The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR - โรงเรียนถนนหักพิทยาคม_ปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พิพัฒน์ คุณวงค์, 2023-07-26 23:01:27

SAR - โรงเรียนถนนหักพิทยาคม_ปีการศึกษา 2565

SAR - โรงเรียนถนนหักพิทยาคม_ปีการศึกษา 2565

รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 92 - กิจกรรมค่ายคุณธรรมโรงเรียนวิถีพุทธ 2) มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร - กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 93 - กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี - กิจกรรมเทิดพระเกียรติวันพ่อแห่งชาติ


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 94 - กิจกรรมเทิดพระเกียรติวันเฉลิมพระชนมพรรษา 12 สิงหามหาราชินีและวันแม่แห่งชาติ - กิจกรรมวันปิยมหาราช


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 95 - กิจกรรมวันพระราชทานกำเนิดลูกเสือ - กิจกรรมโครงการโรงเรียนสุจริต


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 96 - กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมปลูกฝังระเบียบวินัย 3) เป็นคนดีและปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนา - กิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 97 - กิจกรรมพระสอนศีลธรรม สอบธรรมศึกษา - กิจกรรมสวดมนต์ทุกวันศุกร์ - กิจกรรมออมอย่างพอเพียงกับธนาคารโรงเรียน


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 98 - กิจกรรมการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นนักศึกษาวิชาทหาร 4) ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่างและสามารถปรับตัวได้ - กิจกรรมเลือกตั้งประธานนักเรียน


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 99 - กิจกรรมกีฬาภายใน - กิจกรรมเสริมภูมิคุ้มกันต่อต้านภัยยาเสพติด เอดส์ การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 100 5) รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและสิ่งแวดล้อม - กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ - กิจกรรมค่ายดาราศาสตร์และทรัพยากรธรณี


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 101 3. จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา ด้านคุณภาพ ได้ดำเนินการศึกษาวิเคราะห์มาตรฐาน ตัวชี้วัด จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ตามองค์ประกอบและ ขออนุญาตใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมผู้เรียนให้ พัฒนาเต็มอย่างศักยภาพ มีสื่อ และใช้เทคโนโลยีใน การจัดการเรียนรู้มีโครงการและกิจกรรมที่สนับสนุน ส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โรงเรียนได้จัดทำโครงการที่หลากหลายเพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รวมทั้งส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรมอย่างต่อเนื่อง ทั้งการเข้าค่ายคุณธรรมจริยธรรม การจัดชั่วโมงคุณธรรมเพื่ออบรมคุณธรรมให้กับนักเรียนทั้ง โรงเรียนสัปดาห์ละหนึ่งชั่วโมง สร้างแนวปฏิบัติและจัดทำ โครงการเพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้กับ นักเรียน ทั้งนี้ได้จัดทำและพัฒนาสื่อประกอบการเรียนรู้ ทั้งสื่อทำมือและสื่อเทคโนโลยีมาใช้ควบคู่กับการจัดการ เรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนอยู่ร่วมกันบน ความแตกต่าง และหลากหลาย มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี และสามารถ อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข เมื่อโรงเรียนมีกิจกรรม นักเรียนให้ความร่วมมือและช่วยกันปฏิบัติงานให้เป็นไป ด้วยความเรียบร้อย การจัดกิจกรรมด้านคุณภาพที่มุ่งเน้น การยกระดับผลสัมฤทธิ์ การยกระดับ ผลสัมฤทธิ์แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ยังไม่ ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร นักเรียนควรได้รับ การพัฒนาความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ และความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เพิ่มขึ้น แผนการจัดการพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานให้สูงขึ้น 1. พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง และ สังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงานอย่างสร้างสรรค์ 2. พัฒนาให้นักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดิมในด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการต่างๆ 3. พัฒนาให้นักเรียนมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ มีความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการเจตคติ ที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น 4. พัฒนาให้นักเรียนมีค่านิยมและจิตสำนึกตามที่สถานศึกษากำหนด มีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่า ของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปัญญาไทย


