หลักสูตรสถานศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรียนเมืองแกพทิ ยาสรรค์ พทุ ธศักราช 2561
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง
พุทธศกั ราช 2560)
ผู้จดั ทา
นางสาวฤทยั รัตน์ บตุ รศรีมาศ
หวั หนา้ กล่มุ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
โรงเรียนเมอื งแกพทิ ยาสรรค์
สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาสุรินทร์
ความนา
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ประกาศใชห้ ลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ ใหเ้ ป็นหลกั สตู รแกนกลางของ
ประเทศ โดยกาหนดจดุ หมาย และมาตรฐานการเรียนรูเ้ ป็นเปา้ หมายและกรอบทิศทางในการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี
มปี ัญญา มีคณุ ภาพชีวติ ทด่ี ีและมีขดี ความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๔) พร้อมกันน้ีได้
ปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรใหม้ คี วามสอดคลอ้ งกับเจตนารมณ์แหง่ พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ
ท่ีแกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ทม่ี งุ่ เนน้ การกระจายอานาจทางการศึกษาให้ทอ้ งถ่ินและสถานศึกษาได้มบี ทบาทและ
มีส่วนรว่ มในการพัฒนาหลักสตู ร เพอื่ ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพ และความต้องการของทอ้ งถ่นิ (สานักนายกรฐั มนตรี, ๒๕๔๒)
จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ ๖ ปีที่ผ่านมา (สานักวิชาการและมาตรฐาน
การศึกษา, ๒๕๔๖ ก., ๒๕๔๖ ข., ๒๕๔๘ ก., ๒๕๔๙ ข.; สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, ๒๕๔๗; สานักผู้ตรวจราชการ
และติดตามประเมินผล, ๒๕๔๘; สุวิมล ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย, ๒๕๔๗; Nutravong, ๒๐๐๒; Kittisunthorn,
๒๐๐๓) พบวา่ หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๕ มจี ุดดหี ลายประการ เชน่ ช่วยส่งเสริมการกระจายอานาจ
ทางการศึกษาทาให้ทอ้ งถน่ิ และสถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาทสาคญั ในการพัฒนาหลกั สูตรใหส้ อดคล้องกบั ความตอ้ งการ
ของทอ้ งถ่ิน และมีแนวคิดและหลกั การในการสง่ เสริมการพัฒนาผ้เู รียนแบบองคร์ วมอย่างชัดเจน อยา่ งไรก็ตาม ผลการศกึ ษา
ดังกล่าวยังได้สะท้อนให้เห็นถึงประเด็นที่เป็นปัญหาและความไม่ชัดเจนของหลักสูตรหลายประการทั้งในส่วนของเอกสาร
หลกั สูตร กระบวนการนาหลักสตู รส่กู ารปฏิบัติ และผลผลิตทีเ่ กดิ จากการใช้หลกั สูตร ได้แก่ ปัญหาความสบั สนของผปู้ ฏิบัติใน
ระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา สถานศกึ ษาส่วนใหญก่ าหนดสาระและผลการเรยี นรู้ ที่คาดหวังไว้มาก ทา
ให้เกิดปัญหาหลักสูตรแน่น การวัดและประเมินผลไม่สะท้อนมาตรฐาน ส่งผลต่อปัญหาการจัดทาเอกสารหลักฐานทาง
การศึกษาและการเทยี บโอนผลการเรียน รวมทัง้ ปญั หาคณุ ภาพของผู้เรียนในดา้ นความรู้ ทกั ษะ ความสามารถและคณุ ลกั ษณะ
ทีพ่ ึงประสงค์อันยังไม่เปน็ ทน่ี ่าพอใจ
นอกจากน้นั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๑๐ ( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) ไดช้ ใ้ี ห้เหน็ ถงึ ความจาเป็น
ในการปรบั เปล่ียนจดุ เน้นในการพัฒนาคณุ ภาพคนในสงั คมไทยให้ มคี ุณธรรม และมคี วามรอบรอู้ ยา่ งเท่าทัน ให้มีความพร้อม
ทง้ั ด้านรา่ งกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ และศลี ธรรม สามารถกา้ วทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อนาไปสู่สงั คมฐานความร้ไู ดอ้ ย่างม่ันคง
แนวการพัฒนาคนดังกล่าวมุง่ เตรยี มเด็กและเยาวชนให้มีพื้นฐานจติ ใจท่ีดีงาม มีจติ สาธารณะ พรอ้ มทั้งมีสมรรถนะ ทักษะและ
ความรพู้ ืน้ ฐานที่จาเป็นในการดารงชีวติ อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยัง่ ยืน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ,
๒๕๔๙) ซง่ึ แนวทางดังกล่าวสอดคล้องกบั นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการในการพฒั นาเยาวชนของชาตเิ ข้าสู่โลกยุคศตวรรษ
ท่ี ๒๑ โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนมีคุณธรรม รักความเป็นไทย ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะด้ านเทคโนโลยี
สามารถทางานรว่ มกบั ผอู้ นื่ และสามารถอยู่ร่วมกับผูอ้ น่ื ในสงั คมโลกไดอ้ ยา่ งสนั ติ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๕๑)
หลักการ
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลกั การทสี่ าคญั ดังนี้
๑. เป็นหลกั สตู รการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการพื้นฐานของความเป็นไทย
ควบคกู่ บั ความเปน็ สากล
๒. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาเพ่อื ปวงชน ทีป่ ระชาชนทกุ คนมโี อกาสได้รบั การศกึ ษาอย่างเสมอภาค และมคี ุณภาพ
๓. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาทีส่ นองการกระจายอานาจ ใหส้ งั คมมีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกบั สภาพ
และความต้องการของท้องถน่ิ
๔. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาทม่ี โี ครงสรา้ งยดื หยุ่นทงั้ ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการจดั การเรยี นรู้
๕. เป็นหลักสตู รการศึกษาที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย
สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์
จุดหมาย
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรยี นให้เป็นคนดี มีปญั ญา มคี วามสขุ มศี กั ยภาพใน
การศกึ ษาต่อ และประกอบอาชพี จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผ้เู รียน เมอื่ จบการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ดังน้ี
๑. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เหน็ คณุ คา่ ของตนเอง มวี ินยั และปฏบิ ตั ิตนตามหลักธรรมของ
พระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนับถอื ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใช้เทคโนโลยี และมีทกั ษะชีวิต
๓. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดี มสี ขุ นิสยั และรกั การออกกาลงั กาย
๔. มคี วามรักชาติ มจี ิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่นั ในวิถชี วี ิตและการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข
๕. มีจิตสานึกในการอนุรกั ษ์วฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย การอนุรกั ษแ์ ละพัฒนาส่งิ แวดลอ้ ม มจี ิตสาธารณะท่ีมุ่งทา
ประโยชนแ์ ละสรา้ งส่งิ ทด่ี ีงามในสงั คม และอยู่ร่วมกนั ในสังคมอย่างมีความสขุ
สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน มุ่งเน้นพฒั นาผเู้ รียนให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานท่ี
กาหนด ซ่งึ จะชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ดังน้ี
สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ม่งุ ใหผ้ เู้ รยี นเกิดสมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดังน้ี
๑. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอด
ความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็น
ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับ
หรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสอ่ื สาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถงึ
ผลกระทบท่มี ตี อ่ ตนเองและสงั คม
๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคดิ สงั เคราะห์ การคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ การ
คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพือ่ นาไปสกู่ ารสรา้ งองค์ความรูห้ รือสารสนเทศเพื่อการตดั สินใจเก่ียวกับตนเอง
และสังคมได้อยา่ งเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถกู ต้องเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลกั เหตผุ ล คณุ ธรรมและขอ้ มลู สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธแ์ ละการเปลีย่ นแปลงของ
เหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจท่ีมี
ประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบทเ่ี กดิ ขึ้น ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนิน
ชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ สร้างเสริม
ความสัมพนั ธอ์ นั ดีระหวา่ งบคุ คล การจัดการปัญหาและความขดั แย้งต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรบั ตัวใหท้ ันกบั การเปลี่ยนแปลง
ของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรจู้ ักหลีกเลย่ี งพฤติกรรมไมพ่ งึ ประสงค์ท่ีสง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อนื่
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะ
กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่าง
สร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยู่รว่ มกับ
ผอู้ ืน่ ในสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดงั นี้
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซอื่ สัตยส์ จุ ริต
๓. มวี ินัย
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๕. อยู่อย่างพอเพยี ง
๖. มุง่ ม่นั ในการทางาน
๗. รักความเปน็ ไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ
หลักการ
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลกั การทสี่ าคญั ดังนี้
๑. เป็นหลกั สตู รการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการพื้นฐานของความเป็นไทย
ควบคกู่ บั ความเปน็ สากล
๒. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาเพ่อื ปวงชน ท่ปี ระชาชนทกุ คนมโี อกาสได้รบั การศกึ ษาอย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ
๓. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาทีส่ นองการกระจายอานาจ ใหส้ งั คมมีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพ
และความต้องการของท้องถน่ิ
๔. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาทม่ี โี ครงสรา้ งยดื หยุ่นทงั้ ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการจดั การเรียนรู้
๕. เป็นหลักสตู รการศึกษาที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย
สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์
จุดหมาย
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน มงุ่ พัฒนาผเู้ รยี นให้เป็นคนดี มีปญั ญา มคี วามสขุ มศี กั ยภาพใน
การศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกดิ กับผ้เู รียน เมอื่ จบการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ดังนี้
๑. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เหน็ คุณคา่ ของตนเอง มวี ินยั และปฏบิ ตั ิตนตามหลักธรรมของ
พระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนับถอื ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทกั ษะชีวิต
๓. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดี มสี ขุ นิสยั และรกั การออกกาลงั กาย
๔. มคี วามรักชาติ มจี ิตสานึกในความเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ยึดม่นั ในวิถชี วี ิตและการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข
๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย การอนรุ ักษแ์ ละพัฒนาส่งิ แวดลอ้ ม มีจิตสาธารณะท่ีมุ่งทา
ประโยชนแ์ ละสรา้ งส่งิ ทด่ี ีงามในสงั คม และอยู่ร่วมกนั ในสังคมอยา่ งมีความสขุ
สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน มุ่งเน้นพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานท่ี
กาหนด ซ่งึ จะชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้
สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งใหผ้ ู้เรียนเกดิ สมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดงั น้ี
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอด
ความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็น
ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับ
หรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการส่ือสาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถงึ
ผลกระทบท่มี ตี อ่ ตนเองและสงั คม
๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ การ
คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพือ่ นาไปสู่การสร้างองค์ความรูห้ รือสารสนเทศเพ่อื การตดั สินใจเก่ียวกบั ตนเอง
และสังคมได้อยา่ งเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้
อย่างถกู ต้องเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลกั เหตุผล คณุ ธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพันธ์และการเปลีย่ นแปลงของ
เหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจท่ีมี
ประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกดิ ขึ้น ต่อตนเอง สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนิน
ชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ สร้างเสริม
ความสัมพนั ธอ์ นั ดีระหวา่ งบคุ คล การจัดการปัญหาและความขดั แย้งตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม การปรบั ตัวใหท้ ันกบั การเปลี่ยนแปลง
ของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรจู้ ักหลีกเล่ียงพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ท่ีสง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผูอ้ นื่
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะ
กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่าง
สร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยู่รว่ มกับ
ผอู้ ืน่ ในสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดงั นี้
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซอื่ สัตยส์ จุ ริต
๓. มวี ินัย
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๕. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
๖. มุง่ ม่นั ในการทางาน
๗. รักความเปน็ ไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระท่ี ๑ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตนนับถอื
และศาสนาอื่น มีศรทั ธาที่ถกู ตอ้ ง ยึดมน่ั และปฏบิ ตั ิตามหลักธรรม เพ่ืออยรู่ ่วมกันอยา่ งสนั ตสิ ขุ
มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนท่ดี ี และธารงรกั ษาพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาที่
ตนนบั ถือ
สาระท่ี ๒ หนา้ ทพี่ ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชวี ิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เขา้ ใจและปฏิบตั ิตนตามหน้าทข่ี องการเปน็ พลเมืองดี มคี า่ นยิ มท่ีดีงาม และ
ธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สังคมโลกอย่าง
สันติสขุ
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารงรักษาไว้ซ่ึงการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข
สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรพั ยากรในการผลติ และการบริโภคการใช้
ทรพั ยากรที่มีอยู่จากดั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและคมุ้ คา่ รวมทงั้ เข้าใจ
หลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอ่ื การดารงชีวติ อยา่ งมดี ลุ ยภาพ
มาตรฐาน ส.๓.๒ เขา้ ใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกจิ ต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกจิ
และความจาเป็นของการรว่ มมือกนั ทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก
สาระที่ ๔ ประวตั ิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตุการณ์ตา่ งๆ อยา่ งเปน็ ระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาตจิ ากอดีตจนถงึ ปัจจุบัน ในด้านความสมั พนั ธแ์ ละการเปลี่ยนแปลง
ของเหตกุ ารณ์อยา่ งต่อเนื่อง ตระหนักถงึ ความสาคญั และสามารถ วเิ คราะหผ์ ลกระทบที่เกิดขน้ึ
มาตรฐาน ส ๔.๓ เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ
และธารงความเปน็ ไทย
สาระที่ ๕ ภมู ศิ าสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพส่ิงซึ่งมีผล ต่อกันและกันใน
ระบบของธรรมชาติ ใช้แผนท่ีและเครื่องมอื ทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้
ข้อมลู ภมู สิ ารสนเทศอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เขา้ ใจปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ งมนุษย์กบั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท่กี ่อใหเ้ กดิ
การสร้างสรรคว์ ฒั นธรรม มจี ติ สานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรและสงิ่ แวดลอ้ ม
เพ่อื การพฒั นาที่ย่งั ยืน
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ทาไมตอ้ งเรยี นสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
กลุ่มส าร ะการ เรียนรู้สัง ค มศึกษ า ศ าส นาแล ะวัฒนธร ร ม ช่วยให้ ผู้เรียนมีค วามรู้ ค วามเข้าใ จ
การดารงชีวติ ของมนุษย์ทง้ั ในฐานะปัจเจกบคุ คลและการอยู่ร่วมกันในสงั คม การปรับตวั ตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรท่ีมี
อ ยู่ อ ย่ า ง จ า กั ด เ ข้ า ใ จ ถึ ง ก า ร พั ฒ น า เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต า ม ยุ ค ส มั ย ก า ล เ ว ล า
ตามเหตุปัจจัยต่างๆ เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อ่ืน มีความอดทน อดกล้ัน ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม
สามารถนาความรไู้ ปปรบั ใช้ในการดาเนนิ ชวี ิต เปน็ พลเมืองดีของประเทศชาติ และสงั คมโลก
เรียนรูอ้ ะไรในสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ท่ีมีความเช่ือมสัมพันธ์กัน
และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความ
รบั ผดิ ชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมท่เี หมาะสม โดยได้กาหนดสาระตา่ งๆไว้ ดังน้ี
ศาสนา ศลี ธรรมและจริยธรรม แนวคิดพน้ื ฐานเกย่ี วกับศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยู่ร่วมกนั อย่างสันติสุข เป็นผู้กระทา
ความดี มคี ่านิยมทดี่ งี าม พัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ รวมทงั้ บาเพญ็ ประโยชน์ตอ่ สงั คมและส่วนรวม
หน้าทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชีวิต ระบบการเมอื งการปกครองในสงั คมปัจจุบันการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสาคัญ การเป็นพลเมืองดี ความแตกต่างและความ
หลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ
หนา้ ที่ เสรภี าพการดาเนินชวี ติ อย่าง สนั ตสิ ขุ ในสงั คมไทยและสังคมโลก
เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการทรพั ยากรท่ีมีอยู่อยา่ ง
จากดั อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ การดารงชวี ิตอยา่ งมดี ลุ ยภาพ และการนาหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ในชวี ิตประจาวัน
ประวตั ิศาสตร์ เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์ วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึง
ปจั จุบนั ความสมั พันธแ์ ละเปลี่ยนแปลงของเหตุการณต์ ่างๆ ผลกระทบท่ีเกิดจากเหตกุ ารณ์สาคัญในอดตี บคุ คลสาคญั ที่มี
อิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงตา่ งๆในอดตี ความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาไทย แหลง่ อารยธรรมที่สาคญั
ของโลก
ภมู ศิ าสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลกั ษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภูมอิ ากาศของประเทศไทย
และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของส่ิงต่างๆ ในระบบธรรมชาติ
ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างข้ึน การนาเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การ
อนรุ กั ษส์ ิง่ แวดล้อมเพือ่ การพัฒนาที่ย่งั ยืน
คุณภาพผ้เู รียน
จบชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3
มีความรเู้ ก่ียวกบั ความเป็นไปของโลก โดยการศกึ ษาประเทศไทยเปรียบเทยี บกบั ประเทศ ในภูมภิ าคตา่ งๆใน
โลก เพอ่ื พฒั นาแนวคดิ เรอ่ื งการอยู่รว่ มกันอยา่ งสันติสขุ
มที ักษะที่จาเปน็ ต่อการเป็นนักคิดอย่างมวี ิจารณญาณไดร้ ับการพฒั นาแนวคิด และขยาย ประสบการณ์
เปรียบเทยี บ ระหว่างประเทศไทยกบั ประเทศในภูมิภาคตา่ ง ๆ ในโลก ได้แก่ เอเชีย ออสเตรเลยี โอเชยี เนยี
แอฟริกา ยโุ รป อเมริกาเหนอื อเมริกาใต้ ในดา้ นศาสนา คุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม ความเช่ือ
ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วฒั นธรรม การเมืองการปกครอง ประวัตศิ าสตรแ์ ละภมู ศิ าสตร์ ดว้ ยวิธีการทาง
ประวัตศิ าสตร์ และสงั คมศาสตร์
รู้และเข้าใจแนวคิดและวเิ คราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนามาใช้เป็นประโยชน์ ในการดาเนินชวี ิตและ
วางแผนการดาเนนิ งานได้อย่างเหมาะสม
จบช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6
มีความรเู้ กี่ยวกับความเป็นไปของโลกอย่างกวา้ งขวางและลึกซึง้ ย่งิ ข้นึ
เป็นพลเมอื งทดี่ ี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ปฏิบตั ิตามหลกั ธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ รวมทง้ั มคี ่านิยมอันพึง
ประสงค์ สามารถอย่รู ่วมกบั ผู้อืน่ และอยู่ในสงั คมได้อย่างมีความสขุ รวมท้งั มศี กั ยภาพเพื่อ การศึกษาตอ่ ใน
ชัน้ สงู ตามความประสงค์ได้
มีความรู้เรือ่ งภูมิปัญญาไทย ความภมู ิใจในความเปน็ ไทย ประวตั ิศาสตรข์ องชาตไิ ทย ยึดมัน่ ในวิถีชวี ิต และ
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข
มนี ิสยั ท่ดี ีในการบรโิ ภค เลือกและตัดสินใจบริโภคได้อยา่ งเหมาะสม มีจิตสานึก และมสี ว่ น รว่ มในการ
อนรุ ักษป์ ระเพณีวัฒนธรรมไทย และสงิ่ แวดลอ้ ม มีความรกั ทอ้ งถิ่นและประเทศชาติ มงุ่ ทา ประโยชน์ และ
สรา้ งสิ่งที่ดีงามใหก้ บั สงั คม
มคี วามรู้ความสามารถในการจัดการเรียนร้ขู องตนเอง ชี้นาตนเองได้ และสามารถแสวงหา ความรจู้ ากแหลง่
การเรียนรตู้ า่ งๆในสังคมไดต้ ลอดชีวติ
คาอธบิ ายรายวชิ า
โครงสรา้ ง
กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1- 3
วิชาพ้นื ฐาน
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1
ส21101 สังคมศึกษาฯ 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 1.5 หน่วยกิต
ส21102 ประวัติศาสตร์ 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ 0.5 หน่วยกิต
ส21103 สงั คมศึกษาฯ 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 1.5 หนว่ ยกิต
ส21104 ประวัตศิ าสตร์ 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ 0.5 หนว่ ยกติ
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์ 1.5 หน่วยกิต
ส22101 สังคมศกึ ษา ฯ 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์0.5 หน่วยกติ
ส22102 ประวัตศิ าสตร์
3 ช่วั โมง/สปั ดาห์ 1.5 หน่วยกิต
ส22103 สังคมศึกษา ฯ 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์0.5 หนว่ ยกติ
ส22104 ประวตั ศิ าสตร์
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 1.5 หน่วยกิต
ส23101 สังคมศกึ ษา ฯ 1 ช่วั โมง/สปั ดาห์0.5 หน่วยกิต
ส23102 ประวตั ิศาสตร์ 3 ชวั่ โมง/สัปดาห์ 1.5 หนว่ ยกิต
ส23103 สงั คมศึกษา ฯ 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์0.5 หน่วยกิต
ส23104 ประวัติศาสตร์
คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ส21101 สังคมศึกษา ฯ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมชน้ั
มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ เวลาเรียน 20 ชัว่ โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกติ
สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม
ศกึ ษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนับถือสปู่ ระเทศไทย วเิ คราะห์ความสาคัญของ
พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถอื ทมี่ ตี ่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย รวมทง้ั การพฒั นาตนและครอบครวั
วเิ คราะห์พทุ ธประวตั ิต้งั แตป่ ระสูตจิ นถงึ บาเพ็ญทุกรกิริยา หรอื ประวัติศาสดาทีต่ นนับถอื ตามท่กี าหนด
