The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ถอดบทเรียนการดำเนินงานป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2565 จังหวัดกาญจนบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ddpm.kan01, 2022-05-10 05:56:11

เล่มถอดบทเรียนการดำเนินงานป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2565

ถอดบทเรียนการดำเนินงานป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2565 จังหวัดกาญจนบุรี

1

สารบัญ

หนว่ ยงาน

1. สำนกั งานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั กาญจนบรุ ี...........................................................................1
2. ตำรวจภูธรจงั หวัดกาญจนบุรี..........................................................................................................................8
3. สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั กาญจนบรุ ี........................................................................................................10
4. สำนักงานขนสง่ จังหวัดกาญจนบุรี.................................................................................................................13
5. แขวงทางหลวงกาญจนบรุ ี.............................................................................................................................16
6. แขวงทางหลวงชนบทกาญจนบุรี...................................................................................................................20
7. สำนกั งานประชาสัมพันธ์จังหวดั กาญจนบรุ ี...................................................................................................22
8. สำนกั งานเจ้าท่าภูมภิ าค สาขากาญจนบรุ ี .....................................................................................................23
9. อำเภอทุกอำเภอ...........................................................................................................................................26
10. สรุปภาพรวม ความพงึ พอใจของประชาชนในการเดินทางมาท่องเท่ียวจังหวดั กาญจนบุรี ชว่ งเทศกาล
สงกรานต์ ปี พ.ศ.2565.....................................................................................................................................28
11. สรปุ ภาพกิจกรรมช่วงเข้มขน้ ......................................................................................................................30

1. สำนกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั กาญจนบรุ ี

1. เปา้ หมายการดำเนนิ งานทีว่ างไว้

1.1 ศนู ย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนจังหวัดกาญจนบรุ ี ไดด้ ำเนินการจดั ทำแผนปฏบิ ัติการป้องกัน
และลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2565 โดยได้กำหนดให้มีการจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(Emergency Operations Center, EOC) และชุดเคลื่อนที่เร็วเข้าถึงจุดเกิดเหตุ มีการกำหนดเป้าหมายในการ
ดำเนินงานการป้องกนั และลดอุบตั เิ หตุทางถนนชว่ งเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2565 ดังนี้

1) จำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุ จำนวนผู้เสียชีวิต และจำนวนผู้บาดเจ็บ (admit) ของ
จงั หวัดกาญจนบรุ ี ลดลงไมน่ ้อยกวา่ 5 เปอร์เซ็นต์ เม่ือเทยี บกบั สถิตใิ นช่วงเทศกาลสงกรานต์ เฉล่ยี 3 ปีย้อนหลัง

สงกรานต์ 2561 2562 2564 เฉลย่ี 3 ปี เปา้ หมายการ
ดำเนินงาน
เกิดอบุ ตั ิเหตุ (ครงั้ )
ผบู้ าดเจบ็ (คน) 62 60 58 60 ≤57
ผเู้ สยี ชวี ิต (ราย)
71 64 62 66 ≤62

355 5 ≤4

2) จำนวนผู้เสยี ชีวติ ณ จุดเกดิ เหตุของจงั หวัดกาญจนบุรี ลดลงไม่นอ้ ยกว่า 5 เปอรเ์ ซน็ ต์ เมื่อ
เทยี บกับสถิติในช่วงเทศกาลสงกรานต์ เฉล่ีย 3 ปียอ้ นหลงั

สงกรานต์ 2561 2562 2564 เฉล่ยี 3 ปี เปา้ หมายการ
ดำเนินงาน

ผเู้ สยี ชีวิต ณ จุดเกดิ เหตุ (ราย) 0 3 4 3 ≤2

3) จำนวนผู้เสียชีวิตในพฤติกรรมเสี่ยงหลัก ได้แก่ ขับรถเร็วเกินกำหนด ดื่มแล้วขับ ไม่สวม
หมวกนิรภัย ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย ลดลงไม่น้อยกว่า 5 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับสถิติในช่วงเทศกาลสงกรานต์ เฉลี่ย 3
ปียอ้ นหลงั

สงกรานต์ 2561 2562 2564 เฉลยี่ 3 ปี เปา้ หมายการ
ดำเนนิ งาน
ขับรถเรว็ เกินกำหนด (ราย)
ด่มื แลว้ ขบั (ราย) 032 2 ≤1
ไม่สวมหมวกนิรภยั (ราย)
ไม่คาดเขม็ ขดั นิรภยั (ราย) 000 0 0

114 2 ≤1

010 1 0

1

4) จำนวนเด็กและเยาวชนท่ีได้รับบาดเจ็บ (admit) ที่มอี ายุตำ่ กวา่ 20 ปี จากการ
ดื่มสรุ าแลว้ ขับขย่ี านพาหนะ ลดลงไมน่ ้อยกว่า 5 เปอรเ์ ซ็นต์ เมอ่ื เทียบกับสถติ ใิ นชว่ งเทศกาลสงกรานต์ เฉล่ยี
3 ปี ยอ้ นหลัง

สงกรานต์ 2561 2562 2564 เฉลย่ี 3 ปี เป้าหมายการ
ดำเนนิ งาน

จำนวนเด็กและเยาวชนที่ได้รับ

บาดเจบ็ (admit) ที่มีอายุต่ำกว่า 2 2 1 2 ≤1
20 ปี จากการด่ืมสรุ าแล้ว

ขับข่ียานพาหนะ

* หมายเหตุ : ใชข้ อ้ มูลสถติ ิช่วงเทศกาลสงกรานต์ 3 ปยี อ้ นหลงั ระหวา่ งปี พ.ศ.2561, 2565 และ 2564 เน่ืองจากช่วงเทศกาลสงกรานต์

พ.ศ. 2563 ไมม่ ีการดำเนินการรณรงค์ควบคุมอย่างเข้มข้นเพราะสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019

1.2 ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนจังหวัด
กาญจนบุรี ได้ดำเนินการจัดประชุมติดตามสถานการณ์การเกิดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2565
จังหวัดกาญจนบุรี โดยได้กำหนดเป้าหมายให้มีการประชุมในวันที่ 12 – 18 เมษายน 2565 เวลา 10.00 น. ณ ห้อง
ประชมุ แควน้อย ชัน้ 3 ศาลากลางจังหวัดกาญจนบุรี ซงึ่ นำขอ้ มลู สรุปชว่ งควบคุมเข้มข้น (วันที่ 11-17 เมษายน 2565)
ในแต่ละวัน เช่น จำนวนครั้งการเกิดอบุ ัติเหตุ จำนวนผู้บาดเจ็บ จำนวนผู้เสียชวี ิต รายละเอียดผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิต
เพือ่ วเิ คราะหห์ าแนวทางในการป้องกนั หรือแก้ไขการเกิดอบุ ตั ิเหตุคร้ังต่อไป

2

1.3 ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน
จังหวัดกาญจนบุรี ได้จัดให้มีการตรวจเยี่ยม เพื่อรับฟัง
ข้อคิดเห็น ให้คำปรึกษา และแก้ไขปัญหาหรืออุปสรรค
รวมทั้งให้กำลังเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานจุดตรวจหลัก และ
ด่านชุมชน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2565 ในทุกอำเภอ
ของจังหวัดกาญจนบุรี โดยได้มีการแบ่งคณะตรวจเยี่ยม
ออกเป็น 13 คณะตามคำส่ังจังหวัดกาญจนบุรี ท่ี 902/2565
ลงวันที่ 29 มนี าคม 2565

2. เป้าหมายทสี่ ัมฤทธผิ์ ล (Outcome)

สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั กาญจนบุรี ในฐานะฝา่ ยเลขานุการศูนย์อำนวยการความ
ปลอดภัยทางถนนจังหวัด ได้ดำเนินการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2565
ทสี่ ามารถดำเนินการสมั ฤทธ์ิผล มีดังนี้

2.1 เปา้ หมายทีไ่ ด้กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการป้องกนั และลดอุบัติเหตทุ างถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์
พ.ศ. 2565 ดงั นี้

1) เป้าหมายจำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุ และจำนวนผู้บาดเจ็บ (admit) ลดลงไม่น้อย
กว่า 5 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับสถิติในช่วงเทศกาลสงกรานต์เฉลี่ย 3 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์
พ.ศ. 2565 มีอุบัติเหตุทางถนนในจังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 55 ครั้ง และมีผู้บาดเจ็บ จำนวน 58 คน เมื่อเทียบ
กบั คา่ เฉล่ยี 3 ปยี ้อนหลัง พบวา่ สามารถลดการเกดิ อุบัตเิ หตุ และจำนวนผู้บาดเจ็บได้ แสดงดังตารางดา้ นล่างน้ี

