แบบรายงานสรุปผลการด าเนินงาน รูปแบบกลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง หลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด จ านวน 15 ชั่วโมง ระหว่างวันที่ 15 - 17 กุมภาพันธ์2566 สถานที่จัด กศน.ต าบลสันทรายงาม หมู่ 2 ต.สันทรายงาม อ.เทิง จ.เชียงราย รวบรวมโดย นางวีนัส สรรพสุข ครูกศน.ต าบลสันทรายงาม ลงชื่อ...............................................ผู้ตรวจ (นางสาวจีราภรณ์ โนราช) ผู้อ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเทิง
ทราบ (นางสาวจีราภรณ์ โนราช) ต าแหน่ง ผู้อ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเทิง บันทึกข้อความ ส่วนราชการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเทิง ที่ ศธ.0210.2806/1082 วันที่27 เดือน กุมภาพันธ์พ.ศ.2566 เรื่อง รายงานผลการจัดการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบกลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง หลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด เรียน ผู้อ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเทิง เรื่องเดิม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเทิง อนุญาตให้จัดรายงานผลการจัด การศึกษาต่อเนื่องอาขีพรูปแบบชั้กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง หลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด จ านวน 15 ชั่วโมง ประจ าปีงบประมาณ 2566 นั้น ข้อเท็จจริง บัดนี้ได้ด าเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเสร็จสิ้นแล้ว จึงขอรายงานผลการจัด ก า ร ศึ กษ าต่ อเนื่ อง รูป แบบ ก ลุ่ม สนใ จ ห ลั ก สู ต รก า รแป ร รูป ผลิ ตภัณฑ์เห็ด จ าน วน 15 ชั่ วโ มง สถานที่จัด กศน.ต าบลสันทรายงาม หมู่ 2 ต าบลสันทรายงาม อ าเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ระหว่างวันที่ 20 - 22 กุมภาพันธ์2566 เวลา 09.00 - 15.00 น. จ านวนผู้เรียน รวมทั้งหมด 10 คน โดยมี นางหนูไกร จันทครู เป็นวิทยากร จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและด าเนินการต่อไป (นางวีนัส สรรพสุข) ครู กศน.ต าบลสันทรายงาม
P a g e | ก ค าน า ด้วยกระทรวงศึกษาธิการได้ยกเลิกระเบียบส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัด การศึกษานอกโรงเรียน หลักสูตรระยะสั้น พ.ศ. 2549 ระเบียบกรมการศึกษานอกโรงเรียน ว่าด้วยการด าเนินงาน การศึกษานอกโรงเรียนสายอาชีพ พ.ศ. 2535 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดกลุ่มอาชึพ รูปแบบอาชีพ ระยะสั้น พ.ศ. 2525 และได้ออกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาต่อเนื่องพ.ศ.2554 ขึ้น เพื่อให้การจัดการศึกษาต่อเนื่อง มีรูปแบบการจัดที่หลากหลาย สนองความต้องการของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถ เลือกเรียนได้ตามความต้องการ ความสนใจ โดยหวังว่าเมื่อผู้เรียนเรียนจบหลักสูตร แล้วสามารถน าความรู้ ทักษะ และประสบการณ์จากการเรียนรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพมีรายได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีสามารถอยู่ในชุมชน สังคม อย่างมีความสุข ดังนั้นเพื่อสนับสนุนนโยบายรัฐบาลในเรื่องการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพให้การด าเนินการ ภาคประชาชนบังเกิดผลส าเร็จตามนโยบายของรัฐบาล ทางศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อ าเภอเทิง โดยกศน.ต าบลสันทรายงาม จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น นางวีนัส สรรพสุข ครูกศน.ต าบล
P a g e | ข สารบัญ เรื่อง หน้า ค าน า ก สารบัญ ข บทที่ 1 บทน า 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 บทที่ 3 วิธีการด าเนินงาน 7 บทที่ 4 ผลการด าเนินงาน 9 บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ 18 ภาคผนวก
P a g e | 1 ความเป็นมา สืบเนื่องจากนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ที่เน้นการจัดการศึกษาเพื่อการมีอาชีพ มีรายได้ และมีงานท า โดยมีเป้าหมายในการเตรียมความพร้อมของประเทศไทยในทุกๆ ด้านในระยะเวลา 2 ปีเพื่อให้ สามารถก้าวสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงก าหนดให้หน่วยงานและสถานศึกษา แต่ละแห่งศึกษา วิเคราะห์ศักยภาพของตนเองในแต่ละพื้นที่ เพื่อจัดการศึกษาในระดับพื้นที่ (AreaBased) และ พัฒนากลุ่มอาชีพใหม่ ให้มีศักยภาพและสามารถแข่งขันได้ในภูมิภาคหลักของโลก นโยบายดังกล่าวต้องการให้เกิดการบูรณาการในการจัดการศึกษาทุกระดับตามศักยภาพของแต่ละพื้นที่ โดยให้ทุกองค์กรและหน่วยงานทุกภาคส่วนในระดับพื้นที่ (จังหวัด) ทั้งภาคการศึกษา ภาคธุรกิจ ผู้ประกอบการ รายใหญ่ รายย่อย ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ไปพร้อมๆ กัน โดยเน้นให้การศึกษาเป็น ร า ก ฐ า น ข อง ก า ร พั ฒ น า ค น พั ฒ น าง า น แ ล ะ ส ร้ าง อ า ชี พ เ พื่ อ ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ง ท าง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ โดยให้สอดคล้องกับศักยภาพของแต่ละพื้นที่ซึ่งจะเป็นตัวก าหนดความเป็นเลิศทางด้านกลุ่มอาชีพหลัก เพื่อตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ส านักงาน กศน.