วิเคราะหแ์ ละประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวติ และขอ้ คดิ จากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่า และศา
สนกิ ชนตัวอย่างตามทกี่ าหนด
ศึกษาพทุ ธคณุ และข้อธรรมสาคญั ในกรอบอรยิ สจั 4 หรอื หลกั ธรรมของศาสนาที่ตนนบั ถอื ตามที่
กาหนด เหน็ คุณคา่ และนาไปพฒั นาแก้ปัญหาของตนเองและครอบครวั เหน็ คณุ คา่ ของการพัฒนาจติ เพือ่ การ
เรยี นรู้และการดาเนินชีวติ ด้วยวิธีคดิ แบบโยนิโสมนสกิ ารคอื วธิ คี ดิ แบบคณุ ค่าแท้ – คุณค่าเทยี ม และวธิ ีคิดแบบ
คุณ – โทษ และทางออก หรือการพฒั นาจติ ตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือสวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจติ
และเจริญปญั ญาดว้ ยอานาปานสติ หรือตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถือตามท่กี าหนด
วเิ คราะห์และปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ธรรมทางศาสนาท่ตี นนับถอื ในการดารงชวี ติ แบบพอเพยี ง และดูแล
รกั ษาสิ่งแวดลอ้ มเพื่อการอยรู่ ว่ มกันไดอ้ ยา่ งสนั ตสิ ุขวเิ คราะห์เหตุผลความจาเป็นทที่ กุ คนต้องศึกษาเรียนรู้
ศาสนาอ่ืนๆ
บาเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถืออธิบาย จริยวตั รของสาวกเพื่อเป็นแบบอยา่ งใน
การประพฤตปิ ฏิบัติ และปฏบิ ัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของศาสนาที่ตนนบั ถือ
ศกึ ษาจรยิ วตั รของสาวก บุคคลในทอ้ งถ่นิ ทเ่ี ป็นผู้ปฏิบัตติ นตามหลกั ธรรม มีศลี ธรรม จริยธรรมที่ดีงาม
เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี เป็นที่เล่อื มใสศรัทธาเคารพของคนในท้องถิ่น เพื่อเปน็ แบบอย่างในการประพฤตปิ ฏิบัติตน
อย่างเหมาะสม ต่อบคุ คลต่างๆ ตามหลกั ศาสนาท่ีตนนับถือ ตามที่กาหนด จดั พิธีกรรม และปฏิบัติตนในศาสน
พิธี พิธีกรรมได้ถกู ตอ้ ง
ศกึ ษาประวตั ิ ความสาคญั และ ปฏบิ ัติตนในวันสาคัญทางศาสนา ท่ตี นนบั ถือ ตามท่กี าหนด ไดถ้ ูกต้อง
เพื่อให้เกดิ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาทตี่ นนบั
ถอื และศาสนาอ่นื มีศรทั ธาทถี่ กู ต้อง ยึดมั่นและปฏบิ ตั ติ ามหลักธรรม เพื่ออย่รู ว่ มกนั อยา่ งสนั ติสุข เข้าใจและ
ปฏิบัตติ นตามหนา้ ทีข่ องการเป็นพลเมอื งดี มคี า่ นิยมท่ดี ีงามและธารงรักษาประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดารงชีวติ
อยรู่ ว่ มกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันตสิ ขุ
สาระท่ี 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสงั คม
ศกึ ษากฎหมายในการคุม้ ครองสิทธขิ องบุคคล กฎหมายการคุม้ ครองเด็ก กฎหมายการศึกษากฎหมาย
การคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายลิขสทิ ธ์ิ ประโยชนข์ องการปฏิบตั ิตนตามกฎหมายคมุ้ ครองสิทธิของบคุ คล
ศึกษาบทบาทและหนา้ ทข่ี องเยาวชนท่ีมีต่อสงั คมและประเทศชาติโดยเน้นจติ สาธารณะ เชน่ เคารพ
กติกาสงั คมปฏบิ ัติตามกฎหมาย มีสว่ นรว่ มและรบั ผดิ ชอบในกิจกรรมทางสงั คม พธิ ีกรรมของชุมชนชาวเขมร
กูย ลาว เช่น ประเพณีแซนโฎนตา โจลมะมว็ ด แกลมอ การโบล จงั กาเมือน (การดคู างไก)่ การเซน่ ผีปะกา การ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รกั ษาสาธารณะประโยชน์ ความคลา้ ยคลึงและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม
ไทยกับวัฒนธรรมของประเทศภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งไต้ การปฏิบัติหน้าที่ของพลเมืองดีในท้องถิ่น เช่น
การเคารพในระบอบประชาธปิ ไตย การปฏบิ ตั ิต่อสถานท่สี าคัญ การรักบ้านเกดิ ศึกษาวฒั นธรรมที่เป็นปจั จัยใน
การสรา้ งความสัมพันธ์ที่ดี ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ เชน่ การทอผา้ ไหม การทาเคร่อื งเงนิ การทาเคร่อื งหวาย
ศึกษาวิธปี ฏิบัติตนในการเคารพในสทิ ธิของตนเองและผอู้ นื่ ผลทีไ่ ดจ้ ากการเคารพในสทิ ธิของตนเอง
และผูอ้ ่ืน ขอ้ ตกลงในการปฏบิ ัติตนของโรงเรียน ชมุ ชน มาตรการจราจรของจังหวดั สรุ นิ ทร์ เชน่ โครงการ 3ม 2
ข 1ร ของจังหวดั สรุ นิ ทร์
ศกึ ษาหลกั การ เจตนารมณ์ โครงสรา้ ง และสาระสาคญั ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ฉบับ
ปัจจบุ ันการแบ่งอานาจ และการถ่วงดุลอานาจอธิปไตยทัง้ 3 ฝ่าย คือนิติบัญญตั ิ บริหาร ตุลาการ ตามทร่ี ะบุ
ในรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบบั ปจั จุบนั การปฏิบตั ติ นตามบทบญั ญัติของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปัจจบุ ัน เกีย่ วกบั สิทธิ เสรภี าพและหน้าท่ี
เพื่อให้เกดิ ความรู้ เขา้ ใจและปฏบิ ัตติ นตามหน้าที่ของการเปน็ พลเมืองดี มคี ่านยิ มท่ดี งี ามและธารง
รักษาประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ความเชอื่ ของท้องถิน่ เกี่ยวกบั การเกดิ แก่ เจ็บ ตาย การดารงชีวติ การตัง้ ถ่นิ ฐาน
การถือโชคลาง การต้ังศาลพระภูมิ พระแมธ่ รณี วฒั นธรรมประเพณี เอกลักษณ์ของจงั หวัดสุรินทร์ ความหลากหลาย
เก่ยี วกับประเพณี วฒั นธรรม เช่นภาษาถ่ิน การแตง่ กาย การดาเนนิ ชวี ติ เปน็ ตน้ อทิ ธิพลของวัฒนธรรมทม่ี ีตอ่ การ
ดารงชวี ิตของคนในทอ้ งถนิ่ อย่รู ่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอยา่ งสันติสขุ และเขา้ ใจระบบการเมอื งการ
ปกครองในสังคมปจั จบุ ัน ยึดม่ัน ศรทั ธาและธารงรักษาไว้ซง่ึ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข
รหสั ตวั ช้ีวดั
ส1.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม1/4 ม1/5 ม.1/6 ม1/7 ม1/8 ม.1/9 ม1/10 ม.1/11
ส1.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม1/4 ม1/5
ส2.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม1/4
ส2.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3
คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
21102 ประวตั ิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ เวลาเรียน 20 ช่ัวโมง จานวน 0.5 หนว่ ยกติ
ศึกษาความสาคญั ของเวลาในการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ เทยี บศักราช ตามระบบตา่ งๆทใี่ ช้ศกึ ษา
ประวตั ศิ าสตรน์ าวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์
ศกึ ษาพฒั นาการทางสังคม เศรษฐกิจและการเมอื งของประเทศต่าง ๆ ในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียง
ใต้ระบคุ วามสาคัญของแหลง่ อารยธรรมในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้
ศกึ ษาเรื่องราวทางประวตั ศิ าสตร์สมัยก่อนสุโขทยั ในดนิ แดนไทยโดยสังเขป วิเคราะห์พัฒนา การของ
อาณาจักรสุโขทยั ในด้านตา่ ง ๆ อิทธิพลของวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทยสมัยสโุ ขทยั และสังคมไทยในปจั จบุ ัน
ประวตั ิความเป็นมาของเมืองสุรินทร์และชุมนุมท่ีอยู่อาศยั ของตน ประวัตคิ วามเป็นมาของชมุ ชนโบราณ เช่น
เมืองที จารพัต เมืองลิ่ง บา้ นแตล บา้ นช่างป่ี บ้านโพนชาย กุดหวาย (อ.รัตนบรุ ี) เมืองสรุ พนิ ท(์ ลาดวน)บา้ น
พระปดื เป็นต้น หลกั ฐาน/รอ่ งรอยทางประวัติศาสตรข์ องท้องถน่ิ ที่เปน็ โบราณวัตถุส่งิ ของ เช่น วดั หมอ้ ไห
โครงกระดูกมนุษย์ เป็นตน้ แหลง่ โบราณสถาน เช่น กาแพงเมอื ง คเู มอื ง ปราสาทระแงง ปราสาทพระปดื
ปราสาทเมืองที กลมุ่ ปราสาทตาเมอื น ปราสาทบ้านพลวง ปราสาทจอมพระ ปราสาทภมู ิโปน ปราสาทยายเหงา
โนงปรงี ฯลฯ บุคคลสาคัญทางประวตั ิศาสตร์ทีส่ ร้างเมอื งสุรินทร์ ไดแ้ ก่ เชียงปุม เชยี งสี เชียงสง เชียงฆะ เชยี ง
ขนั เชียงชัย บุคคลทส่ี ืบเชอ่ื สายพระยาสรุ นิ ทรภ์ ักดฯี ท่ียงั มชี วี ิตอยู่ ลกั ษณะเด่น/เอกลักษณ์ของจังหวัดสุรนิ ทร์
เช่น ภาษาเขมรถ่นิ ไทย ความหลากหลายทางชาติพันธ/์ ประเพณี/วัฒนธรรม เป็นตน้ ความเป็นมาของ
วฒั นธรรม ประเพณี และภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ เช่น ประเพณีแซนโฎนตา บญุ บงั้ ไฟ ลายผ้าไหม ภาษาเขมรถนิ่ ไทย
ภาษาลาว ภาษากูย มะมว็ ด แกลมอ การโบล จงั กาเมอื น(การดูคางไก)่ เปน็ ต้น เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ
ความหมาย ความสาคญั ของเวลา และยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้วิธกี ารทางประวตั ิศาสตรม์ า
วเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งเป็นระบบเขา้ ใจพฒั นาการของมนษุ ยชาติจากอดตี จนถึงปจั จบุ ัน ในด้าน
ความสัมพนั ธแ์ ละการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถงึ ความสาคัญและสามารถ วเิ คราะห์
ผลกระทบทเ่ี กิดขึน้ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาไทย มีความรกั ความภมู ิใจและ
ธารงความเป็นไทย
รหัสตัวชี้วัด
ส4.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3
ส4.2 ม.1/1 ม.1/2
ส4.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3
คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
ส21103 สังคมศึกษา ฯ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ เวลาเรยี น 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หนว่ ยกติ
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
ศึกษาบทบาทหน้าทแ่ี ละความแตกต่างของสถาบันการเงินแตล่ ะประเภทและธนาคารกลางยกตวั อย่าง
ที่สะท้อนให้เหน็ การพึง่ พาอาศัยกัน และการแข่งขนั กันทางเศรษฐกิจในประเทศอภิปรายผลของการมกี ฎหมาย
เกี่ยวกบั ทรัพยส์ ินทางปัญญา
ศกึ ษาบทบาทหนา้ ที่และความแตกต่างของสถาบันการเงินแต่ละประเภทและธนาคารกลางยกตัวอยา่ ง
ที่สะท้อนให้เห็นการพ่ึงพาอาศยั กัน และการแขง่ ขนั กนั ทางเศรษฐกิจในประเทศอภปิ รายผลของการมีกฎหมาย
เกีย่ วกับทรัพยส์ นิ ทางปัญญา
เพ่ือให้เกดิ ความเขา้ ใจและสามารถการบรหิ ารจดั การจัดการรายไดจ้ ากสินค้าพ้ืนเมอื ง สินค้า OTOP
ศนู ย์สาธิตการตลาด เชน่ หมู่บ้านผลิต/ทอผา้ ไหม(บา้ นทา่ สว่าง บา้ นสวาย บ้านจนั รม)หมบู่ ้านผลิตเครอ่ื งเงนิ
(บ้านเขวา บ้านโชด) หมู่บา้ นจักสาน(บ้านบทุ ม) แหล่งท่องเท่ยี วหมูบ่ า้ นช้าง (บา้ นตากลาง บา้ นกระโพ) ตลาด
การค้าชายแดน (ชอ่ งจอม อ.กาบเชงิ ) คา่ นิยมทีไ่ ม่เหมาะสมในการบรโิ ภคของคนในท้องถิ่น เชน่ การใชจ้ ่ายฟุ่ม
เฟอ่ื ย การเสพของมนึ เมา การรบั วัฒนธรรมทีไ่ มเ่ หมาะสมทรพั ยากรในการผลิตและการบรโิ ภค การใช้
ทรัพยากร ท่มี ีอยู่จากดั ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพและคุ้มค่า รวมทัง้ เข้าใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพียงเพอื่ การ
ดารงชวี ิตอย่างมีดุลยภาพเข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตา่ งๆ ความสมั พันธท์ างเศรษฐกิจและความ
จาเปน็ ของการร่วมมอื กนั ทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก
รหัสตวั ช้ีวัด
ส 3.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3
ส 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4
สาระที่ 5 ภมู ิศาสตร์
ศกึ ษา วิเคราะห์ ท่ีตง้ั ขนาด และอาณาเขตของทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย ใช้
เครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตร์ เช่น แผนที่ รปู ถ่ายทางอากาศ ภาพจากดาวเทียมในการสืบคน้ ลักษณะทางกายภาพ
ศึกษาพกิ ดั ภูมศิ าสตร์ (ละติจดู และลองจจิ ดู ) เส้นแบ่งเวลา และการเปรียบเทียบวันเวลาสากล เสน้ แบง่ เวลา
ของประเทศไทยกับทวีปตา่ งๆ
ศกึ ษา ลกั ษณะภูมปิ ระเทศของท้องถิน่ เช่น ทร่ี าบเชงิ เขา ทร่ี าบลุ่มแมน่ ้า ทงุ่ กุลารอ้ งไห้ ท่ีต้ัง อาณาเขต
ของหมู่บา้ น ตาบล อาเภอ จงั หวดั ลกั ษณะภูมอิ ากาศ – แหลง่ ทรพั ยากรที่สาคญั –พกิ ดั ภมู ศิ าสตร์ -
สภาพแวดลอ้ มทีส่ ่งผลต่อการดาเนนิ ชวี ติ ของคนในพ้ืนทต่ี ่างๆ เชน่ บริเวณรอยต่อประเทศกมั พูชา ทร่ี าบลมุ่
แม่นา้ มลู เปน็ ต้น – การเปล่ยี นแปลงของสภาพแวดล้อมด้านต่างๆ เช่นปา่ ถูกทาลาย ฝนแล้ง เปน็ ต้น – ปัญหา
ทรัพยากรดิน นา้ ป่าไม้ สง่ิ แวดลอ้ มในจงั หวัดสรุ ินทร์ เช่น ขยะ การทาลายปา่ ไม้ ดินเสอ่ื มโทรม ขาดแคลนนา้
ในฤดูแลง้ เป็นตน้ -แนวทางแก้ปญั หาและการอนุรักษพ์ ัฒนาสง่ แวดล้อมตามนโยบายของจังหวดั สุรินทร์ และ
ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชยี เนยี
ศกึ ษาการใช้เครือ่ งมอื ทางภมู ิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูลเกย่ี วกับลกั ษณะทาง