สงกรานต์ 2561 2562 2564 เฉลี่ย 3 ปี เป้าหมายการ 2565 + เพ่มิ
ดำเนินงาน - ลด
เกดิ อุบัติเหตุ (คร้งั )
ผ้บู าดเจ็บ (คน) 62 60 58 60 ≤57 55 -2

71 64 62 66 ≤62 58 -4

2) เป้าหมายจำนวนผู้เสยี ชวี ิต ณ จุดเกิดเหตุของจงั หวดั กาญจนบุรี ลดลงไม่นอ้ ยกวา่ 5
เปอรเ์ ซน็ ต์ เมอ่ื เทียบกับสถิติในช่วงเทศกาลสงกรานต์ เฉลี่ย 3 ปยี อ้ นหลงั ทั้งนี้ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.
2565 มีผู้เสียชีวิต ณ จุดเกิดเหตุ จำนวน 1 ราย พบว่า มีจำนวนลดลงเมือ่ เทียบกับค่าเฉลี่ย 3 ปีย้อนหลัง แสดง
ดังตารางดา้ นลา่ งนี้

สงกรานต์ 2561 2562 2564 เฉลย่ี 3 ปี เป้าหมายการ 2565 + เพ่มิ
ดำเนนิ งาน - ลด

ผ้เู สยี ชีวติ ณ จดุ เกิดเหตุ (ราย) 0 3 4 3 ≤2 1 -1

3

3) เป้าหมายจำนวนผู้เสียชีวิตในพฤติกรรมเสี่ยงหลัก ได้แก่ ขับรถเร็วเกินกำหนด ไม่สวม

หมวกนริ ภัย ไมค่ าดเขม็ ขดั นิรภัย ลดลงไมน่ อ้ ยกว่า 5 เปอร์เซ็นต์ เม่อื เทียบกับสถิติในช่วงเทศกาลสงกรานต์ เฉลี่ย 3

ปยี อ้ นหลงั ท้ังนี้ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2565 มจี ำนวนผ้เู สยี ชวี ติ ในพฤติกรรมเสี่ยงหลัก ได้แก่ ไม่สวมหมวก

นิรภัย ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย พบว่า มีจำนวนลดลงหรือเท่ากับเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ย 3 ปีย้อนหลัง แสดงดังตาราง

ด้านล่างน้ี

สงกรานต์ 2561 2562 2564 เฉลยี่ 3 เป้าหมายการ 2565 + เพิม่
ปี ดำเนินงาน - ลด

ไม่สวมหมวกนิรภัย (ราย) 114 2 ≤1 0 -1

ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย (ราย) 010 1 0 00

2.2 เป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ในการประชุมติดตามสถานการณ์การเกิดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาล
สงกรานต์ พ.ศ. 2565 จังหวัดกาญจนบุรี พบว่า ได้มีการจัดประชุมในทุกวันตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ในวันที่ 12 – 18
เมษายน 2565 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุมแควน้อย ชั้น 3 ศาลากลางจังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งนำข้อมูลสรุปช่วง
ควบคุมเข้มข้น (วันที่ 11-17 เมษายน 2565) ในแต่ละวัน และข้อมูลจำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุ ผู้บาดเจ็บ และ
ผเู้ สียชวี ติ ตรงกับข้อมูลของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี กองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดกาญจนบุรี และ
บรษิ ัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภยั จากรถ สาขากาญจนบุรี

2.3 เป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ในการตรวจเยี่ยม เพื่อรับฟังข้อคิดเห็น ให้คำปรึกษา และแก้ไขปัญหาหรือ
อุปสรรค รวมทง้ั ให้กำลังเจ้าหน้าทผี่ ู้ปฏบิ ัติงานจุดตรวจหลัก และดา่ นชุมชน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2565 พบว่า
ไดม้ ีการตรวจเย่ียมจุดตรวจหลักของแตล่ ะอำเภอครบทุกอำเภอ

3. เปา้ หมายทีไ่ ม่บรรลุผล

สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั กาญจนบุรี ในฐานะฝ่ายเลขานุการศูนย์อำนวยการความ
ปลอดภัยทางถนนจังหวัด ได้ดำเนินการป้องกันและลดอุบัติเหตทุ างถนนชว่ งเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2565 ที่ไม่
สามารถดำเนินการใหบ้ รรลุได้ มีดังน้ี

3.1 เป้าหมายท่ไี ด้กำหนดไวใ้ นแผนปฏิบัตกิ ารป้องกันและลดอบุ ตั เิ หตทุ างถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์
พ.ศ. 2565 ดงั นี้

1) เป้าหมายจำนวนผู้เสียชีวิต ลดลงไม่น้อยกว่า 5 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับสถิติในช่วง
เทศกาลสงกรานต์เฉลี่ย 3 ปีย้อนหลัง ทัง้ น้ี ในชว่ งเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2565 มผี ูเ้ สยี ชีวิต จำนวน 5 ราย พบว่า
ผู้เสยี ชีวิต มีจำนวนเพม่ิ ข้นึ เมอื่ เทียบกบั ค่าเฉลย่ี 3 ปี ย้อนหลัง แสดงดงั ตารางด้านล่างน้ี

สงกรานต์ 2561 2562 2564 เฉล่ยี 3 ปี เป้าหมายการ 2565 + เพิ่ม
ผู้เสียชีวติ (ราย) ดำเนนิ งาน - ลด

355 5 ≤4 5 +1

4

2) เป้าหมายจำนวนผู้เสียชีวิตในพฤติกรรมเสี่ยงหลัก ได้แก่ ขับรถเร็วเกินกำหนด ดื่มแล้วขับ
ลดลงไม่น้อยกว่า 5 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับสถิติในช่วงเทศกาลสงกรานต์ เฉลี่ย 3 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ ในช่วงเทศกาล
สงกรานต์ พ.ศ. 2565 มีผู้เสียชีวิตในพฤติกรรมเสี่ยงหลัก ได้แก่ ขับรถเร็วเกินกำหนด จำนวน 4 ราย ดื่มแล้วขับ
จำนวน 1 ราย พบว่า มีจำนวนเพิ่มขน้ึ เมื่อเทียบกับคา่ เฉล่ยี 3 ปยี ้อนหลงั แสดงดงั ตารางดา้ นล่างนี้

สงกรานต์ 2561 2562 2564 เฉล่ีย 3 ปี เปา้ หมายการ 2565 + เพ่ิม
ดำเนินงาน - ลด
ขบั รถเร็วเกินกำหนด (ราย)
ดม่ื แล้วขับ (ราย) 032 2 ≤1 4 +3

000 0 0 1 +1

3) เป้าหมายจำนวนเด็กและเยาวชนที่ได้รับบาดเจ็บ (admit) ที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี จาก
การดม่ื สุราแล้วขับขี่ยานพาหนะ ลดลงไม่น้อยกวา่ 5 เปอรเ์ ซ็นต์ เม่อื เทียบกบั สถติ ิในช่วงเทศกาลสงกรานต์ เฉล่ีย
3 ปี ย้อนหลัง ทั้งนี้ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2565 มีเด็กและเยาวชนที่ได้รับบาดเจ็บ (admit) ที่มีอายุต่ำ
กว่า 20 ปี จากการดื่มสุราแล้วขับขี่ยานพาหนะ จำนวน 2 คน พบว่า มีจำนวนเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ย 3 ปี
ย้อนหลงั แสดงดังตารางด้านลา่ งนี้

สงกรานต์ 2561 2562 2564 เฉล่ีย 3 ปี เปา้ หมายการ 2565 + เพมิ่
ดำเนินงาน - ลด
จำนวนเดก็ และเยาวชนที่
ได้รบั บาดเจบ็ (admit) 221 2 ≤1 2 +1
ทม่ี ีอายุตำ่ กว่า 20 ปี
จากการด่ืมสรุ าแลว้
ขับขยี่ านพาหนะ

4) การจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operations Center, EOC)
พบว่า จงั หวัดกาญจนบุรีมีรปู แบบการจดั ตง้ั และข้อมูลท่ีไมส่ มบูรณ์ การดำเนนิ งานของชุดเคล่ือนทีเ่ รว็ ไม่สามารถ
เข้าถึงจดุ เกิดได้ทกุ พ้นื ท่ีเน่อื งจากมีพืน้ ที่การดำเนนิ งานที่ห่างไกล