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 102 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 1. ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 2. วิธีการพัฒนา/กระบวนการ ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง 2.1 วิธีการพัฒนา/กระบวนการ โรงเรียนถนนหักพิทยาคมได้ดำเนินการตามกระบวนการบริหารและจัดการมาตรฐานโรงเรียนเป็นฐาน ได้วิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรใน สถานศึกษา เพื่อวางแผนร่วมกันกำหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์กำหนดพันธกิจ กลยุทธ์ในการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยการพัฒนาภูมิรักษ์โมเดล (PHUMRAK MODEL) ประกอบด้วย 1) สร้างการมีส่วนร่วม (Participate) วางแผนการดำเนินงานด้วยการกำหนดเป้าหมาย จากการระบุและวิเคราะห์ ปัญหา ด้วยการจัดประชาพิจารณ์และประชามติของคณะครูทั้งโรงเรียน ระดมความคิดเห็น รวบรวมข้อมูล จาก แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน ผู้ปกครอง และตัวแทนชุมชน เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน 2) เข้าถึงประวัติศาสตร์ท้องถิ่น (History) การพัฒนาหลักสูตรและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของท้องถิ่น สอดคล้องกับ หลักการทรงงาน “ภูมิสังคม” ที่ว่าการพัฒนาใดๆ ต้องคำนึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นๆ ว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยาเกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจคอของคน ตลอดจนประเพณีวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่นที่มีความแตกต่างกัน และใช้หลักในการปรับตัวให้อยู่กับธรรมชาติให้ได้ โดยอาศัยแหล่งเรียนรู้และทรัพยากรในท้องถิ่นประกอบ การจัดการเรียนรู้ เช่น ปราสาทพนมรุ้ง เขาพระอังคาร 3) รวมพลังทำงานเป็นทีม (Unite) ร่วมกันจัดทำหลักสูตร สถานศึกษาเพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้สู่ชั้นเรียนและจัดทำโครงการต่างๆ บูรณาการร่วมกันในทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ 4) ฝึกจิตอาสา (Mind) สร้างและพัฒนาการมีจิตอาสาให้กับนักเรียนโรงเรียนถนนหักพิทยาคม ผ่าน การร่วมมือกับบ้าน วัด (บวร) องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง 5) สืบสาน พระบรมราโชบายด้านการศึกษา (Royal Policy) การน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาและโครงการอารยเกษตร สืบสาน รักษา ต่อยอดตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงด้วย “โคก หนอง นา แห่งน้ำใจและความหวัง” ลงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม 6) การปรับปรุงการดำเนินงานอย่างเหมาะสม (Act) ทุกการทำกิจกรรมจะมี การวัดและประเมินผลการทำงานอย่างสม่ำเสมอ ผ่านความตั้งใจในการทำงานและความต่อเนื่องของการทำงาน ตรวจสอบผลการดำเนินงานจากการปฏิบัติของนักเรียน พัฒนาการของนักเรียน เสียงสะท้อนจากผู้ปกครอง ชุมชนและสังคม และ 7) การจัดการความรู้สู่สังคม (Knowledge Management) การจัดการองค์ความรู้ด้วย ชุมชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพอย่างมีส่วนร่วมทั้งคณะครู นักเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องด้วยการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้มีการตรวจสอบการทำงานและตรวจสอบความถูกต้องของแนวคิดและองค์ความรู้ที่สร้างขึ้นจาก การดำเนินงาน เพื่อบริหารจัดการสถานศึกษาเชิงระบบ จากการประยุกต์ความรู้และแนวคิด เกิดความร่วมมือทั้ง สถานศึกษา สู่การแก้ปัญหาและพัฒนานักเรียนอย่างต่อเนื่อง


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 103 ภูมิรักษ์โมเดล (PHUMRAK MODEL) มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา มีการจัดการศึกษาแบบทางเลือก (Alternative Education) เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนด้วยการบูรณการกระบวนการเรียนรู้กับเนื้อหาสาระของ สิ่งที่เรียนรู้เข้าด้วยกันอย่างเป็นองค์รวม มีลักษณะนำไปสู่การปฏิบัติและสัมพันธ์กับชีวิตจริง เพื่อกำหนด เป้าหมายและพันธกิจของสถานศึกษาอย่างชัดเจน และมีการกำหนดตัวชี้วัดมาตรฐานของผลลัพธ์ในแต่ละด้าน ประกอบด้วย คุณภาพการบริหารจัดการ มาตรฐานของครูและคุณภาพของผู้เรียน ใช้กระบวนการ PDCA เพื่อ ปรับปรุงการทำงานอย่างต่อเนื่องในการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี เพื่อให้สามารถบริหารจัดการทรัพยากร จัดสรรงบประมาณจัดผู้รับผิดชอบให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน ดำเนินการพัฒนาตามแผนงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้มีการนิเทศติดตาม ประเมินการทำงานแบบ มีส่วนร่วมพัฒนา และกระบวนการ PLC จึงสามารถถอดบทเรียนของปัญหาและความสำเร็จในการทำงานได้ จัดทำสารสนเทศที่ตรวจสอบและรายงานผลอย่างเป็นปัจจุบัน 2.2 ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง 1. คู่มือการบริหารและจัดการโรงเรียนเป็นฐาน 2. รายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาและการพัฒนาเครือข่ายคุณภาพสถานศึกษา 3. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 4. รายงานผลการนิเทศการจัดการเรียนการสอน 5. รายงานการจัดหลักสูตร 6. รายงานการจัดหลักสูตรและการเรียนทางเลือก 7. รายงานการระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา 8. รายงานการพัฒนาด้านวิชาการ 9. รายงานผลการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 104 10. รายงานจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 11. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ 12. เกียรติบัตร/รางวัล 3. จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา แผนการพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานให้สูงขึ้น จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา 1. มีกระบวนการสร้างเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาโดยร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ 2. มีการปรับปรุงแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีให้มีความเป็นไปได้เชิง การปฏิบัติ มีความเป็นปัจจุบันและตรวจสอบได้ 3. มีกระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษา ติดตาม อย่างเป็นระบบ 4. มีการส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความเชี่ยวชาญ ทางวิชาชีพในระดับต่างๆตามความถนัดและความสนใจ 1. การพัฒนาเครือข่ายคุณภาพการจัดการศึกษาให้มี ความต่อเนื่องและยั่งยืน 2. การส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิดเชิงระบบ ของผู้เรียน 3. การพัฒนางานด้านสถานที่ในการดูแลและจัดการ ความสะอาดในโรงเรียนให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4. การจัดการระบบอินเทอร์เน็ตให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ การเรียนรู้ภายในโรงเรียน แผนการจัดการพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานให้สูงขึ้น 1. การจัดทำโครงการเพื่อพัฒนาเครือข่ายคุณภาพการศึกษา ให้ความร่วมมือในการบริการวิชาการ ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 2. การสมัครเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งเสริมการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมกระบวนการคิด ของผู้เรียนและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการที่พัฒนาทักษะการคิดเชิงระบบ 3. เข้าร่วมกิจกรรมแข่งขันโครงการต่างๆ เพื่อพัฒนามาตรฐานการทำงานของโรงเรียน 4. พัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตให้ครอบคลุมทุกพื้นที่การเรียนรู้ภายในโรงเรียน


