The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปลูกผักง่าย ๆ สไตล์คนเมือง
ผู้จัดทำ: ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ
ผู้สนับสนุน: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ลักษณะ: 16 หน้า, มีภาพประกอบ.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ปลูกผักง่าย ๆ สไตล์คนเมือง

ปลูกผักง่าย ๆ สไตล์คนเมือง
ผู้จัดทำ: ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ
ผู้สนับสนุน: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ลักษณะ: 16 หน้า, มีภาพประกอบ.

ปี 2553-2558

สนบั สนุนการสรา้ งพ้นื ท่ีตน้ แบบ
153การปลกู ผกั ในเมอื งจำ�นวน
แห่ง

6มีศนู ยฝ์ กึ อบรม ศูนย์
1หนว่ ยอบรมเคล่ือนท่ี หน่วย

มีผู้เข้ารับการอบรมจำ�นวน

7,689 คน

70%

ของผู้อบรม

สามารถนำ�ความรู้
ไปปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเอง

ที่มาทไี่ ป

ตง้ั แตป่ ี 2553 แผนสรา้ งสรรคโ์ อกาสและนวตั กรรมสขุ ภาวะ (ส�ำ นกั 6)
ส�ำ นกั งานกองทุนสนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) ได้รว่ มมือ
กบั มลู นธิ เิ กษตรกรรมยง่ั ยนื (ประเทศไทย) เพอ่ื ผลกั ดนั โครงการ ‘สวน
ผกั คนเมือง’ โดยสนับสนนุ การปลกู ผักสวน ครัวปลอดภัยจากสารเคมไี ว้
บรโิ ภคเอง สรา้ งพน้ื ทต่ี น้ แบบการท�ำ เกษตรในเมอื งทเ่ี ชอ่ื มโยงกับมิติอื่นๆ
ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง พฒั นาองคค์ วามรกู้ ารท�ำ เกษตรในเมอื ง และสง่ เสรมิ การเชอ่ื มโยง
เครอื ขา่ ย เพอ่ื สรา้ งพน้ื ทเี่ กษตรในเมอื งใหเ้ พม่ิ มากขน้ึ และรว่ มรกั ษาพนื้ ท่ี
เกษตรให้คงเหลืออยู่ รวมท้ังการสร้างจิตสำ�นึกท่ีดีให้เกิดในสังคมไทยท่ี
สง่ ผลต่อการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และการมีสุขภาวะทดี่ ี

ในปี 2553-2558 เกิดการสนับสนุนการสร้างพ้นื ท่ตี ้นแบบการปลูกผัก
ในเมอื งจ�ำ นวน 153 แหง่ ในเขตกรงุ เทพมหานคร ปรมิ ณฑล และหวั เมอื ง
ต่างๆ และมีศูนย์ฝึกอบรม 6 ศูนย์และหน่วยอบรมเคล่ือนที่ 1 หน่วย
ทชี่ ว่ ยขยายกลมุ่ คนปลกู ผกั ในเมอื งใหเ้ พม่ิ มากขน้ึ โดยมผี เู้ ขา้ รบั การอบรม
แลว้ จำ�นวน 7,689 คน และร้อยละ 70 ของผู้ผ่านการอบรมสามารถนำ�
ความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการอบรมไปปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง ภายใตแ้ นวทางการปลกู ผกั
เพือ่ บริโภคในครัวเรือนและแบง่ ปนั ในชุมชนเปน็ หลกั

3

บทบาทของสสส. กับ
การขบั เคลื่อน “สวนผักคนเมอื ง”

