The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารที่ 4 แบบประเมินการฝึกงาน_ ใบงาน1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ชาตรี เริงชัยภูมิ, 2023-11-17 05:42:15

เอกสารที่ 4 แบบประเมินการฝึกงาน_ ใบงาน1

เอกสารที่ 4 แบบประเมินการฝึกงาน_ ใบงาน1

1 ใบงานที่ ๑ ศึกษาบทบาทหนาที่ของรองผูอํานวยการสถานศึกษา ชื่อ – สกุล นายชาตรี เริงชัยภูมิ กลุมที่ ๖ เลขที่ ๑๓ ๑. ศึกษาขอมูลพื้นฐานทั่วไปของสถานศึกษาวิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ปรัชญา “สรางผูนําทางเทคโนโลยี สรางคนดีสูสังคม” วิสัยทัศน“วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ เปนองคกรที่มุงจัดการอาชีวศึกษาที่ หลากหลาย เนนในระบบและทวิภาคี ตามมาตรฐานการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา” พันธกิจ ผลิตและพัฒนาผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาใหมีคุณภาพ สามารถเปน ผูประกอบการหรือทํางานในสถานประกอบการจนเปนที่ยอมรับ 1. พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนใหมีความทันสมัย เชื่อมโยงกับมาตรฐานอาชีพและ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบการ 2. สรางภาคีเครือขายความรวมมือในการจัดการศึกษาโดยภาครัฐและเอกชน 3. สงเสริมสนับสนุนการจัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐหรืองานวิจัย 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการ อัตลักษณ “ทักษะเยี่ยม เปยมคุณธรรม นําเทคโนโลยี”หมายถึง ผลิตและพัฒนาผูเรียนใหมีฝมือ มีทักษะ และมีคุณภาพออกสูตลาดแรงงาน รวมทั้งมีคุณลักษณะที่พึ่งประสงค ดานคุณธรรมจริยธรรม และ มีความรูความสามารถดานเทคโนโลยีเปนอยางดี หลักสูตรที่เปดทําการเรียนการสอน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 1. สาขาวิชาชางยนต สาขางานยานยนต 2. สาขาวิชาชางกลโรงงาน สาขางานเครื่องมือกล 3. สาขาวิชาชางเชื่อมโลหะ สาขางานโครงสราง 4. สาขาวิชาชางไฟฟากําลัง สาขางานไฟฟากําลัง 5. สาขาวิชาชางอิเล็กทรอนิกส สาขางานอิเล็กทรอนิกส 6. สาขาวิชาชางซอมบํารุง (ทวิ) สาขางานซอมบํารุงอุตสาหกรรม (ทวิ) 7. สาขาวิชาเมคคาทรอนิกสสาขางานเมคคาทรอนิกส 8. สาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอรสาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร 9. สาขาวิชาการบัญชี สาขางานการบัญชี 10. สาขาวิชาการตลาด สาขางานการตลาด 11. สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจสาขางานคอมพิวเตอรธุรกิจ 12. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศสาขางานเทคโนโลยี สารสนเทศ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 1. สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล (ทวิ)สาขางานเทคนิคยานยนต (ทวิ) 2. สาขาวิชาเทคนิคการผลิต สาขางานเครื่องมือกล 3. สาขาวิชาเทคนิคโลหะ (ทวิ) สาขางานเทคโนโลยีงานเชื่อม โครงสรางโลหะ(ทวิ) 4. สาขาวิชาไฟฟา สาขางานไฟฟาควบคุมทางอุตสาหกรรม 5. สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส สาขางานอิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม 6. สาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรมสาขางานเทคโนโลยีวิศวกรรมซอม บํารุงอุตสาหกรรม 7. สาขาวิชาเมคคาทรอนิกสและหุนยนต(ทวิ)สาขางานเมคคาทรอนิกส และหุนยนต (ทวิ) 8. สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอรสาขางานคอมพิวเตอรซอฟตแวร 9. สาขาวิชาการบัญชี สาขางานการบัญชี 10. สาขาวิชาการตลาด สาขางานการตลาด 11. สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขางานธุรกิจดิจิทัล 12. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศสาขางานนักพัฒนาซอฟแวร คอมพิวเตอร