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 105 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1. ระดับคุณภาพ ดีเลิศ 2. วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการ ประเมินตนเอง 2.1 วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา โรงเรียนถนนหักพิทยาคมได้จัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผ่านการดำเนินงาน/ กิจกรรมที่หลากหลาย มีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัดฯ ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนรู้เชิงรุกที่เน้นการปฏิบัติ (Active learning) ให้ผู้เรียนฝึกกระบวนการคิด โดย การใช้แบบฝึก แบบทดลอง การใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) เพื่อสร้างกระบวนการคิดขั้นสูง นำไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและคงทนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ในการจัดการเรียนรู้ครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีการคัดกรองนักเรียน กำหนดการวัดผลประเมินผลชัดเจน ตรงตามตัวบ่งชี้ มีการประเมินผลหลากหลายตามความแตกต่างของนักเรียนแต่ละบุคคล ดำเนินการตรวจสอบ และประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียนมาร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำผลที่ได้มา ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้จัดกิจกรรมได้จริง มีการจัดการเรียนรู้ที่ หลากหลายตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียน มีการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ร่วมกับสื่อเทคโนโลยี การจัดการเรียนรู้ผ่านโครงการอารยเกษตร สืบสาน รักษา ต่อยอดตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) และน้อมนำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน ครูใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้นักเรียนรักการเรียนรู้และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข จัดแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ บริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ครูร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำข้อมูล มาพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูผลิตนวัตกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ อีกทั้งปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนมีวินัยในห้องเรียน มีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดขั้นสูง โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ร่วมกับสื่อเทคโนโลยี การจัดการเรียนรู้ผ่านโครงการอารยเกษตร สืบสาน รักษา ต่อยอดตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) และการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) ครูและนักเรียนร่วมกันจัดป้ายนิเทศ และจัดบรรยากาศตามสถานที่ต่างๆ ทั้งภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ครูใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมินผลการสอน และนำผลไป ใช้ทำงานวิจัยในชั้นเรียน


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 106 2.2 ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง ภาพประกอบการดำเนินงานด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โรงเรียนมีการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เลือกเรียนตามความถนัด โดยจัด ห้องเรียนทางเลือกมวย นวดไทย และช่างตัดผม จัดรายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมชุมนุม โครงการที่เกี่ยวข้องให้ นักเรียนเลือกตามความถนัดและความสนใจผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง การใช้สื่อ เทคโนโลยีและแหล่ง เรียนรู้ การตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก โดยครูนำผลไป แก้ไขปัญหาจริง ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ โดยการทำวิจัยในชั้นเรียน การจัดการเรียนรู้สู่การปฎิบัติจริงเพื่อให้นักเรียนได้ปฏิบัติส่งเสริมการเป็นพลเมืองที่ดี การดำเนินกิจกรรมของโรงเรียนเรียน เช่น กิจกรรมสภานักเรียน, โครงงานคุณธรรม, กิจกรรมจิตอาสานวดไทย, กิจกรรม To be number one, กิจกรรมกีฬาภายใน, กิจกรรมวันสุนทรภู่, กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์, กิจกรรม รณรงค์ประชาธิปไตย, กิจกรรมสัปดาห์อาเซียนและวันแม่แห่งชาติ, กิจกรรมวันคริสต์มาส, กิจกรรมการทำบุญปี ใหม่, กิจกรรมการทำบุญเนื่องในวันทางศาสนา, กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ, การปฏิบัติหน้าที่ตามที่นักเรียนได้รับ มอบหมายจากโรงเรียน และการปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาตนเอง พัฒนา กระบวนการคิด ผ่านการนำเสนอผลงาน จัดนิทรรศการแสดงผลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักเรียน ครูและ ชุมชน 3. จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้ นักเรียนได้เรียนรู้ โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ร่วมกับสื่อเทคโนโลยี การจัดการเรียนรู้ผ่านโครงการอารยเกษตร สืบสาน รักษา ต่อยอดตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) และการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) ที่เน้นพัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง ได้ปฏิบัติจริง นักเรียนแสวงหา ความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วม ในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ควรมีการพัฒนากระบวนการคิด ของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง ฝึกทักษะ การแสดงออกของนักเรียน จัดการ แหล่งเรียนรู้ให้มีคุณภาพ ให้ชุมชน และหน่วยงานภายนอกเข้ามามีส่วน ร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ พัฒนานักเรียนรอบด้าน แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น 1. การปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2. การจัดการเรียนรู้รูปแบบต่างๆ เช่น รูปแบบสะเต็มศึกษาStem Education, ใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน (Phenomenon-based Learning), ใช้การวิจัยเป็นฐาน (Research-based Learning) 3. การพัฒนาการใช้สื่อ เทคโนโลยี สู่ห้องเรียน ใช้สื่อ DLIT 4. กิจกรรมสำหรับนักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ/นักเรียนเรียนรวมให้นักเรียนมีความรู้ สูงขึ้นตามระดับชั้น