สสส. ท�ำหน้าท่ี จุดประกาย กระตุ้น สาน และเสริมพลังให้คนในชุมชนและ
องค์กรต่างๆ ได้ร่วมขยายผลการท�ำเกษตรในเมืองผ่านการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ
การสร้างเครือข่ายคนปลูกผัก และการส่ือสารสาธารณะเพ่ือสร้างการรับรู้และ
การขยายผลรปู ธรรมความส�ำเร็จตา่ งๆ ทเี่ กิดข้นึ โดยด�ำเนินการ ดงั น้ี
• สนบั สนนุ การพฒั นาความรู้ : พฒั นาหลกั สตู รและรปู แบบเพอื่ เสรมิ สรา้ ง
กระบวนการเรียนรู้เร่ืองการท�ำเกษตรในเมือง โดยมีหลักสูตรการอบรมหลากหลาย
ท้ังเทคนิคด้านการปลูกผักและการพึ่งพาตนเองด้านอ่ืนๆ เช่น การจัดการน้�ำ
การจดั การขยะ เป็นตน้ รวมถึงหลกั สูตรเก่ียวกับการดูแลสุขภาพ สุขภาพทางเลอื ก
และการสรา้ งกระบวนการเรยี นรขู้ องเดก็ โดยหลกั สตู รตา่ งๆ ไดเ้ ผยแพรผ่ า่ นชอ่ งทาง
YouTube : thaicityfarm
• เชอื่ มเครอื ขา่ ยการท�ำงาน : พฒั นากจิ กรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ การรวมกลมุ่ ของ
เครอื ขา่ ยคนท�ำเกษตรในเมอื ง โดยเปดิ พน้ื ทใี่ หเ้ กดิ การแลกเปลย่ี นเรยี นรปู้ ระสบการณ์
หรอื ความเชย่ี วชาญในด้านต่างๆ รวมท้งั แลกเปล่ียนองค์ความรู้ เสนอแนะแนวทาง
ปฏิบตั ิ เพอื่ เปน็ แนวทางในการพฒั นาและวางแผนการขบั เคล่ือนเชิงนโยบายต่อไป

• ขยายผลแนวคดิ และรปู ธรรมการท�ำเกษตรในเมอื ง : ขยายผล
จากผลการด�ำเนนิ การท่เี กดิ นวตั กรรมใหมๆ่ ในการสร้างพน้ื ทก่ี ารท�ำเกษตรในเมือง
ผ่านการอบรมให้ความรู้ของศูนย์อบรมต่างๆ และการรณรงค์เผยแพร่ผ่านส่ือต่างๆ
เพื่อสร้างการรับรู้เก่ียวกับการท�ำเกษตรในเมือง การขยายองค์ความรู้และสามารถ
น�ำไปปฏบิ ตั ไิ ด้จรงิ

4

อยากปลกู ผักตอ้ งเร่มิ อย่างไร

1. ส�ำรวจความต้องการ ว่าตอ้ งการ “ปลกู ผักเพอ่ื อะไร”

เพื่อสรา้ งความสมั พนั ธ์ของคนในชุมชน
เพื่อเป็นพ้นื ทแี่ หลง่ เรียนรู้
เพื่อเป็นแหล่งอาหาร
เพอ่ื ลดรายจา่ ย
เพ่ือสร้างรายได้
เพื่อใหเ้ ป็นทพ่ี ักผ่อนหย่อนใจ

2. ส�ำรวจทุน วา่ ตวั เองมอี ะไรในมอื บา้ ง

มพี ื้นที่เท่าไหร่
ลกั ษณะพ้นื ที่เป็นอยา่ งไรบา้ ง (พืน้ ดินหรอื พนื้ ปูน สภาพดินเป็นอย่างไร
แสงแดด และน�้ำเปน็ อยา่ งไร)
ก�ำลงั ในการท�ำสวนมากนอ้ ยเพียงใด
มีเงินทุนเท่าไหร่
มที ักษะความร้เู ร่ืองการปลกู ผกั มากนอ้ ยแต่ไหน
วิถชี ีวิตของตนเองเปน็ อย่างไร มีเวลามากน้อยแค่ไหน

5

3. เลือกพื้นที่ท่จี ะปลกู โดย “แสงแดด” เปน็ หลักการเลือก
ทสี่ �ำคญั

แดดเตม็ วนั : ควรปลกู ผกั กนิ ผล เชน่ มะเขอื เปราะ มะเขอื ยาว มะเขอื เทศ
แตงกวา กระเจยี๊ บเขียว พริก
แดดอยา่ งนอ้ ยครง่ึ วนั : ควรปลกู ผกั ใบ เชน่ ผกั สลดั ผกั กาด คะนา้ ผกั บงุ้
กวางต้งุ ผกั โขม
แสงร�ำไร : ควรปลกู ผักพน้ื บ้าน ได้แก่ ใบเตย สะระแหน่ ชะพลู ขิง ข่า
ต�ำลงึ ออ่ มแซบ ใบบวั บก วอเตอร์เครส ผักชฝี ร่ัง ผักกูด ผักหวานป่า ใบย่านาง
ผักแพว้ ตะไคร้ กระเพรา โหระพา

4. ออกแบบแปลง เลอื กรปู แบบการปลกู และชนดิ ผกั ใหเ้ หมาะสม
กบั พ้ืนท่ี

5. อยา่ มวั แต่คดิ ลงมอื ท�ำ ลุย!!