3.2 เป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ในการประชุมติดตามสถานการณ์การเกิดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาล
สงกรานต์ พ.ศ. 2565 จงั หวัดกาญจนบุรี พบวา่ ข้อมูลรายละเอียดของผู้บาดเจ็บหรือเสียชวี ิตท่ีนำมาประชุมในแต่ละ
วันน้นั ไม่ครบถว้ นและสมบูรณ์

5

3.3 เป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ในการตรวจเยี่ยม เพื่อรับฟังข้อคิดเห็น ให้คำปรึกษา และแก้ไขปัญหาหรืออุปสรรค
รวมทั้งให้กำลังเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานจุดตรวจหลัก และด่านชุมชน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ ครบทุกจุดในแต่ละอำเภอ
พบว่า ไมส่ ามารถสะท้อนปัญหาของแตล่ ะจุดตรวจหลัก ดา่ นชุมชน และผู้ปฏบิ ตั งิ านของแต่ละด่านได้

4. สาเหตุ ปัจจัย อุปสรรค หรอื ข้อจำกดั ท่ีทำใหไ้ ม่สามารถบรรลุเปา้ หมายได้

สาเหตุ ปจั จัย อุปสรรค ท่ที ำใหศ้ นู ยอ์ ำนวยการความปลอดภัยทางถนนจงั หวัดกาญจนบุรี ไมส่ ามารถ
บรรลเุ ป้าหมายได้ ดงั นี้

4.1 การสื่อสารช่วงการรณรงค์เข้มข้นช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2565 ระหว่างศูนย์อำนวยการความ
ปลอดภัยทางถนนจังหวัด ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนอำเภอ และศูนย์ปฏิบัติการความ
ปลอดภัยทางถนนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะขอ้ สัง่ การท่ศี ูนยอ์ ำนวยการความปลอดภยั ทางถนนจังหวัด
ที่ได้สั่งการให้ ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนอำเภอดำเนินการ เช่น การดำเนินการของจุดตรวจหลักและด่าน
ชุมชนในพื้นที่ และการเฝ้าระวังจุดเสี่ยงสำคัญ เป็นต้น ซึ่งการแจ้งข้อสั่งการไปทางโทรสาร หรือระบบสารบรรณ
อิเลก็ ทรอนกิ ส์นนั้ เปน็ การสอื่ สารทางเดยี ว ทำให้ศนู ย์ปฏิบัตกิ ารความปลอดภยั ทางถนนอำเภออาจจะไม่ได้รับทราบข้อ
สั่งการที่ศูนยป์ ฏิบตั กิ ารความปลอดภยั ทางถนนจงั หวัดแจ้งให้ปฏบิ ัติ

4.2 ช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2565 แม้จะเป็นช่วงของการแพร่ระบาดของโรคไวรัสติดเชื้อโคโรนา
2019 แต่จังหวัดกาญจนบุรีเป็นพื้นที่สีฟ้าซึ่งเป็นจังหวัดนำร่องการท่องเที่ยว รวมถึงผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เช่น
สามารถบริโภคสุราและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในร้านอาหารได้ไม่เกินเวลา 23.00 น. ทำให้นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามา
ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ในจังหวัดกาญจนบุรีค่อนข้างมาก รวมถึงประชาชนเดินทางกลับภูมิลำเนามากขึ้น
ทำให้ผขู้ ับขี่ซ่ึงเป็นคนในพื้นที่ โดยเฉพาะผู้ขับขี่รถจักยานยนต์ด่ืมและขบั และมีการใช้ความเรว็ เกินกำหนด ทำให้เป็น
ปัจจัยเส่ยี งหลักทีก่ ่อให้เกิดอบุ ตั ิเหตุทางถนนขึ้น

4.3 การไม่มีจิตสำนึก และขาดวินัยจราจรในการใช้รถใช้ถนน ของผู้ขับขี่ ทั้งนี้ เนื่องจากสาเหตุการ
เกดิ อุบตั เิ หตุทางถนนสูงสุด 3 อนั ดับแรก พบว่า เกดิ จากขบั รถเรว็ เกนิ กฎหมายกำหนด รอ้ ยละ 40.35 รองลงมา
ด่ืมแลว้ ขบั รอ้ ยละ 31.58 และ ทศั นวิสัยไม่ดี รอ้ ยละ 7.02
5. แนวทางการแก้ไข เพ่อื ให้สามารถบรรลุเป้าหมายได้

5.1 การประสานงานของศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน
จงั หวดั ศนู ยป์ ฏิบตั ิการความปลอดภัยทางถนนอำเภอ และองค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถนิ่ จะต้องดำเนนิ การส่ือสารสองทาง เพอื่ ใหเ้ กิด การปฏบิ ัติงานตามข้อส่ัง
การของศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนจังหวัดอย่างมีประสิทธิภาพ
และเป็นรูปธรรม จึงตอ้ งมีการติดตามผลการสั่งการในพ้นื ทอ่ี ยา่ งต่อเน่ือง

5.2 ดำเนินการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในระดับพื้นที่อย่าง
เข้มข้น และต่อเนื่อง โดยเฉพาะการดำเนินงานของศนู ย์ปฏบิ ัติการความปลอดภัย

6

ทางถนนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นหน่วยงานผู้รับผิดชอบพื้นที่ตลอดจนการแก้ไขจุดเสี่ยง จุดตัดทาง
รถไฟ จดุ อันตรายที่เกิดอุบตั ิเหตุบ่อยครง้ั ในพ้ืนท่ี

5.3 เน้นการประชาสัมพันธ์เชิงรุกตลอดทั้งปี ไม่เฉพาะช่วงเทศกาล โดยมีแผนการประชาสัมพันธ์เพื่อ
เผยแพร่แนวทางความรู้ด้านความปลอดภัยทางถนนในชุมชน/หมู่บ้านโดยให้ผู้นำชุมชนนำไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
ผ่านหอกระจายข่าว เสียงตามสาย และวิทยุชุมชน รวมทั้งรณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อให้ผู้ใช้รถใช้ถนนรับทราบ
ในประเดน็ ดังต่อไปน้ี

5.3.1 มาตรการบังคับใช้กฎหมาย โดยเน้นประเด็นที่เป็นปัจจัยเสี่ยงหลักของการเกิด
อบุ ตั ิเหตุทางถนน ได้แก่ ขับรถเรว็ เกนิ กว่ากฎหมายกำหนด ด่ืมแลว้ ขบั ไม่สวมหมวกนริ ภัยและจักรยานยนต์

5.3.2 สถานการณ์การเกิดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ในพื้นท่ี เช่น ข้อมูล
ผ้เู สยี ชวี ติ ผบู้ าดเจบ็ สาเหตขุ องการเกดิ อบุ ัตเิ หตุ

5.3.3 ปัจจยั เสีย่ งหลักการเกดิ อบุ ัตเิ หตทุ างถนน และผลกระทบจากการเกดิ อุบตั ิเหตุ
5.3.4 จุดเสย่ี งจุดอันตรายและจดุ ท่ีเกิดอุบัติเหตบุ ่อยในพน้ื ท่ี
5.3.5 การตรวจสอบสภาพรถเส้นทางสัญจรและเตรียมความพร้อมสภาพร่างกายก่อนออก
เดนิ ทาง
5.4 ดำเนินการปลูกฝังวินัยจราจร สร้างจิตสำนึกในการขับขี่ ให้กับเยาวชนและประชาชนอย่าง
ตอ่ เนือ่ ง โดยความรว่ มมอื ของหนว่ ยงานภาคีเครือขา่ ย และหน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งทุกภาคสว่ น
5.5 ผลักดันให้มีการจัดตั้ง ศปถ.อปท. ในพื้นที่ให้ครอบคลุมทุกแห่ง เพื่อบูรณาการการทำงานของ
หน่วยงาน การบรรจุประเด็นการดำเนินงานด้านความปลอดภัยทางถนนไวใ้ นแผนพัฒนาท้องถิ่น เพื่อขอรับการ
จดั สรรงบประมาณในการดำเนนิ การใหเ้ กิดความต่อเน่ือง
5.6 จงั หวัดกาญจนบรุ ีควรจัดทำรปู แบบและข้อมลู ประจำศูนย์ให้สมบูรณ์ครบถ้วน เช่น แผนท่ีที่ระบุ
จดุ เสี่ยง จดุ เกิดเหตุ เปน็ ขอ้ มลู สำหรับผู้บรหิ าร และเปน็ ตัวอยา่ งทดี่ ใี หอ้ ำเภอและท้องถิ่น
5.7 ควรจัดตั้งชดุ เคลื่อนทเี่ รว็ ประจำศูนย์ปฏิบตั ิการอำเภอใหค้ รบทกุ อำเภอ

