ใบความรู้ เรอ่ื งการเขียนย่อความ หน่วยที่ ๒ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๔
เรอ่ื งการเขยี นย่อความ รายวชิ าพืน้ ฐาวนันภทา่ี .ษ...า..ไ.ท...ยเดือรนหัส....ท...๒..๓...๑...๐...๑... พ.ภศ.าค...เ.ร..ยี..น...ท..ี่ ๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๓
การย่อความ เป็นการจับใจความสาคัญของเรื่อง แล้วนาใจความสาคัญของเรื่องมาเรียบเรียงใหม่
ให้เป็นสานวนภาษาของผ้ยู อ่ เอง โดยเขยี นให้ถูกต้องตามรปู แบบของยอ่ ความ
การย่อความท่ีดี ผู้ย่อต้องอ่านเรื่องให้เข้าใจและจับใจความสาคัญให้ได้ แล้วนาใจความสาคัญ
มาเรยี บเรยี งใหม่ให้สนั้ ด้วยถอ้ ยคาทีส่ ละสลวย กระชับ เขา้ ใจงา่ ย ไดใ้ จความถกู ต้องตามเน้อื เรอื่ งเดิม
ใจความสาคัญคือ ประโยคหรือข้อความสาคัญของย่อหน้า ถ้าตัดส่วนข้อความน้ันออกจะทาให้เสีย
ความ ประโยคใจความสาคัญอาจจะอยู่ตอนตน้ ของย่อหนา้ กลางย่อหน้า หรือท้ายย่อหนา้
พลความ คือ ข้อความท่ีเป็นส่วนขยายความ หากตัดข้อความส่วนน้ันออกก็ยังคงใจความสาคัญเดิม
ลักษณะของพลความ จะเป็นการบอกรายละเอียดหรือคานิยามความหมาย การยกตัวอย่างประกอบ
การเปรียบเทียบดว้ ยสานวน โวหาร หรอื การอา้ งข้อมลู อ้างอิงเปน็ สถติ ิ หลักฐาน
ชนดิ ของการย่อความและการสรปุ ความ
โดยท่ัวไปแล้วการยอ่ ความและสรปุ ความ มี ๓ ชนิด คอื
๑. การย่อความและการสรุปความจากการอ่านบทรอ้ ยกรอง เชน่ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ฯลฯ
๒. การย่อความและการสรุปความจากการอ่านบทร้อยแก้ว คือ การย่อความและการสรุปความของ
ความเรยี งต่างๆ เช่น บทความ เรอื่ งสั้น นทิ าน จดหมาย เรอื่ งเล่า และสารคดี ฯลฯ
๓. การย่อความและสรุปความที่ได้จากการฟัง ท้ังบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง เช่น ย่อข่าว ย่อบทร้อย
กรอง ย่อคาปราศรัย ย่อการอภิปรายหรือการสัมมานา ย่อการฟังเรื่องเล่าต่างๆ จากบทร้อยแก้ว และบทร้อย
กรอง ฯลฯ
หลักการย่อความ แบบของย่อความแบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนท่ีเป็นคานา เป็นส่วนท่ีเขียนในย่อหน้า
แรก เพ่ือให้ผู้อ่านทราบท่ีมาของเรื่อง ว่าเป็นเร่ืองประเภทใด หากไม่มีช่ือเร่ือง ผู้ย่อต้องตั้งช่ือเรื่องด้วย ส่วนท่ี
๒ เป็นใจความสาคัญของเร่ือง คือส่วนท่ีนาเน้ือหามาเรียบเรียงแล้วตามวิธีการเขียนย่อความ ต้องเขียนให้เป็นย่อ
หน้าเดยี ว
๑. การย่อความต้องเก็บใจความ ๒. การเกบ็ ความสาคัญของเรื่องจะต้องคานึงถึงสาระต่อไปน้ีใคร ทาอะไร ที่ไหน
สาคัญของเรื่องให้ครบ และเรียบ เมื่อใด อย่างไร ใจความสาคัญคืออะไร แล้วนามาเขียนเป็นสานวนของตนเอง
เรยี งโดยใช้สานวนภาษาท่ีถูกตอ้ ง เน้นการใชค้ าท่มี ีความหมายกระชบั ตรงไปตรงมาและไม่ใช้อกั ษรยอ่
๖. การยอ่ จดหมายซ่ึงมีรายละเอียด หลกั การย่อความ ๓. ข้อความที่มีเน้ือหาเป็นข้อๆ
อยู่ท่ีข้อความที่เร่ิมต้นแล้วให้ย่อแต่ ต้องเรียบเรียงใหเ้ ปน็ ความเรียง
ใจความของเนอื้ หาจดหมาย
๔. เปลี่ยนสรรพนามในเรื่อง
๕. คาศัพท์หรือคาศัพท์เฉพาะ เช่น ฉัน ผม ข้าพเจ้า คุณ
ทางวิชาการ ควรเปลี่ยนเป็นคา เธอ เปลี่ยนเป็น พระองค์
ธรรมดาที่ทุกคนเข้าใจยกเว้น ทา่ น เขา ฯลฯ
คาราชแาบศบัพขทอ์ งการ
(กระทรวงศกึ ษาธิการ. ๒๕๔๙ : ๗๘)
๑. การเขยี นคานาในย่อความ
๑.๑. ย่อความจากบทร้อยกรอง บอกประเภทของคาประพันธ์ ช่ือเร่ือง ช่ือผู้แต่ง ท่ีมาของเร่ือง
(หนังสืออะไร หน้าทเ่ี ทา่ ใด) รปู แบบดังนี้
ยอ่ ความ...............(กลอนบทละคร กลอนสภุ าพ กาพย์ โคลง รา่ ย ฉันท์) เรอื่ ง.................................