เทคนคิ เล็กๆ หากคดิ จะเร่ิมปลกู ผกั

เร่มิ ปลกู จากสงิ่ ทค่ี ุณและครอบครัวกนิ
ใชส้ ิ่งทมี่ อี ยู่รอบตัวให้เกิดประโยชน์สงู สุด
เลอื กปลูกผกั ใหส้ อดคล้องกบั ฤดกู าลและส่งิ แวดล้อม
ควรเริ่มจากพืน้ ท่ีเลก็ ๆแลว้ คอ่ ยพฒั นาขยายพน้ื ที่
หม่ันเป็นนักเรียนรู้ นักสังเกต ท�ำความเข้าใจธรรมชาติพชื

6

รปู แบบสวนผักของคนเมอื ง
พ้นื ท่ตี า่ งๆ

สวนผักชมุ ชน

เกดิ จากความรว่ มมอื รว่ มใจของสมาชกิ ในชมุ ชน โดยใชพ้ นื้ ทกี่ ลาง พน้ื ทร่ี กรา้ ง หรอื
พน้ื ท่ีส่วนบคุ คล มาปลูกผัก ช่วยกันดแู ลรดน้�ำเมอื่ ไดผ้ ลผลิตก็แบ่งกนั หากเหลือ
จึงจ�ำหน่ายเพื่อน�ำมาสมทบค่าเมล็ดพันธุ์และปัจจัยอ่ืนๆ ต่อไป ซึ่งสวนผักชุมชน
นอกจากจะเป็นแหล่งอาหารท่ีปลอดภัยแล้ว ยังช่วยให้เกิดความสัมพันธ์อันดี
ในชมุ ชนและท�ำให้ชมุ ชนน่าอยู่มากขึน้

ส่วนส�ำคญั ของการท�ำสวนผกั ชมุ ชน คอื พนื้ ที่ด�ำเนินการต้องขออนญุ าตจาก
เจ้าของทด่ี นิ หรอื อาจมกี ารท�ำสัญญาขอใชท้ ีด่ นิ รว่ มกนั อย่างเปน็ ลายลักษณ์
อักษร

เรือ่ งราวดีๆ จากพนื้ ที่

โครงการเกษตรในชุมชนใต้สะพานโซน 2-3
ชาวบ้านชมุ ชนออ่ นนุช 14 ไร่ ช่วยกนั พลิกฟน้ื พ้ืนที่วา่ งเปล่าขนาด 72 ตารางวา
จากดินสีแดงท่ีใครๆ ก็บอกว่าปลูกอะไรไม่ได้ให้กลายเป็นสวนผักที่เติบโตและ
งอกงามอย่างเขยี วขจี โดยใชเ้ ศษวัสดุเหลือใช้ ทุกคนสามารถเดินมาเกบ็ ผักในสวน
ได้และหยอดเงินในกระปกุ ตัง้ ไว้
นอกจากปลกู ผกั แลว้ คนในชมุ ชนยงั รว่ มกนั ท�ำบอ่ เลย้ี งปลาดกุ เลยี้ งเปด็ เลยี้ งไก่
เลี้ยงไส้เดือน เพ่ือใหส้ ัตว์ไดช้ ว่ ยก�ำจัดเศษอาหารแถมยังได้มูลสัตว์เป็นปยุ๋ อยา่ งดี

7

สวนผักในโรงเรยี นและมหาวิทยาลยั

จากการส่งเสริมการปลูกผักในโรงเรียน พบว่า สามารถช่วยส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ให้กับ
เด็กในการแบ่งบทบาทในการดูแลแปลงผัก และยังช่วยให้เด็กๆ มีแนวโน้มกินผักท่ีตัวเอง
ปลกู กนั มากขึ้น แถมยังเป็นกิจกรรมท่เี ชือ่ มโยงระหว่างโรงเรยี นและครอบครัวได้เปน็ อย่างดี