7

2. ตำรวจภธู รจังหวดั กาญจนบรุ ี

1. เปา้ หมายการดำเนนิ งานท่ีวางไว้
1.1 การอำนวยความสะดวกและจัดการจราจรเพ่อื ใหป้ ระชาชนเดินทางท่องเท่ยี วและกลับภมู ิลำเนา

โดยปลอดภัย
1.2 การบงั คับใชก้ ฎหมายเพ่ือลดอุบัติเหตุบนท้องถนน

2. เปา้ หมายทส่ี ัมฤทธิ์ผล (Outcome)
2.1 จัดเจ้าหนา้ ท่ีตำรวจอำนวยความสะดวกบนเสน้ ทางในเขตพืน้ ที่รบั ผิดชอบ โดยเฉพาะ ช่วงช่ัวโมง

เร่งด่วน ในบริเวณทางร่วมทางแยกจุดเสี่ยงหรือจุดอันตราย เขตชุมชน ตลาด บริเวณหน้าสถานีบริการน้ำมัน
สถานทท่ี ่องเทยี่ ว รวมทั้งจดั เจ้าหนา้ ที่อำนวยความสะดวกดา้ นจราจรท้งั ในและนอกสถานีขนส่งผโู้ ดยสาร

2.2 ตั้งจุดตรวจจุดสกัด บังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดในการจับกุมดำเนินคดีตามมาตรการ
มาตรการ 10 รสขม ประกอบด้วย 1 ร.คือ ไม่ขับรถเร็วเกินกว่ากฎหมายกำหนด, 2 ส.คือ ไม่ฝ่าฝืนสัญญาณไฟ
จราจร และไม่ขบั รถย้อนศร, 3 ข.คือ มีใบขับข,่ี คาดเข็มขัดนิรภยั และไมแ่ ซงในที่คับขัน และ 4 ม.คือ ไม่ขับขี่รถ
ขณะเมาสรุ า, สวมหมวกนิรภยั , ไม่ใชร้ ถมอเตอรไ์ ซคท์ ่ีไม่ปลอดภัย และไม่ใช้โทรศัพทม์ อื ถอื ขณะขับรถ

3. เปา้ หมายท่ไี ม่บรรลุผล
ไมม่ ี

4. สาเหตุ ปจั จัย อุปสรรค หรอื ขอ้ จำกดั ในการทำงาน
4.1 ถนนสายหลักในพื้นที่ ภ.7 มีระยะทางยาว เป็นเส้นทางสำหรับการสัญจรระหว่างภาคต้องใช้

ความคล่องตัว รถใช้ความเร็วสูง ในขณะเดียวกันเป็นถนนทีป่ ระชาชนในพื้นท่ีใชร้ ่วมกันไปด้วยจึงมคี วามเสี่ยง
ในการเกิดอบุ ัติเหตสุ งู

4.2 ประชาชนรับรู้กฎหมายจราจร แต่ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย

8

4.3 การซ่อมบำรุงสภาพถนนที่ชำรุด หรือบางจุดที่ไม่เหมาะสมทางกายภาพของถนน ต้องใช้
งบประมาณดำเนินการเป็นจำนวนมาก หน่วยงานที่เกี่ยวของมีงบประมาณไม่เพียงพอ จำเป็นต้องต้ัง
งบประมาณไว้ล่วงหนา้ ถึงจะดำเนนิ การซอ่ มแซมปรบั ปรุงได้

4.4 สภาพสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการติดตั้งแสงสว่างจากไฟฟ้าบนถนนตลอดทั้งสาย ทุกเส้นทาง
ต้องใช้งบประมาณเปน็ จำนวนมาก ไดใ้ ห้ สภ.ในสงั กดั ประสานหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้องดำเนินการต่อไป

5. ขอ้ เสนอแนะ

5.1 ให้แขวงทางหลวงจัดหาจุดพักรถตามเส้นทางให้เหมาะสม และ
มากยิ่งขึ้น จุดใดที่เป็นจุดเสี่ยงไม่เหมาะสมไม่ปลอดภัย ให้จัดทำป้ายห้าม
ปา้ ยเตือน อย่าใหร้ ถจอดบรเิ วณไหลท่ าง

5.2 ให้จังหวัดกำหนดหรือมอบหมายให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เข้ามามีส่วนรว่ มรบั ผดิ ชอบอยา่ งจรงิ จงั

5.3 ให้อำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดตั้งด่านชุมชนให้มาก
ย่งิ ข้นึ และครอบคลุมจดุ เส่ยี งท่ีอาจเกิดอุบตั เิ หตุ

5.4 ให้ประชาสัมพันธ์จังหวัด, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฝ่าย
ปกครอง ร่วมรับผิดชอบในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์รณรงค์ โดยเฉพาะ
การขับขี่รถทางไกล ควรมีผู้ขับขี่รถสำรอง, การแนะนำให้ความรู้ทักษะการ
ขับขร่ี ถของกล่มุ ผูส้ งู อายุ

5.5 ให้ ปภ.อำเภอ สนับสนุนหรือจัดสรรงบประมาณน้ำมันเชื้อเพลิง
ยานพาหนะในการออกตรวจตรา เปดิ สัญญาณไฟวบั วาบตามเส้นทางท่ีเปน็ จดุ เส่ยี ง ตลอด 24 ชม.

6.แนวทางปฏิบัตใิ นเทศกาลครั้งตอ่ ไป

6.1 นำสถิติอุบัตเิ หตทุ ่ีเกิดขน้ึ ในพนื้ ท่ีรบั ผิดชอบ มาปรับแผนในการตงั้ จดุ ตรวจ จุดบริการประชาชน
ใหค้ รอบคลุมพื้นทีท่ เ่ี ส่ียงต่อการเกดิ อุบัติเหตุ เน่ืองจากเม่อื เกดิ อบุ ัติเหตขุ ึน้ สามารถช่วยเหลอื ประชาชนท่ีประสบ
เหตไุ ดอ้ ย่างทันท่วงที โดยประสานกับมลู นิธ/ิ โรงพยาบาลท่ีใกลท้ สี่ ุด ในการนำส่งผบู้ าดเจบ็ เพอ่ื ลดการสูญเสียให้
มากที่สดุ

6.2 บังคับใช้กฎหมายตามมาตรการ 10 รสขม อย่างจริงจังและต่อเนื่อง เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่จะ
เกิดข้นึ ได้

6.3 ดำเนินการตามมาตรการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความตระหนักและสร้าง
จิตสำนึกของผู้ใช้รถใช้ถนนให้เคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย เพื่อการรักษาระเบียบวินัยจราจรอย่างเคร่งครัด
เพ่อื ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพย์สนิ ของตนเองและผอู้ นื่

9

3. สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั กาญจนบรุ ี

1. เป้าหมายการดำเนนิ งานทว่ี างไว้
1.1 มีการจดั ตัง้ EOC ตามขอ้ สง่ั การของกระทรวงสาธารณสุข
1.2 การเข้าถงึ บรกิ ารการแพทย์ของผู้ป่วยวกิ ฤติฉุกเฉนิ (สีแดง) ในระยะทาง 10 กม. ไม่เกิน 10 นาที

คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.00
1.3 การเข้าถงึ บรกิ ารการแพทย์ขั้นพื้นฐานและขัน้ สงู รอ้ ยละ 50 (เปา้ หมายร้อยละ 80)
1.4 จำนวนหน่วยบรกิ ารแพทย์ข้นั พน้ื ฐานโดยองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ มากกวา่ รอ้ ยละ 50

2. เป้าหมายทีส่ ัมฤทธ์ผิ ล (Outcome)
2.1 มกี ารจดั ตัง้ EOC ตามข้อส่งั การของกระทรวงสาธารณสขุ เมอ่ื วันท่ี 11 เม.ย.65
2.2 มกี ารประชุมเตรียมความพร้อมทง้ั แพทย์ พยาบาล อปุ กรณ์ และซ้อมแผนรองรับอบุ ตั เิ หตุหมู่
2.3 การเข้าถึงบริการการแพทย์ของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน (สีแดง) ในระยะทาง 10 กม. ไม่เกิน 10

นาที คดิ เป็นรอ้ ยละ 80.0
2.4 การปฏิบัติงานโดยยึดตามเขตพื้นที่ของสถานบริการของแต่ละอำเภอ โดยมีโรงพยาบาลเป็น

หนว่ ยบริการการแพทย์ฉกุ เฉินเปน็ หลกั
2.5 มีการประสานงานให้เตรียมความพร้อมของ รถ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และอุปกรณ์ ในหน่วย

บริการการแพทย์ขั้นพื้นฐาน พร้อมมีการจัดอบรมฟื้นฟูความรู้ในการให้การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ
และขณะนำสง่

3. เปา้ หมายทีไ่ ม่บรรลุผล
3.1 การเข้าถงึ บริการการแพทย์ขั้นพ้นื ฐานและขน้ั สงู รอ้ ยละ 50 (เปา้ หมายร้อยละ80)
3.2 จำนวนหน่วยบริการแพทย์ขั้นพื้นฐานโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีเพียง 5 แห่ง อปท.

