หนังสือประวัติศาสตร์ชุมชน
ตำบลไทรทอง อำเภอชัยบุรี จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ ( 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ก
คำนำ
การจดั ทาหนงั สือประวตั ิศาสตร์ชุมชนฉบบั น้ี เพ่ือใหไ้ ดศ้ ึกษาหาความรู้ซ่ึงมีเน้ือหาที่น่าสนใจดงั น้ีคือ
ลกั ษณะภูมิประเทศ ขนาดที่ต้งั แม่น้าสาคญั ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ การคมนาคม ประวตั ิความเป็นมา
ของชุมชน โครงสร้างของชุมชนท้งั ในดา้ นการปกครองดา้ นประชากร ดา้ นการศึกษา ดา้ นศาสนา ดา้ นเศรษฐกิจ
และอาชีพรวมไปถึง ดา้ นความเช่ือ และวฒั นธรรมประเพณี และพิธีกรรมต่าง ๆภายในชุมชนน้ัน ๆ สถานท่ี
สาคญั ๆ และการเปลยี่ นแปลงทางดา้ นสงั คม และวฒั นธรรมท่ีจะนาเสนอใหผ้ ทู้ ี่สนใจ ไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ และทา
ความเขา้ ใจถึงประวตั ิศาสตร์ชุมชน นาเสนอการดาเนินโครงการยกระดบั เศรษฐกิจ และสังคมรายตาบลแบบ
บูรณาการพฒั นาสัมมาชีพ และสร้างอาชีพใหม่เพ่ือยกระดบั สินค้าให้เป็ นสินค้า OTOP และอาชีพอื่น ๆ
การสร้าง และพฒั นาการยกระดบั การท่องเท่ียวของชุมชน การนาองคค์ วามรู้ไปใชบ้ ริการชุมชนดา้ นเทคโนโลยี
ต่าง ๆ การส่งเสริมดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม และเพิ่มรายไดห้ มนุ เวยี นใหแ้ ก่ชุมชน
การจัดทาหนังสื อประวัติ ศาสตร์ ชุ มชนฉบับน้ี สาเร็ จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ไปด้วยดี
คณะผจู้ ดั ทาขอขอบพระคุณทางมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธานี ท่ีไดใ้ ห้โอกาสในการเขา้ มาทางานในพ้ืนท่ี
ตาบลไทรทอง จึงไดท้ ราบถึงประวตั ิศาสตร์ และจดั ทาหนงั สือชุมชนเล่มน้ีข้ึน ขอบพระคุณอาจารยท์ ี่ปรึกษาของ
ตาบลไทรทองที่ใหค้ าแนะนาในการเขียนรายงานฉบบั น้ีใหส้ มบูรณ์ รวมถึงขอบพระคุณชาวบา้ นในชุมชนที่ให้
ขอ้ มูลข่าวสารของตาบล ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อการทางานหรือเลม่ น้ีเป็นอยา่ งยง่ิ
คณะผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ ว่า เน้ือหาในหนงั สือฉบบั น้ีที่ไดเ้ รียบเรียงมาจะเป็นประโยชน์แก่ผทู้ ่ีสนใจ
ไม่มากก็นอ้ ยหากมีสิ่งใดท่ีทางคณะผูจ้ ดั ทาหนังสือฉบบั น้ีจะตอ้ งปรับปรุงแกไ้ ข ทางคณะผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรับ
และจะนาไปแกไ้ ข พฒั นาใหถ้ กู ตอ้ งสมบูรณ์ต่อไป
วศิ วกรสังคมตำบลไทรทอง
สารบญั ข
เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบญั ข
บทที่ 1 บทนา 1
บทที่ 2 การดาเนนิ งาน 13
บทที่ 3 ผลการดาเนนิ งาน 17
บทท่ี 4 ข้อเสนอแนะ 22
ภาคผนวก
- ภาคผนวก ก
- ภาคผนวก ข
- ภาคผนวก ค
บรรณานุกรม
1
บทท่ี 1
บทนำ
1. ขนำดและท่ตี ้งั
องค์การบริหารส่วนตาบลไทรทอง ต้งั อยู่ที่ หมู่ที่ 2 บ้านสองแพรก ตาบลไทรทอง อาเภอชัยบุรี
จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ต้งั อยู่ทางทิศใตข้ องอาเภอชัยบุรี และทิศตะวนั ออกเฉียงใต้ของจงั หวดั สุราษฎร์ธานี
มีระยะทางอยหู่ ่างจากสุราษฎร์ธานีประมาณ 120 กิโลเมตร และต้งั อยหู่ ่างจากอาเภอชยั บุรีประมาณ 10 กิโลเมตร
มีถนนหมายเลข 4037 ผ่านหน้าองค์การบริ หารส่วนตาบลไทรทอง เป็ นถนนสายเดียวท่ีใช้เดินทางไป
อาเภอชัยบุรี และอาเภอพระแสง ซ่ึงอยู่ทางทิศเหนือของตาบลส่วนทางทิศใต้ของตาบลก็จะใช้ถนนสายน้ี
เดินทางไปจงั หวดั กระบ่ี องคก์ ารบริหารส่วนตาบลไทรทอง มีอาณาเขตบริเวณติดต่อพ้นื ที่ต่าง ๆ ดงั น้ี
ทิศเหนือ มอี าณาเขตติดต่อกบั ตาบลคลองนอ้ ย และตาบลชยั บุรี
ทิศใต้ มอี าณาเขตติดต่อกบั อาเภอพระแสง และอาเภอทุ่งใหญ่ จงั หวดั นครศรีธรรมราช
ทิศตะวนั ออก มอี าณาเขตติดต่อกบั อาเภอเขาพนม จงั หวดั กระบี่
ทิศตะวนั ตก มอี าณาเขตติดต่อกบั ตาบลเขาดิน อาเภอเขาพนม จงั หวดั กระบี่
เน้ือที่ตาบลไทรทองมีท้งั ส้ิน 65,000 ไร่ หรือประมาณ 104 ตารางกิโลเมตร
2. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ
องคก์ ารบริหารส่วนตาบลไทรทองมีลกั ษณะพ้ืนท่ีกวา้ ง เป็นท่ีราบสลบั กบั ภูเขา สูงต่าตามลกั ษณะพ้นื ท่ี
ในหนา้ ฝนจะมีฝนตกชุกมากทาใหเ้ กิดอุทกภยั น้าท่วมในบางพ้นื ท่ี ส่วนในหนา้ แลง้ ก็จะขาดแคลนน้าใช้ และเพอื่
การเกษตรกรรม พ้ืนที่ส่วนมากเหมาะแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรม พ้ืนที่เพาะปลูกส่วนมากจะเป็ น
ยางพารา และปาลม์ น้ามนั การปลูกพืชผกั จะมีบา้ งเลก็ นอ้ ย ตาบลไทรทองมลี าคลองท้งั หมด 8 สาย รวมระยะทาง
ประมาณ 29 กิโลเมตร พ้นื ที่ตาบลไทรทอง มีพ้ืนท่ีท่องเท่ียว คือ
1. วดั สองแพรก หมทู่ ี่ 2 ซ่ึงเป็นศาสนสถานที่มีเรือโบราณท่ีถูกขุดพบ
2. ถ้าหอม หมู่ท่ี 4 เป็นถ้าท่ีสวยงาม และไดข้ ้ึนชื่อแหล่งท่องเที่ยวของจงั หวดั สุราษฎร์ธานี
3. ป่ าพรุเตย หมทู่ ี่ 5 เป็นแหลง่ ท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ และเป็นสถานท่ีศกึ ษาสมุนไพร
4. สระ 200 ไร่ หม่ทู ่ี 5 ซ่ึงเป็นสระน้าขนาดใหญ่ในหมู่บา้ น ชุกชุมไปดว้ ยปลาหลากหลายสายพนั ธุ์
5. น้าตกโตน หมทู่ ี่ 7 เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และเป็นท่ีพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ
6. น้าตกทุง้ ฟ้า หมทู่ ่ี 8 เป็นสถานท่ีท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และเป็นที่พกั ผอ่ นหยอ่ นใจ
7. ป่ าธรรมชาติสระแกว้ หมทู่ ่ี 8 เป็นแหลง่ น้าขนาดใหญ่รายลอ้ มไปดว้ ยป่ าธรรมชาติรอบบริเวณสระ
2
ลกั ษณะของดนิ
เป็นดินที่ลึกมากมีการระบายน้าปานกลางถงึ ดี เป็นดินเน้ือละเอียดถงึ ละเอยี ดปานกลาง มีความ
อุดมสมบูรณ์ต่าถึงปานกลาง พบในพ้ืนท่ีลาดชนั เลก็ น้อย และมกั อยู่ใกลล้ าน้ามีความเหมาะสมกบั การ