ได้ปรับเปลี่ยนการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาอาชีพ โดยจัดให้มีศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ใช้สถานศึกษา กศน.และ กศน.ต าบลหรือแขวง เป็นฐานการจัด กิจกรรมให้แก่ประชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่บริการ ส านักงาน กศน.จังหวัดจัดท าเวทีประชาคม ในระดับจังหวัด เพื่อก าหนดกรอบอ าชีพของ จังหวัด จ ากนั้น สถานศึกษาจึงจัดท าเวทีปร ะช าคมในร ะดับ อ าเภอ โดยการวิเคราะห์ศักยภาพของตนเองและพื้นที่ น าข้อมูลความต้องการด้านอาชีพของทุกต าบลและ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น มาพิจารณาร่วมกับกรอบอาชีพของจังหวัด เพื่อก าหนดเป็นกรอบอาชีพของอ าเภอ การพัฒนาหลักสูตรต้องสอดคล้องกับกลุ่มอาชีพใหม่คือ หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ ความคิดสร้างสรรค์ และอาชีพเฉพาะทาง โดยการพัฒนาเนื้อหาสาระที่มีองค์ความรู้ ครบวงจร ประกอบด้วย โครงสร้างของหลักสูตร 4 ตอน คือ ช่องทางการประกอบอาชีพ ทักษะการประกอบอาชีพ การบริหารจัดการและการจัดท าโครงการประกอบอาชีพ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ทักษะและ มีความมั่นใจในการ ประกอบอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนการสอน มีการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติในส่วนของการฝึกปฏิบัติ เน้นการฝึกปฏิบัติจริงเพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะในด้านอาชีพ รวมทั้งการเรียนหรือศึกษาดูงานในสถานประกอบ การจริง เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและมองเห็นช่องทางการประกอบอาชีพนั้นอย่างครบวงจร วิทยากร ที่จัดการเรียนการสอน เป็นผู้ที่มีความรู้ความช านาญ ในอาชีพ หรือเป็นผู้ที่ประกอบการในอาชีพนั้น ๆ บทที่ 1 บทน ำ
P a g e | 2 ในการศึกษาดูงาน ได้จัดท าแบบสรุปการศึกษาดูงานให้ผู้เรียนบันทึกข้อมูลการเรียนรู้ที่ได้จากการ ฟังบรรยาย การซักถามหรือการสังเกตการประกอบอาชีพในสภาพจริง ตลอดจนข้อคิดเห็นจาการอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน การวัดและประเมินผล ผู้ส าเร็จการศึกษา จะต้องมีความรู้พื้นฐานทางวิชาการตามวัตถุประสงค์ ของหลักสูตร มีทักษะความช านาญทางด้านวิชาชีพ มีทักษะการท างาน รวมไปถึงทักษะของการเป็น ผู้ประกอบการ เพื่อความสามารถในการสร้างงานและสร้างอาชีพใหม่โดยไม่ลืมทักษะชีวิตและเรื่องของ คุณธรรมและจริยธรรม ด้วย นอกจากนั้น ได้จัดท าแบบโครงการอาชีพ ขึ้นเป็นกรอบให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการ ประกอบ อาชีพ พร้อมตัวอย่างโครงการ เพื่อเสนอต่อแหล่งทุนต่าง ๆ วัตถุประสงค์ 1. มีความรู้และและทักษะในการประกอบอาชีพการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ดได้ 2. เพื่อให้ผู้เรียนตัดสินใจประกอบอาชีพได้สอดคล้องกับศักยภาพของตนเอง ชุมชน สังคม และ สิ่งแวดล้อมอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม 3. มีความรู้ความเข้าใจในการวางแผนด าเนินการ และบริหารจัดการในอาชีพการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ดได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และผู้อื่น ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ประชาชนผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะและสามารถฝึกปฏิบัติ การแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ดได้ 2. ประชาชนผู้เข้ารับการอบรม มีทักษะและสามารถพัฒนาอาชีพการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด ให้เป็นอาชีพ เสริมและสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนและผู้ที่สนใจทั่วไปในพื้นที่ต าบลสันทรายงาม
P a g e | 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง ชื่อหลักสูตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด จ านวน 15 ชั่วโมง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเทิง ความเป็นมา ตามจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. หลักการ กศน.เพื่อประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่งคุณภาพ” 4.การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 4.1) พัฒนาหลักสูตรอาชีพที่เน้น New skill Up – skill และ Re – skill ที่สอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพ บริบทพื้นที่ และความสนใจ พร้อมทั้งสร้างช่องทาง อาชีพในรูปแบบที่ความหลากหลายของกลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ความต้องการของตลาดแรงงาน และ กลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology เพื่อการเข้าสู่การรับรองสมรรถนะและได้รับคุณวุฒิตามกรอบ คุณวุฒิแห่งชาติ รวมทั้งสามารถน าผลการเรียนรู้และ ประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่ระบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 4.3) ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจาก โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริมความรู้ สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญา ท้องถิ่นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจน เพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์และช่องทางการจ าหน่าย ปัจจุบันเห็ดนางฟ้ามีเกษตรกรเพาะเห็ดนางฟ้าเพิ่มมากขึ้น และมีมากในท้องตลาดในฤดูหนาวหรือช่วง อากาศเย็น นอกจากนี้เห็ดนางฟ้ายังมีประโยชน์มากมาย เป็นที่นิยมกันมาก สามารถน ามาประกอบอาหารได้หลาย ชนิด ช่วยในการบรรเทาอาการของหวัด ท าให้เลือดหมุนเวียนดีขึ้น ส าหรับผู้ที่เป็นโรคกระเพาะ สามารถ รับประทานเพื่อให้ที่มีอยู่ในเห็ดนางฟ้า ช่วยบรรเทาได้ ดังนั้น กศน.ต าบลสันทรายงาม สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเทิง จึงได้ ส่งเสริมอาชีพให้ประชาชนได้แปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ดเพื่อสร้างรายได้เสริมให้กับครอบครัวและชุมชนซึ่งมาจาก ผลผลิตที่มีอยู่ในท้องถิ่นของตนเอง