ท้งั หมด 122 แหง่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.09
3.3 หน่วยปฏิบัติการในพื้นที่ห่างไกล มีปัญหาเรื่องระบบการติดต่อสื่อสาร เช่น ใน อ.ทองผาภูมิ

อ.สงั ขละบุรี อ.หนองหรอื และ อ.ศรสี วัสด์ิ

4. สาเหตุ ปัจจัย อุปสรรค หรอื ข้อจำกัด ท่ที ำให้ไม่สามารถบรรลุเปา้ หมายได้
4.1 พบว่าในพื้นทท่ี หี่ ่างไกล มีความจำเป็นในการให้บริการทางการแพทยโ์ ดยหนว่ ยปฏิบตั ิการทาง

การแพทยข์ นั้ พน้ื ฐานก่อนทจ่ี ะส่งต่อใหท้ มี ปฏิบัติการทางการแพทย์ขัน้ สงู ตอ่ ไป เน่ืองจากสามารถเขา้ ถึงและให้
การชว่ ยเหลือเบือ้ งต้นไดร้ วดเรว็ กวา่ ทีม การปฏบิ ัติการทางการแพทยข์ นั้ สงู

4.2 การสอ่ื สารในพ้นื ทหี่ ่างไกล

10

4.3 ขาดรถที่ได้มาตรฐานและอุปกรณ์ไม่เพียงพอในการปฏิบัติการทางการแพทย์ ในบางหน่วย
ปฏบิ ัติการขัน้ พื้นฐาน
5. แนวทางการแก้ไข เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายได้

5.1 เน้นการประชาสัมพันธ์ระบบบรกิ ารการแพทย์ฉุกเฉิน 1669
5.2 ผลักดันพฒั นาระบบ D1669 (Digital1669) เม่ือมกี ารถ่ายโอนศูนย์ส่ังการการการแพทย์ย้ายไป
อบจ.
5.3 ผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการในการสนับสนุนการดำเนินงาน
การแพทยฉ์ ุกเฉินในระดับตำบล
6.ผลการดำเนินงาน
6.1 เปดิ ศนู ย์ปฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉินด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุข ช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2565

6.2 ประชุมเตรียมความพร้อม

11

6.3 ออกตรวจเตอื นประชาสมั พันธ์ การขายเคร่ืองด่มื มแี อลกอฮอล์
6.4 ออกเยย่ี มด่านชุมชน

12

4. สำนกั งานขนสง่ จังหวดั กาญจนบุรี

1. เปา้ หมายการดำเนนิ งานที่วางไว้
1.1 เพอ่ื กำกบั ดูแลการเดินรถโดยสารสาธารณะใหม้ ีความพร้อมท้งั สภาพตัวรถและผูข้ ับรถในการ

อำนวยความสะดวก ปลอดภัยและสร้างความมน่ั ใจในการเดินทางแก่ผใู้ ชบ้ รกิ ารรถโดยสารสาธารณะ
1.2 เพ่ือป้องกันและลดอบุ ัติเหตุที่เกิดจากการขนส่งด้วยรถโดยสารและรถบรรทุก
1.3 รถโดยสารสาธารณะเกดิ อบุ ตั ิเหตุลดลงร้อยละ 5 จากปีทีผ่ ่านมา

2. เปา้ หมายทส่ี ัมฤทธผิ์ ล (Outcome)
2.1 สำนักงานขนส่งจังหวัดกาญจนบุรี ได้ปฏิบัติงานตรวจความพร้อมของตัวรถโดยสารประจำทาง

หมวด 2 และหมวด 3 ทุกเส้นทาง และรถโดยสารอื่นๆ ที่วิ่งเข้า – ออก หรือผ่านจังหวัดกาญจนบุรี ณ บริเวณ
สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดกาญจนบุรีและจุดจอดรถต่าง ตามแบบ Checklist ของกรมการขนส่งทางบก
จำนวน 975 คนั ทำใหร้ ถโดยสารทนี่ ำมาใช้มีสภาพที่มน่ั คงแขง็ แรงพร้อมใหบ้ ริการแก่ผ้โู ดยสาร และพนักงานขับ
รถโดยสารมีความพร้อมทางร่างกายในการปฏิบัติหน้าที่ ทำให้เกิดความปลอดภัยแก่ผู้ใช้บริการรถโดยสาร
สาธารณะ ชว่ ยลดปญั หาการเกดิ อบุ ตั ิเหตุ

13

2.2 ดำเนินการตรวจความพร้อมของพนักงานขับรถสาธารณะ ณ สถานีขนสง่ ผโู้ ดยสาร และจุดจอด
รถตา่ ง ๆ จำนวน 978 คน

2.3 จัดชุดตรวจการเคลื่อนที่ออกตรวจสุ่มตรวจจับการใช้ความเร็วของรถตามกฎหมายว่าด้วยการ
ขนส่งทางบก จำนวน 2,004 คันแยกเป็นรถโดยสาร จำนวน 147 คัน และรถบรรทุกจำนวน 1,865 คัน พบรถ
กระทำความความผิด จำนวน 7 คัน เป็นรถโดยสาร จำนวน 1 คัน และรถบรรทุก จำนวน 6 คัน

14

2.4 จัดเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์บริหารจัดการเดินรถระบบ GPS ปฏิบัติหน้าที่เฝ้าระวังการกระทำ
ความผดิ จากการใช้ความเร็วของรถตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการขนส่งทางบก โดยมีรถทสี่ ่มุ ตรวจจำนวน 1,866 คนั

2.5 จัดเจ้าหน้าที่รณรงค์แนะนำให้ความรู้เกี่ยวกับการคาดเข็มขัดนิรภัยแก่ผู้โดยสารรถประจำทาง
ณ สถานีขนสง่ ผูโ้ ดยสารจังหวัดกาญจนบรุ ี

2.6 รถโดยสารสาธารณะเกิดอบุ ตั ิเหตลุ ดลงรอ้ ยละ 5 จากปที ่ีผ่านมา (เทศกาลสงกรานต์ปี 2565 )
ไมพ่ บอบุ ตั เิ หตจุ ากรถโดยสารและรถบรรทุกตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบกแต่อย่างใด
3. เป้าหมายทไี่ ม่บรรลผุ ล

ไมม่ ี
4. สาเหตุ ปัจจัย อุปสรรค หรอื ขอ้ จำกัด ท่ที ำใหไ้ ม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้

ไม่มี
5. แนวทางการแกไ้ ข เพ่ือให้สามารถบรรลเุ ป้าหมายได้

ไมม่ ี

15

5. แขวงทางหลวงกาญจนบรุ ี

1.เป้าหมายการดำเนินงานท่วี างไว้
1.1 จำนวนการเกิดอุบัติเหตุทางถนน จำนวนผู้เสียชีวิต และผู้บาดเจ็บ ที่เกิดบนถนนในความ

รับผิดชอบ ลดลง ไม่น้อยกว่า 5 เปอร์เซ็นต์ (เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยช่วงเทศกาลสงกรานต์ที่ผ่านมาย้อนหลัง
3 ปี ( ปี 2562 – ปี 2564))

1.2 การจราจรคลอ่ งตัวไมต่ ดิ ขดั

2. เป้าหมายทีส่ ัมฤทธิ์ผล (Outcome)
2.1การใหบ้ ริการและให้ความช่วยเหลือ
2.1.1 ผใู้ ช้บริการ 948 คน
- สอบถามเสน้ ทาง จำนวน 34 คน
- ใชบ้ รกิ ารห้องนำ้ จำนวน 914 คน

