The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงาน เตาพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Oven Cooker

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by PumPuy Romlamduan, 2022-07-10 13:00:36

โครงงาน เตาพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Oven Cooker

โครงงาน เตาพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Oven Cooker

รายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์

เรอ่ื ง เตาพลงั งานแสงอาทติ ย์ Solar Oven Cooker

จดั ทำโดย

1.นางสาวพนดิ า บญุ เปลย่ี น
2.นางสาวมนิ ตรา จนั ทรสขุ
3.นายศวิ กร เดชบญุ

ครทู ป่ี รกึ ษา
นางสาวดารตั น์ รม่ ลำดวน

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอโคกสำโรง
สำนกั งาน กศน.จงั หวดั ลพบรุ ี

รายงานฉบบั นี้ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์
สำหรบั นกั ศกึ ษา กศน.ระดบั พน้ื ที่

“ดา้ นการใชแ้ ละการอนรุ กั ษพ์ ลงั งานไฟฟา้ เพอ่ื ชวี ติ และสงั คม”
ประจำปี พ.ศ. 2565

ณ ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษาพระนครศรอี ยธุ ยา



หัวขอ้ โครงงาน เตาพลังงานแสงอาทติ ย์ Solar Oven Cooker
ผูจ้ ดั ทำ นางสาวพนิดา บุญเปลย่ี น

นางสาวมินตรา จันทรสขุ
นายศิวกร เดชบุญ
ครทู ป่ี รึกษา นางสาวดารตั น์ รม่ ลำดวน นายวนั ชยั พฤกษาชพี
สถานศึกษา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอโคกสำโรง

บทคดั ยอ่

โครงงานนี้เป็นการใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์มาใช้ในการทำอาหาร มีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย
จากการใชแ้ ก๊สหงุ ต้มทมี่ ีราคาแพง และหันมาใช้พลงั งานทดแทนอย่างพลงั งานแสงอาทติ ย์ แทนการใช้พลังงาน
ส้นิ เปลืองท่ีมปี ริมาณลดลงและอาจจะหมดไปในอีกไม่นาน

จากผลการดำเนนิ งานโครงงานประเภทสิ่งประดษิ ฐ์เตาพลังงานแสงอาทติ ย์ solar over cooker
เราสามารถใช้งานสงิ่ ประดษิ ฐ์ไดจ้ ริง โดยแสงอาทิตย์สอ่ งผ่านกระจก และกระทบผ่านกระจกใสส่ตู ู้อบ ซึ่งทำ
หนา้ ที่ดดู กลนื ความร้อน สะสมไว้ ทำใหอ้ ุณหภมู ภิ ายในตู้อบแห้งสูงข้นึ สามารถตากอาหาร ใหแ้ ห้ง หรอื อบ
อาหารให้สกุ ได้ตามต้องการ และมคี วามปลอดภัย ความสะดวกสบายในการใชง้ าน เครือ่ งเลก็ กะทัดรดั พกพา
ไดส้ ะดวก และประหยดั พลังงานสิน้ เปลอื งในการทำอาหาร และมีประสิทธิภาพในการใช้งาน



กติ ตกิ รรมประกาศ

โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เตาพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Oven Cooker ได้เริ่มดำเนินการศึกษา
และทดลองประดิษฐ์ และปรับปรุง จนเป็นที่สำเร็จและสามารถเผยแพร่ผลงานได้ ตลอดระยะเวลาที่ได้ฝึก
ปฏิบัติ คณะผู้จัดทำโครงงานได้รับความช่วยเหลือและคำแนะนำในด้านต่าง ๆ ตลอดจนได้รับกำลังใจจาก
บุคคลหลายท่าน คณะผู้จัดทำซาบซึ้งในความกรุณาจากทุกท่านเป็นอย่างยิ่ง ณ โอกาสนี้ขอบขอบคุณทุกท่าน
ดังนี้

ขอบพระคุณท่านผู้อำนวยการประชัน ยิ้มละไม้ ผู้อำนวยการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอโคกสำโรง ผู้ให้การสนับสนุนการดำเนินงานตลอดจนเอื้อเฟื้อสื่อ วัสดุ ในการ
จดั ทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ในครง้ั น้ีจนประสบความสำเร็จ