P a g e | 4 หลักการของหลักสูตร 1. การจัดการศึกษาการประกอบอาชีพการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด มุ่งเน้นให้ผู้ไม่มีอาชีพ ผู้มีอาชีพ หรือผู้ที่ ได้รับการส่งเสริมให้มีการเพาะเห็ดนางฟ้า และต้องการพัฒนาอาชีพของตนให้มีความมั่นคง 2. ส่งเสริมให้มีความร่วมมือในการด าเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่าย 3. การจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นการอบรม ฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนากลุ่มเป้าหมาย ผู้ไม่มีอาชีพ ผู้ที่มีอาชีพ หรือผู้ที่ ได้รับการส่งเสริมให้มการเพาะเห็ดนางฟ้า และต้องการพัฒนาอาชีพตนเองให้มีความมั่นคง เพื่อน าความรู้ไป ประกอบอาชีพ จุดมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะดังนี้ 1. มีทักษะในการท าการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด 2. มีเจตคติที่ดีต่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด 3. น าความรู้ไปใช้ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ดเพื่อการประกอบอาชีพ กลุ่มเป้าหมาย 1. ผู้ที่ไม่มีอาชีพ 2. ผู้ที่มีอาชีพและต้องการพัฒนาอาชีพ 3. ผู้ที่มีอาชีพและต้องการเปลี่ยนอาชีพ ระยะเวลา ภาคทฤษฎี 4 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 11 ชั่วโมง รวม 15 ชั่วโมง
P a g e | 5 โครงสร้างหลักสูตร เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา การจัดกระบวนการ เรียนรู้ จ านวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ 1.ช่องทางการ ประกอบอาชีพการ แปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด 1. ความส าคัญของ การประกอบอาชีพ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ เห็ด 2. ความเป็นไปได้ใน การประกอบอาชีพ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ เห็ด 3. แหล่งเรียนรู้ 4. การตัดสินใจใน การเลือกอาชีพ 1. ความส าคัญในการ ประกอบอาชีพการ แปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด 2. ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการท าอาชีพ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ เห็ด 3. ความต้องการของ ตลาด 4. การใช้แรงงาน 5. การจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ 6. การเลือกท าเลที่ตั้ง 7. แหล่งเรียนรู้ 8. ทิศทางการ ประกอบอาชีพการ แปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด วิทยากรน าเสนอข้อมูล ความส าคัญ ความ เป็นไปได้ในการ ประกอบอาชีพการ แปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด ในแหล่งเรียนรู้และทิศ ทางการประกอบอาชีพ การการแปรรูป ผลิตภัณฑ์เห็ด โดย ค านึงถึงความ เหมาะสม 1 ชม. 30 นาที 2. ทักษะการประกอบ อาชีพการแปรรูป ผลิตภัณฑ์เห็ด 1. ขั้นเตรียมการ ประกอบอาชีพการ แปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด 2. ขั้นตอนการน าเห็ด มาแปรรูปชนิดต่างๆ ได้ 3. ขั้นตอนการเก็บ รักษาเพื่อการ จ าหน่ายหรือบริโภค 1. ขั้นเตรียมการ ประกอบอาชีพการ แปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด - สถานที่/พื้นที่ - การเตรียมวัสดุ - ความรู้เกี่ยวข้องใน การประกอบอาชีพ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ เห็ด 2. ขั้นตอนการน าเห็ด แปรรูปเป็นรูปแบบ ชนิดต่างๆ ได้ - ผลิตภัณฑ์จากเห็ด วิทยากรอธิบายเนื้อหา ตามล าดับขั้นตอน พร้อมสาธิต และให้ ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง แปรรูปเห็ด 3 ชนิด น้ าพริกแจ่วเห็ด แหนม เห็ด น้ าพริกตาแดงเห็ด 1 ชม. 9 ชม.
P a g e | 6 เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา การจัดกระบวนการ เรียนรู้ จ านวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ 1) น้ าพริกแจ่วเห็ด 2) แหนมเห็ด 3) น้ าพริกตาแดง เห็ด - การบรรจุภัณฑ์ 3. ขั้นตอนการเก็บ รักษาเพื่อการจ าหน่าย หรือบริโภค 3. การบริหารจัดการ ในการประกอบอาชีพ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ เห็ด 1. การบริหารจัดการ แปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด 2. การจัดการตลาด ในการการแปรรูป ผลิตภัณฑ์เห็ด 3. การวางแผนการ ด าเนินงาน 1. การบริหารจัดการ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ เห็ด - การจัดการควบคุม คุณภาพในการแปรรูป ผลิตภัณฑ์เห็ด - การลดต้นทุนใน การแปรรูปผลิตภัณฑ์ เห็ด - การวางแผนการ ผลิต 2. การจัดการตลาดใน การการแปรรูป ผลิตภัณฑ์เห็ด - ข้อมูลความ ต้องการของลูกค้า - การกระจาย ผลิตภัณฑ์แปรรูปเห็ด ไปสู่ผู้บริโภค - การวางแผน การตลาด - การออกแบบ บรรจุภัณฑ์ วิทยากรอธิบายเนื้อหา ตามล าดับ พร้อม ยกตัวอย่างของจริง สาธิตให้ดูแลและให้ ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับการควบคุม คุณภาพการค านวณ ต้นทุนและการจัดการ ตลาด 1 ชม. 1 ชม.