16

2.1.2 บรกิ ารชว่ ยเหลือฉุกเฉนิ 0 ครงั้
- มีการจัดเตรียมชดุ เคลอ่ื นท่เี ร็ว

2.2 การใหบ้ ริการจุดบรกิ ารกางเต็นท์ จำนวน 2 แห่ง
- ให้บรกิ ารห้องน้ำ จำนวน 441 ราย
- ใหบ้ ริการจอดพกั รถ จำนวน 27 คนั
- ใหบ้ รกิ ารสอบถามเสน้ ทาง จำนวน - ราย
- ใหบ้ รกิ ารกางเต็นท์ จำนวน 1 หลงั (ผู้เขา้ พัก 2 คน)

2.3 มีเจ้าหน้าที่อำนวยความปลอดภัยบริเวณจุดตัดรถไฟบนทางหลวง ในเส้นทางรับผิดชอบทั้ง 14
แหง่ ตลอดเทศกาลสงกรานต์ ปี 2565 (9 วัน)

“ไม่มกี ารเกิดอุบัตเิ หตบุ รเิ วณจุดตดั ทางรถไฟบนทางหลวงแตอ่ ยา่ งใด”

17

2.4 ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2565 ระหว่างวันท่ี 11 – 17 เมษายน 2565 (7 วัน)
มสี ถติ ิการเกิดอุบตั เิ หตเุ ม่ือเทียบกบั คา่ เฉลี่ยย้อนหลงั 3 ปี ดังน้ี

เทศกาล จำนวนอบุ ัติเหตุ ผ้เู สียชีวิต ผู้บาดเจ็บ
(ครง้ั ) (ราย) (ราย)

สงกรานต์ 62 6 1 10

สงกรานต์ 63 5 14

สงกรานต์ 64 9 15

ค่าเฉล่ีย 7 17

เปา้ หมายลด 5% 7 1 7

สงกรานต์ 65 9 0 15

หมายเหตุ : สถิติอุบัตเิ หตุย้อนหลัง 3 ปี เฉพาะวันท่ี 11 –17 เมษายน

ของเทศกาลสงกรานต์ (ปี 2562 – 2564)

3.เป้าหมายทีไ่ ม่บรรลุผล
จำนวนครั้งของการเกิดอุบัติเหตุและจำนวนผู้บาดเจ็บสูงกว่า เป้าหมายที่กำหนดไว้ เป้าหมาย ลด 5%

จากค่าเฉลี่ยย้อนหลงั 3 ปี เฉพาะวันท่ี 11 - 17 เมษายน ของเทศกาลสงกรานต์ (ปี 2562 – 2564)

สถิติเทศกาลสงกรานต์ 2565 เปา้ หมาย สรปุ ผล
จำนวนอบุ ัตเิ หตุ ครง้ั 9 คร้ัง 7 2+ราย (เกนิ เปา้ หมาย)
ผู้บาดเจ็บ ราย 15 ราย 7 8+ราย (เกนิ เป้าหมาย)
ผเู้ สียชวี ติ 0 ราย 0 ราย 1-ราย (ต่ำกว่าเป้าหมาย)

4.สาเหตุ ปัจจัย อุปสรรค หรือข้อจำกัด ท่ีทำใหไ้ ม่สามารถบรรลเุ ปา้ หมายได้
สาเหตุหลักของการเกิดอบุ ตั เิ หตุมาจาก ผู้ขับขีซ่ ่งึ เปน็ ส่ิงท่ีไม่ สามารถควบคมุ ได้

5.แนวทางการแกไ้ ข เพ่ือให้สามารถบรรลเุ ป้าหมายได้
5.1 ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบในการบังคับใช้กฎหมายด้านการจราจรโดยตรง ปลูกฝังจิตสำนึก

การสร้างวินัยในการขับขี่อย่างจริงจัง และมีบทลงโทษที่รุนแรงเพื่อให้ผู้ขับขี่เล็งเห็นความสำคัญและถือปฏิบัติ
อย่างเคร่งครัด

5.2 เน้นการประชาสัมพันธ์ การปลูกฝังความรู้ด้านวินัยจราจร แก่ประชาชนทุกวัย โดยอาจจะให้
หน่วยงานที่รับผิดชอบในการบังคับใช้กฎหมายด้านการจราจรโดยตรงเป็นผู้ดำเนินการ หรือทุกหน่วยงาน
บูรณาการร่วมกัน

18

6.ผลการปฏบิ ัตงิ านอน่ื ๆ : การอำนวยความปลอดภัย :
6.1 ปิดจุดกลบั รถเปน็ การชั่วคราว จำนวน 5 แห่ง โดยให้มีจดุ กลับรถทดแทนจุดทีป่ ดิ ทั้งขาเขา้ และ

ขาออกท้ัง 5 แห่ง

6.2 ปดิ ทางแยกเปน็ การชว่ั คราว จำนวน 2 แหง่

6.3 ตง้ั จุดให้บริการทั่วไทยในช่วงเทศกาล 1 แห่ง

6.4 หยุดโครงการก่อสร้างชว่ั คราวในช่วงเทศกาล
คนื ผวิ จราจร เพือ่ อำนวยความ
สะดวกและปลอดภัยในการเดินทาง
ตดิ ตงั้ อุปกรณ์อำนวยความปลอดภัยและไฟฟา้ แสงสว่าง

19

6. แขวงทางหลวงชนบทกาญจนบรุ ี

1. เป้าหมายการดำเนนิ งานท่ีวางไว้
1.1 บริการประชาชนให้ไดร้ ับความสะดวกและปลอดภัยตลอดการเดินทางบนทางหลวงชนบท
1.2 สถิติการเกิดอุบัติเหตุทางถนน จำนวนผู้เสียชีวิต และจำนวนผู้บาดเจ็บ ลดลงร้อยละ 5 เม่ือ

เปรียบเทียบกบั เทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2564
1.3 ผใู้ ช้เส้นทางมีความเชื่อมนั่ รวมถึงความมั่นคงและปลอดภยั สูงสุดในการใช้ทางหลวงชนบท
1.4 มีความสัมพนั ธอ์ ันดีระหวา่ งหน่วยงานในการรว่ มรณรงค์

2. เปา้ หมายที่สัมฤทธิ์ผล (Outcome)
2.1 บริการประชาชนให้ได้รับความสะดวกและปลอดภัยตลอดการเดินทางบนทางหลวงชนบท :

แขวงทางหลวงชนบทกาญจนบุรี จดั ชุดลาดตะเวนในสายทางทร่ี ับผดิ ชอบ
2.2 ผู้ใช้เส้นทางมีความเชื่อมั่น รวมถึงความมั่นคงและปลอดภัยสูงสุดในการใช้ทางหลวงชนบท :

แขวงทางหลวงชนบทกาญจนบุรี ได้ปรับปรุงแก้ไขอุปกรณ์อำนวยความปลอดภัยงานทางให้มีสภาพพร้อมใช้งาน
เช่น ปา้ ยจราจร และปะซ่อมหลมุ บ่อ ทาสี ตเี ส้น (บังคบั ,แนะนำ,เตอื น)

2.3 มีความสัมพันธ์อันดีระหว่างหน่วยงานในการร่วมรณรงค์ : แขวงทางหลวงชนบทกาญจนบุรี
เข้ารว่ มกบั หน่วยงานในพ้ืนทีใ่ นการรณรงคเ์ พอ่ื ลดการเกิดอุบตั เิ หตุทางถนน

3. เป้าหมายท่ีไม่บรรลผุ ล
สถิติการเกิดอุบัติเหตุทางถนน จำนวนผู้เสียชีวิต และจำนวนผู้บาดเจ็บ ลดลงร้อยละ 5 เมื่อเปรียบเทียบ

กบั เทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2564 : แขวงทางหลวงชนบทกาญจนบุรี ไมส่ ามารถลดการเกิดอุบตั ลิ งร้อยละ 5 ได้

20

4. สาเหตุ ปจั จยั อุปสรรค หรือขอ้ จำกัด ที่ทำให้ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้
การเกิดอุบัติเหตุบนถนนทางหลวงชนบท เป็นการเกิดที่เนื่องมาจากการขับขี่อย่างประมาท ฝ่าฝืน

กฎจราจรและผู้ขบั ขี่บางรายมอี าการเมาสุรา
5. แนวทางการแก้ไข เพอื่ ให้สามารถบรรลเุ ปา้ หมายได้

5.1 ปลุกจิตสำนึกผขู้ บั ข่ใี หต้ ระหนกั ถงึ ผลของการกระทำหลงั การเกิดอุบตั เิ หตุ
5.2 เพิม่ บทลงโทษการทำผดิ กฎจราจร
5.3 ตัง้ ดา่ นตรวจจับผู้ทำผิดกฎจราจรพร้อมอบรมให้แนวคดิ ในการขับขี่