ขอบคุณ นางสาวดารัตน์ ร่มลำดวน ครูที่ปรึกษาโครงงาน และ นายวันชัย พฤกษาชีพ ครูผู้ให้
คำแนะนำในการศึกษาค้นคว้า ตลอดจนให้กำลังใจ และจัดหาสื่อวัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินงาน อีกทั้งยังให้
คำแนะนำในการปรบั ปรุงพฒั นาโครงงาน สง่ ผลให้การทำโครงงานนีป้ ระสบความสำเร็จได้

ขอขอบคุณ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอโคกสำโรง และ ศูนย์
วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ได้ดำเนินการพัฒนาและส่งเสริมการศึกษาด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้การจัดทำโครงงานครั้งนี้ประสบความสำเร็จและได้เผยแพร่ผลงานให้เป็น
ประโยชนต์ ่อการศึกษาตอ่

คณะผู้จดั ทำ

สารบญั ค

เรอ่ื ง หนา้

บทคัดย่อ ก
กติ ตกิ รรมประกาศ ข
บทที่ 1 บทนำ 1
บทที่ 2 ทฤษฎที ี่เก่ียวข้อง 2
บทที่ 3 ข้นั ตอนการดำเนนิ การ 5
บทที่ 4 ผลการทดลอง 8
บทท่ี 5 สรปุ ปญั หาและข้อเสนอแนะ 9
ภาคผนวก 10
บรรณานกุ รม

1

บทที่ 1
บทนำ

ท่ีมาและความสำคัญ
เนื่องจากในปัจจุบันราคาแก๊สหุงต้มมีราคาที่สูงขึ้น ทำให้ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันต้องเพิ่มมากข้ึน

จึงมีความต้องการที่จะลดรายจ่ายลง จึงเกิดแนวคิดที่จะหาพลังงานอื่นมาใช้ทดแทนพลังงานจากแก๊สหุง
ต้ม ซึง่ พลังงานทดแทนที่มีหาได้ง่าย และไม่มวี ันหมด ก็คอื พลงั งานจากแสงอาทิตย์ ทส่ี ามารถทำให้อาหารแห้ง
และสุกได้

ทางคณะผูจ้ ดั ทำจงึ มองเหน็ ความสำคัญที่จะนำพลังงานแสงอาทติ ย์ มาผลติ เตาพลงั งานแสงอาทติ ย์ Solar
Oven Cooker เพื่อลดมลภาวะทเ่ี กิดขน้ึ ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม สามารถตากอาหาร ให้แหง้ และปรงุ อาหารให้สุก
ได้ตามต้องการ โดยทางคณะผู้จัดทำได้ผลิตเตาพลังงานแสงอาทิตย์จากวัสดุเหลือใช้ เพื่อลดปัญหาขยะ
จำพวกกระดาษกล่องลัง กล่องโฟม ที่เป็นวัสดุหาได้โดยทั่วไป มาประดิษฐ์เป็นเตาพลังงานแสงอาทิตย์ท่ี
สามารถประหยดั การใชพ้ ลงั งานไฟฟ้า และพลงั งานงานจากแก๊สหุงต้ม
วตั ถุประสงค์

1.เพ่ือศึกษาหลกั และวธิ ีการประดิษฐ์เตาพลังงานแสงอาทติ ย์ Solar Oven Cooker
2.เพ่อื สง่ เสริมการใช้พลังงานทดแทนจากธรรมชาติ แทนพลงั งานสิ้นเปลือง
3.เพ่ือศึกษาอุณหภมู แิ ละระยะเวลาของแสงอาทิตย์ทท่ี ำให้อาหารสุก
4.เพอ่ื นำวสั ดุท่เี หลอื ใชม้ าสร้างประโยชน์
สมมตุ ฐิ านของการศกึ ษา
อุณหภูมิและระยะเวลาของแสงแดดที่ทำให้เกิดความร้อนในเตาพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Oven
Cooker สง่ ผลทำให้อาหารปรุงสกุ ได้
ตวั แปรตน้ อุณหภูมแิ ละระยะเวลาของแสงอาทติ ย์
ตัวแปรตาม การทำให้อาหารปรงุ สกุ
ตวั แปรควบคุม แผ่นสะท้อนของแสงแดด ภาชนะทนี่ ำมาใส่อาหาร ฝาครอบตู้อบพลงั งานแสงอาทติ ย์

ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ บั
1. อาหารไมเ่ สียหรอื ไหมจ้ ากเตาพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Oven Cooker
2. เคร่อื งมีความแข็งแรงสามารถพกพาไดส้ ะดวก
3. เตาพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Oven Cooker สามารถใชป้ รงุ อาหารแทนการใช้แกส๊ หงุ ตม้ ได้
4. สามารถต่อยอดสงิ่ ประดษิ ฐ์เพื่อสรา้ งรายได้

2

บทที่ 2
เอกสารทฤษฎที เ่ี กย่ี วขอ้ ง

ปรากฎการณ์เรือนกระจก (Greenhouse effect) หมายถึง การที่บรรยากาศมีก๊าซคาร์บอนได-
ออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ ก๊าซมีเทน และก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน อยู่ในปริมาณมาก ก๊าซเหล่าน้ี
ยอมให้ความร้อนจากดวงอาทิตย์ผา่ นเขา้ สโู่ ลกได้ แต่จะดดู ซับความรอ้ นเอาไว้ในโลกไม่ใหส้ ะท้อนออกไป ทำให้
ความร้อนแผ่ปกคลุมบริเวณผวิ โลก อุณหภูมทิ ่ีผวิ โลกจงึ สูงกวา่ ปกติ
ปจั จัยท่มี ีผลต่อการทำแหง้

พลงั งานสน้ิ เปลือง
พลังงานสิ้นเปลือง (Conventional Energy) คือ พลังงานที่ได้จากทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ใน
ปริมาณจำกัด ซึ่งวันหนึ่งสามารถหมดไปได้ แต่ไม่สามารถเกิดขึ้นใหม่หรือสังเคราะห์ทดแทนกันได้ เนื่องจาก
เกิดขึ้นไม่ทันความต้องการ เพราะต้องใช้เวลานานนับร้อยล้านปีเพื่อสร้างขึ้นใหม่ สามารถแบ่งออกเป็น 2
ประเภทตามลกั ษณะการเกิดของพลงั งาน ได้แก่
พลงั งานสน้ิ เปลืองทเ่ี ป็นฟอสซลิ (Fossil Energy) เปน็ พลงั งานท่เี กดิ จากการทบั ถมกนั ของซากพืชซาก
สัตว์ภายใต้เปลือกโลกหรือท้องทะเลเป็นเวลานานหลายร้อยล้านปีจนทำให้ซากพืชซากสัตว์เหล่านั้นเปลี่ยน
สภาพไปเป็นเชื้อเพลิงที่อาจอยู่ในรูปของแขง็ ของเหลว หรือก๊าซ อาทิ ปโิ ตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน เป็น
ตน้
พลังงานสิ้นเปลืองที่ไม่ใช่ฟอสซิลหรือพลังงานนิวเคลียร์ (Nuclear Energy) เป็นพลังงานที่เกิดจาก
การแตกตัว รวมตัว และสลายตัวของสารกัมมันตภาพรังสีแล้วปล่อยพลังงานออกมาในรูปแบบของพลังงาน
ความร้อน สามารถนำมาประโยชนใ์ นการสรา้ งความรอ้ นและผลิตไฟฟา้
แหล่งพลังงานใชแ้ ล้วหมดไป
ปิโตรเลียม (Petroleum) น้ำมันปิโตรเลียม หรือ น้ำมันดิบ เป็นน้ำมันดิบที่ได้จากหิน เกิดจากการ
สลายตัวของสารประกอบอินทรีย์ เช่น ซากพืช ซากสัตว์ และแร่ธาตุบางชนิดที่สะสมทับถมกันมายาวนานจน
กลายเป็นของเหลวที่อยู่ใต้ผิวโลกทั้งบนบกและในทะเล น้ำมันดิบประกอบด้วยธาตุหลัก 2 ชนิด ได้แก่
คาร์บอนและไฮโดรเจน และในบางครั้งอาจมีธาตุอโลหะ (เช่น กำมะถัน) ออกซิเจน และไนโตรเจนปะปนอยู่
ด้วย ในการนำน้ำมันดบิ มาใช้จะต้องสูบขึน้ มาจากใต้ดินเพือ่ นำมาผ่านกระบวนการกลั่นจนได้ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ
เช่น น้ำมนั เบนซิน น้ำมนั ดเี ซล นำ้ มันเตา เปน็ ต้น
ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas) ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงที่อยู่ในรูปของก๊าซ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น มี
ส่วนประกอบ คือ มีเทน อีเทน โพรเพน บิวเทน เพนเทน และกำมะถันในปริมาณที่ต่ำมาก มักพบในเหมือง
ถ่านหิน บริเวณบ่อก๊าซ และใต้ดินในบริเวณเดียวกับที่พบน้ำมันปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงที่
สามารถเผาไหม้ได้อย่างสมบรู ณ์และสะอาดกวา่ พลงั งานอื่น ๆ จงึ ไมค่ ่อยสง่ ผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อมหรือส่งผล
กระทบต่อสิ่งแวดล้อมในอัตราที่ต่ำมาก ปัจจุบันได้มีการนำก๊าซธรรมชาติมาใช้ประโยชน์กันอย่างกว้างขวาง
ตั้งแต่ระดับครัวเรือนไปจนถึงระดับอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็นเชื้อเพลิงเพื่อการประกอบอาหารไปจนถึง
เช้ือเพลิงสำหรบั ยานพาหนะ