2 ๒.ศึกษาบทบาทและภาระงานของรองผูอํานวยการฝายที่ไดรับผิดชอบ ไดรับมอบหมายรองผูอํานวยการฝายแผนงานและความรวมมือ นโยบายสถานศึกษา 1. เพิ่มปริมาณผูเรียนและลดปญหาการออกกลางคัน 2. พัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความสามารถทางดานวิชาการและวิชาชีพตรงตามมาตรฐานอาชีพ 3. พัฒนาสถานศึกษาใหเปนสังคมแหงเรียนรู โดยสรางความรวมมือกับภาครัฐและเอกชนในการจัดการ เรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะฝมือผูเรียนใหไดมาตรฐานและเปนที่ยอมรับ 4. จัดตั้งศูนยทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน 5. สงเสริมการจัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐและหุนยนต โครงงานวิทยาศาสตรหรืองานวิชาการที่เปน ประโยชน ตลอดจนมีการเผยแพรสูสาธารณชน 6. นําเทคโนโลยีดิจิทัลมาพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ 7. ขับเคลื่อนการจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี 8. ขับเคลื่อนนโยบายสถานศึกษาปลอดภัย 9. ขับเคลื่อนการดําเนินงานศูนยอาชีวะชวยประชาชน (Fix It Center) จุดเนนในการพัฒนาของสถานศึกษา 1. พัฒนาครูผูสอนใหมีทักษะในการจัดกระบวนการเรียนการสอน สงเสริมและสนับสนุนใหผูเรียน สามารถนําเอาหลักการทางวิทยาศาสตร และคณิตศาสตรมาแกปญหาในการปฏิบัติงาน สงเสริมการจัด กิจกรรมในชั้นเรียน ในวิชาภาษาไทย และภาษาตางประเทศ สนับสนุนใหผูเรียนไดฝกทักษะดานเทคโนโลยี สารสนเทศโดยการคนควาขอมูลทาง Internet 2. สงเสริมใหครูผูสอนทุกคนไดสอดแทรกบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ในหองเรียน มีการพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนรูการวิเคราะหหลักสูตรทุกรายวิชา จัดใหมีการประเมินมาตรฐานวิชาชีพแกนักศึกษา ปวช.3 และปวส. 2 ทุกรายวิชากอนสําเร็จการศึกษา มีการจัดโครงการปจฉิมนิเทศเพื่อใหขอมูลประกอบการ ตัดสิ้นใจของผูเรียนในการแนะแนวอาชีพและจัดหางานดําเนินการการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ และมีการ จัดทําแบบสอบถามสํารวจความพึงพอใจผูเรียนตอครูผูสอน และการประเมินความพึงพอใจของ ผูประกอบการตอผูสําเร็จการศึกษาโดยสํารวจความพึงพอใจ 3 ดาน 3. สนับสนุนการจัดหองเรียนรูเฉพาะทางใหกับทุกสาขาวิชา เพื่อใชเปนหองเรียนรูเชิงปฏิบัติการ สงเสริมใหผูเรียนเกิดทักษะ ประสบการณ เสมือนโลกในงานอาชีพสงเสริมใหมีระบบอินเตอรเน็ตที่พรอมใน การใชงานตอบสนองการจัดการเรียนการสอน สูนโยบายรัฐ 40 4. มีการสงเสริมและสนับสนุนใหบุคลากรภายในวิทยาลัย ฯ เขารับการอบรมสัมมนา และศึกษาตอ เพื่อเพิ่มความรูความรูและพัฒนาตนเอง และรวมกับสถานประกอบการโดยการเชิญผูเชี่ยวชาญ และ