ปลูกยางพารา และปาลม์ น้ามนั
ลกั ษณะของแหล่งนำ้
พ้นื ท่ีตาบลไทรทอง มแี หล่งน้าที่เกิดข้นึ เองตามธรรมชาติ เช่น คลอง หนอง บึง หว้ ย และแหล่ง
น้าที่สร้างข้ึน ไดแ้ ก่ อ่างเก็บน้า ประปาหม่บู า้ น เป็นตน้
คลองบำงปำน ม. 1
จำนวนหมู่บ้ำนในเขต อบต.ไทรทอง ท้งั หมด 8 หมู่บ้ำน ได้แก่
หม่ทู ี่ ชื่อหมู่บ้ำน
1 บ้ำนบำงปำน
2 บ้ำนสองแพรก
3 บ้ำนไทรงำม
4 บ้ำนควนสระ
5 บ้ำนควนสินชัย
6 บ้ำนสองแพรกใหม่
7 บ้ำนคลองเพร็ง
8 บ้ำนสระแก้ว
3
3. แม่นำ้ สำคญั
1. คลองโตรม
2. คลองสองแพรก มแี มน่ ้าสองสายมาบรรจบกนั คือ แมน่ ้าคลองโอง และแม่น้าคลองบางปาน
4. ลกั ษณะภูมอิ ำกำศ
พ้ืนที่ตาบลไทรทองมีลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนช้ืน มี 2 ฤดู คือ ฤดูร้อน ระหว่างเดือน
มกราคม – เมษายน และฤดูฝน ระหว่างเดือน พฤษภาคม – ธนั วาคม ช่วงหน้าฝนจะมีฝนตกชุกมากทาใหเ้ กิด
อทุ กภยั น้าท่วมในบางพ้นื ท่ี ส่วนหนา้ แลง้ จะขาดแคลนน้าใช้ และน้าสาหรับใชท้ าการเกษตร
5. ทรัพยำกรธรรมชำติ
ป่ าพรุเตย ต้งั อยทู่ ่ีหมู่ท่ี 5 บา้ นควนสินชยั ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี เป็ นป่ าดิบ
ช้ืน และมีป่ าเตยเยอะในบริเวณน้ี จึงทาใหป้ ่ าแห่งน้ีมีความอุดมสมบูรณ์ไปดว้ ยสตั วน์ อ้ ยใหญ่ และตน้ ไมท้ ี่สาคญั
ที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ ชาวบา้ นร่วมมือกบั ผนู้ าชุมชนร่วมกนั ก่อสร้างสะพานคอนกรีต เป็ นสะพานทอดยาว
เพ่ือให้เดินชมธรรมชาติไดอ้ ยา่ งสะดวกสบายยงิ่ ข้ึน ใตพ้ ้ืนสะพานเสน้ ทางเดินชมธรรมชาติหรือรอบ ๆ ตน้ ไม้
ใหญ่จะมีน้าซึมซบั อยตู่ ลอดเวลา
5.1 น้ำ แหล่งน้ าผิวดินประกอบด้วย ลาคลองต่าง ๆ ที่สาคัญ เช่น คลองโตรม คลองน้ าแดง
คลองพอถะ และคลองบางปาน นอกจากน้นั เป็นหนองน้า และลาหว้ ยต่าง ๆ แหล่งน้าใตด้ ินยงั มีอปุ สรรคในการ
นามาใชป้ ระโยชน์ โดยส่วนมากใชป้ ระโยชน์ ในลกั ษณะของการขดุ บ่อน้าต้ืน
5.2 ป่ ำไม้ มีพ้ืนท่ีป่ าไมท้ ่ีสาคญั คือ ป่ าธรรมชาติสระแกว้ ต้งั อยทู่ ี่บา้ นสระแกว้ หมทู่ ี่ 8 และถ้าหอม ต้งั อยู่
ที่บา้ นควนสระ หมูท่ ี่ 4 ซ่ึงกาลงั ดาเนินการพฒั นาเป็นแหล่งท่องเท่ียว และป่ าพรุเตย เป็นป่ าท่ีตน้ ไมใ้ หญ่ และมี
เสน้ ทางเดินชมธรรมชาติ
1. ป่ าธรรมชาติสระแกว้ มปี ่ าจานวน 200 ไร่
2. ถ้าหอม มปี ่ าจานวน 126 ไร่
3. ป่ าพรุเตย มีป่ าจานวน 124 ไร่
6. กำรคมนำคม
การคมนาคมขนส่ง จะมีเส้นทางหลวงแผ่นดินเป็ นเส้นทางคมนาคมในการเดินทางติดต่อ 1 สาย
ระหวา่ งอาเภอเขาพนม จงั หวดั กระบี่ และอาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี แต่ถนนทางเขา้ หม่บู า้ นท้งั 8 หมู่บา้ น
โดยส่วนมากเป็นถนนลูกรังและถนนหินผุ ทาใหก้ ารคมนาคมไมค่ ่อนขา้ งลาบากมาก (ตอ้ งการถนนลาดยาง หรือ