3

ถ่านหิน (Coal) คือ หินชนิดหน่งึ ท่ีสามารถติดไฟได้ โดยเปน็ ตะกอนที่เกิดจากการสะสมทับถมกันของ
ซากพืชในลุม่ น้ำหรือแอ่งตะกอนน้ำตืน้ ตามธรรมชาตเิ ป็นเวลาหลายร้อยล้านปี จนเมื่อมีการทบั ถมของตะกอน
มากขนึ้ หรอื ผวิ โลกเกดิ การเปลี่ยนแปลง เช่น เกดิ แผ่นดินไหว ภเู ขาไฟระเบดิ กจ็ ะทำให้ความกดดันและความ
ร้อนจนทำให้ซากพืชเหล่านั้นเปลี่ยนแปลงกลายเป็นถ่านหินชนิดต่าง ๆ เช่น พีต ลิกไนต์ ซับบิทูมินัส บิทูมินัส
แอนทราไซต์ เป็นต้น ในถ่านหินประกอบด้วยธาตุหลัก ๆ คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และออกซิเจน
ถือเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตไฟฟ้าของโลก และเป็นแหล่งพลังงานความร้อนที่มีบทบาทสำคัญใน
ภาคอตุ สาหกรรมต่าง ๆ
นิวเคลียร์ (Nuclear Energy) เป็นพลังงานท่ีประกอบด้วยอนุภาคโปรตรอนและนิวตรอน เกิดขึ้นจากการแตก
ตัว (Fission) หรือการรวมตัว (Fusion) ของนิวเคลียสภายในอะตอมและถูกปลดปล่อยออกมาในรูปของ
พลังงานความร้อนและพลงั งานรังสี ซึ่งสามารถนำมาแปรรูปเป็นพลังงานความร้อนและพลังงานไฟฟ้าได้ ส่วน
ประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์นั้นสามารถนำไปใช้งานได้อย่างหลากหลาย ทง้ั เปน็ พลังงานที่ใช้ขับเคลื่อนเรือ
เดินสมุทร ยานอวกาศ ด้านการแพทย์ที่ใช้ในการตรวจ รักษา และวินิจฉัยโรค ด้านอุตสาหกรรมที่ใช้ใน
เหนี่ยวนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ทางเคมี และทางชีวภาพ และการเกษตรที่สามารถใช้ในการ
ปรับปรงุ และขยายพันธพ์ุ ชื กำจัดแมลง เป็นตน้