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 107 สรุปคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยรวม 1. ระดับคุณภาพ ดีเลิศ 2. วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมิน ตนเอง 2.1 วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา จากผลการดำเนินงาน โครงการและกิจกรรมต่างๆ ในปีการศึกษา 2565 ส่งผลให้โรงเรียนถนนหักพิทยาคม จัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประสบผลสำเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผล การประเมินสรุปว่าได้ระดับ ดีเลิศ ทั้งนี้เพราะ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน อยู่ในระดับคุณภาพ ดีเลิศ เนื่องจาก โรงเรียนถนนหักพิทยาคมจัด การเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ และหลักสูตรสถานศึกษา โดย การพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายที่ว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนา คนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมใน การดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ซึ่งสอดรับกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ได้มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข ดังนั้น การปฏิบัติงานจึงสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านคุณภาพผู้เรียน จำนวน 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน และ มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนถนนหักพิทยาคม 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านคุณภาพ หรือด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ร่วมกับสื่อเทคโนโลยี การจัดการเรียนรู้ผ่านโครงการ อารยเกษตร สืบสาน รักษา ต่อยอดตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน เป็นฐาน (Project-Based Learning) และการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) 2) ด้านคุณธรรม ปลูกฝังให้นักเรียนมีจิตใจที่ดีและปฏิบัติในสิ่งที่ดีงาม ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมสอดคล้องกับวีถี ชุมชนและสังคมได้อย่างมีความสุข โดยนำแนวทางของโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำ โครงการอารยเกษตร สืบสาน รักษา ต่อยอดตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ 3) ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ โรงเรียนจัดทำโครงการและกิจกรรมอย่างหลากหลายเพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ครบทั้ง 8 คุณลักษณะ เพื่อปลูกฝังให้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม เนื่องจาก โรงเรียนได้ ดำเนินตามกระบวนการบริหารและจัดการมาตรฐานโรงเรียนเป็นฐาน ได้วิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัด การศึกษาที่ผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบาย การปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็นจากบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อวางแผนร่วมกันกำหนด เป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์กำหนดพันธกิจ กลยุทธ์ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 108 โดยการพัฒนาภูมิรักษ์โมเดล (PHUMRAK MODEL) เพื่อบริหารจัดการสถานศึกษาเชิงระบบ จากการประยุกต์ ความรู้และแนวคิด เกิดความร่วมมือทั้งสถานศึกษา สู่การแก้ปัญหาและพัฒนานักเรียนอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 3 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อยู่ในระดับดีเลิศ เนื่องจาก โรงเรียนได้จัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผ่านการดำเนินงาน/กิจกรรมที่หลากหลาย มีการประชุม ปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนรู้ เชิงรุกที่เน้นการปฏิบัติ (Active learning) ให้ผู้เรียนฝึกกระบวนการคิด โดยการใช้แบบฝึก แบบทดลอง การใช้ โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) เพื่อสร้างกระบวนการคิดขั้นสูง นำไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและ คงทนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ ครูรู้จัก ผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีการคัดกรองนักเรียน มีการวัดผลประเมินผลชัดเจนตรงตามตัวบ่งชี้ มีการประเมินผล หลากหลายตามความแตกต่างของนักเรียนแต่ละบุคคลดำเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำผลที่ได้มาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้จัดกิจกรรมได้จริง มีการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความถนัดและ ความสนใจของผู้เรียน 2.2 ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง โครงการ/กิจกรรม ตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2565 คำสั่ง เอกสารและสรุปผลการปฏิบัติงาน หลักสูตรสถานศึกษา รางวัล เกียรติบัตร ภาพกิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการกับการปฏิบัติงานในปีการศึกษา 2565 3. จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา แผนการพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานให้สูงขึ้น จุดเด่นแต่ละมาตรฐาน จุดที่ควรพัฒนาแต่ละมาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ด้านคุณภาพ ได้ดำเนินการศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานตัวชี้วัด จัดทำ แผนการจัดการเรียนรู้ตามองค์ประกอบและขออนุญาตใช้แผนการจัด การเรียนรู้ ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ มีสื่อ และใช้ เทคโนโลยีใช้ในการจัดการเรียนการสอน มีโครงการและกิจกรรมที่ สนับสนุนส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โรงเรียนได้จัดทำโครงการที่หลากหลายเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียน รวมทั้งส่งเสริมด้านคุณธรรมจริยธรรมอย่างต่อเนื่อง ทั้งการเข้า ค่ายคุณธรรมจริยธรรม การจัดชั่วโมงคุณธรรมเพื่ออบรมคุณธรรมให้กับ นักเรียนทั้งโรงเรียนสัปดาห์ละหนึ่งชั่วโมง สร้างแนวปฏิบัติและจัดทำ โครงการเพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้กับนักเรียน ทั้งนี้ได้ จัดทำและพัฒนาสื่อประกอบการเรียนรู้ ทั้งสื่อทำมือและสื่อเทคโนโลยี มาใช้ควบคู่กับการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนอยู่ร่วมกันบน ความแตกต่างและหลากหลาย มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี และสามารถ การจัดกิจกรรมด้านคุณภาพที่มุ่งเน้น การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การยกระดับผลสัมฤทธิ์แต่ละกลุ่ม สาระการเรียนรู้ยังไม่ประสบผลสำเร็จ เท่าที่ควร นักเรียนควรได้รับการพัฒนา ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และ ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เพิ่มขึ้น