กายภาพและสงั คมของทวปี ยโุ รป และแอฟรกิ า วเิ คราะห์ความสมั พนั ธ์ระหว่างลกั ษณะทางกายภาพและ
สังคมของทวีปยโุ รปและแอฟรกิ า
ศึกษาสาเหตกุ ารเกดิ ภัยพิบัตแิ ละผลกระทบในทวีปเอเชยี ทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนีย ทาเลท่ีต้งั
ของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และสังคม เช่น พน้ื ทีเ่ พาะปลูกและเลยี้ งสัตว์ แหลง่ ประมง การกระจายทางภาษา
และศาสนา รวมถงึ ปจั จยั ทางกายภาพและปจั จัยทางสังคมที่ส่งผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งทางประชากร
สงิ่ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ สังคมและวัฒนธรรม และประเด็นปญั หาจากปฏิสัมพนั ธ์และสงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพกับ
มนุษย์ทีเ่ กิดขนึ้ ในทวีปเอเชยี ทวีปออสเตรเลยี และโอเชียเนยี
เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธข์ องสรรพสิง่ ซึง่ มีผลต่อกัน
และกัน ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการคน้ หา วิเคราะห์ สรุปและใช้ขอ้ มูล
ภูมสิ ารสนเทศอยา่ งมีประสิทธภิ าพเขา้ ใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษยก์ ับสภาพแวดล้อมทางกายภาพท่ีกอ่ ใหเ้ กิด
การสรา้ งสรรค์วัฒนธรรม มีจติ สานกึ และมีส่วนร่วมในการอนรุ ักษท์ รพั ยากร และสิง่ แวดลอ้ ม เพ่อื การพฒั นาที่
ยง่ั ยืนเข้าใจปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพทีก่ อ่ ให้เกดิ การสรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรมมี
จิตสานึกและมีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรและสง่ิ แวดลอ้ ม เพื่อการพฒั นาท่ยี ่ังยืน
ตวั ชว้ี ดั
ส 5.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3
ส 5.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4
รวม 7 ตวั ช้วี ดั
คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
ส21104 ประวัติศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี เวลาเรยี น 20 ช่วั โมง จานวน 0.5 หน่วยกติ
ศึกษาความสาคญั ของเวลาในการศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ เทยี บศกั ราชตามระบบตา่ ง ๆ ทใ่ี ช้ศึกษา
ประวตั ิศาสตรน์ าวิธีการทางประวัตศิ าสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวตั ศิ าสตร์
ศกึ ษาพฒั นาการทางสังคม เศรษฐกจิ และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียง
ใต้ระบคุ วามสาคัญของแหลง่ อารยธรรมในภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้
ศึกษาเร่อื งราวทางประวัติศาสตร์สมัยกอ่ นสุโขทัยในดนิ แดนไทยโดยสงั เขปวเิ คราะหพ์ ฒั นา การของ
อาณาจักรสโุ ขทัยในด้านต่าง ๆ อทิ ธิพลของวฒั นธรรม และภูมิปญั ญาไทยสมัยสโุ ขทัยและสงั คมไทยในปัจจบุ นั
ประวัตคิ วามเปน็ มาของเมืองสรุ นิ ทรแ์ ละชุมนมุ ท่ีอยู่อาศยั ของตน ประวัติความเปน็ มาของชุมชนโบราณ เชน่
เมอื งที จารพัต เมืองลิ่ง บา้ นแตล บา้ นช่างปี่ บ้านโพนชาย กุดหวาย(อ.รตั นบุรี) เมอื งสรุ พินท(์ ลาดวน)บ้าน
พระปืด เป็นตน้
หลกั ฐาน/ร่องรอยทางประวัตศิ าสตร์ของทอ้ งถ่ินทีเ่ ปน็ โบราณวัตถุสิ่งของ เช่น วดั หมอ้ ไห โครงกระดูก
มนษุ ย์ เป็นตน้
แหลง่ โบราณสถาน เช่น กาแพงเมอื ง คเู มือง ปราสาทระแงง ปราสาทพระปืด ปราสาทเมอื งที กลมุ่
ปราสาทตาเมอื น ปราสาทบา้ นพลวง ปราสาทจอมพระ ปราสาทภมู ิโปน ปราสาทยายเหงา โนงปรีง ฯลฯ
บุคคลสาคัญทางปรวั ัตศิ าสตร์ที่สรา้ งเมอื งสรุ ินทร์ ได้แก่ เชยี งปุม เชยี งสี เชยี งสง เชยี งฆะ เชียงขนั เชียง
ชัย
บุคคลท่สี ืบเชอ่ื สายพระยาสรุ ินทร์ภกั ดีฯ ทยี่ ังมีชวี ติ อยู่
ลกั ษณะเด่น/เอกลกั ษณข์ องจังหวดั สรุ ินทร์ เชน่ ภาษาเขมรถิน่ ไทย ความหลากหลายทางชาติพันธ/์
ประเพณ/ี วฒั นธรรม เป็นต้น
ความเป็นมาของวัฒนธรรม ประเพณี และภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ เชน่ ประเพณแี ซนโฎนตา บุญบ้งั ไฟ ลาย
ผ้าไหม ภาษาเขมรถน่ิ ไทย ภาษาลาว ภาษากูย มะม็วด แกลมอ การโบล จังกาเมือน(การดคู างไก)่ เป็นต้น
เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความหมาย ความสาคญั ของเวลา และยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ สามารถใช้
วธิ ีการทางประวัตศิ าสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตกุ ารณต์ ่าง ๆ อยา่ งเป็นระบบเข้าใจพฒั นาการของมนุษยชาติจากอดีต
จนถงึ ปจั จบุ ัน ในดา้ นความสมั พนั ธแ์ ละการเปล่ยี นแปลงของเหตุการณ์อยา่ งต่อเนื่อง ตระหนกั ถึงความสาคญั
และสามารถ วิเคราะหผ์ ลกระทบทเ่ี กิดขึ้นเข้าใจความเป็นมาของชาตไิ ทย วฒั นธรรม ภูมิปญั ญาไทย มีความรกั
ความภมู ใิ จและธารงความเปน็ ไทย
รหสั ตวั ช้ีวดั ส4.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ส4.2 ม.1/1 ม.1/2 ส4.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3
คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ส22101 สังคมศึกษา ฯ กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ เวลาเรยี น 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต
สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ศึกษาการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถอื สปู่ ระเทศเพ่ือนบา้ น วิเคราะห์ความสาคัญ
ของพระพทุ ธ- ศาสนา หรอื ศาสนาท่ตี นนบั ถอื ท่ีช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอนั ดีกบั ประเทศเพอื่ นบ้าน
ศึกษาความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทต่ี นนับถือในฐานะที่เปน็ รากฐานของวัฒนธรรม
เอกลักษณข์ องชาติและมรดกของชาติ อภิปรายความสาคญั ของพระพทุ ธ -ศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนับถือกบั
การพฒั นาชมุ ชนและการจัดระเบยี บสงั คมวิเคราะห์พุทธประวตั ิหรือประวตั ศิ าสดาของศาสนาท่ีตนนบั ถอื
ตามที่กาหนด
วิเคราะห์และประพฤตติ นตามแบบอย่างการดาเนนิ ชวี ติ และขอ้ คิดจากประวัตสิ าวก ชาดก/เรอ่ื งเลา่
และศาสนิกชนตัวอย่างตามทีก่ าหนด
ศึกษาโครงสร้าง และสาระสงั เขปของพระไตรปฎิ ก หรือคมั ภีร์ของศาสนาทต่ี นนับถือ อธบิ ายธรรมคณุ
และขอ้ ธรรมสาคัญในกรอบอรยิ สัจ 4 หรือหลักธรรมของศาสนาทต่ี นนับถือ ตามท่กี าหนด เหน็ คุณค่าและ
นาไปพัฒนา แก้ปญั หาของชุมชนและสงั คม
เห็นคณุ ค่าของการพฒั นาจิตเพ่ือการเรยี นรูแ้ ละดาเนินชวี ติ ดว้ ยวธิ คี ดิ แบบโยนิโสมนสกิ ารคือ วธิ ีคิด
แบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม และวิธีคิดแบบอรรถธรรมสมั พันธ์ หรือการพฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตน
นบั ถอื สวดมนต์ แผเ่ มตตา บริหารจติ และเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตามแนวทางของศาสนาทต่ี นนบั
ถือ
วเิ คราะหก์ ารปฏบิ ตั ิตนตามหลักธรรมทางศาสนาทต่ี นนับถือ เพ่ือการดารงตนอยา่ งเหมาะสมในกระแส
ความเปลีย่ นแปลงของโลก และการอยู่รว่ มกนั อย่างสันตสิ ขุ
ศึกษาการปฏิบัติตนอยา่ งเหมาะสมตอ่ บุคคล ตา่ ง ๆ ตามหลกั ศาสนาทีต่ นนับถอื มีมรรยาทของความ
เป็นศาสนกิ ชนทด่ี ี วเิ คราะห์คุณคา่ ของศาสนพิธี และปฏิบตั ติ นไดถ้ กู ต้องอธบิ ายคาสอนที่เก่ียวเน่ืองกับ วัน
สาคัญทางศาสนาและปฏบิ ตั ติ นไดถ้ ูกต้องอธิบายความแตกตา่ งของศาสนพธิ ีพิธีกรรม ตาม แนวปฏิบัติของ
ศาสนาอ่ืน ๆ เพอื่ นาไปสกู่ ารยอมรับ และความเข้าใจซ่งึ กนั และกนั
เพ่ือให้เกิดความรู้ และเขา้ ใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนา ท่ี
ตนนบั ถอื และศาสนาอนื่ มีศรทั ธาท่ีถกู ตอ้ ง ยึดมั่นและปฏิบตั ิตามหลกั ธรรม เพื่ออยู่รว่ มกันอยา่ งสนั ติสุข เขา้ ใจ
ตระหนกั และปฏิบตั ิตนเปน็ ศาสนกิ ชนท่ีดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทต่ี นนับถอื
รหัสตวั ช้ีวัด ส1.1ม.2/1,ส1.1ม.2/2,ส1.1ม.2/3,ส1.1ม.2/4,ส1.1ม.2/5,ส1.1ม.2/6,
ส1.1ม.2/7,ส1.1ม.2/8,ส1.1ม.2/9, ส1.1ม.2/10,ส1.1ม.2/11, ส1.2ม.2/1,ส1.2ม.2/2,ส1.2ม.
2/3,ส1.2ม.2/4,ส1.2ม.2/5
สาระท่ี 2 หน้าทีพ่ ลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชวี ติ ในสงั คม
ศกึ ษาและปฏบิ ัติตนตามกฎหมายทเี่ ก่ยี วข้องกับตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และประเทศเห็นคณุ ค่าใน
การปฏบิ ัติตนตามสถานภาพบทบาทสิทธิเสรภี าพหน้าที่ในฐานะพลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตยวิเคราะห์
บทบาท ความสาคัญ และความสมั พันธข์ องสถาบันทางสังคม
ศึกษาความคลา้ ยคลึงและความแตกต่างของวฒั นธรรมไทย และวฒั นธรรมของประเทศในภูมภิ าค
เอเชีย เพ่อื นาไปสคู่ วามเข้าใจอนั ดรี ะหวา่ งกัน
ศึกษากระบวนการในการตรากฎหมาย วิเคราะหข์ อ้ มลู ข่าวสารทางการเมืองการปกครองท่ีมี
ผลกระทบตอ่ สังคมไทยสมัยปัจจุบนั
เพอ่ื เขา้ ใจและปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ที่ของการเป็นพลเมอื งดี มีคา่ นยิ มท่ีดงี ามและธารงรกั ษาประเพณี
และวฒั นธรรมไทย เขา้ ใจระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปจั จบุ ัน ยดึ มนั่ ศรัทธาและธารงรักษาไว้ซงึ่ การ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุขดารงชวี ติ อยรู่ ่วมกันในสังคมไทยและสงั คม
โลกอย่างสนั ติสุข
รหัสตัวช้ีวัด ส2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4
ส 2.2 ม.2/1 ม.2/2
คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
ส22102 ประวตั ิศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรียนที่ เวลาเรยี น 20 ช่วั โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกติ
ศกึ ษาความนา่ เชือ่ ถือของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรใ์ นลกั ษณะต่างๆ วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่าง
ความจริงกับข้อเทจ็ จริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ เหน็ ความสาคญั ของการตคี วามหลักฐานทาง
ประวตั ศิ าสตร์ที่นา่ เช่อื ถือ
ศกึ ษาพฒั นาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมอื งของภูมิภาคเอเชีย ระบุความสาคญั ของแหล่งอารย
ธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย
ศกึ ษาและวิเคราะหพ์ ัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรใี นด้านต่างๆ วเิ คราะหป์ จั จัยท่สี ง่ ผลตอ่
ความมนั่ คงและความเจริญรุง่ เรืองของอาณาจักรอยุธยา
ศึกษาและระบุภมู ิปญั ญาและวฒั นธรรมไทยสมยั อยธุ ยาและธนบุรี และอิทธิพลของภมู ิปัญญาดงั กล่าว
ตอ่ การพฒั นาชาตไิ ทยในยคุ ตอ่ มา และอิทธิพลของภมู ปิ ัญญาดังกล่าว ต่อการพฒั นาชาติไทยในยุคตอ่ มา
เพ่อื ให้เกดิ ความเขา้ ใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ สามารถใช้
วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตุการณต์ ่าง ๆ อยา่ งเป็นระบบ เข้าใจพฒั นาการของมนษุ ยชาติจาก
อดีตจนถงึ ปจั จบุ นั ในด้านความสัมพันธ์และการเปลย่ี นแปลงของเหตุการณอ์ ยา่ งต่อเนอื่ ง ตระหนกั ถึง
ความสาคญั และสามารถ วเิ คราะหผ์ ลกระทบทเี่ กิดข้นึ เขา้ ใจความเปน็ มาของชาตไิ ทย วฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญา
ไทย มคี วามรัก ความภูมิใจและธารงความเป็นไทย
รหัสตัวช้ีวดั ส 4.1 ม.2/1,ส 4.1 ม.2/2,ส 4.1 ม.2/3,
ส 4.2 ม.2/1, ส 4.2 ม.2/1,
ส 4.3 ม2/1,ส 4.3 ม2/2,ส 4.3 ม2/3,
คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
ส22103 สังคมศกึ ษา ฯ กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หนว่ ยกติ
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
ศึกษาระบบเศรษฐกิจแบบตา่ งๆ ยกตัวอย่างท่สี ะทอ้ นให้เห็นการพงึ่ พาอาศัยกัน และการแข่งขนั กัน
ทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคเอเชีย
ศึกษาและวิเคราะห์การกระจายของทรัพยากร ในโลกท่ีส่งผลตอ่ ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกิจระหว่าง
ประเทศวิเคราะห์การแขง่ ขนั ทางการคา้ ในประเทศและต่างประเทศสง่ ผลต่อ คุณภาพสนิ คา้ ปรมิ าณการผลติ
และ ราคาสินค้า
ศึกษาและวิเคราะห์ปัจจยั ที่มีผลตอ่ การลงทุนและการออม ปัจจยั การผลติ สินค้าและบรกิ าร และปจั จยั
ทม่ี ีอทิ ธพิ ลต่อการผลติ สนิ ค้าและบริการ