ถนนคอนกรีตเสริมใยเหลก็ แต่ทาง อบต. มงี บประมาณไมเ่ พยี งพอ)
4
7. ประวตั ศิ ำสตร์ชุมชน
ตาบลไทรทอง ไดแ้ ยกออกมาจากตาบลชัยบุรี เม่ือประมาณ 18 ปี มาแลว้ ตามประวตั ิเล่ากันมาว่า
“ไทรทอง” ในสมยั ก่อนเป็นหม่บู า้ นที่มตี น้ ไทรใหญ่อยตู่ น้ หน่ึง มีกิ่งใหญ่ 2 กิ่ง ต่อมาไดม้ หี ญิงสาว 2 คน เดินทาง
มา และไดห้ ยดุ พกั บริเวณใตต้ น้ ไทรตน้ ใหญ่น้นั ในกลางคืนก็นอนพกั คา้ งแรม ณ ใตต้ น้ ไทร และไดฝ้ ันเห็นชาย
ชรามาบอกให้ขุดทองใต้ตน้ ไทรท่ีตนนอนหลบั พอต่ืนข้ึนมาก็รีบบอกให้ชาวบา้ นมาขุดบริเวณใตต้ น้ ไทร
ปรากฏว่าไดพ้ บทองฝังอยจู่ ริง และข่าวน้ีไดแ้ พร่กระจายไปทวั่ ตาบลในระแวกน้นั ทาให้มีการแยกออกมาจาก
ตาบลชัยบุรีมาต้งั เป็ นตาบลใหม่ ไดใ้ ชช้ ่ือว่าไทรทอง เป็ นชุมชนพ้ืนบ้านมาจนถึงปัจจุบัน ตาบลไทรทองมี
ท้งั หมด 8 หมู่บา้ น หมู่ที่ 1 บา้ นบางปาน หมู่ท่ี 2 บา้ นสองแพรก หมู่ท่ี 3 บา้ นไทรงาม หมู่ท่ี 4 บา้ นควนสระ
หมู่ที่ 5 บา้ นควนสินชยั หมู่ที่ 6 บา้ นสองแพรกใหม่ หมู่ที่ 7 บา้ นคลองเพร็ง หมู่ท่ี 8 บา้ นสระแกว้ โดยแต่ละ
หมู่บา้ น มีประวตั ิความเป็นมา ดงั น้ี
หมู่ที่ 1 บ้ำนบำงปำน เป็ นหมู่บา้ นเก่าแก่ ก่อต้งั ข้ึนสมยั พ.ศ. 2471 มีนายฉาย อิ่มบางทอง เป็ นผกู้ ่อต้งั
และเป็นผใู้ หญ่บา้ นคนแรกในสมยั น้นั ซ่ึงสมยั น้นั บา้ นบางปานแห่งน้ียงั ไม่มคี วามเจริญเขา้ ถงึ ทุกคนในหมบู่ า้ น
ไดส้ ญั จรโดยการเดินเทา้ เขา้ ออกภายในหมู่บา้ นมีประชากรรวมท้งั ส้ิน 7 ครัวเรือน สมยั น้ันประชากรทุกคน
ได้อยู่ในความปกครองของอาเภอพระแสง เป็ นตาบลสองแพรก อาเภอพระแสง จังหวดั สุราษฎร์ธานี และ
หม่บู า้ นบางปานในสมยั น้นั เป็น หมทู่ ี่ 5 ตาบลสองแพรก อาเภอพระแสง จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
ทิศเหนือ ติดกบั หม่บู า้ นยวนปลา ต.ชยั บุรี อ.ชยั บุรี จ.สุราษฎร์ธานี
ทิศใต้ ติดกบั หมู่ท่ี 3 บา้ นไทรงาม ต.ไทรทอง อ.ชยั บุรี จ.สุราษฎร์ธานี
ทิศตะวนั ออก ติดกบั หมทู่ ี่ 5 บา้ นควนสินชยั ต.ไทรทอง อ.ชยั บุรี จ.สุราษฎร์ธานี
ทิศตะวนั ตก ติดกบั ถนนใหญ่สายหลกั สายกระบ่ี-สุราษฎร์ธานี
บา้ นบางปานต้งั ชื่อเรียกตามแม่น้าลาคลองแต่เดิมแม่น้าสายน้นั ช่ือคลองบางปาน จนกระทงั่ ในสมยั
ผใู้ หญ่ฉาย อ่ิมบางทอง ไดเ้ ขา้ มาบุกเบิกพ้นื ท่ีเป็นที่อยทู่ ากิน และท่ีอยอู่ าศยั จึงไดต้ ้งั ชื่อว่าเป็นหมูบ่ า้ นบางปาน
หมู่ท่ี 2 บ้ำนสองแพรก ในพ้ืนท่ีอาเภอชยั บุรีเดิมเป็นส่วนหน่ึงของอาเภอพระแสง ทางราชการไดแ้ บ่ง
พ้ืนที่การปกครองอาเภอพระแสง ออกมาต้ังเป็ นก่ิงอาเภอชัยบุรี ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยลง
วนั ที่ 12 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2524 โดยมีผลบังคบั ต้งั แต่วนั ที่ 17 มีนาคม ปี เดียวกนั หมู่ที่ 2 มีประชากรท้งั หมด