P a g e | 7 เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา การจัดกระบวนการ เรียนรู้ จ านวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ 3. การวางแผนการ ด าเนินงาน 4. โครงการประกอบ อาชีพการแปรรูป ผลิตภัณฑ์เห็ด 1. บอกความส าคัญ ของโครงการอาชีพได้ 2. บอกประโยชน์ของ โครงการอาชีพได้ 3. บอกองค์ประกอบ ของโครงการอาชีพได้ 4. อธิบาย ความหมายของ องค์ประกอบของ โครงการอาชีพได้ 5. อธิบายลักษณะ การเขียนที่ดีของ องค์ประกอบของ โครงการอาชีพได้ 6. เขียนโครงการใน แต่ละองค์ประกอบ ให้เหมาะสมและ ถูกต้องได้ 1. ความส าคัญของ โครงการอาชีพ 2. ประโยชน์ของ โครงการอาชีพ 3. องค์ประกอบของ โครงงานอาชีพ 4. การเขียนโครงการ อาชีพ วิทยากรบรรยายพร้อม อธิบายความส าคัญ ประโยชน์ องค์ประกอบ และ ลักษณะการเขียน โครงการอาชีพการ แปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด 1 ชม. 30 นาที
P a g e | 8 สื่อการเรียนรู้ 1. สื่อเอกสาร เอกสารประกอบการเรียนรู้ 2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ข้อมูลทางอินเตอร์เนต 3. ภูมิปัญญา การวัดผลและประเมินผล - แบบ กศ.ตน 7(1) 1. ภาคทฤษฎี 1.1 ประเมินผลจากความรู้ความเข้าใจ ร้อยละ 20 2. ภาคปฏิบัติ 2.1 ทักษะการปฏิบัติ ร้อยละ 40 2.2 คุณภาพของผลงาน/ผลการปฏิบัติ ร้อยละ 40 เกณฑ์การจบหลักสูตร 1. มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่ก าหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 เอกสารหลักฐานการศึกษาที่จะได้รับหลังจากจบหลักสูตร - ทะเบียนผู้จบหลักสูตร การเทียบโอน -
P a g e | 9 บทที่ 3 การด าเนินงาน กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ด าเนินการ ระยะเวลา งบ ประมาณ 1.ประชุมชี้แจงท า ความเข้าใจกับ ประชาชน -เพื่อท าความ เข้าใจกับ ประชาชน ประชาชนต าบล สันทรายงาม 10 คน กศน.ต าบล สันทรายงาม 26 มกราคม 2566 กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง จ านวน 4,000บาท 2.พิจารณาพื้นที่ ด าเนินการ เพื่อความเหมะ สมในการ ด าเนินการ ประชาชนต าบล สันทรายงาม 10 คน กศน.ต าบล สันทรายงาม 26 มกราคม 2566 3.จัดท า/ขออนุมัติ โครงการ ฝึกอบรม อาชีพชุมชน เพื่อให้งาน เป็นไปตาม กระบวนการ ประชาชนต าบล สันทรายงาม 1 คน กศน.อ าเภอ เทิง 1 กุมภาพันธ์ 2566 4.จัดกิจกรรมตาม โครงการศูนย์ฝึก อาชีพชุมชน หลักสูตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ เห็ด - ช่องทางการ ประกอบอาชีพ - ทักษะการประกอบ อาชีพ - การบริหารจัดการ ในการประกอบอาชีพ - โครงการประกอบ อาชีพธุรกิจการ เพื่อให้มีการ ฝึกอบรมอาชีพ ชุมชนท ารายได้ ให้คนในชุมชน ประชาชนต าบล สันทรายงาม 10 คน กศน.ต าบล สันทรายงาม 15 - 17 กุมภาพันธ์ 2566
P a g e | 10 กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ด าเนินการ ระยะเวลา งบ ประมาณ 5.ส ารวจความพึง พอใจของผู้รับบริการ และนิเทศติดตาม ประเมินผลโครงการ -เพื่อทราบถึง ระดับความพึง พอใจของ ผู้เข้าร่วมอบรม -ผู้รับผิดชอบ โครงการ คณะกรรมการ ศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน ครู กศน. ต าบล และ กลุ่มเป้าหมายที่ เข้าร่วมกิจกรรม ผู้เข้าร่วมฝึก อาชีพร้อย ละ 80 ฝึก ท าอาชีพได้ กศน.ต าบล สันทรายงาม 17 กุมภาพันธ์ 2566 6.สรุปรายงานผลการ ด าเนินงาน -เพื่อสรุปผลการ ด าเนินงาน/น า ผลที่ได้ปรับปรุง แก้ไขต่อไป -ผู้รับผิดชอบ โครงการ ครู กศน.ต าบล 1 คน กศน.อ าเภอ เทิง -สิ้นสุด โครงการ
P a g e | 11 บทที่ 4 ผลการด าเนินงาน แบบรายงานการจัดวิชาชีพ ของวิทยากร ข้าพเจ้า นางหนูไกร จันทครูต าแหน่ง วิทยากร ขอรายงานผลการจัดกลุ่มอาชีพ การแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด 1. สถานที่ที่ใช้ในการอบรม กศน.ต าบลสันทรายงาม หมู่ 2 ต าบลสันทรายงาม อ าเภอเทิง จังหวัดเชียงราย 2. อบรมระหว่างวันที่ 15 - 17 เดือน กุมภาพันธ์พ.ศ. 2566 รวมอบรม 15 ชั่วโมง 3. วิทยากรชื่อ นางหนูไกร จันทครูวุฒิการศึกษา ม.ปลาย อาชีพเกษตรกร อายุ 66 ปี 4. จ านวนสมาชิกผู้เข้ารับการอบรม ชาย - คน หญิง 10 คน รวม 10 คน 5. จ านวนผู้จบหลักสูตร ชาย - คน หญิง 10 คน รวม 10 คน 6. รายละเอียดผู้เข้ารับการอบรม รับราชการ ………-………คน ลูกจ้าง ………-……….. คน ประกอบอาชีพส่วนตัว ……- ………. คน ยังไม่ได้ประกอบอาชีพ ………1.……คน เกษตรกร...........7.......คน อาชีพอื่นๆ ………2………. คน 7.วัตถุประสงค์ในการเข้ารับการอบรม เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ………10.……. คน เพื่อใช้ในชีวิตประจ าวัน……...10……….. คน เพื่อน าไปประกอบอาชีพ ……-...……คน อื่นๆ ……..…-………. คน 8. เจ้าหน้าที่มาตรวจเยี่ยม และ นิเทศ วันที่ 17 กุมภาพันธ์2566 นายฃาตรี ไฃยรัตน์ต าแหน่ง ครูคศ.1 ข้อเสนอแนะ ผู้เข้าร่วมอบรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนต าบลสันทรายงาม หลักสูตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด ได้ฝึกเป็นระยะเวลา 3 วัน จ านวน 15 ชั่วโมง มีการฝึกปฏิบัติที่ดี ผลงานหรือชิ้นงานอยู่ในระดับดี ผู้ฝึกปฏิบัติ มีความรู้ความเข้าใจในการหลักสูตร และให้มีการสานต่อพัฒนาผลิตภ ณฑ์จากเห็ดเป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆ ที่น่าสนใจ และแปลกใหม่