เสนอแนวทางการพฒั นาการผลิตในทอ้ งถน่ิ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งอภิปรายแนวทางการ
คมุ้ ครองสิทธขิ องตนเองในฐานะผบู้ ริโภค
เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้
ทรพั ยากร ที่มอี ย่จู ากดั ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและคุม้ ค่า รวมท้งั เขา้ ใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง เพอ่ื การ
ดารงชวี ิตอย่างมดี ุลยภาพ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกจิ ต่าง ๆ ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกิจและความ
จาเปน็ ของการร่วมมือกนั ทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก
รหสั ตัวช้ีวัด ส 3.1 ม.2/1,ส 3.1 ม.2/2,ส 3.1 ม.2/3,ส 3.1 ม.2/4,
ส 3.2 ม.2/1,ส 3.2 ม.2/2,ส 3.2 ม.2/3,ส 3.2 ม.2/4,
สาระท่ี 5 ภมู ิศาสตร์
ศกึ ษา วิเคราะห์ ท่ีต้งั ขนาด และอาณาเขตรวมท้ังการ ใช้เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์ เช่น แผนที่ รปู ถ่าย
ทางอากาศ ภาพจากดาวเทยี มในการสบื คน้ ลักษณะทางกายภาพของทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟริกา ศกึ ษาการ
แปลความมาตราสว่ น ทิศ และสญั ลักษณ์ในแผนที่ ศึกษาสาเหตกุ ารเกิดภยั พิบัตแิ ละผลกระทบในทวีปเอเชีย
ทวีปออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย ทาเลที่ต้ังของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และสังคม เชน่ พน้ื ที่เพาะปลูกและเลย้ี ง
สัตว์ แหล่งประมง การกระจายทางภาษาและศาสนา รวมถึงปจั จยั ทางกายภาพและปจั จัยทางสงั คมทส่ี ่งผลต่อ
การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งทางประชากร สิ่งแวดลอ้ ม เศรษฐกจิ สังคมและวัฒนธรรม และประเดน็ ปัญหาจาก
ปฏสิ ัมพนั ธ์และส่งิ แวดล้อมทางกายภาพกบั มนุษย์ทเี่ กดิ ข้ึนในทวปี ยุโรป และทวปี แอฟรกิ า
ศึกษาและวิเคราะห์การก่อเกดิ ส่ิงแวดล้อมใหม่ทางสงั คมอนั เป็นผลจากการเปล่ยี นแปลงทางธรรมชาติ
และทางสงั คมของทวีปยุโรป และแอฟรกิ า ระบแุ นวทางการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมในทวปี
ยโุ รป และแอฟริกา
ศึกษาและระบุแนวทางการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ในทวปี ยโุ รป และแอฟรกิ า
สารวจ อภิปรายประเดน็ ปัญหาเกี่ยวกับสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี กดิ ขึ้นในทวปี ยุโรป และแอฟรกิ า
วเิ คราะห์เหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยไดร้ บั จากการเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดล้อมในทวปี ยโุ รป
และแอฟริกา
โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสบื ค้นข้อมลู กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการทางสงั คม
กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแก้ปัญหา กระบวนการกลมุ่
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจลกั ษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธข์ องสรรพสิง่ ซ่งึ มผี ลตอ่ กนั
และกัน ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนทแ่ี ละเคร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตรใ์ นการค้นหา วเิ คราะห์ สรปุ และใช้ขอ้ มูล
ภมู สิ ารสนเทศอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพเขา้ ใจปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ งมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพท่กี อ่ ใหเ้ กดิ
การสร้างสรรคว์ ัฒนธรรม มจี ิตสานึกและมสี ว่ นร่วมในการอนุรกั ษท์ รพั ยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่
ยั่งยืน เข้าใจปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ งมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่กอ่ ให้เกิดการสร้างสรรคว์ ฒั นธรรม มี
จิตสานกึ และมีส่วนรว่ มในการอนรุ ักษท์ รัพยากร และส่งิ แวดลอ้ ม เพอ่ื การพัฒนาท่ยี ่งั ยนื
ตวั ชว้ี ัด
ส 5.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3
ส 5.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4
รวม 7 ตัวชี้วดั
คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
ส22104 รายวิชา ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรียนท่ี เวลาเรียน 20 ชว่ั โมง จานวน 0.5 หน่วยกติ
ศกึ ษาความน่าเช่ือถอื ของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรใ์ นลักษณะต่างๆ วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งระหว่าง
ความจรงิ กับขอ้ เท็จจรงิ ของเหตุการณท์ างประวตั ศิ าสตร์ เหน็ ความสาคญั ของการตคี วามหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ทน่ี ่าเชือ่ ถอื
ศกึ ษาพฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกิจ และการเมอื งของภูมภิ าคเอเชีย ระบคุ วามสาคัญของแหลง่ อารย
ธรรมโบราณในภมู ภิ าคเอเชีย
ศกึ ษาและวเิ คราะห์พัฒนาการของอาณาจกั รอยธุ ยา และธนบุรใี นดา้ นต่างๆ วเิ คราะหป์ จั จัยทีส่ ง่ ผลตอ่
ความมน่ั คงและความเจริญรงุ่ เรอื งของอาณาจกั รอยุธยา
ศกึ ษาและระบภุ ูมปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยธุ ยาและธนบรุ ี และอิทธพิ ลของภูมิปญั ญาดังกล่าว
ตอ่ การพฒั นาชาตไิ ทยในยคุ ตอ่ มา และอิทธิพลของภูมปิ ญั ญาดงั กล่าว ตอ่ การพฒั นาชาตไิ ทยในยคุ ต่อมา
เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้
วิธีการทางประวัตศิ าสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตุการณต์ ่าง ๆ อย่างเป็นระบบ เขา้ ใจพัฒนาการของมนษุ ยชาตจิ าก
อดีตจนถงึ ปจั จุบัน ในด้านความสมั พนั ธแ์ ละการเปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณอ์ ย่างต่อเนือ่ ง ตระหนกั ถึง
ความสาคัญและสามารถ วเิ คราะห์ผลกระทบท่เี กิดขึน้ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญา
ไทย มีความรกั ความภมู ิใจและธารงความเปน็ ไทย
คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
ส23101 รายวิชา สงั คมศกึ ษา ฯ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี เวลาเรยี น 60 ชว่ั โมง จานวน 1.5 หนว่ ยกิต
สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม
ศึกษาการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทตี่ นนบั ถอื ส่ปู ระเทศต่างๆ ทั่วโลก วเิ คราะหค์ วามสาคัญ
ของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถอื ในฐานะท่ีชว่ ยสรา้ งสรรค์อารยธรรม และความสงบสุขแกโ่ ลก
ศึกษาความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถอื กับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื วเิ คราะห์พุทธประวตั จิ ากพระพทุ ธรปู ปางต่างๆ หรือประวตั ศิ าสดาท่ีตนนับถอื
วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวิตและขอ้ คิดจากประวัตสิ าวก ชาดก/เรอ่ื งเลา่
และศาสนกิ ชนตวั อย่าง
ศึกษาสังฆคณุ และข้อธรรมสาคญั ในกรอบอริยสัจ 4 หรอื หลักธรรมของศาสนาท่ตี นนับถอื
ศกึ ษา และวิเคราะห์การปฏิบัติตนตามหลกั ธรรมในการพัฒนาตน เพอื่ เตรียมพร้อมสาหรบั การ
ทางานและการมคี รอบครวั เหน็ คุณค่าของการพฒั นาจิตเพอื่ การเรยี นรูแ้ ละดาเนินชวี ติ ดว้ ยวิธีคดิ แบบโยนิโส
มนสิการคือ วิธคี ดิ แบบอรยิ สัจ และวธิ คี ิดแบบสืบสาวเหตุปจั จยั หรือการพฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ี
ตนนบั ถือสวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญปญั ญาด้วยอานาปานสติ หรือตามแนวทางของศาสนาท่ีตน
นับถอื
ศกึ ษาหนา้ ทแ่ี ละบทบาทของสาวก และปฏบิ ัติตนตอ่ สาวก ปฏบิ ัติตนอยา่ งเหมาะสมตอ่ บุคคล ต่าง ๆ
ตามหลักศาสนา ปฏิบตั ิหน้าทขี่ องศาสนิกชนทด่ี ี แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตนเปน็ ศาสนิกชนของ
ศาสนาที่ตนนบั ถือ ปฏิบตั ิตนในศาสนพิธพี ิธีกรรมได้ถูกต้อง
ศกึ ษาประวัติวนั สาคญั ทางศาสนาตามที่กาหนดและปฏบิ ัติตนไดถ้ กู ตอ้ ง นาเสนอแนวทางในการธารง
รักษาศาสนาที่ตนนบั ถอื
ศกึ ษาและวเิ คราะห์ความแตกตา่ งและยอมรับวิถกี ารดาเนนิ ชวี ติ ของศาสนิกชนในศาสนาอื่นๆเพ่อื ให้
เกดิ ความรู้ และเขา้ ใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ทีต่ นนับถอื
และศาสนาอ่นื มีศรทั ธาทีถ่ กู ต้อง ยดึ ม่นั และปฏิบัตติ ามหลกั ธรรม เพอ่ื อย่รู ่วมกนั อยา่ งสันติสุข เข้าใจ ตระหนัก
และปฏบิ ตั ิตนเปน็ ศาสนกิ ชนท่ดี ี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทต่ี นนับถือ
รหสั ตัวช้ีวัด
ส1.1 ม.3/1,ส1.1 ม.3/2,ส1.1 ม.3/3,ส1.1 ม.3/4,ส1.1 ม.3/5,ส1.1 ม.3/6, ส1.1 ม.3/7, ส1.1 ม.
3/8, ส1.1 ม.3/9,ส1.1 ม.3/10,
ส1.2 ม.3/1,ส1.2 ม.3/2,ส1.2 ม.3/3,ส1.2 ม.3/4,ส1.2 ม.3/5,ส1.2 ม.3/6,ส1.2 ม.3/7,
สาระที่ 2 หนา้ ที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวติ ในสงั คม
ศึกษาความแตกตา่ งของการกระทาความผิดระหว่างคดีอาญาและคดีแพ่ง มีส่วนรว่ มในการปกปอ้ ง
ค้มุ ครองผอู้ นื่ ตามหลักสทิ ธิมนุษยชน
ศึกษาอนุรักษว์ ัฒนธรรมไทยและเลอื กรบั วัฒนธรรมสากลท่เี หมาะสม วเิ คราะห์ปจั จยั ทีก่ ่อให้เกิด
ปัญหาความขดั แย้งในประเทศ และเสนอแนวคิดในการลดความขดั แย้งเสนอแนวคิดในการดารงชีวติ อย่างมี
ความสุขในประเทศและสังคมโลก
ศกึ ษาระบอบการปกครองแบบตา่ งๆ ท่ใี ช้ในยุคปัจจุบนั วเิ คราะห์ เปรียบเทยี บระบอบการปกครอง
ของไทยกับประเทศอื่นๆ ทีม่ กี ารปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
ศึกษาวเิ คราะหร์ ัฐธรรมนญู ฉบบั ปัจจุบนั ในมาตราตา่ งๆ ทเ่ี ก่ียวข้องกบั การเลือกตง้ั การมีสว่ นรว่ ม และ
การตรวจสอบการใชอ้ านาจรฐั
ศึกษาวิเคราะหป์ ระเด็น ปญั หาทเี่ ปน็ อุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศไทยและเสนอ
แนวทางแกไ้ ข
เพือ่ ให้เกดิ ความรู้ เข้าใจและปฏิบตั ติ นตามหน้าที่ของการเปน็ พลเมืองดี มีค่านิยมทดี่ ีงามและธารง
รักษาประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดารงชีวติ อยู่ร่วมกนั ในสงั คมไทยและสังคมโลกอย่างสนั ตสิ ุข และเขา้ ใจระบบ
การเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบนั ยดึ มัน่ ศรัทธาและธารงรักษาไว้ซึง่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
รหสั ตวั ชี้วัด
ส2.1 ม.3/1, ส2.1 ม.3/2, ส2.1 ม.3/3, ส2.1 ม.3/4, ส2.1 ม.3/5
ส2.2 ม.3/1, ส2.2 ม.3/2, ส2.2 ม.3/3, ส2.2 ม.3/4,
คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
ส23102 ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ เวลาเรียน 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่วยกิต
ศึกษาเรอื่ งราวเหตุการณส์ าคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ได้อย่างมเี หตผุ ลตามวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ ใช้
วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ในการศึกษาเร่ืองราวตา่ ง ๆ ที่ตนสนใจ
ศกึ ษาการพฒั นาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมอื งของภูมิภาคต่างๆ ในโลกโดยสังเขป
ศึกษาผลของการเปลี่ยนแปลงท่นี าไปสู่ความรว่ มมือ และความขัดแย้ง ในครสิ ต์ศตวรรษที่ 20
ตลอดจนความพยายามในการขจัดปญั หาความขดั แย้ง
ศึกษาพัฒนาการของไทย สมยั รตั นโกสนิ ทรใ์ นด้านตา่ งๆ วเิ คราะห์ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ ความม่นั คงและ
ความเจริญรงุ่ เรอื ง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยของไทยในสมยั รัตนโกสินทรแ์ ละอิทธิพลตอ่ การพัฒนาชาติ
ไทย
ศกึ ษาวิเคราะหบ์ ทบาทของไทยในสมัยประชาธิปไตย
เพ่ือให้เกิดความเขา้ ใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ สามารถใช้
วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาวเิ คราะหเ์ หตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ เข้าใจพฒั นาการของมนษุ ยชาตจิ าก
อดีตจนถงึ ปัจจุบนั ในด้านความสัมพันธแ์ ละการเปล่ียนแปลงของเหตุการณอ์ ยา่ งตอ่ เนื่อง ตระหนกั ถงึ
ความสาคัญและสามารถ วิเคราะหผ์ ลกระทบทเ่ี กิดขน้ึ เขา้ ใจความเปน็ มาของชาตไิ ทย วฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญา
ไทย มีความรกั ความภมู ิใจและธารงความเป็นไทย
รหสั ตวั ช้ีวดั
ส4.1ม.3/1,ส4.1ม.3/2,
ส4.2ม.3/1,ส4.2ม.3/2,