เรือ่ งราวดๆี จากพื้นที่

โครงการสวนผักคนเมอื งโรงเรยี นสุเหรา่ ทางควาย
นักเรยี นที่โรงเรยี นสุเหรา่ ทางควายหันมากินผกั กันมากขึน้ หลงั จากที่โรงเรยี นไดร้ เิ รมิ่ ท�ำสวน
ผกั บริเวณพน้ื ท่ดี า้ นข้างและบนระเบยี ง โดยให้เดก็ นกั เรยี นชว่ ยกนั ท�ำแปลงปลูกผัก แบ่งงาน
กันดูแลรดน้�ำ เมื่อได้ผลผลิตจะถูกส่งเข้าโรงครัวเป็นอาหารกลางวัน นอกจากน้ีโรงเรียนยัง
สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ๆ ชวนผปู้ กครองปลกู ผกั ทบ่ี า้ น โดยสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ทง้ั เมลด็ พนั ธแ์ุ ละความรู้
ซึ่งเป็นกิจกรรมท่ีเช่อื มโยงโรงเรียนกับครอบครัวไดเ้ ปน็ อย่างดแี ละชว่ ยใหค้ รอบครัวมีอาหาร
ปลอดภยั กินมากขน้ึ ด้วย

8

สวนผักในทที่ �ำงาน

ทที่ �ำงานหลายแหง่ มกั นยิ มปลกู ผกั บนพน้ื ทดี่ าดฟา้ ซง่ึ นอกจากจะไดผ้ ลผลติ เพอ่ื กนิ รว่ มกนั แลว้
ยงั ชว่ ยเพมิ่ ความสามคั คแี ละความผอ่ นคลายทางจติ ใจใหก้ บั เจา้ หนา้ ทใี่ นทท่ี �ำงาน นอกจากนี้
ยังชว่ ยท�ำใหอ้ ุณหภูมขิ องอาคารลดนอ้ ยลงอีกด้วย

เร่อื งราวดๆี จากพื้นท่ี

สวนผักบนหลังคา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
ได้ท�ำวิจัยปลูกพืชบนหลังคาพบว่า การปลูกพืชบนหลังคามีส่วนช่วยลดอุณหภูมิในกล่อง
ทดลองได้ ท�ำให้เกิดความร่วมแรงร่วมใจของอาจารย์ เจ้าหน้าท่ี และนิสิต เพ่ือปลูกผัก
บนดาดฟา้ ของจรงิ โดยน�ำความรเู้ รอ่ื งแผน่ ปลกู พชื มาประยกุ ตใ์ ชก้ ลายเปน็ อาคารเขยี วกนิ ได้
ที่ผลติ อาหารและชว่ ยลดความรอ้ นในอาคารไปในตัว

สวนผกั ในโรงพยาบาล

การปลูกผักในโรงพยาบาลจะช่วยให้เกิดบรรยากาศผ่อนคลาย ท่ีสามารถช่วยเยียวยาจิตใจ
และสร้างพลงั ใจใหก้ บั ผ้ปู ่ายไดเ้ ปน็ อยา่ งดี อีกทง้ั ยงั เปน็ เครือ่ งมือท่ีส�ำคญั ในการรณรงคเ์ รอื่ ง
การกินผักเพอ่ื สขุ ภาพที่ดี

เร่ืองราวดีๆ จากพื้นท่ี

โครงการฟน้ื ฟศู ักยภาพทางสังคมจติ ใจส�ำหรบั ผปู้ ว่ ยจติ เวช
สวนผกั ในสถาบนั จติ เวชศาสตรส์ มเดจ็ เจา้ พระยาใชเ้ ปน็ พน้ื ทใี่ นการเยยี วยารกั ษาจติ ใจผปู้ ว่ ย
และน�ำเอาทกั ษะดา้ นการเกษตรมาถา่ ยทอดใหผ้ ปู้ ว่ ยไดเ้ รยี นรแู้ ละลงมอื ปฏบิ ตั ใิ นแปลงผกั จรงิ
เพอื่ ใหส้ ามารถน�ำไปประกอบอาชพี ตอ่ ได้ ซง่ึ ชว่ ยพฒั นาทกั ษะทางสงั คมใหผ้ ปู้ ว่ ยไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