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 109 จุดเด่นแต่ละมาตรฐาน จุดที่ควรพัฒนาแต่ละมาตรฐาน อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข เมื่อโรงเรียนมีกิจกรรมนักเรียนให้ ความร่วมมือและช่วยกันปฏิบัติงานให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 1. มีกระบวนการสร้างเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยร่วมมือ กับหน่วยงานต่างๆ 2. มีการปรับปรุงแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ ประจำปีให้มีความเป็นไปได้เชิงการปฏิบัติ มีความเป็นปัจจุบันและ ตรวจสอบได้ 3. มีกระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษา ติดตาม อย่างเป็นระบบ 4. มีการส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพในระดับ ต่างๆ ตามความถนัดและความสนใจ 1. การพัฒนาเครือข่ายคุณภาพการจัด การศึกษาให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืน 2. การส่งเสริมและพัฒนากระบวนการ คิดเชิงระบบของผู้เรียน 3. การพัฒนางานด้านสถานที่ใน การดูแลและจัดการความสะอาดใน โรงเรียนให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4. การจัดการระบบอินเทอร์เน็ตให้ ครอบคลุมทุกพื้นที่การเรียนรู้ภายใน โรงเรียน มาตรฐานที่ 3 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้ นักเรียนได้เรียนรู้ โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ร่วมกับสื่อเทคโนโลยี การจัดการเรียนรู้ผ่านโครงการอารยเกษตร สืบสาน รักษา ต่อยอดตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง การจัด การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) และ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) ที่เน้นพัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง ได้ปฏิบัติจริง นักเรียนแสวงหาความรู้ จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัด บรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ควรมีการพัฒนากระบวนการคิด ของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง ฝึกทักษะ การแสดงออกของนักเรียน จัดการ แหล่งเรียนรู้ให้มีคุณภาพ ให้ชุมชนและ หน่วยงานภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมใน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนา นักเรียนรอบด้าน แผนการพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานให้สูงขึ้น โรงเรียนถนนหักพิทยาคม ได้ดำเนินงานและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยได้กำหนดแผนการพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานให้สูงขึ้น ดังนี้ 1. พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง และสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงานอย่างสร้างสรรค์ 2. พัฒนาให้นักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดิมในด้าน ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการต่างๆ


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 110 3. พัฒนาให้นักเรียนมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ มีความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัด การเจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น 4. พัฒนาให้นักเรียนมีค่านิยมและจิตสำนึกตามที่สถานศึกษากำหนด มีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่า ของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปัญญาไทย 5. การจัดทำโครงการเพื่อพัฒนาเครือข่ายคุณภาพการศึกษา ให้ความร่วมมือในการบริการวิชาการ ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 6. การสมัครเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งเสริมการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมกระบวนการคิด ของผู้เรียนและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการที่พัฒนาทักษะการคิดเชิงระบบ 7. เข้าร่วมกิจกรรมแข่งขันโครงการต่างๆ เพื่อพัฒนามาตรฐานการทำงานของโรงเรียน 8. พัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตให้ครอบคลุมทุกพื้นที่การเรียนรู้ภายในโรงเรียน 9. การปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 10. การจัดการเรียนรู้รูปแบบต่างๆ เช่น รูปแบบสะเต็มศึกษา Stem Education, ใช้ปรากฏการณ์เป็น ฐาน (Phenomenon-based Learning), ใช้การวิจัยเป็นฐาน (Research-based Learning) 11. การพัฒนาการใช้สื่อ เทคโนโลยี สู่ห้องเรียน ใช้สื่อ DLIT 12. กิจกรรมสำหรับนักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ/นักเรียนเรียนรวมให้นักเรียนมีความรู้ สูงขึ้นตามระดับชั้น ความต้องการและการช่วยเหลือ 1. การอบรมพัฒนาครูผู้สอนในการสร้างเครือข่ายและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับ การพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 2. การอบรมพัฒนาวิชาชีพ การขอให้มีหรือเลื่อนวิทยฐานะตามเกณฑ์ กคศ. รูปแบบ ว PA 3. การของบประมาณในการจัดหาวัสดุครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ และจัดสร้างอาคารเรียนเพิ่มเติมให้พอเพียง กับจำนวนห้องเรียนและนักเรียน


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 111 ส่วนที่ 3 ผลงานที่ประสบความสำเร็จ (Best Practice) ผลงานที่ประสบความสำเร็จปีการศึกษา 2565 โรงเรียนถนนหักพิทยาคม ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีการศึกษาที่ผ่านมา 1) การนำเสนอผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นรายมาตรฐาน มาตรฐานที่ ข้อที่ ระดับคุณภาพ 5 4 3 2 1 1 ด้านวิชาการ 1. การน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาในหลวงรัชกาลที่ 10 และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา 5 2. นโยบาย “No Child Left Behind” (ไม่มีเด็กคนใดถูกทอดทิ้ง ไว้ข้างหลัง) 5 3. การบริหารจัดการหลักสูตร 5 4. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 5 5. การใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน 5 6. การขับเคลื่อนกระบวนการวิจัย เพื่อพัฒนาระบบการวัดและ ประเมินผล 5 7. การส่งเสริมนิสัยรักการอ่านอย่างเป็นรูปธรรม 5 8. กระบวนการนิเทศภายใน 5 9. การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 5 10. การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาความสามารถ ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 4 11. การส่งเสริมระบบระบบการแนะแนวและการจัดการเรียนรวมที่ มีประสิทธิภาพ ในสถานศึกษา 5 คะแนน 50 4 ผลรวม 54 คะแนนเฉลี่ย 4.91 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 2. ด้านงบประมาณ 1. การบริหารทางการเงินให้เป็นไปตามแผนการใช้จ่ายเงิน 5 2. การบริหารการเงินและบัญชี 5 3. การบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์การจัดซื้อ จัดจ้าง(หนังสือ เรียน) 5 4. การบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์การจัดทำบัญชีวัสดุและ ทะเบียนคุมทรัพย์สิน 5 คะแนน 20