P a g e | 12 แบบรายงานผลการจัดการศึกษาต่อเนื่อง กศน.ต าบลสันทรายงาม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเทิง 1. หลักสูตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด จ านวน 5 ชั่วโมง/วัน 2. ชื่อวิทยากร นางหนูไกร จันทครูวุฒิการศึกษา ม.ปลาย อายุ60 ปี อาชีพ เกษตรกร 3. ประเภทของวิทยากร ( ) ข้าราชการ ( ) ลูกจ้าง (√) วิทยากรภายนอก ( ) อื่นๆ โปรดระบุ..................... 4. พื้นที่ด าเนินการ ( √ ) ในเขตเทศบาล ชื่อหมู่บ้าน/ชุมชน บ้านสันทรายงาม หมู่ที่ 2 ต าบลสันทรายงาม อ าเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ( ) นอกเขตเทศบาล ชื่อหมู่บ้าน/ชุมชน.............................................................. 5. ระยะเวลาด าเนินการ เมื่อวันที่ 15 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 สิ้นสุดเมื่อวันที่ 17 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 6 . อนุมั ติเบิก จ่ าย จ ากงบป ร ะ ม าณ ป ร ะเภทงบ ก ลุ่มสนใ จไ ม่เกิน 30 ชั่ วโ มง รหั ส 0 3 1 50 0 02 จ านวน 4,000 บาท ค่าวัสดุ1,000 บาท ค่าตอบแทนวิทยากร 3,000 บาท 7. วิธีการส ารวจความต้องการเรียน ด าเนินการอย่างไร ( ) ประชาคม ( ) แนะแนว ( √ ) ส ารวจความต้องการ ( ) อื่นๆ (โปรดระบุ)........................................... 8. จ านวนผู้เรียนและผู้ผ่านการเรียน/อบรม จ าแนกตามอายุและเพศ อายุผู้เรียน ต่ ากว่า 15 ปี 15 - 39 ปี 40 – 59 ปี 60 ปี ขึ้นไป รวม ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ จ านวนผู้เรียน - - - 1 - 5 - 4 - 10 จ านวนผู้จบ - - - 1 - 5 - 4 - 10 9. จ านวนผู้เรียนและผู้ผ่านการฝึกอบรม จ าแนกตามกลุ่มอาชีพและเพศ อาชีพผู้เรียน เกษตรกร รับราชการ รับจ้าง ค้าขาย ไม่มีอาชีพ อื่นๆ รวม ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ จ านวนผู้เรียน - 7 - - - 1 - 1 - 1 - - - 10 จ านวนผู้จบ - 7 - - - 1 - 1 - 1 - - - 10
P a g e | 13 10. จ านวนผู้เรียนและผู้ผ่านการฝึกอบรม จ าแนกตามกลุ่มเป้าหมายและเพศ เพศ อายุ ผู้น า ท้อง ถิ่น อบต. ผู้ต้องขัง ทหารกอง ประจ า การ แรง งาน ไทย แรง งาน ต่าง ด้าว เกษตรกร อสม. อื่นๆ รวม ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ จ านวนผู้เรียน - - - - - - - - - - - - - 7 - - - 3 - 10 จ านวนผู้ผ่านการ ฝึกอบรม - - - - - - - - - - - - - 7 - - - 3 - 10 11. จ านวนผู้เรียนและผู้ผ่านการฝึกอบรม แยกตามระดับการศึกษาและเพศ(สอดคล้องกับ แบบ กศ.ตน. 22) วุฒิเดิมผู้เรียน ต่ ากว่า ป.4 ป.4-ป.6 ประถม ม.ต้น ม.ปลาย ปวส. อนุปริญญา ปริญญา รวม ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ จ านวนผู้เรียน - - - 6 - - - 1 - 3 - - - - - - - 10 จ านวนผู้จบ - - - 6 - - - 1 - 3 - - - - - - - 10 12. การติดตามผู้ผ่านการฝึกอบรม 12.1 มีการติดตามผู้ผ่านการฝึกอบรม ( ) ไม่มี เพราะ............................................................................................................................................ ( ) มี ด าเนินการอย่างไร - ใช้แบบติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง (แบบ กศ.ตน.22) . 12.2 ผลการประเมินความพึงพอใจในการจัดโครงการ อยู่ในระดับใด...ความพึงพอใจอยู่ในระดับดี............. 12.3 ผู้ผ่านการฝึกอบรมได้น าความรู้ไปใช้จริง เพิ่มรายได้...-....คน ลดรายจ่าย..10...คน น าไปประกอบอาชีพ..-...คน พัฒนาคุณภาพชีวิต..10...คน ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์...10..คน อื่น ๆ ระบุ............คน 13. ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ 13.1 ปัญหา อุปสรรค ( ) ไม่มี ( ) มี (โปรดระบุ) งบประมาณที่ได้รับจัดสรรค่าวัสดุ ไม่เพียงพอ ด้วยค่าวัสดุที่สูงขึ้น . 13.2 ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................
P a g e | 14 ลงชื่อ...................หนูไกร..........................วิทยากร (นางหนูไกร จันทครู) ลงชื่อ.......................................................ครู กศน.ต าบล (นางวีนัส สรรพสุข) ลงชื่อ..................................................เจ้าหน้าที่งานการศึกษาต่อเนื่อง (นางวีนัส สรรพสุข) ลงชื่อ.......................................................ผู้บริหารสถานศึกษา (นางสาวจีราภรณ์ โนราช) ผู้อ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเทิง
P a g e | 15 รายงานผลการด าเนินการจัดการศึกษาอาชีพ (รูปแบบกลุ่มสนใจ) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเทิง ปีงบประมาณ 2566 1. ประเภทหมวดวิชาที่สอน หมวดด้านคหกรรม ชื่อวิชา การแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด หลักสูตร 15 ชั่วโมง 2. ชื่อผู้สอน นางหนูไกร จันทครู วุฒิการศึกษา ระดับ ม.ปลาย อาชีพเกษตรกร อายุ 66 ปี 3. ประเภทของผู้สอน วิทยากรนอก 4. พื้นที่ด าเนินการ กศน.ต าบลสันทรายงาม หมู่ 2 ต าบลสันทรายงาม อ าเภอเทิง จังหวัดเชียงราย 5. ระยะเวลาด าเนินการ ระหว่างวันที่15 – 17 กุมภาพันธ์ 2566 6. ประเภทงบประมาณที่ใช้ งบประมาณปี2566 งบฯกลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ชม. รหัส 03150002 7. ผู้ด าเนินการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเทิง 8. การแนะแนว มี 9. จ านวนผู้เรียนที่เข้าและส าเร็จ จ าแนกตามพื้นฐานความรู้เดิม และเพศ 10. จ านวนผู้เรียนที่เข้าเรียนและส าเร็จ จ าแนกตามอาชีพและเพศ 11. จ านวนผู้เรียนที่เข้า และส าเร็จจ าแนกตามอายุและเพศ 12. ปัญหาอุปสรรค - 13. ข้อเสนอแนะ ให้จัดกิจกรรมแบบต่อเนื่อง ต่อยอดอาชีพ