1,326 คน ไดเ้ ล่าขานกนั ว่ามีพระธุดงคม์ าปักกรดบริเวณหมู่บา้ นชาวบา้ นไดน้ ิมนตใ์ ห้มาจาพรรษา โดยไดส้ ร้าง
สานักสงฆถ์ วายอยู่ริมทิศตะวนั ตกของคลองพอถะ ต่อมาไดย้ า้ ยมาสร้างใหม่ ต้งั อยทู่ างทิศตะวนั ออกมาจนถึง
ปัจจุบนั เดิมเรียกว่า “ วดั จนั ทวารีรัด” เพราะท่ีต้งั อยเู่ นินสูงระหวา่ งสองคลอง คือ คลองน้าแดง และคลองพอถะ
หมู่ที่ 3 บ้ำนไทรงำม เดิมน้นั เป็นส่วนหน่ึงของหมทู่ ่ี 1 ตาบลไทรงาม อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
ส่วนหมู่ท่ี 1 เดิมน้นั เป็ นหมู่ 5 ตาบลสองแพรก อาเภอพระแสง มีนายเฟ้ื อง สุดดวง เป็ นผใู้ หญ่บา้ น ต่อมาเม่อื ปี
5
พ.ศ 2524 บา้ นไทรงามไดร้ ับการแยกหมู่บา้ น จากหมู่ที่ 5 เป็ นหมู่ที่ 9 ตาบลชยั บุรี จากน้ันไดเ้ ปลี่ยนช่ืออาเภอ
พร้อมดว้ ยตาบลและหมู่บา้ นข้ึนเมื่อปี พ.ศ 2524 จากน้นั ในปี พ.ศ 2533 ก็ไดเ้ ปล่ียนจากหมู่ที่ 9 มาเป็ นหมู่ท่ี 3
บ้านไทรทอง ตาบลไทรทอง อาเภอชัยบุรี สาเหตุท่ีต้ังชื่อเป็ นหมู่บ้านไทรงาม เนื่องจากมีต้นไทร
ขนาดใหญ่ และมีความสวยงามอยู่กลางหมู่บ้าน จึงต้งั ชื่อหมู่บ้านว่า ไทรงาม มีประชากรท้ังหมด 374 คน
แบ่งเป็น ผชู้ าย 178 คน ผหู้ ญิง 196 คน จานวน 125 ครัวเรือน
หมู่ท่ี 4 บ้ำนควนสระ ไดแ้ ยกออกมาจาก หมู่ที่ 2 บา้ นสองแพรก หลงั วาตภยั พ.ศ.2505 ไดม้ ีชาวบา้ นเขา้
มาอยู่จับจองพ้ืนท่ีทากินด้วยกัน 5 คน ได้แก่ นายดา หนูเกิด นายตัก ศรี จันทร์เพ็ชร นายไวย ช่วยบารุง
นายเริน แกว้ สุข และนายชวน ได้ไปเจอถ้า จึงได้กันพ้ืนท่ีส่วนน้ีเอาไวเ้ พ่ือก่อต้งั เป็ น หมู่ท่ี 4 บ้านควนสระ
ที่เรียกว่าบา้ นควนสระเพราะวา่ ลกั ษณะพ้ืนท่ีเป็นที่ราบสูงเป็นเนินเขา และมีสระน้าอยบู่ ริเวณภายในป่ า
ซ่ึงปัจจุบนั สระแห่งน้ีไดเ้ ป็ นพ้ืนที่ของหมู่ท่ี 8 บา้ นสระแกว้ เลยเรียกว่าบา้ นควนสระ หมู่ท่ี 4 บา้ นควนสระมี
ประชากรท้งั หมด 1,152 คน แบ่งเป็นผชู้ าย 602 คน ผหู้ ญิง 550 คน จานวน 379 ครัวเรือน
หมู่ที่ 5 บ้ำนควนสินชัย ชาวบา้ นเร่ิมเขา้ มาถางป่ า เพ่อื ต้งั ถิน่ ฐาน สร้างหมบู่ า้ นโดยใชช้ ื่อวา่ บา้ นพรุเตย
เนื่องจากมีป่ าเตยเยอะ ต่อมาไดเ้ ปลี่ยนช่ือหมู่บา้ นเป็ น บา้ นควนสินชยั และเป็ นหมู่บา้ นท่ีมีประชากรเยอะท่ีสุด
จากท้งั 8 หมู่บา้ น ปัจจุบนั มีท้งั หมด 513 ครัวเรือน มปี ระชากรท้งั หมด 1,489 คน ผชู้ าย 776 คน ผหู้ ญิง 713 คน
หมู่ท่ี 6 บ้ำนสองแพรกใหม่ เป็ นหมู่บา้ น หมู่ที่ 6 ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
ในอดีตคือบา้ นนาออก ในเขตการปกครองของหมทู่ ี่ 2 ตาบลไทรทอง ต่อมาแยกเป็นหมบู่ า้ นสองแพรก สาเหตุท่ี
ช่ือว่า สองแพรกใหม่ เน่ืองมาจากบา้ นสองแพรกใหม่แยกออกมาจากหมู่ที่ 2 บ้านสองแพรก จึงใช้ช่ือว่า
บา้ นสองแพรกใหมม่ าจนถงึ ปัจจุบนั