3 เปาหมาย 1. ผูเรียนสาขาวิชาชางอุตสาหกรรม มีความรู มีทักษะ ตรงตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา ๒. ครูมีการพัฒนาคุณวุฒิ มีความรู ในการใชสื่อเทคโนโลยี ทักษะทางดิจิทัลในการจัดการเรียนการสอน ๓. ชุมชน สถานประกอบการรวมมือกับสถานศึกษาสรางสังคมแหงการเรียนรูจัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ ผูทรงคุณวุฒิเขามาบรรยายใหความรูกับผูเรียน และทําความรวมมือกับสถานประกอบการโดยการสงนักศึกษา ออกไปฝกงานกับสถานประกอบการ จัดใหผูเรียนไดพบครูที่ปรึกษาตอนเชาเปนประจํา และมีบริการตรวจ สารเสพติดประจําทุกป และสงเสริมใหผูเรียนทํากิจกรรมที่สงเสริมดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยมอันดีงาม รวมทั้งการวัดกิจกรรมอนุรักษสิ่งแวดลอม 5. มีการบริหารจัดการสถานศึกษาโดยการกําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร และพัฒนาดานคุณภาพ และศักยภาพบุคลากรของสถานศึกษาทางดานคุณธรรม จริยธรรม ตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพ มีการ พัฒนาระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการขอมูลที่เปนปจจุบัน และมีหัวหนารับผิดชอบโดยตรง ตลอดจนมี การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มีการจัดทํารายงานการประเมินตนเองระดับวิทยาลัย และรายงาน ตามระยะเวลาที่กําหนด จุดเนนคือ "ยกระดับคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษาแบบองครวมโดยใชพื้นที่เปนฐาน" จึงนํามา กําหนดวิสัยทัศนในการพัฒนาสถานศึกษา เพื่อใหบรรลุตามวิสัยทัศนที่สอดคลองกับนโยบาย และทิศทางการ พัฒนาประเทศ กําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ และเปาหมาย ในการพัฒนาสถานศึกษา ตามแผนผังดังนี้ บริบทของสถานศึกษา ระเบียบ/ขอบังคับ/กฎหมายที่เกี่ยวของ นโยบาย วิสัยทัศน: พัฒนาหลักสูตรคุณวุฒิวิชาชีพ ตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแหงชาติโดยชุมชน สถานประกอบการมีสวน รวมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจ 1. พัฒนาผูเรียนใหมีความรู มีทักษะและการประยุกตใชเปนไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา ๒. พัฒนาครูใหมีคุณวุฒิ มีความรู สามารถใชหลักสูตรฐานสมรรถนะ ในการจัดการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ มีความสามารถในการใชสื่อเทคโนโลยี มีทักษะทางดิจิทัล ๓. สรางสังคมแหงการเรียนรู มีการจัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค โดยสถานศึกษารวมมือ กับบุคคล ชุมชน สถานประกอบการณ องคกรตาง ๆ ในการมีสวนรวมในการพัฒนา