21

7. สำนักงานประชาสมั พันธจ์ งั หวัดกาญจนบรุ ี

1. เป้าหมายการดำเนินงานทวี่ างไว้
ให้ประชาชนได้รับรู้และเข้าใจถึงแนวทางในการป้องกันและลด

อุบตั ิเหตุ เพ่ือลดความเส่ยี ง ในการใช้รถใช้ถนนในช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2565
การขับข่ปี ลอดภัย การบังคับใชก้ ฎหมายอย่างเคร่งครัด
2. เปา้ หมายท่สี ัมฤทธ์ิผล

ประชาชนและนักท่องเที่ยว ได้รับทราบข้อมูลและปฏิบัติตนอย่าง
ถูกต้อง และทราบถึงมาตรการที่จังหวัดกาญจนบุรีกำหนดขึ้นในการบังคับใช้
กฎหมายอย่างเครง่ ครัด
3. เป้าหมายท่ีไม่บรรลผุ ล

ประชาชนส่วนหนึ่งยังไม่ปฏิบัติตามมาตรการ ตามที่ได้ประชาสัมพันธ์
มาตรการอยา่ งต่อเนือ่ ง
4. สาเหตุ ปจั จัย อุปสรรค หรือขอ้ จำกัด ทที่ ำให้ไม่สามารถบรรลเุ ป้าหมายได้

การประชาสัมพันธ์ยังไม่เข้าถึงประชาชน ตามชุมชนและหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกล รวมถึงนักท่องเที่ยว
ท่ีเดินทางเขา้ มาในพ้นื ที่
5. แนวทางการแก้ไข เพอื่ ให้สามารถบรรลเุ ป้าหมายได้

จะต้องมีการสร้างเครือข่าย ร่วมกับผู้นำชุมชน และประชาชน ในทุกพื้นที่ เพื่อที่จะกระจายข่าวสาร
ไดอ้ ยา่ งทว่ั ถึง

22

8. สำนักงานเจา้ ทา่ ภมู ภิ าค สาขากาญจนบุรี

1. เปา้ หมายการดำเนินงานทว่ี างไว้
1.1 บรกิ ารประชาชนให้ไดร้ บั ความสะดวกและปลอดภยั ตลอดการเดนิ ทางสญั จรทางนำ้
1.2 สถิติการเกิดอุบัติเหตุ จำนวนผู้เสยี ชีวิต และจำนวนผู้บาดเจ็บ ลดลงร้อยละ 5 เมื่อเปรียบเทียบ

กบั เทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2564 ของจงั หวดั กาญจนบรุ ี

2. เป้าหมายทสี่ ัมฤทธผิ์ ล
2.1 จัดตั้งศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางน้ำเพื่ออำนวยความสะดวกตามท่าเทียบเรือ

จัดเจา้ หน้าทปี่ ระจำเรือตรวจการณ์ พรอ้ มรถยนต์เจ้าท่า ประจำศนู ย์อำนวยความปลอดภยั ทางน้ำดูแลประชาชน
และนักท่องเที่ยวผู้สัญจรทางน้ำให้มีความปลอดภัยจากการเดินทางและสัญจรทางน้ำ โดยเจ้าหน้าที่ออก
ปฏิบัติงานเข้มงวดดูแลและตรวจตรา การให้บริการเรือและแพโดยสารตามท่าเทียบเรือที่มีประชาชนและ
นกั ท่องเทย่ี วท่ใี ชบ้ รกิ ารหนาแน่น ไม่พบการเกดิ อบุ ตั ิเหตุ

2.2 ตรวจสอบความปลอดภัยของเรือโดยสารทุกลำมีความปลอดภัย มีอุปกรณ์ชูชีพครบตามจำนวน
ผโู้ ดยสาร พรอ้ มใหบ้ ริการ ท่าเรอื ปลอดภัย เรอื ปลอดภัย คนปลอดภยั

23

2.3 บรรลุผล จัดเจ้าหนา้ ท่ปี ระจำ
ท่าเทียบเรือสาธารณะที่มีประชาชนใช้บริการ
หนาแน่น เพื่ออำนวยความสะดวก ดูแลการ
ขึ้น-ลงเรือ พร้อมทั้งให้คำแนะนำในการ
เดินทางให้ได้รับความสะดวกรวดเร็วและ
ความปลอดภยั

ตารางเปรยี บเทยี บจำนวนเท่ียวเรือและผูโ้ ดยสารปี 2564-2565

วนั ท่ี ปี 2564 ปี 2565
11 เมษายน
12 เมษายน 2 เทย่ี ว 60 คน 16 เทย่ี ว 600 คน
13 เมษายน
14 เมษายน 3 เท่ยี ว 105 คน 26 เท่ียว 900 คน
15 เมษายน
16 เมษายน 6 เทย่ี ว 247 คน 50 เทย่ี ว 1,400 คน
17 เมษายน
4 เที่ยว 91 คน 66 เทีย่ ว 2,300 คน
รวม
4 เทย่ี ว 138 คน 37 เท่ียว 1,200 คน

1 เที่ยว 23 คน 15 เท่ยี ว 500 คน

0 เทย่ี ว 0 คน 6 เทีย่ ว 200 คน

20 เทยี่ ว 664 คน 216 เทีย่ ว 7,100 คน

24

3. เป้าหมายทีไ่ ม่บรรลผุ ล
ไม่มี

4. สาเหตุ ปจั จัย อุปสรรค หรือขอ้ จำกดั ทที่ ำให้ไม่สามารถบรรลเุ ป้าหมายได้
ไมม่ ี

5. แนวทางการแก้ไข เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายได้
ไม่มี

6. ภาพกจิ กรรม

25

9. อำเภอทุกอำเภอ

1. เปา้ หมายการดำเนินงานทวี่ างไว้
1.1 การอำนวยความสะดวกและจัดการจราจรเพอื่ ใหป้ ระชาชนเดินทางท่องเทยี่ วและกลับภมู ลิ ำเนา

โดยปลอดภัย
1.2 สถิติการเกิดอุบัติเหตุ จำนวนผู้เสียชีวติ และจำนวนผู้บาดเจ็บ ลดลงร้อยละ 5 เมื่อเปรียบเทียบ

กับเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2564 ของจงั หวัดกาญจนบุรี
1.3 เพื่อให้ประชาชนเดินทางอย่างสุขใจกับชีวิตวิถีใหม่ที่ห่างไกลจากอุบัติเหตุ ตลอดช่วงเทศกาล

สงกรานต์ พ .ศ.2565 ลดอตั ราการเกดิ อุบตั เิ หตุในการจราจรอันนำไปสู่การบาดเจ็บและเสียชวี ิต

2. เปา้ หมายทสี่ ัมฤทธิ์ผล
2.1 มีการจดั ต้ังศูนย์ปฏิบตั กิ ารปอ้ งกันและลดอุบตั เิ หตุทางถนนชว่ งเทศกาลสงกรานต์ พ .ศ.2565
2.2 องค์กรปกครองทอ้ งถิ่นทุกแหง่ จดั ต้งั ด่านชมุ ชนในเขตพื้นทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ
2.3 ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนอำเภอ ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและลดอุบัติเหตุ

ทางถนนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทุกแห่ง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการรณรงค์ป้องกันและ
ลดอุบตั เิ หตุทางถนนอยา่ งเครง่ ครดั เขม้ งวด และจรงิ จงั

2.4 จำนวนครง้ั การอุบัติเหตุ และจำนวนผบู้ าดเจ็บ ลดลง

3. เป้าหมายที่ไม่บรรลผุ ล
3.1 มผี เู้ สียชวี ิตในพฤตกิ รรมเส่ยี งหลัก ไดแ้ ก่ ขับรถเรว็ เกินกำหนด จำนวน 4 ราย ดม่ื แล้วขบั จำนวน

1 ราย พบว่า มจี ำนวนเพิม่ ขน้ึ เมื่อเทียบกบั คา่ เฉลีย่ 3 ปยี ้อนหลัง
3.2 มีผู้เสียชีวิต จำนวน 5 ราย พบว่าผู้เสียชีวิตมีจำนวนเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ย 3 ปี ย้อนหลงั

(เป้าหมายจำนวน 4 ราย)

4. สาเหตุ ปจั จัย อุปสรรค หรอื ขอ้ จำกดั ทท่ี ำให้ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้
4.1 พฤติกรรมของผู้ขับขี่ยานพาหนะเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดอุบัติเหตุโดยเฉพาะการขับขี่ที่ใช้