9

ตวั อย่างนวตั กรรมการปลกู ผกั ในเมือง

การท�ำสวนผักบนดาดฟา้ ... บทเรียนจากส�ำนักงานเขตหลกั สี่

ข้ันตอนท่ี 1 การเตรยี มความพรอ้ มของพ้นื ทีด่ าดฟา้

• ควรลงน้�ำยากนั ซึมก่อนเพื่อปอ้ งกันน้ำ� รั่วซมึ
• ควรท�ำพืน้ ท่ีดาดฟ้าใหม้ ีความลาดเอยี งทั้ง 2 ขา้ ง อยา่ งนอ้ ย 0.05 เพ่ือปอ้ งกันน้ำ� ขงั
• ควรมที ่อระบายนำ�้ ด้านข้าง อยา่ งน้อยขา้ งละ 4 จดุ เพื่อให้น้ำ� ระบายออกได้
• ค�ำนึงถึงการรองรบั น้ำ� หนกั ของดาดฟ้า เพอื่ ออกแบบแปลงผักให้เหมาะสม

- พนื้ ทอ่ี าคารมาตรฐานท่วั ไป 1 ตารางเมตร จะรับน้�ำหนักได้ 200 กิโลกรัม
- พ้ืนทบ่ี นคาน 1 ตารางเมตร จะรบั นำ้� หนกั ได้ 400-600 กโิ ลกรมั

หากตึกเกา่ มาก : ควรปรกึ ษาสถาปนิกก่อนเพอื่ ความปลอดภยั
ขน้ั ตอนท่ี 2 การออกเเบบวางผังสวนเกษตรดาดฟา้
องคป์ ระกอบส�ำคญั ของสวนเกษตรดาดฟา้ ท่ีควรมี ได้แก่ เสาปนู ตาข่ายพรางแสง
ซมุ้ ผกั หรอื ตน้ ไมก้ นั ลม แปลงปลกู เรอื นอนบุ าลตน้ กลา้ แปลงเพาะกลา้ กอ๊ กนำ้� และ
ถงั ส�ำหรับรองนำ้� โดยมีรายละเอยี ดดังนี้
เสาปูน : ท�ำง่ายๆจากล้อยาง และน�ำเสาปนู มาใส่ แล้วเทปนู ลงไป คล้าย
เสาตะกร้อ ใชส้ �ำหรับเปน็ หลัก
ยึดตาข่ายพรางแสง โดยอาจ
จะท�ำข้างละ 2 เสา ทงั้ นด้ี ตู าม
ความเหมาะสมของขนาดพืน้ ท่ี

10

ตาข่ายพรางแสง : เนอ่ื งจากบนดาดฟ้าจะมแี สงแดดค่อนขา้ งแรง อาจ
สง่ ผลกระทบตอ่ ผักได้ ดังนนั้ จึงควรถึงเชือกเปน็ ตาขา่ ยขึงไว้ดา้ นบน
ซมุ้ ผักหรือตน้ ไมก้ ันลม : จะช่วยแก้ปัญหาลมแรงได้ดี ไม่ท�ำใหด้ นิ แหง้
เร็วเกินไปและไม่ท�ำให้ผักเสียหาย โดยพืชที่เลือกมาปลูกในซุ้มก็คือพืชเถาเล้ือย
อย่างพวกบวบ ฟัก น�้ำเต้า ซึ่งใบจะไม่ทึบมากและท�ำให้ลมสามารถผ่านลอดมา
ได้ หรอื อาจปลกู ตน้ ไมพ้ นั ธท์ุ ี่ไมส่ งู มากเพอ่ื ชว่ ยกันลดกไ็ ด้ เชน่ เสาวรส สับปะรด
องนุ่ กลว้ ยพนั ธ์ุเตย้ี

แปลงปลูก : หลักส�ำคัญของการท�ำแปลงปลูก คือ ควรกว้างประมาณ
1 เมตร สูงประมาณ 20-30 เซนติเมตร ส่วนความยาวดูตามความเหมาะสม
ทสี่ �ำคญั ควรเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งแปลงเพอ่ื ใหส้ ามารถขนดนิ ขนปยุ๋ รดนำ�้ รวมถงึ
ปลกู ลงแปลงไดส้ ะดวก