หมู่ท่ี 7 บ้ำนคลองเพร็ง เดิมมคี ลองเลก็ ๆ ท่ีมนี ้าไหลผา่ นมาจากหมู่ที่ 1บา้ นบางปาน สถานที่แห่งน้ีเป็ น
หมู่บา้ นป่ าสงวนที่อุดมสมบูรณ์ และมีแหล่งน้าธรรมชาติข้ึนอยกู่ บั หมู่ที่ 1 ตาบลไทรทอง กลุ่มคนที่มาอยอู่ าศยั
ในอดีตไดเ้ ขา้ มาโค่นตน้ ไมเ้ พื่อปลูกขา้ ว ปลูกยางพารา บา้ นเรือนจะเป็นบา้ นแบบขนาไมไ้ ผ่ และเมื่อประมาณ
ปลายปี พ.ศ 2537 ได้ มีประกาศจากกระทรวงมหาดไทย ใหต้ ้งั เป็ นหมู่บา้ นใหม่ ช่ือว่า บา้ นคลองเพร็ง ซ่ึงแยก
ออกมาจาก หมูท่ ่ี 1 บา้ นบางปาน
หมู่ที่ 8 บ้ำนสระแก้ว ตาบลไทรทอง อาเภอชัยบุรี จังหวดั สุราษฎร์ธานี เดิมต้ังอยู่กับหมู่ท่ี 4
ตาบลไทรทอง ต่อมาไดม้ ีการจดั ต้งั หมู่บา้ นข้ึนใหมเ่ มอื่ ปี พ.ศ 2539 สาเหตุท่ีชื่อหมูบ่ า้ นสระแกว้ สืบเนื่องมาจาก
ในบริเวณหมบู่ า้ นหรือบริเวณป่ าชุมชนของหมู่บา้ นมีสระแหลง่ น้าธรรมชาติอยู่แห่งหน่ึงซ่ึงเป็นสระน้าท่ีมีระดบั
น้าเท่าเดิมอยูต่ ลอดเวลาไม่ว่าจะเป็ นฝนตกหรือแห้งแลง้ ทาให้เกิดความประหลาดใจแก่ผพู้ บเห็น ชาวบา้ นใน
หมู่บ้านจึงเรียกว่าสระแกว้ เมื่อมีการก่อต้ังหมู่บา้ นข้ึนใหม่จึงให้ชื่อว่า สระแก้ว โดยมีนาย ถาวร คงโอ
เป็นผใู้ หญ่บา้ นคนแรก
6
ตำนำนสระนำ้ ศักด์ิสิทธ์ปิ ่ ำชุมชนบ้ำนสระแก้ว
สระน้าศกั ด์ิสิทธ์ิแห่งน้ีต้งั อยหู่ มู่ที่ 8 ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี เดิมแต่
ก่อนน้ันมีเรื่องราวเล่าขานกนั มานานถึงเร่ืองความล้ีลบั ศกั ด์ิสิทธ์ิของป่ าไม้ และสระน้าแห่งน้ีเริ่มมี
เรื่องราวต้งั แต่ตอนที่ชาวบา้ นเขา้ ป่ าแลว้ เจอสระน้า ลกั ษณะเป็นบ่อน้าขนาดใหญ่ ลึก และอยใู่ นป่ าดงดิบ
มีพนั ธไ์ มใ้ หญ่หลากหลายชนิดลอ้ มรอบสระแห่งน้ีไว้ ปัจจุบนั ท่ีแห่งน้ีไดม้ สี านกั สงฆไ์ ปต้งั ถน่ิ ฐาน เพอ่ื
เป็นที่สานกั ของสงฆ์ และผทู้ ี่ตอ้ งการมาปฏิบตั ิธรรม ซ่ึงเรียกว่า “สานกั สงฆบ์ า้ นสระแกว้ ” สถานท่ีแห่ง
น้ีมีเร่ืองเล่าจากผูใ้ หญ่บา้ นคนปัจจุบนั แห่งบา้ นสระแกว้ ฝันว่ามีพระสงฆ์มาบอกว่ามีเจดีย์อยู่ใตน้ ้า
สระแกว้ ศกั ด์ิสิทธ์ิแห่งน้ี ผูใ้ หญ่บา้ นจึงไดใ้ ห้คนในหมู่บ้านมาให้ช่วยกนั สูบน้าออกจากสระ แต่ไม่
เป็ นไปตามที่คาดหมายไว้ เนื่องจากชาวบ้านได้สูบน้าออกจากสระเป็ นเวลา 10 วนั 10 คืน น้าใน
สระแกว้ ศกั ด์ิสิทธ์ิกไ็ ม่ลดลง จึงไดเ้ ปล่ียนวิธีใหช้ าวบา้ น 2-3 คน ดาน้าลงไปดูใตน้ ้าว่ามีเจดียอ์ ยใู่ ตน้ ้า
จริงอย่างที่ฝันไวห้ รือไม่ เมื่อชาวบา้ นดาน้าลงไปน้นั ก็เจอถ้ากับเจดียท์ ี่อยู่ใต้น้าตามความฝัน และ
ชาวบา้ นคนหน่ึงที่ลงดาน้าอยใู่ ตน้ ้า ณ ตอนน้นั รู้สึกว่ามอี ะไรมาสมั ผสั ท่ีตวั เขาจึงไดจ้ บั ข้ึนมาดูเหนือน้า
ปรากฏว่าเป็ นงูตัวขนาดใหญ่มาก ผูใ้ หญ่บ้าน และทุกคนท่ีไปรอดูอยู่ต่างตกใจและกลวั ว่าจะเกิด
เหตุการณ์ไมด่ ีเกิดข้ึน จึงยตุ ิความพยายามลง หลงั จากวนั น้นั ผใู้ หญ่บา้ นและชาวบา้ นก็ไมก่ ลา้ ท่ีจะไปทา