4 โดยจะนําหลักการ SWOT Analysis มาวิเคราะหหาจุดเดน จุดดอย ของหลักสูตรคุณวุฒิวิชาชีพ ตาม กรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแหงชาติเพื่อนําไปวางแผนพัฒนาหลักสูตรคุณวุฒิวิชาชีพ ใหสําเร็จตามเปาหมายดังนี้ จุดแข็ง 1. มีหลักสูตรคุณวุฒิวิชาชีพ 2. มีคณะครูที่มีองคความรู และเขาใจบริบทของอาชีวศึกษา 3. มีนักเรียน นักศึกษาที่พรอมจะพัฒนา 4. มีหองปฏิบัติงาน 5. มีสถานประกอบการที่มีการลงนามความรวมมือ(MOU) จุดออน 1. ขาดการประชาสัมพันธเรื่องคุณวุฒิวิชาชีพกับสถานประกอบการ 2. ขาดการแนะนําขอดีของการมีคุณวุฒิวิชาชีพ กับผูเรียน ผูปกครอง 3. ขาดการดําเนินการ และพัฒนาอยางตอเนื่อง เมื่อวิเคราะหดวยหลักการ SWOT Analysis แลวก็จะดําเนินจัดทําแผนพัฒนาฯ ไดนําหลักการบริหาร แบบมีสวนรวมตามสถานการณ ตามแนวคิดวงจรคุณภาพ วงจรเดมมิ่ง (Deming Cercle : PDCA) ไดดังนี้ ขั้นการวางแผนงาน ๑. วางแผนการบริหารงานของสถานศึกษาใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ นโยบายและ วัตถุประสงคของสถานศึกษา ประเมิน และรายงานผลการจัดการศึกษา ๒. วางแผนประชาสัมพันธเรื่องคุณวุฒิวิชาชีพกับ ผูเรียน ผูปกครอง และสถานประกอบการ 3.วางแผนพัฒนาหลักสูตรคุณวุฒิวิชาชีพ รวมกับสถานประกอบการที่มีการลงนามความรวมมือ(MOU) 4.วางแผนพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษาใหมีความเขาใจการดําเนินงานตามกรอบหลักสูตรคุณวุฒิ วิชาชีพ 5. วางแผนพัฒนาหองเรียน พัฒนาสื่อการเรียนการสอน ขั้นการดําเนินงาน 1. ประชุมคณะผูบริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อใหมีความ เขาใจการดําเนินงานพัฒนาหลักสูตรคุณวุฒิวิชาชีพ 2. ประชุมผูปกครอง และสถานประกอบการ ในการดําเนินงานการหลักสูตรคุณวุฒิวิชาชีพ 3. จัดสรรงบประมาณ ในการสงเสริมสนับสนุน พัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา อยาง ตอเนื่อง เพื่อเสริมสรางประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน 4. จัดสรรงบประมาณในการพัฒนาหองเรียน และพัฒนาสื่อการเรียนการสอน 5. จัดการอบรมใหความรู ครูและบุคลากรทางการศึกษาในการจัดทําหลักสูตรคุณวุฒิวิชาชีพ


5 ขั้นการตรวจสอบ 1. มีการนิเทศติดตามการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาสมรรถนะแบบผูเรียนสรางความรูดวยตนเอง มุงเนนกระบวนการเรียนรูดวยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) มุงเนนใหผูเรียน สามารถเขาใจและ เรียนรูอยางมีความสุข และพัฒนาความเปนมนุษยที่สมบูรณ 2. มีการนิเทศติดตามผูเรียนมีทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชีพและทักษะชีวิตใหเปนไป ตาม มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษา โดยผูเรียนสามารถประยุกตใชในการปฏิบัติงาน การ ดํารงชีวิต อยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข มีสุขภาวะที่ดีตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. มีการนิเทศติดตามครูผูสอนวามีการพัฒนาชองทางการเรียนรูผานดิจิทัลแพลตฟอรมที่หลากหลาย และมีแพลตฟอรมการเรียนรูอัจฉริยะที่รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู สื่อการสอนอยางมี คุณภาพ 4. มีการรายงานผลความรวมมือกับหนวยงาน องคกรทั้งภาครัฐเอกชน ชุมชน องคกรปกครองสวน ทองถิ่น และสถานประกอบการ 5. มีการนิเทศติดตามการวัดและประเมินผล ตามกรอบคุณวุฒิวิชาชีพอาชีวศึกษา 6. มีการนิเทศติดตามการจัดทํานวัตกรรมสื่อการสอน สิ่งประดิษฐ งานวิจัย ของครูและบุคลากร ทางการศึกษารวมกับ ผูเรียน ชุมชน องคกรตาง ๆ ที่สามารถนําไปใชประโยชนและเผยแพรสูสาธารณชน ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดประโยชนตอผูเรียน บุคลากร สถานศึกษา ชุมชนหรือสถานประกอบการ ดานผูเรียน 1. ผูเรียนมีความรู ตามหลักการ ทฤษฎี และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาที่เรียนหรือทํางาน โดย เนนความรูเชิงทฤษฎีตามขอเท็จจริง เปนไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษา 2. ผูเรียนมีทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชีพและทักษะชีวิตเปนไปตามมาตรฐาน คุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษา สามารถประยุกตใชในการปฏิบัติงาน การดํารงชีวิต อยูรวมกับผูอื่น ไดอยาง มีความสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีสุขภาวะที่ดี 3.ผูเรียนไดโอกาสในการเขาทํางานในสถานประกอบการมากกวาคุณวุฒิอื่น ๆ 4. ไดคาตอบแทนที่สูงขึ้น ดานครู 1. มีคุณวุฒิการศึกษา ไดรับการพัฒนาอยางเปนระบบและตอเนื่อง มีความรูเพื่อเปนผูพรอมทั้งดาน คุณธรรม จริยธรรมและความเขมแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ สามารถจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปน สําคัญ ตอบสนองความตองการของผูเรียน ตามหลักสูตรมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา แตละระดับการศึกษา ตามระเบียบหรือขอบังคับเกี่ยวกับการจัดการศึกษา และการประเมินผลการเรียนของแตละหลักสูตร