ส4.3ม.3/1,ส4.3ม.3/2,ส4.3ม.3/3,ส4.3ม.3/4,
คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ส23103 สังคมศึกษา ฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นที่ เวลาเรยี น 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
ศกึ ษาบทบาทหนา้ ทีข่ องรฐั บาลในระบบเศรษฐกจิ แสดงความคดิ เห็นต่อนโยบาย และกจิ กรรมทาง
เศรษฐกจิ ของรัฐบาลทีม่ ีตอ่ บุคคล กล่มุ คน และประเทศชาติ
ศกึ ษาบทบาทความสาคัญของการรวมกล่มุ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ ผลกระทบท่ีเกิดจากภาวะ
เงินเฟ้อ เงินฝืด ผลเสยี จากการวา่ งงาน และแนวทางแก้ปัญหา
ศึกษาวิเคราะห์สาเหตแุ ละวิธีการกดี กันทางการค้าในการคา้ ระหว่างประเทศ
ศกึ ษาบทบาทหน้าที่ของรฐั บาลในระบบเศรษฐกจิ แสดงความคิดเห็นต่อนโยบาย และกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจของรฐั บาลท่มี ีต่อบุคคล กลมุ่ คน และประเทศชาติ
ศึกษาบทบาทความสาคญั ของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ผลกระทบท่ีเกดิ จากภาวะ
เงนิ เฟอ้ เงนิ ฝดื ผลเสยี จากการวา่ งงาน และแนวทางแกป้ ัญหา
ศกึ ษาวิเคราะห์สาเหตุและวธิ ีการกดี กันทางการคา้ ในการค้าระหว่างประเทศ
เพื่อให้เกดิ ความเข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลติ และการบริโภค การใช้
ทรพั ยากร ทม่ี ีอยู่จากัดไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและคุ้มคา่ รวมทง้ั เขา้ ใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง เพอ่ื
การดารงชีวิตอยา่ งมีดุลยภาพ เขา้ ใจระบบและสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ต่าง ๆ ความสมั พันธท์ างเศรษฐกิจและ
ความจาเปน็ ของการรว่ มมือกนั ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
รหัสตวั ช้ีวดั
ส 3.1 ม.3/1,ส 3.1 ม.3/1,ส 3.1 ม.3/1,
ส 3.2 ม.3/1,ส 3.2 ม.3/2,ส 3.2 ม.3/3,ส 3.2 ม.3/4,ส 3.2 ม.3/5 ส3.2 ม.3/6,ส 3.2 ม.3/7,
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์
ศึกษา วเิ คราะห์ ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกา เหนอื และทวีปอเมริกาใต้ การเลือกใชแ้ ผนท่ี
เฉพาะเร่อื งและเคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตรส์ ืบค้นขอ้ มูล รวมถึงสาเหตุการเกดิ ภยั พิบตั แิ ละผลกระทบในทวปี
อเมริกาเหนอื และทวปี อเมรกิ าใต้ ทาเลที่ตัง้ ของกจิ กรรมทางเศรษฐกิจและสงั คม เชน่ พื้นทเ่ี พาะปลูกและ
เลย้ี งสัตว์ แหลง่ ประมง การกระจายทางภาษาและศาสนา รวมถึงปจั จัยทางกายภาพและปัจจัยทางสังคมที่
สง่ ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งทางประชากร ส่งิ แวดล้อม เศรษฐกจิ สังคมและวัฒนธรรม และประเด็น
ปัญหาจากปฏิสมั พันธแ์ ละส่ิงแวดล้อมทางกายภาพกับมนุษย์ ปญั หาภัยพิบัตทิ ่ีเกิดข้นึ ในทวปี อเมรกิ าเหนือ
และทวปี อเมริกาใต้
โดยใช้กระบวนการคดิ กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการทางสังคม
กระบวนการเผชิญสถานการณแ์ ละแก้ปญั หา กระบวนการกล่มุ
เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างมนุษยก์ บั สภาพแวดล้อมทางกายภาพทก่ี อ่ ใหเ้ กิด
การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานกึ และมสี ว่ นร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่
ยัง่ ยนื และสิ่งแวดล้อม เพ่ือการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน
ตวั ช้ีวัด
ส 5.1 ม.3/1 ม.3/2
ส 5.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
รวม 7 ตัวช้ีวดั
คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ส23104 ประวตั ิศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี เวลาเรยี น 20 ช่วั โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต
ศกึ ษาเร่ืองราวเหตกุ ารณส์ าคญั ทางประวัตศิ าสตร์ไดอ้ ยา่ งมีเหตุผลตามวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ ใช้
วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ในการศึกษาเรอื่ งราวต่าง ๆ ท่ตี นสนใจ
ศึกษาการพฒั นาการทางสังคม เศรษฐกจิ และการเมืองของภูมิภาคต่างๆ ในโลกโดยสังเขป
ศกึ ษาผลของการเปลี่ยนแปลงทนี่ าไปสู่ความร่วมมือ และความขัดแยง้ ในคริสต์ศตวรรษท่ี 20
ตลอดจนความพยายามในการขจัดปญั หาความขัดแยง้
ศึกษาพัฒนาการของไทย สมัยรตั นโกสินทรใ์ นดา้ นตา่ งๆ วเิ คราะหป์ จั จัยที่สง่ ผลต่อความมัน่ คงและ
ความเจริญรงุ่ เรอื ง ภูมิปญั ญาและวัฒนธรรมไทยของไทยในสมัยรตั นโกสินทรแ์ ละอิทธิพลตอ่ การพฒั นาชาติ
ไทย
ศึกษาวิเคราะหบ์ ทบาทของไทยในสมยั ประชาธิปไตย
เพอื่ ให้เกิดความเขา้ ใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์ สามารถใช้
วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณต์ ่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ เข้าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาตจิ าก
อดีตจนถึงปจั จุบนั ในด้านความสัมพันธ์และการเปลย่ี นแปลงของเหตุการณอ์ ย่างต่อเนือ่ ง ตระหนักถงึ
ความสาคญั และสามารถ วเิ คราะหผ์ ลกระทบท่ีเกิดขึ้น เข้าใจความเปน็ มาของชาติไทย วฒั นธรรม ภูมิปัญญา
ไทย มีความรกั ความภูมิใจและธารงความเป็นไทย
รหัสตวั ช้ีวัด ส4.1 ม.3/1,ส4.1 ม.3/2,
ส4.2 ม.3/1,ส4.2 ม.3/2,
ส4.3 ม.3/1,ส4.3 ม.3/2,ส4.3 ม.3/3,ส4.3 ม.3/4
โครงสร้าง
กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4-6
วชิ าพื้นฐาน
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4
ส31101สงั คมศกึ ษา ศาสนา ฯ 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 1.0 หน่วยกิต
ส31102สงั คมศกึ ษา ศาสนา ฯ 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 1.0 หน่วยกติ
ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.0 หน่วยกติ
ส32101สังคมศกึ ษา ศาสนา ฯ
1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 0.5 หน่วยกติ
ส32102ประวตั ศิ าสตร์ 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 1.0 หน่วยกติ
ส32103สงั คมศึกษา ศาสนา ฯ 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 0.5 หนว่ ยกติ
ส32104ประวัตศิ าสตร์
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 1.0 หนว่ ยกิต
1 ชวั่ โมง/สัปดาห์ 0.5 หน่วยกติ
ส33101สงั คมศึกษา ศาสนา ฯ 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์ 1.0 หน่วยกิต
ส33102ประวัตศิ าสตร์
ส33103สังคมศึกษา ศาสนา ฯ 1 ชวั่ โมง/สัปดาห์ 0.5 หนว่ ยกิต
ส33104ประวัติศาสตร์
คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ส31101 สังคมศกึ ษา ฯ กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี เวลาเรยี น 40 ชว่ั โมง จานวน 1.0 หนว่ ยกิต
สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม
ศกึ ษาสงั คมชมพูทวีป และคติความเช่ือทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้า หรอื สังคมสมัยของศาสดาท่ี
ตนนบั ถือ
ศึกษาวเิ คราะห์ พระพุทธเจา้ ในฐานะเปน็ มนุษยผ์ ูฝ้ กึ ตนได้อย่างสูงสดุ ในการตรัสรู้ การก่อตง้ั วิธกี าร
สอนและการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา หรือวเิ คราะห์ประวตั ิศาสดาทตี่ นนับถอื
ศกึ ษา พทุ ธประวตั ดิ ้านการบริหาร และการธารงรักษาศาสนา หรอื วิเคราะหป์ ระวตั ิศาสดาท่ีตนนับ
ถอื
ศกึ ษาวิเคราะห์ข้อปฏิบัตทิ างสายกลาง การพัฒนาศรทั ธา และปญั ญาในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิด
ของศาสนาที่ตนนับถือ
ศกึ ษาวเิ คราะห์หลกั การของพระพุทธศาสนากบั หลกั วทิ ยาศาสตร์ ลักษณะประชาธปิ ไตยใน
พระพุทธศาสนา หรือแนวคดิ ของศาสนาทีต่ นนับถือ
ศึกษาการฝกึ ฝนและพัฒนาตนเอง การพง่ึ ตนเอง และการม่งุ อสิ รภาพในพระพุทธศาสนา การฝกึ ตน
ไม่ใหป้ ระมาทมงุ่ ประโยชนแ์ ละสนั ติภาพบคุ คล สังคมและโลก หรอื แนวคดิ ของศาสนาทต่ี นนับถือ
ศกึ ษาวิเคราะหพ์ ระพทุ ธศาสนาวา่ เปน็ ศาสตรแ์ หง่ การศกึ ษา ซึ่งเน้นความสมั พนั ธข์ องเหตปุ ัจจัยกับ
วิธกี ารแกป้ ัญหาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและการพัฒนาประเทศแบบยงั่ ยนื หรอื แนวคดิ ของศาสนาทตี่ น
นับถือ
ศึกษาวิเคราะหค์ วามสาคัญของพระพทุ ธศาสนาเกี่ยวกับการศึกษาทส่ี มบูรณ์ การเมอื งและสันติภาพ
หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนบั ถอื
ศกึ ษาวิเคราะห์หลักธรรมในกรอบ อริยสจั 4 หรอื หลักคาสอนของศาสนา ข้อคิดและแบบอย่าง การ
ดาเนินชีวิตจากประวตั สิ าวก ชาดก เร่อื งเล่า และศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง
ศกึ ษาความเชือ่ มัน่ ตอ่ ผลของการทาความดี ความช่วั สามารถวเิ คราะห์สถานการณ์ท่ีตอ้ งเผชิญ และ
ตัดสินใจเลือกดาเนินการหรอื ปฏิบตั ิตนไดอ้ ยา่ งมเี หตุผลถูกตอ้ งตามหลักธรรม จรยิ ธรรม และกาหนดเป้าหมาย
บทบาทการดาเนินชวี ิตเพอ่ื การอยูร่ ว่ มกันอย่างสนั ตสิ ุข และอยูร่ ่วมกนั เปน็ ชาติอย่างสมานฉันท์
ศกึ ษาประวัตศิ าสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสงั เขป ตระหนกั ในคณุ คา่ และความสาคญั ของค่านยิ ม
จรยิ ธรรมทเ่ี ป็นตัวกาหนดความเช่ือและพฤตกิ รรมทแี่ ตกตา่ งกนั ของศาสนกิ ชนศาสนาต่างๆ เพ่ือขจดั ความ
ขดั แยง้ และอยู่รว่ มกันในสงั คมอยา่ งสนั ตสิ ุข เห็นคุณค่า เชอ่ื มน่ั และมงุ่ มนั่ พฒั นาชวี ติ ดว้ ยการพฒั นาจติ และ
พัฒนาการเรียนรดู้ ้วยวธิ คี ิดแบบโยนโิ สมนสกิ าร หรอื การพฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนาทีต่ นนบั ถือ
สวดมนต์ แผเ่ มตตา และบรหิ ารจิตและเจริญปญั ญาตามหลกั สตปิ ฏั ฐาน หรือตามแนวทางของศาสนา
ทีต่ นนับถือ วิเคราะหห์ ลกั ธรรมสาคัญในการอยู่รว่ มกนั อยา่ งสันตสิ ุขของศาสนาอื่นๆ และชกั ชวน สง่ เสริม
สนับสนุนให้บุคคลอนื่ เหน็ ความสาคญั ของการทาความดีตอ่ กนั เสนอแนวทางการจัดกิจกรรม ความรว่ มมือของ
ทกุ ศาสนาในการแกป้ ัญหาและพฒั นาสงั คม
ปฏบิ ตั ติ นเป็นศาสนกิ ชนทด่ี ีตอ่ สาวก สมาชกิ ในครอบครวั และคนรอบข้าง ปฏบิ ัติตนถูกต้องตามศาสน
พิธพี ธิ ีกรรม ตามหลักศาสนาแสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรอื แสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนาท่ตี นนับถอื
ศกึ ษาวเิ คราะห์หลกั ธรรม คตธิ รรมทีเ่ ก่ียวเน่อื งกับวนั สาคญั ทางศาสนา และเทศกาลทีส่ าคัญ ของ
ศาสนาท่ีตนนับถือ และปฏบิ ัตติ นได้ถูกตอ้ ง
สมั มนาและเสนอแนะแนวทางในการธารงรักษาศาสนาที่ตนนบั ถือ อันสง่ ผลถึงการพฒั นาตน พัฒนา
ชาตแิ ละโลก
เพื่อให้เกิดความรู้ และเข้าใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา และศาสนา
อนื่ มีศรัทธาทีถ่ ูกต้อง ยึดมั่นและปฏบิ ตั ิตามหลกั ธรรม เพ่ืออยู่รว่ มกนั อยา่ งสันติสุข เข้าใจ ตระหนกั และปฏิบตั ิ
ตนเปน็ ศาสนกิ ชนทด่ี ี และธารงรกั ษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถอื
รหสั ตวั ชี้วัด ส 1.1 ม.4/1,ส 1.1 ม.4/2,ส 1.1 ม.4/3,ส 1.1 ม.4/4,ส 1.1 ม.4/5,ส 1.1 ม.4/6,ส 1.1
ม.4/7,ส 1.1 ม.4/8,ส 1.1 ม.4/9,ส 1.1 ม.4/10,ส 1.1 ม.4/11,ส 1.1 ม.4/12,ส 1.1 ม.4/13,ส 1.1 ม.
4/14,ส 1.1 ม.4/15,ส 1.1 ม.4/16,ส 1.1 ม.4/17,ส 1.1 ม.4/18,ส 1.1 ม.4/19,ส 1.1 ม.4/20,ส 1.1
ม.4/21,ส 1.1 ม.4/22,ส 1.2 ม.4/1,ส 1.2 ม.4/2,ส 1.2 ม.4/3,ส 1.2 ม.4/4,ส 1.2 ม.4/5
คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ส31102 สังคมศึกษา ฯ กลุม่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี เวลาเรียน 40 ช่ัวโมง จานวน 1.0 หน่วยกติ
สาระท่ี 2 หนา้ ทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชวี ติ ในสังคม
ศกึ ษาวิเคราะหแ์ ละปฏิบตั ิตนตามกฎหมายท่เี กย่ี วข้องกับตนเองครอบครัวชมุ ชนประเทศชาติ และ
สงั คมโลก
ศึกษาวเิ คราะห์ความสาคญั ของโครงสรา้ งทางสังคม การขัดเกลาทางสงั คม การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม
ปฏบิ ัติตนและมีส่วนสนบั สนนุ ให้ผอู้ น่ื ประพฤติปฏบิ ตั ิเพ่ือเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสงั คมโลก
ศึกษาประเมนิ สถานการณส์ ิทธมิ นุษยชนในประเทศไทย และเสนอแนวทางพัฒนา วเิ คราะหค์ วาม
จาเปน็ ที่ต้องมีการปรับปรงุ เปล่ียนแปลงและอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากล
ศกึ ษาวเิ คราะหป์ ญั หาการเมืองที่สาคัญในประเทศ จากแหล่งข้อมลู ต่างๆ พร้อมทงั้ เสนอแนวทางแก้ไข
เสนอแนวทาง ทางการเมืองการปกครองท่นี าไปสูค่ วามเข้าใจ และการประสานประโยชนร์ ว่ มกนั ระหวา่ ง
ประเทศ
ศึกษาวเิ คราะหค์ วามสาคญั ความจาเป็นท่ีตอ้ งธารงรกั ษาไวซ้ ่งึ การปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ
เสนอแนวทางและมสี ่วนรว่ มในการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ
เพ่ือใหเ้ กิดความ เข้าใจและปฏิบัตติ นตามหน้าทข่ี องการเป็นพลเมืองดี มีคา่ นยิ มทด่ี ีงามและธารง
รักษาประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดารงชีวิตอยรู่ ว่ มกันในสงั คมไทยและสงั คมโลกอย่างสันติสุข เข้าใจระบบ
การเมอื งการปกครองในสงั คมปัจจุบัน ยึดมน่ั ศรทั ธาและธารงรกั ษาไว้ซง่ึ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
อนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข
รหสั ตัวชี้วัด ส 2.1 ม.4/1,ส 2.1 ม.4/2,ส 2.1 ม.4/3,ส 2.1 ม.4/4,ส 2.1 ม.4/5,
ส 2.2 ม.4/1,ส 2.2 ม.4/2,ส 2.2 ม.4/3,ส 2.2 ม.4/4
คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
ส32101 รายวชิ า สงั คมศกึ ษา ฯ กลุม่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี เวลาเรยี น 40 ช่ัวโมง จานวน 1.0 หนว่ ยกติ
สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
ศึกษาสังคมชมพูทวีป และคติความเช่ือทางศาสนาสมัยกอ่ นพระพุทธเจา้ หรอื สังคมสมยั ของศาสดาที่
ตนนับถอื
ศึกษาวเิ คราะห์ พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนุษย์ผ้ฝู ึกตนได้อยา่ งสงู สดุ ในการตรัสรู้ การกอ่ ต้งั วิธกี าร
สอนและการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา หรอื วิเคราะหป์ ระวตั ศิ าสดาทตี่ นนบั ถอื
ศึกษา พทุ ธประวัตดิ ้านการบรหิ าร และการธารงรักษาศาสนา หรอื วิเคราะห์ประวัตศิ าสดาท่ีตนนบั
ถือ
ศึกษาวเิ คราะห์ข้อปฏิบตั ิทางสายกลาง การพฒั นาศรทั ธา และปัญญาในพระพทุ ธศาสนา หรอื แนวคิด
ของศาสนาทตี่ นนบั ถือ
ศกึ ษาวิเคราะห์หลกั การของพระพทุ ธศาสนากับหลักวทิ ยาศาสตร์ ลักษณะประชาธิปไตยใน
พระพทุ ธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาท่ตี นนับถือ
ศกึ ษาการฝกึ ฝนและพัฒนาตนเอง การพึง่ ตนเอง และการมงุ่ อสิ รภาพในพระพทุ ธศาสนา การฝึกตน
ไม่ให้ประมาท ม่งุ ประโยชน์และสนั ติภาพบคุ คล สังคมและโลก หรอื แนวคดิ ของศาสนาท่ตี นนบั ถอื
ศกึ ษาวเิ คราะห์พระพุทธศาสนา ว่าเป็นศาสตรแ์ ห่งการศึกษา ซึ่งเนน้ ความสมั พันธ์ของเหตุปจั จัยกับ
วธิ ีการแก้ปญั หาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและการพฒั นาประเทศแบบยั่งยืนหรือแนวคดิ ของศาสนาท่ีตน
นับถอื
ศึกษาวเิ คราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนาเกยี่ วกับการศกึ ษาท่ีสมบรู ณ์ การเมอื งและสันตภิ าพ
หรือแนวคดิ ของศาสนาท่ีตนนบั ถือ
ศึกษาวเิ คราะห์หลกั ธรรมในกรอบ อรยิ สจั 4 หรือหลักคาสอนของศาสนา ข้อคดิ และแบบอยา่ ง
การดาเนินชีวติ จากประวตั สิ าวก ชาดก เรือ่ งเล่า และศาสนิกชนตัวอยา่ ง
ศกึ ษาความเชือ่ มั่นต่อผลของการทาความดี ความช่วั สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ท่ีต้องเผชญิ และ
ตดั สนิ ใจเลอื กดาเนนิ การหรือปฏิบตั ิตนไดอ้ ยา่ งมเี หตุผลถูกตอ้ งตามหลกั ธรรม จรยิ ธรรม และกาหนดเปา้ หมาย
บทบาทการดาเนินชวี ิตเพ่อื การอย่รู ว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ุข และอยรู่ ่วมกนั เปน็ ชาติอย่างสมานฉนั ท์
ศกึ ษาประวัตศิ าสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป ตระหนกั ในคณุ คา่ และความสาคญั ของคา่ นยิ ม
จริยธรรมท่เี ปน็ ตวั กาหนดความเชือ่ และพฤติกรรมที่แตกตา่ งกนั ของศาสนิกชนศาสนาตา่ งๆ เพื่อขจัดความ
ขัดแยง้ และอยู่รว่ มกันในสังคมอย่างสนั ติสุข เห็นคณุ ค่า เช่ือม่นั และมุ่งม่นั พัฒนาชวี ติ ด้วยการพฒั นาจติ และ
พัฒนาการเรยี นรูด้ ้วยวิธีคิดแบบโยนโิ สมนสกิ าร หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ
สวดมนต์ แผเ่ มตตา และบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลักสตปิ ัฏฐาน หรือตามแนวทางของศาสนา
ที่ตนนับถือ วิเคราะหห์ ลักธรรมสาคญั ในการอยู่รว่ มกนั อยา่ งสันติสขุ ของศาสนาอน่ื ๆ และชักชวน ส่งเสริม
สนบั สนุนใหบ้ คุ คลอื่นเหน็ ความสาคญั ของการทาความดตี อ่ กัน เสนอแนวทางการจดั กจิ กรรม ความรว่ มมือของ
ทกุ ศาสนาในการแก้ปญั หาและพฒั นาสังคม
ปฏิบตั ิตนเป็นศาสนกิ ชนที่ดีต่อสาวก สมาชกิ ในครอบครวั และคนรอบข้าง ปฏบิ ตั ิตนถกู ต้องตามศา
สนพธิ พี ิธกี รรมตามหลักศาสนา แสดงตนเป็นพุทธมามกะหรือแสดงตนเป็นศาสนกิ ชนของศาสนาทต่ี นนับถอื
ศึกษาวิเคราะหห์ ลกั ธรรม คตธิ รรมทเ่ี กย่ี วเน่ืองกบั วันสาคญั ทางศาสนา และเทศกาลท่สี าคญั ของ
ศาสนาที่ตนนับถือ และปฏิบัติตนไดถ้ กู ต้องสัมมนาและเสนอแนะแนวทางในการธารงรกั ษาศาสนาทต่ี นนบั ถอื
อนั สง่ ผลถงึ การพฒั นาตนพัฒนาชาติและโลก
เพ่อื ใหเ้ กิดความรู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา และศาสนา
อน่ื มศี รทั ธาทีถ่ ูกตอ้ ง ยึดม่นั และปฏบิ ัติตามหลักธรรม เพ่อื อยู่ร่วมกันอยา่ งสันตสิ ขุ เข้าใจ ตระหนักและปฏบิ ตั ิ
ตนเป็นศาสนกิ ชนที่ดี และธารงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาท่ตี นนับถอื
ตามวิถปี รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
รหสั ตัวช้ีวดั
ส 1.1 ม.5/1, ส 1.1 ม.5/2, ส 1.1 ม.5/3, ส 1.1 ม.5/4, ส 1.1 ม.5/5,ส 1.1 ม.
5/6, ส 1.1 ม.5/7, ส 1.1 ม.5/8, ส 1.1 ม.5/9, ส 1.1 ม5/10, ส 1.1 ม.5/11,
ส 1.1 ม.5/12, ส 1.1 ม.5/13, ส 1.1 ม.5/14, ส 1.1 ม.5/15, ส 1.1 ม.5/16,
ส 1.1 ม.5/17, ส 1.1 ม.5/18, ส 1.1 ม.5/19, ส 1.1 ม.5/20,ส 1.1 ม.5/21,
ส 1.1 ม.5/22
ส 1.2 ม.5/1, ส 1.2 ม.5/2, ส 1.2 ม.5/3, ส 1.2 ม.5/4, ส 1.2 ม.5/5
คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ส32102 ประวตั ศิ าสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ เวลาเรยี น 20 ชัว่ โมง จานวน 0.5หนว่ ยกติ
สาระประวตั ิศาสตร์
ศกึ ษาความสาคัญของเวลาและ ยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ทแ่ี สดงถงึ การเปลยี่ นแปลงของมนษุ ยชาติ
สร้างองค์ความรูใ้ หม่ทางประวตั ิศาสตร์โดยใชว้ ิธีการทางประวตั ศิ าสตร์อยา่ งเป็นระบบ
ศึกษาวิเคราะห์อิทธิพลของอารยธรรรมโบราณ และการตดิ ต่อระหวา่ งโลกตะวนั ออกกับโลกตะวนั ตก
ที่มีผลตอ่ พฒั นาการและการเปล่ียนแปลงของโลก เหตกุ ารณ์สาคัญตา่ งๆที่สง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม
เศรษฐกจิ และการเมอื ง เข้าสโู่ ลกสมัยปจั จุบัน
ศึกษาวเิ คราะห์ผลกระทบของการขยายอทิ ธพิ ลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมรกิ า แอฟรกิ าและ
เอเชีย สถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
ศกึ ษาวิเคราะหป์ ระเดน็ สาคญั ของประวัตศิ าสตร์ไทยความสาคัญของสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ต่อชาติ
ไทย ปจั จัยทีส่ ง่ เสริมความสรา้ งสรรคภ์ ูมิปัญญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลตอ่ สงั คมไทยในยคุ ปัจจุบัน
ศึกษาวเิ คราะหผ์ ลงานของบคุ คลสาคัญทงั้ ชาวไทยและตา่ งประเทศ ท่ีมีสว่ นสร้างสรรคว์ ฒั นธรรมไทย
และประวัตศิ าสตร์ไทย วางแผนกาหนดแนวทางและการมีสว่ นร่วมการอนรุ กั ษภ์ มู ิปญั ญาไทยและวัฒนธรรม
ไทย
เพ่ือให้เกดิ เข้าใจความเปน็ มาของชาตไิ ทย วัฒนธรรม ภูมิปญั ญาไทย มคี วามรกั ความภมู ิใจและธารง
ความเปน็ ไทย เขา้ ใจพฒั นาการของมนุษยชาตจิ ากอดีตจนถึงปจั จุบัน ในด้านความสัมพนั ธ์และ การ
เปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณอ์ ยา่ งต่อเน่อื ง ตระหนักถงึ ความสาคัญและสามารถวเิ คราะห์ผลกระทบท่ีเกดิ ขน้ึ
เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาไทย มคี วามรัก ความภมู ิใจและธารงความเปน็ ไทย ตาม
วิถีปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
รหสั ตวั ชวี้ ดั ส 4.1 ม.5/1, ส 4.1 ม.5/2,
ส 4.2 ม.5/1, ส 4.2 ม.5/2, ส 4.2 ม.5/3, ส 4.2 ม.5/4,
ส 4.3 ม5/1, ส 4.3 ม5/2,ส 4.3 ม5/3,ส 4.3 ม5/4,ส 4.3 ม5/5
คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ส32103 สังคมศึกษา ฯ กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรียนที่ เวลาเรียน 40 ช่วั โมง จานวน 1.0 หน่วยกติ
สาระท่ี 5 ภมู ิศาสตร์
ศกึ ษาวิเคราะห์ การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ(ประกอบด้วย ๑ ธรณภี าค ๒.บรรยากาศภาค ๓.อุทกภาค ๔.ชีว
ภาค) ของพนื้ ท่ใี นประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆของโลกซ่ึงได้รับอทิ ธพิ ลจากปจั จัยทางภูมิศาสตรอ์ ิทธพิ ลของ
สภาพภมู ิศาสตร์ซ่งึ ทาให้เกิดปัญหาทางกายภาพ หรอื ภัยพิบัตทิ างธรรมชาตใิ นประเทศไทยและภูมิภาคตา่ งๆ
ของโลก การเปลีย่ นแปลงของพ้นื ท่ีซง่ึ ไดร้ บั อิทธพิ ลจากปัจจยั ทางภูมศิ าสตรใ์ นประเทศไทยและทวปี ต่างๆ การ
ประเมนิ การเปล่ยี นแปลงธรรมชาติในโลกว่า เปน็ ผลจากการกระทาของมนุษยห์ รือธรรมชาติ สถานการณ์และ
วกิ ฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและโลก มาตรการปอ้ งกนั และแก้ไข
ปัญหาบทบาทขององค์การและการประสานความร่วมมือท้ังในประเทศและนอกประเทศ เกยี่ วกบั กฎหมาย
สิ่งแวดลอ้ ม การจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม แนวทางการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดล้อมในภมู ภิ าคต่างๆ ของโลก การใชป้ ระโยชนจ์ ากสิง่ แวดลอ้ ม ในการสร้างสรรคว์ ฒั นธรรมอันเป็น
เอกลกั ษณข์ องทอ้ งถิ่น ทั้งในประเทศไทยและโลก
การมีสว่ นรว่ มในการแก้ปัญหาและการดาเนนิ ชวี ติ ตามแนวทางการอนรุ ักษท์ รัพยากรและสง่ิ แวดล้อม
เพอ่ื การพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื โดยใช้กระบวนการคดิ กระบวนการสบื คน้ ขอ้ มลู กระบวนการทางสังคม กระบวนการ
เผชญิ สถานการณแ์ ละแกป้ ัญหา กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการกลมุ่
เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ความเขา้ ใจ สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรยี นรู้ มีความสามารถในการใชเ้ คร่อื งมอื ทาง
ภูมศิ าสตร์ในการสืบคน้ ขอ้ มูล มคี ุณลักษณะอันพึงประสงค์ในดา้ นใฝเ่ รียนรู้ มุ่งม่นั ในการทางาน มวี ินยั มจี ิต
สาธารณะ เห็นคุณค่าและมีจิตสานึกในการร่วมมอื กนั แก้ปัญหาอนรุ ักษท์ รัพยากรและสงิ่ แวดลอ้ ม
ตัวชีว้ ดั
ส 5.1 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3
ส 5.2 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4
รวม ๗ ตวั ช้วี ัด
คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
ส32104 ประวตั ิศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ เวลาเรียน 20 ช่วั โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต
สาระประวตั ศิ าสตร์
ศกึ ษาความสาคญั ของเวลาและ ยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ที่แสดงถงึ การเปล่ยี นแปลงของมนษุ ยชาติ
สร้างองค์ความรู้ใหมท่ างประวัตศิ าสตรโ์ ดยใชว้ ิธกี ารทางประวัติศาสตรอ์ ย่างเป็นระบบ
ศกึ ษาวิเคราะหอ์ ทิ ธิพลของอารยธรรรมโบราณ และการตดิ ต่อระหว่างโลกตะวนั ออกกบั โลกตะวนั ตก
ทม่ี ผี ลตอ่ พฒั นาการและการเปล่ยี นแปลงของโลก เหตุการณส์ าคัญต่างๆทส่ี ง่ ผลต่อการเปล่ยี นแปลงทางสงั คม
เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลกสมัยปจั จุบนั
ศกึ ษาวิเคราะหผ์ ลกระทบของการขยายอิทธพิ ลของประเทศในยุโรปไปยงั ทวปี อเมรกิ า แอฟริกาและ
เอเชีย สถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษท่ี 21
ศกึ ษาวเิ คราะห์ประเด็นสาคัญของประวตั ิศาสตร์ไทยความสาคัญของสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ตอ่ ชาติ
ไทย ปัจจัยที่ส่งเสริมความสร้างสรรค์ภมู ิปัญญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลต่อสงั คมไทยในยุคปจั จุบัน
ศกึ ษาวิเคราะห์ผลงานของบุคคลสาคญั ทงั้ ชาวไทยและต่างประเทศ ทม่ี ีส่วนสร้างสรรค์วฒั นธรรมไทย
และประวัติศาสตรไ์ ทย วางแผนกาหนดแนวทางและการมีส่วนร่วมการอนรุ ักษภ์ มู ิปัญญาไทยและวัฒนธรรม
ไทย