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 112 มาตรฐานที่ ข้อที่ ระดับคุณภาพ 5 4 3 2 1 ผลรวม 20 คะแนนเฉลี่ย 5.00 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 3 ด้านบุคคล 1. การบริหารงานด้านบุคลากรโดยยึดหลักธรรมาภิบาลเน้น ความถูกต้องเป็นธรรม โปร่งใส และตรวจสอบได้ 5 2. การส่งเสริมและพัฒนา ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการ ศึกษาอย่างต่อเนื่องเป็นรูปธรรม 5 3. การเสริมสร้างขวัญ กำลังใจ ให้กับบุคลากรในการปฏิบัติงาน 5 คะแนน 15 ผลรวม 15 คะแนนเฉลี่ย 5.00 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 4. ด้านบริหารทั่วไป 1. พื้นที่ปลอดภัย ได้คุณภาพตามมาตรฐาน 5 2. ระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 5 3. สถานศึกษา มีการพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูล สารสนเทศและระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง 5 4. มาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายใน สำหรับ หน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 ที่เป็นปัจจุบันและถูกต้อง 5 5. การส่งเสริมระบบการดูแลช่วยเหลือและการคุ้มครอง นักเรียน 5 6. การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาและเสริมสร้างความสามารถของ ผู้เรียนเพื่อความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ 5 คะแนน 30 ผลรวม 30 คะแนนเฉลี่ย 5.00 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 113 แบบสรุปผลการประเมินการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาบูรณาการ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนถนนหักพิทยาคม สหวิทยาเขตนางรอง ภาคเรียนที่ 2/2565 การประเมิน มาตรฐานที่ 1 ด้านวิชาการ มาตรฐานที่ 2 ด้าน งบประมาณ มาตรฐานที่ 3 ด้าน บริหารงาน บุคคล มาตรฐานที่ 4 ด้าน บริหารงาน ทั่วไป รวมเฉลี่ย ระดับ คุณภาพ ประเมินตนเอง 4.91 5.00 5.00 5.00 4.98 ยอดเยี่ยม คณะกรรมการ ลงชื่อ ลงชื่อ (นายสุบิน ฝ่ายเทศ) (นางอารีย์ อุไรรัมย์) ผู้อำนวยการโรงเรียนถนนหักพิทยาคม ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนถนนหักพิทยาคม 2) การสรุปผลการประเมินของสถานศึกษาในภาพรวม 2.1 มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยรวม ระดับคุณภาพ ดีเลิศ มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา การประเมินคุณภาพ ภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ดีเลิศ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ดีเลิศ 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ดีเลิศ 2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ดีเลิศ 3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ดีเลิศ 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ยอดเยี่ยม 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ดีเลิศ 6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ดีเลิศ 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ยอดเยี่ยม 1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ดีเลิศ 2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ยอดเยี่ยม 3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ยอดเยี่ยม 4) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม ยอดเยี่ยม


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 114 มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา การประเมินคุณภาพ ภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัดการ ยอดเยี่ยม 2.1 การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ยอดเยี่ยม 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยี่ยม 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ยอดเยี่ยม 2.4 พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ยอดเยี่ยม 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี คุณภาพ ยอดเยี่ยม 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู้ ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดีเลิศ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตได้ ยอดเยี่ยม 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ดีเลิศ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ดีเลิศ 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ดีเลิศ 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ จัดการเรียนรู้ ดีเลิศ สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ดีเลิศ


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 115 2.2 ผลการประเมินคุณภาพภายนอก


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 116 รายงานการประกันคุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใต้สถานการณ์ COVID – 19 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 117


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 118


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 119


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 120


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 121


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 122


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 123


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 124


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 125 การดำเนินงานตามข้อเสนอแนะของการประเมินคุณภาพภายนอก ข้อเสนอแนะ โครงการ/กิจกรรมดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ด้านผลการการจัดการศึกษา 1. สถานศึกษาระบุข้อมูลในรายงาน การประเมินตนเอง (SAR) ได้ครบถ้วน แต่ เพื่อให้ SAR มีความสมบูรณ์และชัดเจนมาก ยิ่งขึ้น จึงควรเพิ่มข้อมูลในประเด็นการระบุ เป้าหมายคุณภาพของผู้เรียน ที่สอดคล้องกับ จุดเน้น ผู้เรียนมีความสามารถด้านการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ จัดกลุ่มผู้เรียนเป็น ๓ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มสูง กลุ่ม ปานกลาง และกลุ่มต่ำ สร้างเครื่องมือ แบบฝึก แบบสอนเสริม จัดตารางปฏิทินให้ผู้เรียนได้รับ การพัฒนาตามเครื่องมือ วัดผลผู้เรียนตาม สภาพจริง เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถอ่าน เขียนคล่องทุกคน มีการประเมินความพึงพอใจ ของผู้เรียน สรุปรายงานให้ผู้บริหาร ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องรับทราบผ่านช่องทางที่ หลากหลาย - โครงการพัฒนาการอ่าน การเขียน และการสื่อสาร - โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ - โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน - โครงการสัปดาห์ห้องสมุด ดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา ผู้เรียนด้านการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และยกระดัผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียน โดยจัด กลุ่มผู้เรียนเป็น ๓ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มสูง กลุ่มปานกลาง และกลุ่ม ต่ำ สร้างเครื่องมือ แบบฝึก แบบ สอนเสริม จัดตารางปฏิทินให้ ผู้เรียนได้รับการพัฒนาตาม เครื่องมือ วัดผลประเมินผล การพัฒนาผู้เรียนตามสภาพจริง สรุปรายงานต่อผู้บริหาร แต่ยัง ขาดการประเมินความพึงพอใจ ของนักเรียน และการรายงานต่อ ผู้ปกครองและชุมชน ด้านบริหารการจัดการศึกษา 1. สถานศึกษารายงานระบบข้อมูลรายงาน การประเมินตนเอง SAR ได้ครบถ้วนตาม กระบวนการ PDCA แต่เพื่อให้ SAR มี ความสมบูรณ์และชัดเจนมากยิ่งขึ้น ควร เพิ่มเติมข้อมูลในประเด็น การนำแผน การดำเนินการไปใช้ดำเนินการ โดยจัดทำ กิจกรรม โครงการที่สนองการมีส่วนร่วมของ ชุมชนกับสถานศึกษา โดยระบุวิธีดำเนินการ วิธีประเมินผลและผลการดำเนินการ พร้อมกับ รายงานผลที่ได้นำผลที่ได้เปรียนเทียบกับค่า เป้าหมาย สรุปรายงานผลการดำเนินการ วิเคราะห์จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา เพื่อเป็นฐาน ในการพัฒนาในปีการศึกษาต่อไป รายงานต้น สังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระบุปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินการ และแนวทาง ปรับปรุงพัฒนาให้สูงขึ้น เพื่อให้เป็นข้อมูลใน - การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา - การจัดสภาพแวดล้อมทาง กายภาพและทางสังคมที่เอื้อต่อ การจัดการศึกษา - การจัดหาสื่ออุปกรณ์การศึกษา เทคโนโลยี - การพัฒนาครู - การพัฒนาเครือข่ายคุณภาพ การศึกษา - โครงการปรับปรุงซ่อมแซมของ โรงเรียน - โครงการจัดซื้อวัสดุสำนักงาน ดำเนินการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา จัดสภาพแวดล้อม ทางกายภาพและทางสังคมที่เอื้อ ต่อการจัดการศึกษา จัดหาสื่อ อุปกรณ์การศึกษา เทคโนโลยี พัฒนาครู และปรับปรุงซ่อมแซม โรงเรียน โดยได้ระบุวิธีดำเนินการ วิธีประเมินผลและผลการ ดำเนินการ รายงานผลที่ได้ รวมทั้งมีการประชาสัมพันธ์ ผลงานของสถานศึกษาในหลาย ช่องทาง