6 2. ครูไดรับการสงเสริม สนับสนุน ในการพัฒนาจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย 3. มีการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม สื่อเทคโนโลยี และทักษะทางดิจิทัล ในการจัดการเรียนการสอน 4. มีความกาวหนาในหนาที่ สถานศึกษา 1.มีการใชหลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคลองกับความตองการของผูเรียน ชุมชน สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความตองการ ของ ตลาดแรงงาน โดยความรวมมือกับสถานประกอบการหรือหนวยงานที่เกี่ยวของ 2.มีการบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน ศูนยวิทยบริการ สื่อ แหลงเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ และงบประมาณ ของ สถานศึกษาที่มีอยูอยางเต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพ 3.ไดรับความรวมมือกับบุคคล ชุมชน องคกรตาง ๆ ในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากร ทางการศึกษากระบวนการเรียนรู การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ โดย ใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อ พัฒนาผูเรียนและคนในชุมชนสูสังคมแหงการเรียนรู 4. ไดรับการยกยอง ยอมรับ จากชุมชน และสถานประกอบการ 5. มีความสําเร็จในการดําเนินการบริหารจัดการสถานศึกษาตามนโยบายสําคัญที่หนวยงานตนสังกัด หรือหนวยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความรวมมือของผูบริหาร ครู บุคลากรทางการ ศึกษา และผูเรียน รวมทั้งการชวยเหลือ สงเสริม สนับสนุนจากผูปกครอง ชุมชน สถานประกอบการและ หนวยงานที่ เกี่ยวของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ชุมชน และสถานประกอบการ 1. สถานประกอบการไดบุคลากรตรงตามความตองการ 2. สถานประกอบการมีการพัฒนางานไดอยางตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ 3. ชุมชน ไดรับการพัฒนา เครื่องมือ และมีความเขาใจนวัตกรรมใหม ๆ 4. ชุมชนเกิดความเขมแข็ง เปนสังคมการเรียนรูและพัฒนา ความโดดเดนของสถานศึกษา 1. ไดรับโรงเรียนรางวัลพระราชทานเมื่อ พ.ศ. 2549 / 2558 2. โครงการ Excellent Model School รวมกับ SCG จํานวน 2 สาขาวิชาคือ 1 เทคนิค อุตสาหกรรม 2 สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส 3. สถานศึกษาตนแบบทวิภาคีสานพลังประชารัฐ Excellent Model School 4. ไดรับรางวัลนักศึกษารางวัลพระราชทาน ป 2558 6. ไดรับรางวัลสุดยอดผลงานอวด – ดี อาชีวะ ประจําป 2558 จาก บริษัท ทีวีบูรพา จํากัด