เพือ่ ให้เกดิ เข้าใจความเปน็ มาของชาติไทย วฒั นธรรม ภมู ิปัญญาไทย มีความรกั ความภมู ิใจและธารง
ความเป็นไทย เข้าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบนั ในด้านความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถงึ ความสาคญั และสามารถวเิ คราะห์ผลกระทบที่เกิดข้ึน
เข้าใจความเปน็ มาของชาติไทย วัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาไทยมคี วามรัก ความภูมใิ จและธารงความเป็นไทย ตาม
วถิ ีปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
รหัสตวั ชว้ี ดั ส 4.1 ม.5/1, ส 4.1 ม.5/2,
ส 4.2 ม.5/1, ส 4.2 ม.5/2, ส 4.2 ม.5/3, ส 4.2 ม.5/4,
ส 4.3 ม5/1, ส 4.3 ม5/2, ส 4.3 ม5/3, ส 4.3 ม5/4, ส 4.3 ม5/5
คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
ส33101 สังคมศกึ ษา ฯ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรยี นที่ เวลาเรียน 40 ช่วั โมง จานวน 1.0 หนว่ ยกิต
สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม
ศึกษาสงั คมชมพูทวีป และคติความเชอื่ ทางศาสนาสมัยก่อนพระพทุ ธเจา้ หรือสงั คมสมยั ของศาสดาที่
ตนนับถอื
ศึกษาวเิ คราะห์ พระพทุ ธเจ้าในฐานะเปน็ มนษุ ย์ผูฝ้ กึ ตนไดอ้ ยา่ งสูงสุดในการตรสั รู้ การกอ่ ต้ัง วธิ กี าร
สอนและการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา หรือวิเคราะหป์ ระวัตศิ าสดาที่ตนนบั ถอื
ศึกษา พุทธประวตั ิด้านการบริหาร และการธารงรกั ษาศาสนา หรอื วิเคราะหป์ ระวตั ศิ าสดาท่ีตนนับ
ถือ
ศกึ ษาวเิ คราะห์ข้อปฏิบตั ิทางสายกลาง การพัฒนาศรทั ธา และปัญญาในพระพทุ ธศาสนา หรือแนวคดิ
ของศาสนาทีต่ นนบั ถือ
ศึกษาวเิ คราะห์หลกั การของพระพุทธศาสนากับหลักวทิ ยาศาสตร์ ลักษณะประชาธิปไตยใน
พระพุทธศาสนา หรอื แนวคดิ ของศาสนาที่ตนนบั ถือ
ศกึ ษาการฝกึ ฝนและพัฒนาตนเอง การพ่ึงตนเอง และการมงุ่ อสิ รภาพในพระพทุ ธศาสนา การฝกึ ตน
ไม่ให้ประมาทมุง่ ประโยชน์และสนั ติภาพบุคคล สังคมและโลก หรอื แนวคิดของศาสนาท่ตี นนับถอื
ศึกษา วเิ คราะหพ์ ระพุทธศาสนาว่าเปน็ ศาสตร์แห่งการศึกษาซึ่งเนน้ ความสัมพนั ธ์ของเหตุปัจจัยกบั
วธิ กี ารแก้ปัญหาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืนหรือแนวคิดของศาสนาทีต่ น
นบั ถอื
ศกึ ษาวเิ คราะหค์ วามสาคัญของพระพทุ ธศาสนาเก่ยี วกบั การศึกษาทสี่ มบูรณ์ การเมอื งและสนั ตภิ าพ
หรือแนวคดิ ของศาสนาท่ีตนนบั ถอื
ศึกษาวเิ คราะห์หลักธรรมในกรอบ อรยิ สัจ 4 หรอื หลักคาสอนของศาสนา ข้อคิดและแบบอย่าง
การดาเนินชวี ติ จากประวตั ิสาวก ชาดก เร่อื งเลา่ และศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง
ศกึ ษาความเช่อื ม่นั ตอ่ ผลของการทาความดี ความชั่ว สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ทตี่ อ้ งเผชิญ และ
ตัดสนิ ใจเลือกดาเนินการหรือปฏบิ ตั ติ นไดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ลถกู ต้องตามหลกั ธรรม จรยิ ธรรม และกาหนดเปา้ หมาย
บทบาทการดาเนนิ ชวี ติ เพือ่ การอยรู่ ว่ มกนั อย่างสนั ติสุข และอยรู่ ่วมกนั เป็นชาติอยา่ งสมานฉนั ท์
ศกึ ษาประวตั ิศาสดาของศาสนาอ่นื ๆ โดยสงั เขป ตระหนักในคุณค่าและความสาคัญของค่านิยม
จรยิ ธรรมท่เี ปน็ ตวั กาหนดความเชอ่ื และพฤติกรรมท่แี ตกตา่ งกันของศาสนกิ ชนศาสนาตา่ งๆ เพื่อขจัดความ
ขดั แยง้ และอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมอย่างสนั ตสิ ขุ เหน็ คุณค่า เชอ่ื มั่น และมงุ่ ม่นั พฒั นาชีวิตด้วยการพฒั นาจติ และ
พัฒนาการเรียนรดู้ ว้ ยวธิ ีคิดแบบโยนโิ สมนสกิ าร หรือการพฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนาทตี่ นนบั ถือ
สวดมนต์ แผเ่ มตตา และบริหารจิตและเจรญิ ปัญญาตามหลักสตปิ ฏั ฐาน หรือตามแนวทางของศาสนา
ทตี่ นนับถือ วิเคราะหห์ ลักธรรมสาคญั ในการอยู่รว่ มกันอย่างสนั ตสิ ขุ ของศาสนาอื่นๆ และชักชวน ส่งเสรมิ
สนบั สนุนให้บุคคลอน่ื เห็นความสาคัญของการทาความดตี ่อกัน เสนอแนวทางการจัดกจิ กรรม ความรว่ มมือของ
ทุกศาสนาในการแกป้ ญั หาและพัฒนาสงั คม
ปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดีตอ่ สาวก สมาชิกในครอบครัว และคนรอบข้าง ปฏบิ ตั ิตนถูกตอ้ งตามศา
สนพธิ พี ธิ กี รรมตามหลกั ศาสนา แสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ หรือแสดงตนเปน็ ศาสนกิ ชนของศาสนาท่ีตนนับถือ
ศึกษาวเิ คราะห์หลกั ธรรม คตธิ รรมที่เกย่ี วเน่อื งกับวนั สาคญั ทางศาสนา และเทศกาลที่สาคญั ของ
ศาสนาท่ีตนนบั ถือ และปฏิบตั ิตนได้ถูกต้องสมั มนาและเสนอแนะแนวทางในการธารงรกั ษาศาสนาทตี่ นนบั ถือ
อันสง่ ผลถึงการพฒั นาตนพฒั นาชาติและโลก
เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ และเข้าใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา และศาสนา
อ่ืน มีศรัทธาทีถ่ กู ตอ้ ง ยดึ มนั่ และปฏิบัติตามหลกั ธรรม เพื่ออยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติสขุ เข้าใจ ตระหนกั และปฏบิ ตั ิ
ตนเป็นศาสนกิ ชนท่ดี ี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนับถือ
ตามวิถปี รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
รหสั ตัวช้ีวัด
ส 1.1 ม.6/1, ส 1.1 ม.6/2, ส 1.1 ม.6/3, ส 1.1 ม.6/4, ส 1.1 ม.6/5,
ส 1.1 ม.6/6, ส 1.1 ม.6/7, ส 1.1 ม.6/8, ส 1.1 ม.6/9, ส 1.1 ม.6/10,
ส 1.1 ม.6/11, ส 1.1 ม.6/12, ส 1.1 ม.6/13, ส 1.1 ม.6/14, ส 1.1 ม.6/15,
ส 1.1 ม.6/16, ส 1.1 ม.6/17, ส 1.1 ม.6/18, ส 1.1 ม.6/19, ส 1.1 ม.6/ 20,
ส 1.1 ม.6/21, ส 1.1 ม.6/22,
ส 1.2 ม.6/1, ส 1.2 ม.6/2, ส 1.2 ม.6/3, ส 1.2 ม.6/4, ส 1.2 ม.6/5
คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ส33102 ประวตั ิศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นท่ี เวลาเรยี น 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หนว่ ยกติ
สาระประวัติศาสตร์
ศกึ ษาความสาคญั ของเวลาและ ยุคสมัยทางประวัติศาสตรท์ ่แี สดงถึงการเปลย่ี นแปลงของมนุษยชาติ
สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวตั ิศาสตร์โดยใช้วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรอ์ ยา่ งเปน็ ระบบ
ศกึ ษาวิเคราะหอ์ ิทธิพลของอารยธรรรมโบราณ และการตดิ ต่อระหวา่ งโลกตะวันออกกบั โลกตะวนั ตก
ทม่ี ผี ลต่อพฒั นาการและการเปลยี่ นแปลงของโลก เหตกุ ารณส์ าคญั ต่างๆทส่ี ่งผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม
เศรษฐกจิ และการเมือง เขา้ สูโ่ ลกสมยั ปจั จบุ ัน
ศึกษาวเิ คราะหผ์ ลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยโุ รปไปยงั ทวีปอเมริกา แอฟรกิ าและ
เอเชยี สถานการณ์ของโลกในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 21
ศกึ ษาวเิ คราะห์ประเด็นสาคัญของประวัตศิ าสตรไ์ ทยความสาคัญของสถาบนั พระมหากษัตริยต์ ่อชาติ
ไทย ปจั จยั ที่ส่งเสริมความสร้างสรรคภ์ ูมิปญั ญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซงึ่ มผี ลต่อสังคมไทยในยคุ ปัจจบุ ัน
ศึกษาวเิ คราะหผ์ ลงานของบคุ คลสาคญั ทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ที่มีส่วนสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทย
และประวัติศาสตรไ์ ทย วางแผนกาหนดแนวทางและการมีส่วนร่วมการอนรุ กั ษภ์ ูมปิ ัญญาไทยและวฒั นธรรม
ไทย
เพ่ือใหเ้ กิดเข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาไทย มคี วามรัก ความภูมิใจและธารง
ความเปน็ ไทย เขา้ ใจพฒั นาการของมนษุ ยชาตจิ ากอดตี จนถึงปัจจบุ ัน ในดา้ นความสมั พันธแ์ ละ การ
เปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณอ์ ย่างตอ่ เน่อื ง ตระหนกั ถงึ ความสาคญั และสามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบท่ีเกดิ ขึ้น เขา้
ใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาไทย มคี วามรัก ความภูมิใจและธารงความเปน็ ไทย ตามวถิ ี
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
รหัสตัวชวี้ ัด ส 4.1 ม.6/1, ส 4.1 ม.6/2,
ส 4.2 ม.6/1, ส 4.2 ม.6/2, ส 4.2 ม.6/3, ส 4.2 ม.6/4,
ส 4.3 ม.6/1, ส 4.3 ม.6/2, ส 4.3 ม.6/3, ส 4.3 ม.6/4, ส 4.3 ม.6/5
คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ส33103 สังคมศกึ ษา ฯ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรยี นที่ เวลาเรียน 40 ชว่ั โมง จานวน 1.0 หน่วยกิต
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
ศกึ ษาการกาหนดราคาและคา่ จา้ งในระบบเศรษฐกิจ ตระหนักถึงความสาคญั ของปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งที่มตี อ่ เศรษฐกิจ ตระหนักถงึ ความสาคัญของระบบสหกรณใ์ นการพฒั นาเศรษฐกิจในระดบั
ชมุ ชนและประเทศ
ศึกษาวิเคราะหป์ ญั หาทางเศรษฐกิจ ในชมุ ชนและเสนอแนวทางแก้ไข
ศกึ ษาบทบาทของรัฐบาลด้านนโยบายการเงิน การคลงั ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
ศกึ ษาวเิ คราะหผ์ ลกระทบของการเปิดเสรที างเศรษฐกจิ ในยคุ โลกาภิวัตน์ทม่ี ีผลตอ่ สงั คมไทย ผลดี
ผลเสียของความรว่ มมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในรูปแบบตา่ ง ๆ
เพือ่ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรพั ยากรในการผลติ และการบรโิ ภค การใช้
ทรัพยากร ท่มี อี ยู่จากัดไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพและคุ้มคา่ รวมท้ังเข้าใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่อื การ
ดารงชวี ติ อย่างมีดุลยภาพ เขา้ ใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธท์ างเศรษฐกิจและความ
จาเปน็ ของการร่วมมอื กนั ทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก ตามวถิ ีปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
รหัสตวั ชี้วัด ส 3.1 ม.6/1, ส 3.1 ม.6/2, ส 3.1 ม.6/3, ส 3.1 ม.6/4
ส 3.2 ม.6/1, ส 3.2 ม.6/2, ส 3.2 ม.6/3
คาอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ส33104 ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ เวลาเรยี น 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่วยกติ
สาระประวตั ิศาสตร์
ศึกษาความสาคญั ของเวลาและ ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตรท์ ่ีแสดงถงึ การเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ
สร้างองค์ความร้ใู หม่ทางประวัตศิ าสตรโ์ ดยใช้วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์อยา่ งเป็นระบบ
ศึกษาวิเคราะห์อทิ ธพิ ลของอารยธรรรมโบราณ และการติดตอ่ ระหว่างโลกตะวันออกกับโลกตะวนั ตก
ท่ีมีผลต่อพัฒนาการและการเปลย่ี นแปลงของโลก เหตกุ ารณส์ าคัญตา่ งๆที่สง่ ผลต่อการเปล่ยี นแปลงทางสงั คม
เศรษฐกจิ และการเมือง เข้าสโู่ ลกสมัยปัจจุบัน
ศกึ ษาวิเคราะห์ผลกระทบของการขยายอทิ ธิพลของประเทศในยโุ รปไปยงั ทวีปอเมรกิ า แอฟรกิ าและ
เอเชยี สถานการณ์ของโลกในครสิ ต์ศตวรรษที่ 21
ศกึ ษาวิเคราะหป์ ระเดน็ สาคญั ของประวตั ศิ าสตร์ไทยความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ตอ่ ชาติ
ไทย ปจั จัยท่สี ง่ เสรมิ ความสร้างสรรค์ภมู ิปัญญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซง่ึ มีผลตอ่ สงั คมไทยในยคุ ปัจจุบนั
ศึกษาวิเคราะหผ์ ลงานของบุคคลสาคัญ ทงั้ ชาวไทยและต่างประเทศ ท่ีมีสว่ นสร้างสรรค์วฒั นธรรมไทย
และประวัติศาสตร์ไทย วางแผนกาหนดแนวทางและการมสี ว่ นร่วมการอนรุ ักษ์ภูมปิ ัญญาไทยและวัฒนธรรม
ไทย
เพอ่ื ให้เกดิ เข้าใจความเปน็ มาของชาติไทย วฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาไทย มคี วามรกั ความภมู ิใจและธารง
ความเป็นไทย เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดตี จนถึงปัจจุบนั ในด้านความสมั พันธแ์ ละ การ
เปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณอ์ ย่างตอ่ เนื่อง ตระหนกั ถงึ ความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกดิ ขึ้น เข้า
ใจความเป็นมาของชาตไิ ทย วฒั นธรรม ภูมิปัญญาไทย มคี วามรกั ความภมู ิใจและธารงความเป็นไทย ตามวถิ ี
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
รหสั ตัวชว้ี ัด ส 4.1 ม.6/1, ส 4.1 ม.6/2,
ส 4.2 ม.6/1, ส 4.2 ม.6/2, ส 4.2 ม.6/3, ส 4.2 ม.6/4,
ส 4.3 ม.6/1, ส 4.3 ม.6/2, ส 4.3 ม.6/3, ส 4.3 ม.6/4, ส 4.3 ม.6/5