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 126 ข้อเสนอแนะ โครงการ/กิจกรรมดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน การวางแผนพัฒนาในปีการศึกษาถัดไป รวมทั้ง มีการประชาสัมพันธ์ผลงานของสถานศึกษาใน หลายช่องทาง เพื่อเป็นการสร้างความเชื่อมั่น นำไปสู่การมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา อย่างยั่งยืนต่อไป ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ 1. สถานศึกษานำเสนอข้อมูลในรายงาน การประเมินตนเอง (SAR) ได้ครบถ้วน แต่ เพื่อให้ SAR มีความสมบูรณ์และชัดเจนยิ่งขึ้น จึงควรเพิ่มข้อมูลในประเด็น ครูทุกคนมีการนำ แผนการจัดการเรียนรู้ใปใช้ในการจัดการเรียน การสอนโดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและ แหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ที่มีความสอดคล้อง กับจุดเน้น ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้น การปฏิบัติจริง เพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้ง และคงทนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของ หลักสูตรสถานศึกษา โดยการจัดนิทรรศการ แสดงผลงานของผู้เรียน ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียน ทุกระดับชั้นได้ลงมือปฏิบัติผ่านกระบวนการ คิดและปฏิบัติจริง ให้คณะครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ตลอดทั้งชุมชนได้ รับชมผลงานของผู้เรียน มีการวัดผล ประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลาย เพื่อเป็น ข้อมูลให้ครูนำไปวางแผนการจัดการเรียนรู้ ครบทุกกลุ่มรายวิชา ทุกชั้นปี รวมทั้งนำไป พัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครูอย่าง เป็นระบบ ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ ข้อมูลป้อนกลับแก่ผู้เรียนและครูทุกคน นำไป พัฒนาตนเองและพัฒนาการจัดการเรียนการ สอนให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น - จัดอบรมการสร้างและพัฒนาสื่อ เทคโนโลยีให้กับครูในโรงเรียน - จัดอบรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ให้กับครูใน โรงเรียน - จัดการนิเทศการสอนในรูปแบบ ต่างๆ ดำเนินการจัดอบรมการสร้างและ พัฒนาสื่อเทคโนโลยีและจัด การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ให้กับครูในโรงเรียน จัดการนิเทศการสอนในรูปแบบ ต่างๆ ให้ครูได้สร้างและพัฒนาสื่อ ประกอบการเรียนรู้อยู่เสมอ เพื่อ นำไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและ คงทนตามมาตรฐานและตัวชี้วัด ของหลักสูตรสถานศึกษา เปิดโอกาสให้ผู้เรียนทุกระดับชั้น ได้ลงมือปฏิบัติผ่านกระบวนการ คิดและปฏิบัติจริง ให้คณะครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการ สถานศึกษา ตลอดทั้งชุมชนได้ รับชมผลงานของผู้เรียน มีการ วัดผลประเมินผลด้วยวิธีการที่ หลากหลาย เพื่อเป็นข้อมูลให้ครู นำไปวางแผนการจัดการเรียนรู้


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 127 ภาคผนวก


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 128 ภาคผนวก ก - ประกาศมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา - รายละเอียดค่าเป้าหมายของสถานศึกษา - คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาเพื่อประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา - คู่มือและปฏิทินการปฏิบัติงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 129 ประกาศโรงเรียนถนนหักพิทยาคม เรื่อง ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนถนนหักพิทยาคม ****************************** เนื่องด้วยกฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาพ.ศ. 2553 ข้อ 14 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัยระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ฉบับลงวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ได้กำหนดให้สถานศึกษาขั้น พื้นฐานจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ ภายในตาม หลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยต้องดำเนินการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้นคณะกรรมการ ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนถนนหักพิทยาคม จึงได้ร่วมกันกำหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาให้สอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของ กระทรวงศึกษาธิการ โดยคำนึงถึงศักยภาพของผู้เรียน ชุมชน และท้องถิ่น บัดนี้ คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนถนนหัก พิทยาคมได้พิจารณาให้ความเห็นชอบมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเสร็จสิ้นแล้ว จึงขอประกาศใช้ มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียนถนนหักพิทยาคม ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 3 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2562 (นายสิรวิชญ์ สิทธินอก) ผู้อำนวยการโรงเรียนถนนหักพิทยาคม