ความเรว็ เกนิ กำหนด ดมื่ สรุ าแล้วขบั ขย่ี านพาหนะ ความประมาท และไรว้ ินัยของผู้ขบั ขี่
4.2 อุบัติเหตุทางถนนเป็นสาธารณภัยประเภทหนึง่ ที่สามารถคาดการณ์การเกิดอุบัติเหตุและความ

สูญเสียได้ล่วงหน้าใกล้เคียงกับความเป็นจริง และอยู่ในวิสัยที่สามารถป้องกันมิให้เกิดอุบัติเหตุทางถนนหรือ
ให้เกิดน้อยลงได้ อย่างไรก็ตามในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา การดำเนินการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนยังไม่
สามารถลดจำนวนการเกิดอุบัติเหตุ จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตลงได้ สาเหตุสำคัญประการหนึ่งเป็นเพราะ
ยังขาดแคลนงบประมาณในการดำเนินการ หรือยังไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณเท่าที่ควร ไม่ว่าจะเป็นการ
ป้องกันและลดอบุ ตั ิเหตทุ างถนนในช่วงปกตแิ ละช่วงเทศกาลทีส่ ำคัญ

26

5. แนวทางการแกไ้ ข เพ่อื ให้สามารถบรรลุเป้าหมายได้
5.1 บังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกำหนดให้มีการตรวจปริมาณแอลกอฮอล์

ผู้ขับขี่ทุกรายที่เกิดอุบัติเหตุทั้ง 2 ฝ่าย ซึ่งกรณีที่มีการเสียชีวิตและบาดเจ็บสาหัสจะส่งผลให้มีการงดจ่าย
กรมธรรม์ประกนั ภัย

5.2 สนับสนุนเครื่องตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมายให้กับ
ตำรวจในทุกพ้นื ท่ี

5.3 ส่งเสริมบทบาทให้ชุมชน ท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา โดยประสานความร่วมมือ
กับหน่วยงานเครือข่ายในระดับท้องถิ่น เช่น มีนโยบายที่ชัดเจนให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
มีส่วนร่วมดำเนินการป้องกันเพื่อลดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง โดยเน้นภารกิจเพื่อการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงที่สำคัญเพื่อจัดตั้งด่านชุมชน ประกอบกับการเชิญชวนประชาชนจิตอาสาเข้าร่วมใน
การตกั เตอื นผูท้ ี่มพี ฤตกิ รรมเสย่ี งในการขับขย่ี านพาหนะ

5.4 บูรณาการความร่วมมือของภาคประชาสังคมในการสร้างการรับรู้ และจิตสานึกในการใช้รถ
ใช้ถนน อาทิเชน่ การจดั กจิ กรรมรณรงค์ การผลิตส่อื ทีส่ ามารถเขา้ ถึงทกุ กลมุ่ เป้าหมาย และหลากหลายชอ่ งทาง

5.5 กำหนดกลไกขับเคลื่อนการสร้างความปลอดภยั ทางถนนอย่างเข้มข้นและต่อเน่ือง ควบคู่กับการ
ลดปัจจัยเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนนที่ครอบคลุมทุกมิติ ทั้งคน รถ ถนนและสิ่งแวดล้อม รวมถึงส่งเสริมให้เกิด
วัฒนธรรมความปลอดภยั ทางถนนอย่างยง่ั ยนื

5.6 แกไ้ ขจุดเสย่ี ง โดยมอบหมายให้องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน ที่มขี อ้ มูลจุดเสี่ยงในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ
ดำเนินการแก้ไข ปรับปรุง ซ่อมแซม ถนนที่ไม่สมบูรณ์ หรือมีข้อบกพร่อง และมีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ทางถนน ใหอ้ ยู่ในสภาพท่ีปลอดภัยต่อการสัญจร และติดตง้ั ไฟส่องสวา่ ง รวมถึงทำป้ายเตือนให้เห็นชดั อย่างต่อเนื่อง
ทั้งปี

5.7 การรณรงค์ให้ความรู้และข้อมูลข่าวสารอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องตลอดทั้งปี เพื่อสร้างความ
ตระหนักในเรื่องความปลอดภัยให้กับประชาชนเพื่อการปรับเปล่ียนพฤติกรรมและเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไข
ปัญหา เช่น ขับขี่มอเตอร์ไซด์เปิดไฟใส่หมวกกันน็อก ขับรถคาดเข็มขัดนิรภัย ไม่ขับรถเร็ว ไม่เมา ขับไม่ใช้
โทรศัพท์มือถือขณะขับรถ ง่วงต้องจอดนอน รวมถึงสร้างความตระหนักให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการ
บังคับใชก้ ฎหมายเพอื่ ความปลอดภยั ในการใช้รถใชถ้ นนร่วมกนั

5.8 ให้จัดตั้งด่านชุมชนบริเวณถนนที่เป็นทางตรง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการขับขี่รถเร็วเกินกว่าที่
กฎหมายกำหนด

5.9 วางแนวทางปฏิบัติให้ด่านชุมชนทุกจุดมีการจัดตั้งไฟ ส่องสว่าง ไฟวับวาบ กรวย และแผงกั้น
เพ่อื แสดงใหผ้ ้ใู ชร้ ถใชถ้ นนชะลอความเร็ว เพ่ือลดอบุ ตั เิ หตุทางถนน

27

10. สรปุ ภาพรวม ความพึงพอใจของประชาชนในการเดนิ ทางมาทอ่ งเท่ียว
จังหวดั กาญจนบรุ ี ช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี พ.ศ.2565

1.ทา่ นมคี วามเสย่ี งการเกิดอบุ ัตเิ หตทุ างถนนในจงั หวัดกาญจนบรุ ี หรอื ไม่

2.ถ้ามีความเสี่ยงการเกดิ อบุ ตั ิเหตทุ างถนนลกั ษณะถนนทเี่ ส่ียงเป็นแบบไหน

28

3.ท่านมคี วามม่ันใจ และพอใจ ตอ่ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องเจ้าหน้าที่ประจำดา่ นจดุ ตรวจ
ดา่ นชุมชน และด่านบรกิ ารในจงั หวัดกาญจนบรุ ี ระดบั ใด

4.ทา่ นมคี วามมั่นใจ การใช้รถใชถ้ นนในจงั หวัดกาญจนบุรี ด้านใดบา้ ง

29

11. สรุปภาพกิจกรรมช่วงเข้มขน้

สรุปภารกจิ ช่วงเข้มข้น ศูนย์อำนวยการป้องกนั และลดอุบัติเหตทุ างถนน จงั หวดั กาญจนบุรี
11-17 เมษายน 2565

ภารกิจที่ 1 วันเปิดศูนย์อำนวยการป้องกันและลดอบุ ัติเหตุทางถนน จังหวัดกาญจนบุรี ณ ลานจอดรถหน้า ห้าง
โรบนิ สนั กาญจนบุรี โดยมรี องผู้ว่าราชการจังหวดั กาญจนบุรี (นายกองเอกพงศธร ศิริสาคร) เป็นประธานในพิธี
และยังมีส่วนราชการ อาสาสมัครองค์กรสาธารณกุศล นำเครื่องมือในการช่วยเหลือผูป้ ระสบเหตุมาแสดงในงาน
ดว้ ย

30

ภารกิจที่ 2 ประสานงานข้อมูลอุบัติเหตุต่างๆ จากทุกอำเภอ องค์กรสาธารณกุศล บันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ
E-report และ Port จดุ ทเ่ี กดิ อบุ ัตเิ หตุ ใน Google Map ด้วย

ภารกิจที่ 3 ประชุมคณะกรรมการ รายงานการปฏิบัติงานและการแก้ใขปัญหา โดยมี รองผู้ว่าราชการจังหวัด
กาญจนบุรี เป็นประธานในการประชุมทกุ วัน

31

ภารกิจที่ 4 ตรวจสอบและติดตามคณะทำงาน จุดตรวจหลกั ด่านชมุ ชน มูลนธิ อิ าสาสมัครองค์กรสาธารณกุศล
ตา่ งๆที่ออกปฏิบัติหนา้ ทใ่ี นช่วงเข้มข้น

32

ภารกิจที่ 5 สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดกาญจนบุรี จัดตั้งทีมปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็ว เพ่ือ
ตดิ ตามสถานการณอ์ บุ ตั เิ หตุ และสนบั สนนุ จุดเกิดเหตุ

33


Click to View FlipBook Version