชสั สะ ปชู า
อัมหากัง ทฆี ะรตั ตัง หิตายะ สขุ ายะ สงั ฆวตั ตะตุ



นางนพมาศ หรือบ้างก็เรียกกันว่า เรวดี นพมาศ เกิดในรัชกาลพระยา
เลอไท กษตั รยิ อ์ งคท์ ี่ 4 แหง่ ราชวงศพ์ ระร่วง นางนพมาศ เปน็ ธดิ าของพระศรีมโหสถ
กับนางเรวดี บิดาเป็นพราหมณ์ปุโรหิตในสมัยพระยาเลอไท มีรูปสมบัติและ
คุณสมบัติที่งดงาม ได้รับการอบรมจากบิดา มีความรู้ทางอักษรศาสตร์ พุทธศาสนา
ศาสนาพราหมณ์ การชา่ งของสตรี ตลอดจนการขับร้องดนตรี สันนิษฐานว่า นางนพ
มาศ ได้ถวายตวั เข้ารับราชการในสมัยพระยาลไิ ท ในยุคสุโขทยั และเป็นท่ีโปรดปราน
จนได้เป็นสนมเอก ตาแหน่ง ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ซ่ึงกล่าวกันว่า นางนพมาศ เป็น
บุคคลท่ฉี ลาดถ่อมตัวเป็นอย่างย่ิง จนได้สมญาว่า “กวีหญิงคนแรกของไทย” ดังเช่น
ท่ีมีข้อความเขียนไว้ว่า “ทั้งเป็นสตรี สติปัญญาก็น้อยกว่าบุรุษ แล้วก็ยังอ่อนหย่อน
อายุ กาลังจะรักรปู และแต่งกาย ซง่ึ อตุ สาหะพากเพียร กล่าวเปน็ ทาเนยี บไว้ ทั้งน้ีเพื่อ
หวังจะให้สตรีอันมีประเภทเสมอด้วยตน พึงให้ทราบว่าข้าน้อยนพมาศ กระทาราช
กิจในสมเด็จพระร่วงเจ้ากรุงมหานครสุโขทัย ต้ังจิตคิดสิ่งซ่ึงเป็นการควรกับเหตุ
ถูกต้องพระราชอัชฌาสัยพระเจ้าอยู่หัว ก็ได้ปรากฏชื่อเสียงว่าเป็นสตรีนักปราชญ์
ฉลาดในวิชาชา่ งอยู่ชัว่ กลั ปาวสาน”

ทั้งนี้ นางนพมาศ ได้ทาคุณงามความดีเป็นท่ีโปรดปรานของพระร่วงใน
กาลตอ่ มา ท่ีสาคญั ๆ มีอยู่ 3 คร้งั คอื …

คร้งั ที่ 1 เขา้ ไปถวายตัวอยู่ในวังได้ห้าวัน ก็ถึงพระราชพิธีจองเปรียงลอย
พระประทีป (ลอยกระทง) นางได้คดิ ประดษิ ฐโ์ คมลอยรปู ดอกกระมุท (ดอกบัว) มีนก
เกาะดอกไมส้ สี วย ๆ ตา่ ง ๆ กัน เปน็ ท่โี ปรดปรานของพระรว่ งมาก

คร้ังที่ 2 ในเดือนห้ามีพิธีคเชนทรัศวสนาน เป็นพิธีชุมนุมข้าราชการทุก
หัวเมือง มีเจ้าประเทศราชข้ึนเฝ้าถวายเครื่องราชบรรณาการด้วย ในพิธีน้ีพระเจ้า
แผน่ ดนิ ทรงรับแขกด้วยเครอื่ งหมากพลู นางนพมาศได้คิดประดิษฐ์พานหมากสองช้ัน
ร้อยกรองด้วยดอกไม้งดงาม พระร่วงทรงโปรดปรานและรับสั่งว่า ต่อไปผู้ใดจะทา
การมงคลก็ดี รับแขกก็ดี ให้ใช้พานหมากรูปดังนางนพมาศประดิษฐ์ขึ้น ซ่ีงเป็น
ตน้ เหตขุ องพานขนั หมากเวลาแต่งงาน ซง่ึ ยงั คงใช้จนถึงปจั จุบนั

ครั้งที่ 3 นางนพมาศ ได้ประดิษฐ์พนมดอกไม้ถวายพระร่วงเจ้าเพ่ือใช้
บูชาพระรัตนตรัย พระร่วงทรงพอพระทัยในความคิดนั้น ตรัสว่าแต่นี้ต่อไปเวลามีพิธี
เขา้ พรรษาจะตอ้ งบชู าด้วยพนมดอกไม้กอบัวน้ี

นอกจากนี้ นางนพมาศ ยังได้เขียนตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ข้ึนเพื่อเป็น
หลักประพฤติปฏบิ ตั ิตนในการเข้ารับราชการของนางสนมกานัลท้ังหลาย โดย ตารับ
ท้าวศรจี ุฬาลกั ษณ์ นีแ้ ต่งด้วยรอ้ ยแกว้ มกี ลอนดอกสรอ้ ยแทรก ซึ่งมีการสันนิษฐานว่า
แตง่ ข้นึ ใหม่ในสมัยรัตนโกสินทร์ เพราะภาษาที่ใช้แตกต่างจากภาษาท่ีใช้ในวรรณคดี
ท่ีแต่งในยุคเดียวกันคือศิลาจารึกหลักท่ี 1 และ ไตรภูมิพระร่วง โดยเน้ือเร่ืองใน
ตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ กล่าวถึงประเพณีต่าง ๆ ของไทย เช่น การประดิษฐ์พาน
หมากสองช้ันรับแขกเมือง การประดิษฐ์โคมลอยรูปดอกกระมุท (ดอกบัว) เพ่ือใช้ใน
พระราชพิธีจองเปรียงลอยพระประทีป (ลอยกระทง) ซึ่งประเพณีน้ีได้สืบทอดมา
จนถึงปจั จุบนั

รวบรวมเนือ้ หาโดย

นางสาวจีระนันท์ พนั ธ์ุไชย
บรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชนอาเภอหนองแซง

จังหวัดสระบุรี


Click to View FlipBook Version