P a g e | 16 บันทึกการนิเทศการศึกษาต่อเนื่อง ชื่อสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเทิง ส านักงาน กศน.จังหวัดเชียงราย ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. หลักสูตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด 2. รูปแบบ รูปแบบกลุ่มสนใจจ านวน....15....ชั่วโมง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ จ านวน..........ชั่วโมง รูปแบบการเรียนรู้รายบุคคลจ านวน............ชั่วโมง ระหว่างวันที่ 15 เดือน กุมภาพันธ์พ.ศ.2566 ถึงวันที่ 17 เดือน กุมภาพันธ์พ.ศ.2566 3. ชื่อวิทยากร นางหนูไกร จันทครูสถานที่กศน.ต าบลสันทรายงาม หมู่ 2 ต าบลสันทรายงาม อ าเภอเทิง จังหวัดเชียงราย จ านวนผู้เรียนที่สมัครเรียน 10 คน จ านวนผู้เรียนที่มาเรียนในวันที่นิเทศ 120คน ตอนที่ 2 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ประเด็นการนิเทศ สภาพที่พบ ข้อนิเทศ 1.มีการจัดตามแผนการจัดการเรียนรู้หรือไม่ อย่างไร ครูวิทยากร ผู้เรียนมีการจัดท า แผนการเรียนรู้ร่วมกัน แผนการจัดการเรียนรู้ 2. แผนการจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับ หลักสูตรหรือไม่ แผนการจัดการรัยนรู้มีความ สอดคล้องกับหลักสูตรการแปรรูป ผลิตภัณฑ์เห็ด ความสอดคล้องกับหลักสูตร 3. วิทยากรและผู้เรียนมีการออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ร่วมกันหรือไม่ วิทยากร ผู้เรียน มีการออกแบบ การเรียนรู้ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ 4. วิทยากรใช้สื่อ/วัสดุอุปกรณ์ประกอบ กิจกรรมการเรียนรู้อย่างเหมาะสมหรือไม่ - มีเตาแก๊ส - เห็ดที่หาได้จากในท้องถิ่น สื่อ/อุปกรณ์ 5 การถ่ายทอดความรู้และการประสบการณ์ ของวิทยากร วิทยากรมีการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์การแปรรูปเห็ด น้ าพริกเห็ดและแหนมเห็ด การถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ แบบนิเทศ กศ.ตน. 30
P a g e | 17 ประเด็นการนิเทศ สภาพที่พบ ข้อนิเทศ 6. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมหรือไม่ อย่างไร ผู้เรียนมีส่วนร่วมตั้งแต่เตรียมวัสดุ/ อุปกรณ์การฝึกปฏิบัติ การมีส่วนร่วม 7. เครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม หรือไม่ - เทศบาลต าบลสันทรายงาม - กลุ่มพัฒนาสตรีหมู่2 เครือข่าย 8. การวัดผล ประเมินผล ทั้งทฤษฎีและ ปฏิบัติ เป็นอย่างไรเหมาะสมหรือไม่ วิทยากรมีการวัดผลทางทฤษฎี และการฝึกปฏิบัติจากผลงานการ ท าน้ าพริกเห็ด แหนมเห็ด การวัดผลประเมินผล 9. อื่นๆ......................... ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.......................................................ผู้นิเทศ (นายชาตรี ไชยรัตน์) ครูคศ.1 . 17 กุมภาพันธ์2566
P a g e | 18 แบบประเมินผลการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด จ านวน 15 ชั่วโมง ระหว่างวันที่ 15 เดือน กุมภาพันธ์พ.ศ.2566 ถึงวันที่17 เดือน กุมภาพันธ์พ.ศ.2566 สถานที่จัด ณ กศน.ต าบลสันทรายงาม หมู่ 2 ต.สันทรายงาม อ.เทิง จ.เชียงราย ล าดับ ที่ เลขประจ าตัว ประชาชน ชื่อ – สกุล 1. ความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหา สาระ(20) 2.ทักษะ การปฏิบัติ (40) 3.คุณภาพ ของผลงาน/ ผลการ ปฏิบัติ(40) 4.ผลการ ประเมิน รวม(100) ระดับการ ประเมิน (ผ่าน/ไม่ ผ่าน) 1 5570400007688 นางเสนอ ไชยเดช 10 40 30 80 ผ่าน 2 3570400308835 นางชลธิชา ไชยลิ้นฟ้า 10 40 30 80 ผ่าน 3 3440400326346 นางบุญจันทร์ กรจักร 10 40 30 80 ผ่าน 4 3570400340305 นางสมพิศ วงศ์ขามเปี้ย 10 40 30 80 ผ่าน 5 1570400135560 น.ส.เย็นจิตร พลเยี่ยม 10 40 30 80 ผ่าน 6 3570400366177 นางบังอร เทศสิงห์ 10 40 30 80 ผ่าน 7 5570490013402 นางสายลม ภูกองชัย 10 40 30 90 ผ่าน 8 3570101630875 นางสุดใจ สายชมภู 10 40 30 80 ผ่าน 9 3570400366185 นางนาง พลตื้อ 10 40 30 80 ผ่าน 10 3570400220059 นางจันทร์ ศรีโท 10 40 30 80 ผ่าน หมายเหตุ การประเมินผลการจบหลักสูตรอาจด าเนินการได้ ดังนี้ การประเมินระหว่างเรียน และเมื่อจบหลักสูตร ประเมินครั้งเดียวก่อนจบหลักสูตร ทั้งนี้ เกณฑ์การจบหลักสูตร จะต้องได้คะแนนรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ จึงจะผ่านเกณฑ์การประเมิน ลงชื่อ..........หนูไกร......................วิทยากร ลงชื่อ....................................หัวหน้า กศน.ต าบล (นางหนูไกร จันทครู) (นางวีนัส สรรพสุข) ลงชื่อ.................................................ผู้อนุมัติ (นางสาวจีราภรณ์ โนราช) ผู้อ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและกาศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเทิง แบบ กศ.ตน.7 (1)