ของ.......................ตอน..................................จาก..............................หนา้ ..............
ความว่า
๑.๒. ย่อความจากความเรียงร้อยแก้ว บอกประเภทของความเรียงร้อยแก้ว ช่ือเร่ือง ผู้แต่ง จาก
หนังสืออะไร หนา้ ทเ่ี ทา่ ใด รปู แบบดงั น้ี
ยอ่ ความ (บทความ สารคดี นทิ าน นิยาย อ่ืนๆ) เรอื่ ง...........................ของ.......................................
จากวารสาร......................................ปที ี.่ .....................ฉบบั ที.่ .........................หนา้ ..............ถึงหนา้ .....................
ความว่า
๑.๓. ย่อความจากประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ ระเบียบคาส่ัง กาหนดการ บอกช่ือประเภทของ
ประกาศ เร่ืองอะไร ของใคร ให้แก่ใคร วนั เดือนปที ่อี อก ดงั นี้
ยอ่ ความ (ประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ ระเบยี บคาสง่ั กาหนดการณ์) เรื่อง...............................
ของ............................ลงวันที่.........................................ความว่า
๑.๔. ยอ่ ความจากพระราชดารัส พระบรมราโชวาท โอวาท ปาฐกถา สุนทรพจน์ คาปราศรัย ระบุว่าเป็น
พระราชดารัส พระบรมราโชวาท ของใคร แสดงแก่ใคร เรื่องอะไร ในโอกาสใด แสดง ณ สถานท่ีใด เมื่อใด เมื่อไร
ดังน้ี
ยอ่ ความ (พระบรมราโชวาท โอวาท ปาฐกถา สนุ ทรพจน์ คาปราศรัย) ของ..................................
พระราชทานแก่........................เร่อื ง............................ในโอกาส..........................ณ.............................................
เมื่อวันที่.............................................ความวา่
๑.๕. ยอ่ ความท่ีเปน็ จดหมาย ระบุวา่ เปน็ จดหมายของใคร ถงึ ใคร เรอื่ งอะไร ลงวนั ทเี่ ท่าไร ดังนี้
ยอ่ ความจดหมายของ..............................ถงึ .................................เร่อื ง..............................ลงวันที่
.......................ความว่า
๑.๖. ย่อความจากหนังสือราชการ ระบุว่าเป็นหนังสือราชการของใคร ถึงใคร เร่ืองอะไร เลขท่ี
เท่าไร ลงวนั ที่เท่าไร ดังนี้
ย่อความหนงั สือราชการของ........................................ถึง...........................เร่อื ง.................................
เลขที่....................................ลงวันที่............................................ความว่า
๒. การย่อเน้อื เร่ือง อา่ นเนอ้ื เร่ืองให้จบจับใจความสาคัญไว้ทิ้งพลความไป โดยไม่เสียใจความหลักเกลา
ความใหส้ ละสลวย หากผยู้ อ่ ตอ้ งการความมั่นใจในการค้นหาใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้า อาจใช้หลัก ๕W
๑H กล่าวคือนาข้อความในเรือ่ งมาตอบคาถามให้ไดว้ า่ ใคร ทาอะไร ท่ีไหน เมอ่ื ไร ทาไมและอย่างไร
หากเรื่องที่ต้องการย่อเป็นร้อยกรองให้ถอดคาประพันธ์ก่อน แล้วหาคา ประโยค ข้อความ ที่เป็น
ใจความสาคัญนามาเรียบเรียงให้สละสลวยตรงตามเรอ่ื งเดมิ ดังตัวอยา่ ง
ไทยรวมกาลังตงั้ ม่นั
ไทยรวมกาลังตั้งมั่น จะสามารถปอ้ งกนั ขนั แขง็ ,
ถึงแม้ศตั รูผู้มแี รง มายทุ ธ์แย้งกจ็ ะปลาตไป
ขอแตเ่ พยี งไทยเราอยา่ ผลาญญาติ; รว่ มชาตริ ว่ มจิตเป็นขอ้ ใหญ่;
ไทยอย่ามงุ่ รา้ ยทาลายไทย, จงพรอ้ มใจพรอ้ มกาลังระวงั เมอื ง.