ผลกระทบของพลงั งานใชแ้ ล้วหมดไป
ในกระบวนการผลิต แปรรูป และใช้ประโยชน์พลังงานสิ้นเปลืองหรือพลังงานใช้แล้วหมดไปล้วนส่งผลกระทบ
ต่อสภาพแวดลอ้ มทั้งทางตรงและทางอ้อม ไม่ว่าจะเปน็ การลดลงของแหลง่ พลังงานท่ีเหลืออยู่บนโลก การเกิด
ภาวะมลพิษจากการเผาไหม้หรือปล่อยของเสยี สูส่ ภาพแวดล้อมและช้ันบรรยากาศ ตลอดจนผลกระทบที่ทำให้
เกิดปรากฏการณ์ต่าง ๆ เนื่องจากการใช้พลังงาน อาทิ การเกิดก๊าซเรือนกระจก การเปลี่ยนแปลงของสภาพ
ภมู ิอากาศ ภาวะโลกร้อน มลพษิ ทางอากาศ ฝนกรดและมลพษิ ทางน้ำ มลพษิ ทางดนิ การเพ่ิมขึน้ ของอัตราการ
เกิดของเสยี การรั่วไหลของนำ้ มันและอบุ ัติเหตุอน่ื ๆ ซึ่งล้วนแลว้ แต่สง่ ผลตอ่ สภาพแวดล้อมท้งั สน้ิ

พลังงานแสงอาทิตย์ หมายถึง แสงสว่าง และความร้อน ที่ถูกสร้างขึ้นโดยดวงอาทิตย์ ทุกๆวันดวง
อาทิตย์จะผลิตพลังงานได้เป็นจำนวนมหาศาล รวมทั้งแหล่งผลิตพลังงานแสงอาทิตย์นั้น ไม่มีวันหมดอีกด้วย
นอกจากนี้ พลังงานแสงอาทิตย์ยังถือเป็นพลังงานสะอาด และเป็นพลังงานทางเลือกสำหรับมนุษย์ใช้แทนท่ี
พลังงานจากฟอสซลิ อีกด้วย

กระจกใส หมายถึงวัสดุที่ทำมาจากแก้ว ซึ่งมีองค์ประกอบหลักทางเคมีคือซิลิคอน ซึ่งสามารถหลอม
และนำไปขึ้นรูปได้ เมื่อเย็นตัวแล้วมีลักษณะ โปร่งใส และเป็นของแข็งโดยไม่จับผลึก (มีค่าความหยัดตัวสูง)
กระจกจึงสามารถแตกได้เหมือนแก้ว และมีความคมมากกว่าแก้วเมื่อแตกเพราะมีความบางในการผลิตความ
แตกต่างในการใช้คำเม่ือเทียบกับคำว่าแก้วคือ กระจกจะใชเ้ รยี กแกว้ ทีน่ ำมาทำให้เป็นแผ่น โดยมีลักษณะแบน
ราบและมีความหนาประมาณหน่งึ เป็นส่วนใหญ่

4

กระจกเป็นลักษณะการผลิตวสั ดุประเภทแกว้ ท่ีทำข้ึนเพื่อวัตถุประสงค์ในการใช้งานต่างๆ เช่น เพื่อเป็น
วัสดุกั้นขวางที่ไม่ทึบแสง ใช้เพื่อเป็นฉนวนกั้น ใช้เพื่อประดับตบแต่งอาคาร ฯลฯ ในบางความต้องการใช้
กระจกถกู นำไปปรับคุณสมบัตติ ่อเพื่อใหม้ ีคุณลักษณะบางอย่าง เชน่ ฉาบปรอทที่ด้านๆหน่ึงเพื่อให้มีคุณสมบัติ
สะท้อนแสงเรียกว่า กระจกเงา หรือผสมสารชนิดอื่นลงไปในเนื้อสารให้มีสีสันหรือความทึบแสงบางส่วนหรือ
ทั้งหมดเรียกว่า กระจกสี กระจกทึบ หรือกระจกควัน หรือนำไปพ่นทรายลงบนพื้นผิวเพื่อให้เกิดความไม่
สมำ่ เสมอของความเรียบบนผิวทำให้แสงผ่านไดแ้ ตม่ ลี กั ษณะมัวๆเรียกวา่ กระจกฝา้