7 6. ไดรับรางวัลหนวยงานดีเดนผานเกณฑมาตรฐาน ในระดับเขตภาคกลางโครงการหนวยงาน ตนแบบดานการสวมหมวกนิรภัย ของบริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด 15 มิถุนายน 2559 7. ไดรับรางวัล สถานศึกษาปลอดภัย และสุขภาพอนามัยดี ประจําป 2560 (โลรางวัลดีเดน) 8. สิ่งประดิษฐอุปกรณหอเครือกลวย (สาขาวิชาเทคนิคการผลิต) ไดรับการจดอนุสิทธิบัตร เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2561 9. ไดรับรางวัลการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร ระดับภาค เรื่องการศึกษา ประสิทธิภาพของสบู จากสารสกัดเปลือกเม็ดมะขาม ระดับ ปวช. ไดรับรางวัล ชมเชย (9 – 12 มกราคม 2563) 10. ทีมทานตะวัน เขารวมประกวดสุดยอดนวัตกรรมหุนยนตอาชีวศึกษา ABU “ระดับชาติ” ป 2562 - 2565 11. วิทยาลัยเขารวมโครงการพระราชทานความชวยเหลือแกราชอาณาจักรกัมพูชาในการจัดตั้ง สถานบันการศึกษากําปงสปอ พ.ศ. 2562 – 2564 12.วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณไดรับการคัดเลือกตัวแทนระดับอาชีวศึกษาเขารวมการ แขงขันหุนยนตนานาชาติ ABU ไดรับรางวัลเหรียญทอง ( 5 – 6 กันยายน 2563) 13. การแขงขันประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ ระดับชาติ มินิสมารทฟารม ตนไมดาง ดวยเทคโนโลยี IOT (Internet of Things) ประจําปการศึกษา 2/2564 ไดรับรางวัล ชมเชย 14. การแขงขันประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ ระดับชาติ หมวกแรงดันต่ําสําหรับชุด PAPR ประจําป การศึกษา 2/2564 ไดรับรางวัล ชมเชย รางวัลที่ไดรับงบประมาณ พ.ศ. 2566 2/2565 และ 1/2566 "สุดยอดนวัตกรรมอาชีวศึกษา" การประกวดสิ่งประดิษฐของคนรุนใหม ประจําปการศึกษา 2565 ชนะลิศ ระดับสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ ประเภท ชื่อผลงาน ที่ รายการ 1 ประเภทที่ 1 เครื่องพนอเนกประสงคพลังงานโซลาเซลล 2 ประเภทที่ 1 อุปกรณจับยึดใบเลื่อยมือ 3 ประเภทที่ 2 อุปกรณควบคุมวงจรไฟฟาอัจฉริยะ 4 ประเภทที่ 2 อุปกรณสงสัญญาณเสียงเตือน ฉุกเฉินในรถยนต 5 ประเภทที่ 3 ตูทําความเย็นแบบพกพา 6 ประเภทที่ 3 กลองพลังงานแบบพกพา 7 ประเภทที่ 3 กลองวงจรปดโซลาเซลล


8 ระดับจังหวัด รองอันดับ 1 และชมเชย ระดับภาค ชมเชย 8 ประเภทที่ 3 กลองเก็บพลังงานแบบพกพา 9 ประเภทที่ 4 ผักหวานนมสด (STEVIA) 10 ประเภทที่ 4 วุนกรอบผักหวาน 11 ประเภทที่ 4 บะหมี่เผือกหอม 12 ประเภทที่ 4 บราวนี่ผักหวาน 13 ประเภทที่ 5 ตูฆาเชื้อดวยรังสีอัลตราไวโอเลต 14 ประเภทที่ 6 อุปกรณชวยถอดลูกหมากพวงมาลัยรถยนต 15 ประเภทที่ 6 อุปกรณชวยยกขาตั้งรถจักรยานยนต 16 ประเภทที่ 6 เตาเทอรโบมหาเศรษฐี 17 ประเภทที่ 6 เครื่องเช็คหลอดฟลูออเรสเซนตทูอินวัน 18 ประเภทที่ 6 อุปกรณชวยปองกันการล็อคประตู ประเภท ชื่อผลงาน ที่ รายการ 1 ประเภทที่ 1 อุปกรณจับยึดใบเลื่อยมือ (ชมเชย) 2 ประเภทที่ 3 ตูทําความเย็นแบบพกพา (ชมเชย) 3 ประเภทที่ 3 กลองวงจรปดโซลาเซลล (รองอันดับ 1) ประเภท ชื่อผลงาน ที่ รายการ 1 ประเภทที่ 3 กลองวงจรปดโซลาเซลล