P a g e | 19 กรอบการประเมินผลการจัดการศึกษาต่อเนื่อง กรอบการประเมิน วิธีการประเมิน กณฑ์การประเมิน 1.ความรู้ความเข้าใจ ในเนื้อหาสาระ (20) - ทดสอบความรู้ความเข้าใจ - สอบถามความรู้ความเข้าใจ -คะแนนเต็ม 20 คะแนน - ต้องได้ 12 คะแนนขึ้นไปจึงจะถือว่าผ่าน 2. ทักษะการปฏิบัติ (40) -สังเกตการปฏิบัติในระหว่างการเรียนรู้ การจัดกิจกรรม -ประเมินโดยให้สาธิต/แสดงขั้นตอน วิธีการปฏิบัติ -กรณีไม่มีการปฏิบัติจัดท าผลงานให้ ประเมินจากกระบวนการมีส่วนร่วม (ร่วมคิด ร่วมท า ร่วมแก้ปัญหา -ปฏิบัติได้ถูกต้องตามขั้นตอน คล่องแคล่ว รวดเร็ว ไม่มีข้อผิดพลาด/ปัญหา หาก มีปัญหาสามารถแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว 3. คุณภาพของผลงาน ผลการปฏิบัติ(40) -สังเกต/ตรวจสอบผลงาน/ผลการ ปฏิบัติ ว่าเป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนด หรือไม่ - ความถูกต้อง/ความสมบูรณ์ - ความเข็งแรงคงทน/ความสวยงามประณีต - ความประหยัด - ความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายสภาพพื้นที่ ฯลฯ ทั้งนี้เกณฑ์การพิจารณาขึ้นอยู่กับลักษณะหรือ ธรรมชาติของวิชา/หลักสูตรนั้น รวมคะแนน (100) แบบ กศ.ตน.7 (2)
P a g e | 20 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ ผลการประเมิน โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการแปรรูปผลิตภันฑ์เห็ด วัตถุประสงค์ 1.เพื่อส ารวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ 2.เพื่อเป็นข้อมูลในการด าเนินงานครั้งต่อไป ความหมายของระดับความพึงพอใจ ระดับ 5 = มากที่สุดหรือดีมาก 4 = มากหรือดี 3 = ปานกลางหรือพอใช้ 2 = น้อยหรือต่ ากว่ามาตรฐาน 1 = น้อยที่สุดหรือต้องปรับปรุงแก้ไข จ านวนแบบสอบถาม 10 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ านวน ร้อยละ หมายเหตุ 1.ครูอาสาฯ 0 0.00 2.ครูกศน.ต าบล 0 0.00 3.ครูศรช 0 0.00 4.ครูปวช. 0 0.00 5.ผู้เรียนประถม 0 0.00 6.ผู้เรียน ม.ต้น 0 0.00 7.ผู้เรียน ม.ปลาย 0 0.00 8.ผู้เรียน ปวช. 0 0.00 9.ประชาชนทั่วไป 10 100.00 10.อื่นๆ 0 0.00 รวม 12 100.00
P a g e | 21 จ านวน ร้อยละ หมายเหตุ เพศ ชาย - - หญิง 10 100 ช่วงอายุ ต่ ากว่า 15 ปี - - 16-39 ปี 1 10 40-59 ปี 4 40 60 ปีขึ้นไป 5 50 รวม 10 100.00 อาชีพ ข้าราชการ - - รับจ้าง 1 10 ค้าขาย 1 10 เกษตรกร 7 70 อื่นๆ (ไม่มีอาชีพ) 1 10 รวม 10 100.00
P a g e | 22 ส่วนที่ 2 ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุด(5)ร้อยละมาก(4)ร้อยละปานกลาง(2)ร้อยละน้อย(2)ร้อยละน้อยที่สุด(1)ร้อยละ 5 4 3 2 1 1 เนื้อหาตรงตามความตอ้งการ 0 0.00 7 70 3 30.00 0 0 0 0 3.70 74 2 เนื้อหาเพยีงพอตอ่ความตอ้งการ 0 0.00 5 50 5 50.00 0 0 0 0 3.50 70 3 เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย 0 0.00 8 80 2 20.00 0 0 0 0 3.80 76 4 เนื้อหามีประโยชน์ตอ่การน าไปใช้ในการพฒันาคณุภาพชีวติ 4 40.00 6 60 0 0.00 0 0 0 0 4.40 88 4 10.00 26 65 10 25.00 0 0 0 0 3.85 77.00 5 การเตรียมความพร้อมกอ่นอบรม 0 0 6 60 4 40 0 0 0 0 2.40 48 6 การออกแบบกจิกรรมเหมาะสมกบัวตัถุประสงค์ 0 0 5 50 5 50 0 0 0 0 2.00 40 7 การจัดกจิกรรมเหมาะสมกบัเวลา 0 0 4 40 6 60 0 0 0 0 1.60 32 8 การจัดกจิกรรมเหมาะสมกบักลุ่มเป้าหมาย 0 0 4 40 6 60 0 0 0 0 1.60 32 9 วธิกีารวดัผล/ประเมินผลเหมาะสมกบัวตัถุประสงค์ 0 0 7 70 3 30 0 0 0 0 2.80 56 0 0.00 26 52.00 24 48.00 0 0 0 0 3.52 70.40 10 วทิยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด 1 10 8 80.00 1 10.00 0 0 0 0 4.00 80 11 วทิยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม 2 20 8 80.00 0 0.00 0 0 0 0 4.20 84 12 วทิยากรเปิดโอกาสให้มีสว่นร่วมและซกัถาม 5 50 5 50.00 0 0.00 0 0 0 0 4.50 90 8 26.67 21 70.00 1 3.33 0 0 0 0 4.23 84.67 13 สถานที่วสัดุอปุกรณแ์ละสิ่งอ านวยความสะดวก 0 0 7 70 3 30 0 0 0 0 3.70 74 14 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพอื่ให้เกดิการเรียนรู้ 0 0 7 70 3 30 0 0 0 0 3.70 74 15 การบริการ การช่วยเหลอืและการแกป้ ัญหา 0 0 8 80 2 20 0 0 0 0 3.80 76 0 0 22 73.33 8 26.67 0 0 0 0 3.73 74.67 12 8.00 95 63.33 43 28.67 0 0 0 0 3.79 75.87ที่รายการระดบัการประเมินคะแนนเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์คะแนนเฉลี่ยรวมทงั้สนิ้ความพงึพอใจด้านเนื้อหาความพงึพอใจด้านการอา นวยความสะดวกรวมรวมรวมรวมความพงึพอใจต่อวิทยากรความพงึพอใจด้านกระบวนการจดักจิกรรมการอบรม
P a g e | 23 สรุปโดยรวมของการตอบแบบสอบถามความพึงใจที่มีต่อโครงการนี้ คิดเป็นค่าเฉลี่ย 3.79 และคิดเป็นร้อยละ 75.87 อยู่ในเกณฑ์พึงพอใจระดับดี วิเคราะห์และแปลความหมายด้วยค่าเฉลี่ยก าหนดเกณฑ์ดังต่อไปนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.01- 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก คะแนนเฉลี่ย 3.01 - 4.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดี คะแนนเฉลี่ย 2.01 - 3.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.51 - 2.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับพอใช้ คะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปรับปรุง ปัญหา/และข้อเสนอแนะ -
ภาคผนวก ก ภาพประกอบการรายงานผลการจัดกิจกรรม
ภาพประกอบการรายงานผลการจัดกิจกรรม รูปแบบกลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง หลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด จ านวน 15 ชั่วโมง ณ กศน.ต าบลสันทรายงาม หมู่ 2 ต.สันทรายงาม อ.เทิง จ.เชียงราย วันที่ 15 – 17 กุมภาพันธ์2566