ให้นานาภาษาเขานยิ ม ชมเกยี รตยิ ศฟเู ฟ่อื ง;
ชว่ ยกนั บารุงความรงุ่ เรือง ใหช้ อื่ ไทยกระเด่ืองทั่วโลกา.
ชว่ ยกนั เต็มใจใฝ่ผดงุ บารุงทง้ั ชาติศาสนา
ให้อยู่จนสนิ้ ดินฟ้า วฒั นาเถิดไทย, ไชโย!
(พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจา้ อยู่หวั ๒๕๓๗)
ถอดความได้ว่า
เม่ือใดท่ีคนไทยพร้อมใจกัน รวมกาลังให้มั่นคง แข็งแรง อย่าแตกความสามัคคี อย่าทาร้ายคนไทย
ดว้ ยกันเอง เมอ่ื น้นั คนไทยกส็ ามารถป้องกันข้าศึกท่ีจะเข้ามารุกรานประเทศได้ คนไทยต้องร่วมมือ รวมพลังใจ
ให้เป็นหน่ึงเดียว เป็นพลังหลักอันสาคัญของชาติ หมั่นทานุบารุงประเทศชาติและพระศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง
ก้องไปท่ัวโลก นานาประเทศก็จะสรรเสริญ ยกย่อง ยอมรับ และชื่นชมชาวไทยและประเทศไทยไปตราบชั่ว
กาลนาน
หาคา ประโยค ข้อความ ท่ีเป็นใจความของข้อความนี้ จะได้ว่า คนไทยมั่นคงเข้มแข็ง อย่าแตก
ความสามัคคี ทานุบารุงชาติและพระศาสนา เจริญรุ่งเรือง นานาประเทศสรรเสริญยกย่อง นามาเขียนเป็น
ใจความที่สละสลวย สมบรู ณ์ ตรงตามเนอ้ื เรอื่ งเดิมดงั น้ี
คนไทยต้องพร้อมใจกัน เข้มแข็ง ม่ันคง อย่าแตกความสามัคคีกัน อย่าทาร้ายกันเอง คนไทยก็จะ
สามารถป้องกันข้าศึกใดๆ ท่ีเข้ามารุกรานได้ต้องรวมพลังใจให้เป็นพลังหลักอันสาคัญของชาติ ป้องกันชาติ
หมน่ั ทานุบารงุ ประเทศชาตแิ ละพระศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองไปทั่วโลก นานาประเทศก็จะสรรเสริญ ยกย่องชาว
ไทยและประเทศไทยไปตราบชว่ั กาลนาน
เมื่อนาวิธีการต้ังและตอบคาถามว่า ใคร ทาอะไร ท่ีไหน เม่ือไร ทาไม และอย่างไร มาช่วยในการหา
ใจความ ของขอ้ ความนี้จะได้ดังน้ี
ใคร คนไทย
ทาอะไร เขม้ แขง็ มนั่ คง สามคั คี อย่าทาร้ายกัน ทานุบารุงประเทศและพระศาสนาใหร้ ุ่งเรอื ง
ทไ่ี หน ในประเทศไทย
เมือ่ ไร ตลอดชวี ิตของคนไทยทุกคน
อยา่ งไร คนไทยต้องเข้มแข็ง ม่ันคง อย่าแตกความสามัคคีกัน อย่าทาร้ายกันเอง ต้องทานุ
บารุงประเทศและพระศาสนาให้รุ่งเรือง นานาประเทศจะสรรเสริญ ยกย่อง ชื่นชม ชาวไทยและประเทศไทย
ตลอดไป
(คู่มือการเรยี นการสอนภาษาไทย คิดและเขียนเชิงสร้างสรรค์ : เรยี งความ ย่อความและสรปุ ความ ชว่ งชน้ั ที่ ๒-ชว่ งชัน้ ท่ี ๔)