ภาพกิจกรรมการฝกงาน / การฝกประสบการณในสถานศึกษา การพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใหดํารงตําแหนงรองผูอํานวยการสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ชื่อ – สกุล นายชาตรี เริงชัยภูมิ กลุมที่ ๖ เลขที่ ๑๓ รวมกิจกรรมกฐินพระราชทาน


ภาพกิจกรรมการฝกงาน / การฝกประสบการณในสถานศึกษา การพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใหดํารงตําแหนงรองผูอํานวยการสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ชื่อ – สกุล นายชาตรี เริงชัยภูมิ กลุมที่ ๖ เลขที่ ๑๓ รวมพิธีเปดการประชุมผูปกครอง และนักเรียน ทวิภาคี รวมพิธีเปดการประชุมงานประกันคุณภาพ


ภาพกิจกรรมการฝกงาน / การฝกประสบการณในสถานศึกษา การพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใหดํารงตําแหนงรองผูอํานวยการสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ชื่อ – สกุล นายชาตรี เริงชัยภูมิ กลุมที่ ๖ เลขที่ ๑๓ รวมกิจกรรม นักศึกษาวิชาทหารจิตอาสา รวมกิจกรรม โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ


ภาพกิจกรรมการฝกงาน / การฝกประสบการณในสถานศึกษา การพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใหดํารงตําแหนงรองผูอํานวยการสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ชื่อ – สกุล นายชาตรี เริงชัยภูมิ กลุมที่ ๖ เลขที่ ๑๓ ประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษา ผูอํานวยการมอบหมายเขารวมประชุมหนวยงานราชการ ณ อําเภอบานหมอ


ภาพกิจกรรมการฝกงาน / การฝกประสบการณในสถานศึกษา การพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใหดํารงตําแหนงรองผูอํานวยการสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ชื่อ – สกุล นายชาตรี เริงชัยภูมิ กลุมที่ ๖ เลขที่ ๑๓ นิเทศสาขาวิชาชางยนต นิเทศสาขาวิชาชางยนต นิเทศสาขาวิชาชางยนต นิเทศสาขาวิชาชางเชื่อม นิเทศสาขาวิชาชางเชื่อม นิเทศสาขาวิชาชางเชื่อม นิเทศสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส นิเทศสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส นิเทศสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส


ภาพกิจกรรมการฝกงาน / การฝกประสบการณในสถานศึกษา การพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใหดํารงตําแหนงรองผูอํานวยการสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ชื่อ – สกุล นายชาตรี เริงชัยภูมิ กลุมที่ ๖ เลขที่ ๑๓ นิเทศนักศึกษาฝกงาน นิเทศนักศึกษาฝกงาน นิเทศนักศึกษาฝกงาน ประชุมแขงขันทักษะวิชาชีพ ประชุมแขงขันทักษะวิชาชีพ ประชุมแขงขันทักษะวิชาชีพ ประเมิน อวท. ประเมิน อวท. ประเมิน อวท. ประชุมสิ่งประดิษฐคนรุนใหม ประชุมสิ่งประดิษฐคนรุนใหม ประชุมสิ่งประดิษฐคนรุนใหม


ภาพกิจกรรมการฝกงาน / การฝกประสบการณในสถานศึกษา การพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใหดํารงตําแหนงรองผูอํานวยการสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ชื่อ – สกุล นายชาตรี เริงชัยภูมิ กลุมที่ ๖ เลขที่ ๑๓ กฐินพระราชทาน กฐินพระราชทาน กฐินพระราชทาน กฐินพระราชทาน กฐินพระราชทาน กฐินพระราชทาน ประชุม อวท ประชุม อวท ประชุม อวท ประกวด อวท ภาค อบรมธรรทศึกษา แขงขันทักษะวิชาชีพ


Click to View FlipBook Version