เทคนิคงา่ ยๆ
- ควรวางแปลงปลกู ในทศิ แนวเหนอื -ใต้ เพอื่ ใหไ้ ดร้ บั แสงแดดอยา่ ง
ทั่วถึง ไม่บงั เงาแดด
- ควรมีชอ่ งวา่ งระหวา่ งแปลงอย่างนอ้ ย 50 เซนติเมตร เพ่อื ให้มี
พนื้ ที่ในการรดนำ�้ และเก็บเกยี่ วผลผลติ

11

เรอื นอนุบาลต้นกล้า : จะชว่ ยป้องกนั ปญั หาเรอื่ งแดดแรงและนกได้ โดยเมอื่
เพาะกลา้ เสรจ็ กจ็ ะน�ำเขา้ มาไวใ้ นเรอื นอนบุ าล 2-3 วนั และใหย้ า้ ยไปปลกู ทแ่ี ปลงเพาะ
กล้า

แปลงเพาะกล้า : ด้านบนควรท�ำตัวช่วยพรางแสงและมีผ้าใบพลาสติกไว้
ส�ำหรบั คลมุ ตอนฝนตกอกี ชน้ั เมอื่ ตน้ กลา้ เตบิ โตจนอายปุ ระมาณ 10-15 วนั จะสามารถ
ยา้ ยออกมาปลกู ลงแปลงใหญไ่ ด้

ก๊อกน�้ำและถังรองน้�ำ : ควรมีถังรองพักน้�ำไว้ ก่อนรดน้�ำผัก เพราะในน�้ำ
ประปาจะมีคลอรีนมาก ท�ำให้ผกั เตบิ โตไดไ้ ม่ดีเท่าทค่ี วร

12

ขนั้ ตอนที่ 3 วางแผนการปลกู
- วสั ดปุ ลกู ควรมสี ว่ นผสมของกาบมะพรา้ วมากๆ ในอตั ราสว่ นของกาบมะพรา้ ว
2 สว่ น และดิน 1 ส่วน เนื่องจากกาบมะพร้าวจะช่วยกรองความร้อนจากพ้นื ปนู และ
ดดู ซับความช้ืนไว้ และมีน�้ำหนกั เบาไม่เป็นอนั ตรายตอ่ โครงสรา้ งตกึ
- หลักส�ำคัญคือการปลูกพืชหมุนเวียนและการปลูกพืชต่างชนิดกันในแปลง
ใกลก้ นั เพอ่ื ปอ้ งกนั ปญั หาแมลงและโรคพชื หากมพี น้ื ทนี่ อ้ ยแนะน�ำวา่ ใหป้ ลกู ผสมผสาน
ลงไปในแปลงเดียวกนั เลย
- ส�ำหรบั พชื ลม้ ลุกอายยุ ืนอย่างกระเพรา โหราพา แมงลกั ควรปลูกแยกตา่ ง
หาก และควรปลูกห่างกันเพื่อใหส้ ะดวกในการดูแลรกั ษาและปอ้ งกันการผสมพนั ธก์ุ นั
ทั้งน้ไี ม่ควรปลอ่ ยทง้ิ ไวจ้ นมีดอกแก่ เพราะอาจจะท�ำใหม้ แี มลงวันทองมารบกวน

ปฏิทนิ ปลูกพชื ผักตามฤดกู าล

การปลูกพืชผักควรเลอื กชนดิ ผกั ท่ตี ้องการปลกู ใหเ้ หมาะสมกบั ฤดูกาล เพือ่ ใหไ้ ดผ้ กั ที่
มีคุณภาพดี งา่ ยต่อการรักษา

ฤดทู เี่ หมาะสม ประเภทของผัก

ตลอดปี กวางตุ้ง คะน้า ผักตระกูลแตง ผักตระกูลถ่ัว ผักตระกูล
มะเขอื หอมแดง หอมแบ่ง ผักพน้ื บ้านอื่นๆ
ฤดหู นาว ผกั ตระกูลกะหลำ�่ แตงเทศ ถ่ัวลันเตา พรกิ ยักษ์ กระเทียม
ฤดูร้อน หอมหัวใหญ่ ผกั ใบเกอื บทกุ ชนดิ
และฤดฝู น
ผกั ตระกลู แตง ผักตระกูลถัว่ และพันธุ์ทนรอ้ น ทนฝน

13

ชวนไปลองเรียนรูแ้ ละลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ ณ ศนู ย์อบรมเกษตรในเมอื ง...