เนื่องจากกระจกคือวัสดุประเภทแก้วซ่งึ มคี วามโปรง่ ใสมากและยังมีคา่ ดรรชนหี ักเหของแสงทสี่ ามารถใช้
ประโยชน์ได้ จึงมีการนำไปสร้างเป็นวัสดุที่มีความหนาไม่สม่ำเสมอแต่มีลักษณะเฉพาะ เรียกทับศัพท์
ภาษาอังกฤษว่า เลนส์ (lens) เช่น มีสัณฐานกลมเหมือนเหรียญที่เว้าเข้าตรงกลางทั้งสองด้านเรียกว่า เลนส์
เว้า หรือเว้าเข้าด้านเดียวอีกด้านหนึ่งแบนราบและฉาบปรอทมักเรียกว่า กระจกเว้า มีสัณฐานกลมเหมือน
เหรียญที่ป่องออกตรงกลางทั้งสองด้านเรียกว่า เลนส์นูน หรือนูนออกด้านเดียวอีกด้านหนึ่งแบนราบและฉาบ
ปรอทมักเรยี กว่า กระจกนูน ซึง่ เลนส์คือประเภทการผลติ วสั ดุประเภทแก้วในรปู แบบของกระจกเพื่อการใช้งาน
ในลกั ษณะของการหักเหแสงนั่นเอง

กระจกบางประเภทถูกนำไปประกอบสร้างแบบพิเศษ เช่น เคลือบเนื้อสารบางประเภทเช่นพลาสติก
ด้านเดียวหรือทั้งสองด้าน (เนื้อสารที่นำมาเคลือบเรียกว่าฟิล์ม) เพื่อให้ทึบแสงหรือเพื่อให้ไม่แตกร่วนหรือ
เพื่อให้เมื่อแตกแล้วไม่มีความคมคล้ายเมล็ดข้าวโพด เช่น กระจกรถยนต์ ฟิล์มบางประเภทที่นำมาเคลือบ
เชน่ เคฟลาร์ มลี ักษณะทางโครงสร้างเคมีทสี่ ามารถกระจายแรงทีม่ ากระทบด้านหน้าออกไปทางด้านขา้ งได้ จึง
ทำใหส้ ามารถผลิตเปน็ กระจกนริ ภัย ท่ีสามารถทนทานต่อแรงกระแทกได้ และในบางกรณีการผลิตแบบเคลือบ
ดา้ นนอก อาจปรับเป็นการผลติ แบบสอดไส้ขา้ งใน หรอื ผสมลงไปเป็นเนอ้ื เดียวกนั

ในบางกรณีกระจกอาจสร้างจากวัสดุที่มีความใสไมย่ ง่ิ หย่อนไปกวา่ กนั กับแกว้ แต่เป็นวสั ดุประเภทอื่นไป
เลย แต่ไม่ว่าอย่างไรก็ตามกระจกจะมีความหมายในลักษณะ ใส บาง เป็นแผ่น มีผิวราบเรียบอย่างมาก อาจ
หมายรวมไปถึง สะท้อนแสงได้ รวมหรือเบี่ยงเบนแสงได้ หรือ เป็นเงา เสมอๆ วัสดุประเภทกระจกนั้น หากมี
ค่าความยอมให้ผ่านของแสงมากจะเรยี กว่า โปร่งใส หากมีค่าน้อยจะเรียกว่า โปร่งแสง และหากไม่มีค่าเลยจะ
เรยี กวา่ ทึบแสง

หลกั การทำงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง
เมอื่ แดดสอ่ งมายังแผงรับแสงจะเกิดการสะท้อนแสงไปยังภาชนะอลูมิเนยี มท่ีบรรจอุ าหารอย่ภู ายในทำ
ใหเ้ กิดความร้อนขึน้ ภาชนะอลมู ิเนียมซ่ึงเปน็ โลหะท่ีนำความรอ้ นไดด้ ีและถูกพ่นสดี ำก็จะดดู ความรอ้ น
แพรก่ ระจายไปทว่ั ภาชนะและส่งผ่านไปท่ีอาหารที่อยภู่ ายใน ความรอ้ นส่วนหนึง่ ถูกระบายออกจากผิวของ
ภาชนะแต่ไมส่ ามารถระบายออกดา้ นนอกได้เน่ืองจากมีฉนวนก้ันความร้อนปิดกั้นไวท้ ำใหเ้ กดิ ความร้อนสะสม
จนทำใหอ้ าหารทอ่ี ยู่ภายสุกได้ หลกั การนีเ้ ป็นหลกั การเดยี วกนั กับปฎกิ ิริยา กรีนเฮา้ เอฟเฟค (Green House
Effect) ท่ที ำใหโ้ ลกรอ้ นข้นึ นั้นเอง