อะไรในสระน้าศกั ด์ิสิทธ์ิอีกเลย เพราะเช่ือวา่ เป็ นสถานที่ศกั ด์ิสิทธ์ิท่ีเห็นและสัมผสั ไดจ้ ริง บริเวณทาง
ลงสระน้ามตี น้ ไทรโอบตน้ ตะเคียน ซ่ึงมลี กั ษณะเหมือนคนโอบกอดกนั เห็นไดช้ ดั เจน และชาวบา้ นใน
หมู่บา้ นมีความเช่ือเกี่ยวกบั สถานที่น้ี มีชาวบา้ นมาบนบานศาลกล่าว ขอโชคลาภ ขอพร ขอหวย และ
เห็นผลอยูเ่ ป็ นประจา เม่ือไดต้ ามท่ีขอชาวบา้ นก็นาของมาถวายเพื่อเป็ นของแกบ้ นอยู่เป็ นประจา และ
ความเช่ือน้นั อยคู่ ู่กบั หม่บู า้ นมาชา้ นานจนถึงปัจจุบนั
7
8. โครงสร้ำงของชุมชน
8.1 ด้ำนกำรปกครอง
จานวนหมบู่ า้ นในเขตตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี มที ้งั หมด 8 หมูบ่ า้ น ไดแ้ ก่
หมู่ท่ี 1 บา้ นบางปาน มีเน้ือท่ีโดยประมาณ 10,107 ไร่
หมทู่ ี่ 2 บา้ นสองแพรก มเี น้ือที่โดยประมาณ 6,446 ไร่
หมทู่ ่ี 3 บา้ นไทรงาม มีเน้ือท่ีโดยประมาณ 2,852 ไร่
หมทู่ ่ี 4 บา้ นควนสระ มีเน้ือท่ีโดยประมาณ 7,591 ไร่
หมทู่ ี่ 5 บา้ นควนสินชยั มเี น้ือท่ีโดยประมาณ 17,334 ไร่
หมทู่ ่ี 6 บา้ นสองแพรกใหม่ มเี น้ือท่ีโดยประมาณ 8,854 ไร่
หมู่ท่ี 7 บา้ นคลองเพร็ง มีเน้ือที่โดยประมาณ 4,284 ไร่
หมู่ท่ี 8 บา้ นสระแกว้ มเี น้ือที่โดยประมาณ 7,532 ไร่
8.2 ด้ำนประชำกร
ประชากรท้งั สิ้น 6,671 คน แยกเป็นชาย 3,377 คน หญิง 3,294 คน มคี วามหนาแน่น 65 คนต่อตาราง
กิโลเมตร จานวนครัวเรือน 2,248 ครัวเรือน ปี พ.ศ 2562
หมทู่ ี่ ช่ือหมูบ่ า้ น จานวนประชากร (คน) ประชากร ครัวเรือน (หลงั )
ชาย หญิง รวม (คน)
1 บ้ำนบำงปำน 437 478 915 351
2 บ้ำนสองแพรก 652 630 1,282 427
3 บ้ำนไทรงำม 181 171 352 115
4 บ้ำนควนสระ 529 516 1045 288
5 บ้ำนควนสินชัย 650 592 1,242 476
6 บ้ำนสองแพรกใหม่ 214 252 466 150
7 บ้ำนคลองเพร็ง 349 331 680 210
8 บ้ำนสระแก้ว 364 332 686 230
รวมท้ังหมด 3.377 3,294 6,671 2.248
8
8.3 ด้ำนกำรศึกษำ
โรงเรียนประถมศกึ ษา
ท่ี ช่ือโรงเรียน
1 โรงเรียนบา้ นบางปาน
2 โรงเรียนวดั สองแพรก
3 โรงเรียนบา้ นควนสระ
4 โรงเรียนบา้ นควนสินชยั
ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ก่อนเกณฑ์
1 ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ วดั สองแพรก
2 ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ วดั ถ้าหอมวิปัสสนา
3 ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ บา้ นควนสินชยั
4 ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ บา้ นคลองเพร็ง
8.4 ด้ำนศำสนำ
วดั หรือสานกั สงฆใ์ นตาบลไทรทองมี 4 แห่ง ประชาชนส่วนใหญ่นบั ถอื ศาสนาพุทธและมีองคก์ รศาสนา
ดงั น้ี
1. วดั สองแพรก หมูท่ ่ี 2 ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