ศนู ยอ์ บรมบา้ นสวนเรียนรู้ Organic Way
ศนู ยอ์ บรมเเหง่ นจ้ี ดั หลกั สตู รอบรมการปลกู ผกั แบบงา่ ยๆ โดยท�ำกจิ กรรมแบบมสี ว่ นรว่ ม เปดิ
โอกาสให้ผทู้ ่ีสนใจท่อี ยู่ในเมอื งได้ลงมอื ปฏบิ ตั ิจริงกับหลกั สูตร “คาถาปลูกผักฉบบั คนเมือง”
นอกจากนี้ยังมีหลักสูตรการอบรมให้กับเด็กและครอบครัวที่จะให้ความรู้ท่ีมาของอาหาร
การเท่าทนั โฆษณา รวมถงึ เรือ่ งสง่ิ แวดล้อม โดยเช่ือมโยงกบั แปลงผกั
อยากเรียนรู้เพิ่มเติม ติดต่อได้ท่ี : เลขที่ 1 ซ.ราษฎร์บูรณะ 30 ถ. ราษฎร์บูรณะ
เเขวงราษรบ์ รู ณะ เขตราษฎรบ์ รู ณะ กทม. 10140 (ตรงขา้ งธนาคารกสกิ รไทย ส�ำนกั งานใหญ)่
โทร. 086-332-8266 หรอื เข้าไปดูกิจกรรมไดท้ ี่ www.facebook.com/organicwaypage

ศนู ยอ์ บรมสวนผกั บ้านคุณตา (สขุ ุมวทิ 62)
ศูนย์อบรมนี้เป็นต้นแบบของบ้านพ่ึงตนเองในเมือง โดยดัดแปลงพื้นท่ีว่างขนาด 40 ตร.ม.
ใหเ้ ป็นแปลงสาธติ การปลูกผกั ในรปู แบบทแ่ี ตกต่างกัน รวมถงึ การเลอื กใชพ้ ลงั งานทางเลือก
ระบบการจัดการน�้ำในบ้าน โดยมีหลักสูตรการอบรมที่เก่ียวข้องกับแนวคิดและทักษะของ
การปลกู ผักสวนครวั การเพาะเห็ด การปลูกข้าว การท�ำผลิตภัณฑจ์ ากธรรมชาติ เช่น สบู่
แชมพู เปน็ ตน้
อยากเรยี นรเู้ พม่ิ เตมิ ตดิ ตอ่ ไดท้ ี่ : สขุ มุ วทิ 62 ขา้ งตกึ M-link ตดิ ทางดว่ น ถ.สขุ มุ วทิ บางจาก
พระโขนง กทม. โทร.02-279-5118
ศนู ยเ์ รยี นรเู้ กษตรในเมือง สาขาเจ้าชายผัก (ลาดพร้าว 71)
ศนู ยอ์ บรมนเี้ ปดิ อบรมการปลกู ผักแบบไม่งอ้ สารเคมี และเน้นการใหค้ วามรเู้ พอ่ื ให้ตระหนัก
ถึงคุณค่าและความส�ำคัญของการปลูกผักกินเอง รวมถึงตระหนักถึงความส�ำคัญเรื่องความ
ม่ันคงทางอาหารและพลังชีวิตในอาหาร ที่ส�ำคัญไม่เพียงภาคทฤษฎีเท่าน้ันที่ยังเปิดโอกาส
ให้ผู้เข้าอบรมได้ลงมือปฏิบัติจริงและสัมผัสกับรสชาติอาหารสุขภาพที่ท�ำจากผักที่ปลอดภัย
จากสารเคมีอกี ดว้ ย
อยากเรียนรู้เพ่มิ เตมิ ติดตอ่ ได้ที่ : 9/711 สตรวี ทิ ยา 2 ซอย 3 ลาดพรา้ ว 71 กรงุ เทพฯ
โทร. 098-919-5562 / 086-067-3793