5

บทที่ 3
ขนั้ ตอนการดำเนนิ การทดลอง

วสั ด/ุ อปุ กรณ์
1.กลอ่ งสีเ่ หลี่ยม
2.แผน่ อลูมเิ นียม
3.วสั ดุสำหรบั ทำเปน็ ฉนวน เชน่ เศษกระดาษฉกี เศษฟาง เศษหญ้าแหง้ หรือโฟม
4.กระจก

ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน

1 ศกึ ษาเอกสารและออกแบบเตาพลงั งานแสงอาทิตย์ Solar Oven Cooker
2 ขอคำปรกึ ษาจากครทู ่ีปรกึ ษาและผ้มู ีความรู้ ภมู ิปญั ญา
3 ดำเนินการจัดทำเตาพลงั งานแสงอาทิตย์ Solar Oven Cooker

6

การดำเนนิ งาน

นำกล่องใบเล็ก วางลงในกล่องใบใหญ่ ด้านลา่ งรองกน้ ใหพ้ ้ืนกลอ่ งใบเล็กสงู ขน้ึ
ทุกดา้ นอย่หู ่างจากกลอ่ งใบใหญ่ 5 ซม.

นำโฟม ใสล่ งในชอ่ งวา่ งระหว่างกลอ่ งทุกดา้ น เพ่อื ทำเป็นฉนวนกนั ความรอ้ น

ใชก้ ระดาษแขง็ ปิดชอ่ งวา่ งดา้ นบนระหว่างกลอ่ ง ใชก้ ระดาษเทป ปิดทบั ใหแ้ น่น ใชแ้ ผน่
อลมู เี นยี ม หรือ อลมู เี นียมฟอยด์ ปิดดา้ นในกล่อง โดยกาทากาวตดิ กบั กระดาษดา้ นในกลอ่ ง

7

ทาฝากลอ่ งใหม้ ขี นาดฟิตพอดกี บั กล่อง อย่าใหห้ ลวม ความรอ้ นจะร่วั ออก ดา้ นบนของฝา
ปิดดว้ ยแผน่ กระจกหนา 3-4 มม. ทาแผ่นสะทอ้ นแสงดว้ ยกระดาษแขง็ รูปทรงกรวย
สเ่ี หลี่ยมปิดทบั ดว้ ยแผน่ อลมู เี นยี ม ใหด้ า้ นลา่ งของกรวยมีขนาดเทา่ กบั ชอ่ งกระจกพอดี

ทดลองประสทิ ธภิ าพการใช้งานเตาพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Oven Cooker นาอาหารใส่

ภาชนะอลมู ิเนยี ม ใสใ่ นกลอ่ ง ปิดฝากลอ่ ง วางแผ่นสะทอ้ นแสง นากล่องไปวางไวก้ ลางแดดจดั ๆ

4 วิเคราะหผ์ ลการทดสอบการทำงานของกระถางปลูกจากธรรมชาติ
5 ทดลองใชจ้ ริง
.6 สรุปผล เผยแพรผ่ ลงาน

8

บทที่ 4
ผลการดำเนนิ งาน

จากการทดลองใช้งานเตาพลงั งานแสงอาทิตย์ Solar Oven Cooker โดยการนำอาหารชนดิ ตา่ งๆมา
ทดลอง คือ แฮม เนือ้ หมู และไข่ไก่ ได้ผลดังตาราง

ประเภท อณุ หภูมแิ ละระยะเวลาทม่ี ผี ลตอ่ การปรงุ สกุ ของอาหาร
อาหาร
วนั ที่ 1 วนั ที่ 2 วนั ที่ 3 เฉลย่ี
แฮม
เนอื้ หมู อณุ หภมุ ิ ระยะเวลา อุณหภมุ ิ ระยะเวลา อุณหภมุ ิ ระยะเวลา อุณหภมุ ิ ระยะเวลา(ชม.)
ไขไ่ ก่ (องศาเซลเซยี ส) (ชม.) (องศาเซลเซยี ส) (ชม.) (องศาเซลเซยี ส) (ชม.) (องศาเซลเซียส)
1ชม. 40 นาที
40 2 35 2 40 1 38.33