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 130 รายละเอียดแนบท้ายประกาศโรงเรียนถนนหักพิทยาคม เรื่อง มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2565 มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ 2) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา 3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 4) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัดการ 2.1 การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสุตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคูณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโบยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 4.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 131 ประกาศโรงเรียนถนนหักพิทยาคม เรื่อง การกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565 ****************************** ตามที่มีการประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัยระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ฉบับลงวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2561 นโยบายการปฏิรูปการศึกษาที่กำหนดเป้าหมายและ ยุทธศาสตร์อย่างชัดเจนในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและ การศึกษาไทยในอนาคต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม จึงปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานและได้กำหนดค่าเป้าหมายของการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษา โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครอง เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา การประเมินคุณภาพภายในและเพื่อรองรับ การประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนถนนหักพิทยาคม โดยคณะกรรมการ ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565 ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบมาตรฐานคุณภาพและได้ มาตรฐาน จึงได้กำหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานและการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565 ตามรายละเอียดที่แนบมาพร้อมนี้ ประกาศ ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2565 (นายสุบิน ฝ่ายเทศ) ผู้อำนวยการโรงเรียนถนนหักพิทยาคม


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 132 รายละเอียดการกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565 เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/ ประเด็นการพิจารณา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ดีเลิศ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ดีเลิศ 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ดีเลิศ 2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา ดีเลิศ 3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ดีเลิศ 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ยอดเยี่ยม 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ดีเลิศ 6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ดีเลิศ 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ยอดเยี่ยม 1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ดีเลิศ 2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ยอดเยี่ยม 3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ยอดเยี่ยม 4) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัดการ ยอดเยี่ยม 2.1 การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ยอดเยี่ยม 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยี่ยม 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก กลุ่มเป้าหมาย ยอดเยี่ยม 2.4 พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ยอดเยี่ยม 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ยอดเยี่ยม 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดีเลิศ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ยอดเยี่ยม 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ดีเลิศ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ดีเลิศ 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ดีเลิศ 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้ ดีเลิศ สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ดีเลิศ


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 133 การกำหนดค่าเป้าหมาย 1. ศึกษาข้อมูลเดิม ผลการประเมินต่างๆ ที่ผ่านมา เพื่อเป็นข้อมูลฐานในการกำหนดค่าเป้าหมาย 2. การกำหนดค่าเป้าหมาย แต่ละมาตรฐานควรกำหนดเป็น ระดับคุณภาพ 5 ระดับ เพื่อให้สอดคล้องกับการ ประเมิน ดังนี้ ระดับ ยอดเยี่ยม ระดับ ดีเลิศ ระดับ ดี ระดับ ปานกลาง ระดับ กำลังพัฒนา 3. การกำหนดค่าเป้าหมายในแต่ละประเด็นพิจารณาจะกำหนดเป็นระดับคุณภาพ หรือเป็นร้อยละ ตาม ความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 134


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 135


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 136


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 137


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 138


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 139


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 140 แนวปฏิบัติการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2561 ................................................................ โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 ได้ กำหนดระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาอันส่งผลให้การดำเนินงานการประกันคุณภาพ การศึกษาทั้งหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานกำกับดูแล และหน่วยงานภายนอกที่สะท้อนสภาพการดำเนินงานที่ แท้จริงและเกิดประสิทธิภาพ และกำหนดแนวทางในการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับ หลักการประกันคุณภาพการศึกษา และมีกลไกปฏิบัติที่เอื้อต่อการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับให้ เกิดประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้จัดทำแนวปฏิบัติการดำเนินงานการประกันคุณภาพ การศึกษาขึ้นเพื่อให้หน่วยงานต้นสังกัด สำนักงานบริหารการศึกษาพิเศษ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั้ง ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ใช้เป็นแนวปฏิบัติในการดำเนินการเพื่อการพัฒนา ส่งเสริม กำกับดูแล และติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ระดับสถานศึกษา ให้สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานดำเนินการดังต่อไปนี้ 1. ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เพื่อให้เกิดการ พัฒนา และเพื่อเป็นกลไกในการควบคุม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เกิดการพัฒนาและสร้าง ความเชื่อมั่นให้กับสังคม ชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 2. จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ดังนี้ 2.1 กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษา ปฐมวัยและหรือระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กระทรวงประกาศใช้ และให้สถานศึกษากำหนดเป้าหมายความสำเร็จ ตามมาตรฐานของสถานศึกษาตามบริบท ทั้งนี้ สามารถเพิ่มเติมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา นอกเหนือจาก ที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้ได้ โดยให้สถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องดำเนินการและรับผิดชอบร่วมกัน 2.2 จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการจำเป็น ของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยสะท้อนคุณภาพความสำเร็จอย่างชัดเจนตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา 2.3 ดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 2.4 ประเมินและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยกำหนดผู้รับผิดชอบและวิธีการที่เหมาะสม 2.5 ติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษา และนำ ผลการติดตามไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพัฒนา 2.6 จัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา นำเสนอรายงานผลการประเมินตนเองต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบ และจัดส่งรายงานดังกล่าวต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นประจำทุกปี


รายงานการประเมินตนเองโรงเรียนถนนหักพิทยาคม (SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ปีการศึกษา 2565 141 2.7 พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพโดยพิจารณาจากรายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) และตามคำแนะนำของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 3. สถานศึกษาแต่ละแห่งให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา เพื่อปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามข้อเสนอแนะของ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และหน่วยงานต้นสังกัดหรือ หน่วยงานที่กำกับ ดูแล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษา


Click to View FlipBook Version