ภาคผนวก ข แบบติดตามผู้เข้าร่วมโครงการ (ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องน าความรู้ไปใช้)
แบบติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง กศน.ต าบลสันทรายงาม กศน.อ าเภอเทิง จังหวัดเชียงราย หลักสูตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด รูปแบบกลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ชั่วโมง จ านวน 15 ชั่วโมง ระหว่างวันที่ 15 –17 กุมภาพันธ์2566 ชื่อวิทยากร นางหนูไกร จันทครู ค าชี้แจง 1. แบบติดตามผู้เรียนจบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลของผู้เรียนใน การน าความรู้ไปใช้ประโยชน์หลังจากจบหลักสูตรแล้วดังนี้ 1.1 จัดท าทะเบียนผู้เรียนเข้าเรียนและจบหลักสูตรอาชีพตั้งแต่ 6 ชั่วโมงขึ้นไป 1.2 ติดตามหรือสอบถามผู้จบหลักสูตรตั้งแต่ 6 ชั่วโมงขึ้นไป ด าเนินการโดยสอบถามจากใบสมัคร และเมื่อจบหลักสูตรระยะเวลา 1 เดือน 2. ประเด็นการน าไปใช้ประโยชน์จะขึ้นอยู่กับลักษณะหลักสูตรที่จัด 2.1 ด้านพัฒนาอาชีพเช่น เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย สร้างอาชีพใหม่ ต้องการได้รับการพัฒนา และ ต่อยอดอาชีพเดิมท าเป็นอาชีพเสริม 2..2 ด้านพัฒนาทักษะชีวิต เช่น พัฒนาสุขภาพกาย พัฒนาสุขภาพจิต พัฒนาการคิดวิเคราะห์ 2.3 ด้านพัฒนาสังคมและชุมชนเช่น ร่วมพัฒนาชุมชนแก้ปัญหาภัยแล้ง ด้านการประหยัดพลังงาน ที่ ชื่อ – นามสกุลผู้เรียน การน าไปใช้ประโยชน์ เพิ่ม รายได้ ลด รายจ่าย สร้างอาชีพ ใหม่ พัฒนา คุณภาพชีวิต ใช้เวลาว่าง ให้เกิด ประโยชน์ หมายเหตุ 1 นางเสนอ ไชยเดช 2 นางชลธิชา ไชยลิ้นฟ้า 3 นางบุญจันทร์ กรจักร 4 นางสมพิศ วงศ์ขามเปี้ย 5 น.ส.เย็นจิตร พลเยี่ยม 6 นางบังอร เทศสิงห์ 7 นางสายลม ภูกองชัย 8 นางสุดใจ สายชมภู 9 นางนาง พลตื้อ 10 นางจันทร์ ศรีโท แบบ กศ.ตน.22
ลงชื่อ.............. ................................ผู้รายงาน (นางวีนัส สรรพสุข) ต าแหน่ง ครูกศน.ต าบล เพิ่มรายได้ 0% ลดรายจ่าย 31% สร้างอาชีพใหม่ 9% พัฒนาคุณภาพชีวิต 30% ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 30% แผนภมูิรูปภาพการน าไปใช้ประโยชน์ เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย สร้างอาชีพใหม่ พัฒนาคุณภาพชีวิต ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ภาคผนวก ค แบบปรเมินความพึงพอใจ ผู้เข้าร่วมโครงการ
แบบประเมินความพึงพอใจ หลักสูตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด ระหว่างวันที่ 15 - 17 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 . สถานที่จัด กศน.ต าบลสันทรายงาม หมู่ 2 ต าบลสันทรายงาม อ าเภอเทิง จังหวัดเชียงราย . ข้อมูลพื้นฐานของผู้ประเมินความพึงพอใจ เพศ ...... ชาย ...... หญิง อายุ ปี วุฒิการศึกษา อาชีพ . ค าชี้แจง 1. แบบประเมินความพึงพอใจ มี 4 ตอน 2. โปรดแสดงเครื่องหมาย √ ในช่องว่างระดับความพึงพอใจตามความคิดเห็นของท่าน ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย มาก เหตุ ที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อย ที่สุด ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา 1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ 0 7 3 0 0 2 เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ 0 5 5 0 0 3 เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย 0 8 2 0 0 4 เนื้อหามีประโยชน์ต่อการน าไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 4 6 0 0 0 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 0 6 4 0 0 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 0 5 5 0 0 7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 0 4 6 0 0 8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 6 4 6 0 0 9 วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 0 7 3 0 0 ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร 10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด 1 8 1 0 0 11 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม 2 8 0 0 0 12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม 5 5 0 0 0 ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอ านวยความสะดวก 13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอ านวยความสะดวก 0 7 3 0 0 14 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ 0 7 3 0 0 15 การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา 0 8 3 0 0 ความคิดเห็นและข้อเสนออื่นๆ .............................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................
แบบสรุปความพึงพอใจรูปแบบแผนภูมิรูปภาพ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของผู้ประเมินความพึงพอใจ
ส่วนที่ 2 ระดับความพึงพอใจ
ภาคผนวก ง ภาพกิจกรรมที่เผยแพร่ ทาง Social media
ภาพการเผยแพร่กิจกรรมผ่าน Social Media รูปแบบกลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ชั่วโมง หลักสูตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด จ านวน 15 ชั่วโมง ณ กศน.ต าบลสันทรายงาม หมู่ 2 ต.สันทรายงาม อ.เทิง จ.เชียงราย ระหว่างวันที่ 15 – 17 กุมภาพันธ์2566 https://www.facebook.com/photo/?fbid=606262674676579&set=pcb.60626301134321 2
ภาคผนวก จ แบบขออนุญาตจัดการศึกษาต่อเนื่อง