70 3 65 4 60 4 65 3 ชม. 40 นาที

35 2 40 1 45 1 40 1 ชม. 20 นาที

จากการทดลองการหาประสิทธิภาพของเตาพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Oven Cooker ในการ
นำไปใช้งานจริง ได้ผลการทดลองดังน้ี แฮม สามารถปรุงสุกโดยเฉลี่ย ด้วยอุณหภูมิ 38.33 องศาเซลเซียส
ในเวลา 1ช่ัวโมง 40 นาที เน้อื หมู สามารถปรุงสุกโดยเฉลีย่ ดว้ ยอณุ หภูมิ 65 องศาเซลเซยี ส ในเวลา 3 ชั่วโมง
40 นาที และไข่ไก่ สามารถปรุงสกุ โดยเฉลย่ี ด้วยอณุ หภูมิ 40 องศาเซลเซียส ในเวลา 1 ชวั่ โมง 20 นาที
หมายเหตุ : ในการทดลองแต่ละครงั้ ระยะเวลาไม่เท่ากันเพราะพลังงานแสงอาทติ ยไ์ ม่สมำ่ เสมอ

9

บทท่ี 5
สรปุ ปญั หาและขอ้ เสนอแนะ

สรปุ ผลการดำเนนิ งาน
จากการดำเนินการในการทำโครงงานสงิ่ ประดษิ ฐ์ เร่อื งเตาพลงั งานแสงอาทิตย์ Solar Oven

Cooker สรปุ ผลทดลองตามจุดมงุ่ หมายของโครงงาน ดังน้ี
1. ได้ส่ิงประดิษฐ์ เตาพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Oven Cooker ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ
2. เปน็ แนวทางให้ผู้อ่นื สามารถศึกษา และนำไปพัฒนาให้ดยี ิง่ ข้นึ ตอ่ ไป
3. ไดเ้ ตาพลงั งานแสงอาทิตย์ที่สามารถใช้อบอาหาร ตากแหง้ อาหาร และปรุงอาหารให้สกุ ได้
4. สามารถรีไซเคิลส่งิ ของเหลือใช้ และลดปรมิ าณขยะ

อภปิ รายผลการดำเนนิ งาน
จากผลการประดิษฐ์ เตาอบพลังงานแสงอาทิตย์ เราสามารถใช้งานสิง่ ประดิษฐ์ไดจ้ ริง และมคี วาม

ปลอดภัย สะดวกในการใชง้ าน รปู ทรงกะทดั รดั ลดพลังงานการใชแ้ ก๊ส และในการทดลองประสบปัญหา คอื
พลงั งานสงอาทติ ย์ ท่ีมปี ริมารนอ้ ย จงึ ทำให้เวลานานในการทำให้อาหารสุก
ขอ้ เสนอแนะ

-ในวันทม่ี ีแสงแดดชว่ งเวลาที่เหมาะสมในการใชง้ านเตาแสงอาทิตย์คอื 9.00-17.00 น.และช่วงเวลาท่ี
อณุ หภมู สิ งู เหมาะกับการประกอบอาหาร คือ 11.00น. –15.00 น. เวลาท่ีแสงอาทติ ย์ร้อนจัด
-ถา้ เป็นธัญพชื หรอื ผกั ตอ้ งใสน่ ้ำจะทำใหส้ ุกเรว็
-อาหารทีท่ ำจากเนื้อสัตวไ์ มต่ ้องใสน่ ้ำและควรจะทำใหม้ ีช้ินบางๆเพ่ือให้สกุ งา่ ย
-ภาชนะทีใ่ ช้ใส่อาหารควรทำจากโลหะทน่ี ำความร้อนไดด้ ี เช่น เงนิ ,ทองแดงหรืออลูมเิ นยี มและผิวด้าน
นอกต้องพน่ หรอื ทาดว้ ยสดี ำ แนะนำใหใ้ ช้สีดำด้านเพราะจะดดู ความร้อนไดด้ ี

10

ภาคผนวก

11

การดำเนนิ การ

12

ผลการทดลอง

13

บรรณานกุ รม
http://dspace.spu.ac.th/bitstream.
+http://www.solartec.or.th/view.php?grp=13|18|00&id=100
https://www.princess-it.org/ikkq3/?p=368
http://jutavuth.blogspot.com/p/2.html
http://www.rakbankerd.com/view.php?id=2371&s=2
https://www.kunnapab.com
https://web.facebook.com/hutapaed.komson

(สบื คน้ วนั ที่ ๒๕ มถิ นุ ายน ๒๕๖๕)

14


Click to View FlipBook Version