14

ศนู ยก์ ารเรยี นรู้การท�ำเกษตรในเมือง ศูนยส์ วุ รรณภูมิ
เปดิ อบรมปลกู ผักเพ่อื บรโิ ภค โดยสอนตง้ั แตก่ ารเลือกพน้ื ที่ การเลอื กรูปแบบการปลกู ผักให้
เหมาะกบั พน้ื ทข่ี องตนเอง การปรงุ ดนิ เพราะกลา้ การดแู ลรกั ษา และมหี ลกั สตู รพเิ ศษเกยี่ วกบั
การท�ำน�้ำหมักในชีวิตประจ�ำวันเพ่ืออุปโภคและบริโภค รวมถึงทักษะการพ่ึงตนเองในเมือง
อยากเรยี นรเู้ พมิ่ เตมิ ตดิ ตอ่ ไดท้ ่ี : 60/2 กม.2 ม.12 ต.บางพลใี หญ่ อ.บางพลี จ.สมทุ รปราการ
โทร. 085-090-2283
ศูนยอ์ บรมบา้ นเรียนรใู้ ส่ใจ
บา้ นเรยี นรใู้ สใ่ จ เปดิ เปน็ ศนู ยก์ ลางใหเ้ ดก็ และครอบครวั รวมทงั้ คนเมอื งไดเ้ รยี นรผู้ า่ นหลกั สตู ร
ท่ีหลากหลาย เช่น กิจกรรมส�ำหรับเด็ก (กิจกรรมเกษตรน้อยในเมือง) ส�ำหรับครอบครัว
(หลักสูตรปลูกเอง ท�ำเอง ทานเอง) ส�ำหรับผู้สนใจ (หลักสูตรอบรมพื้นฐานการพ่ึงตนเอง
ในเมอื ง หลักสตู รอาหารเพอื่ สขุ ภาพและทม่ี าของอาหาร) เปน็ ต้น
อยากเรยี นรเู้ พม่ิ เตมิ ตดิ ตอ่ ไดท้ ี่ : ซอยวภิ าวดี 22 ถนนวภิ าวดรี งั สติ กรงุ เทพฯ โทร. 02-938-8534
ศูนยอ์ บรมปลูกงา่ ยๆ สไตลค์ นเมอื ง บ้านป้อมเอง
ศูนย์อบรมนี้เด่นเร่ืองการปลูกผักบนก�ำแพงและระเบียง โดยเปิดหลักสูตรที่สอนเน้นเรื่อง
การปรบั เปลยี่ นวถิ ีชวี ติ ให้กลบั มาพ่ึงพาตนเองด้านอาหาร เรยี นรู้การปลกู ผกั และท�ำอาหาร
ที่สอดคลอ้ งกับธรรมชาติ ไม่ใช้สารเคมี รวมทงั้ น�ำวสั ดุเหลือใชก้ ลับมาใช้ประโยชน์
อยากเรยี นรเู้ พมิ่ เตมิ ตดิ ตอ่ ไดท้ ี่ : 5 ซอย 3 เกษมส�ำราญ 2 ซ.ปรดี พี นมยงค์ 14 ถ.สขุ มุ วทิ 71
แขวงพระโขนง เขตวัฒนา กทม. โทร. 081-720-0516
ติดตามข้อมูลข่าวสารและส่อื องค์ความรู้ตา่ งๆ ของโครงการสวนผกั คนเมอื งได้ที่
thaicityfarm หรอื www.thaicityfarm

15

‘การสร้างเสริมสุขภาพ คือ กระบวนการสนับสนุนให้ประชาชน
สามารถควบคุมพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง สังคม ส่ิงเเวดล้อม
เพ่ือให้บคุ คล ครอบครวั ชุมชน มีสขุ ภาวะ และคณุ ภาพชีวิตท่ีด’ี

กฎบตั รออตตาวาเพ่ือการส่งเสริมสขุ ภาพ (Ottawa Charter) ค.ศ.1986

ผลิตโดย บริษทั โคคนู แอนด์ โค จำ�กัด
32 ซ.โชคชยั 4 ซ.84 ถ.โชคชยั 4 แขวงลาดพรา้ ว เขตลาดพรา้ ว กทม. 10230 โทร 02-116-9959, 087-718-7324
โทรสาร 02-116-9958 อเี มล [email protected]


Click to View FlipBook Version