2. วดั ถ้าหอมธรรมาราม หมทู่ ่ี 4 ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
3. สานกั สงฆป์ ่ าชุมชนบา้ นสระแกว้ หมทู่ ่ี 8 ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
4. สานกั สงฆบ์ า้ นควนสินชยั หมู่ท่ี 5 ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
9. โครงสร้ำงด้ำนเศรษฐกจิ
9.1 กำรเกษตร
ประชาชนส่วนใหญ่ทาอาชีพการเกษตรเป็นส่วนมาก ประมาณร้อยละ 80 ซ่ึงการเกษตรท่ีนิยมทากนั
มากไดแ้ ก่ การทาสวนยางพารา และสวนปาลม์ น้ามนั ถอื เป็นอาชีพหลกั ของคนในพน้ื ที่ตาบลไทรทอง
1. กลุม่ เล้ยี งปลา 2 กลุม่
2. กลมุ่ เล้ยี งไก่ 5 กลมุ่
9.2 กำรบริกำร
การบริการในพ้ืนท่ีตาบลไทรทอง ส่วนใหญ่จะเป็นอาชีพชา่ งเสริมสวย ช่างซ่อมรถจกั รยานยนต์
ช่างซ่อมรถยนต์ และขบั รถโดยสารประจาทาง
9
9.3 กำรท่องเทยี่ ว แหลง่ ท่องเที่ยวในพ้นื ท่ีตาบลไทรทอง มดี งั น้ี
1. ป่ าธรรมชาติสระแกว้ หมู่ท่ี 8 เป็นป่ าอนุรักษธ์ รรมชาติตามโครงการอนุรักษพ์ นั ธุไ์ ม้ และพนั ธุพ์ ืชอนั
เนื่องมาจากพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี
2. วดั ถ้าหอมธรรมาราม หมู่ท่ี 4 ซ่ึงเป็นถ้าท่ีสวย และไดข้ ้ึนเป็นแหล่งท่องเที่ยวของจงั หวดั สุราษฎร์ธานี
3. ป่ าพรุเตย หมทู่ ี่ 5 ซ่ึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และเป็นสถานท่ีศกึ ษาสมุนไพร
4. น้าตกโตน หมทู่ ี่ 7 ซ่ึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และเป็นสถานที่พกั ผอ่ นหยอ่ นใจ
5. น้าตกทุง้ ฟ้า หมู่ที่ 8 ซ่ึงเป็นแหลง่ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และเป็นสถานท่ีพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ
6. สระ 200 ไร่ หมทู่ ี่ 5 ซ่ึงเป็นสระน้าขนาดใหญ่ในหมบู่ า้ น ชุกชุมไปดว้ ยปลาหลากหลายสายพนั ธุ์
7. วดั สองแพรก หมูท่ ่ี 2 ซ่ึงเป็นศาสนสถานที่มเี รือโบราณท่ีถูกขุดพบ
9.4 อตุ สำหกรรม ประกอบไปดว้ ยโรงงานอตุ สาหกรรม 4 แห่ง
9.5 กำรพำณชิ ย์และกลุ่มอำชีพ
1. ป๊ัมน้ามนั 2 แห่ง
2. ร้านคา้ ชุมชน 2 แห่ง
3. บริษทั จากดั 7 แห่ง
4. กลมุ่ เพาะเห็ดทลายปาลม์ 2 กลมุ่
5. กล่มุ แปรรูปอาหารประเภทผลไม้ 1 กลุ่ม
6. กลมุ่ สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 กล่มุ
9.6 แรงงำน มกี ารนาเขา้ แรงงานต่างชาติเขา้ มาในพ้นื ท่ี ไดแ้ ก่ แรงงานพม่า
10. ควำมเช่ือ ประเพณี และพธิ กี รรม
10.1 งำนวนั สำรทเดือนสิบ
เป็ นงานบุญประเพณีของคนภาคใตข้ องประเทศไทย โดยเฉพาะชาวนครศรีธรรมราช ที่ไดร้ ับอิทธิพล
ด้านความเชื่อมาจากศาสนาพราหมณ์ โดยมีการผสมผสานกบั ความเช่ือทางพระพุทธศาสนา ซ่ึงเขา้ มาใน
ภายหลงั โดยมีจุดมุ่งหมายสาคญั เพื่อเป็นการอุทิศส่วนกศุ ลให้แก่ดวงวิญญาณของบรรพชน และญาติที่ล่วงลบั
ซ่ึงไดร้ ับการปล่อยตวั มาจากนรกที่ตนตอ้ งจองจาอยู่ เนื่องจากผลกรรมท่ีตนไดเ้ คยทาไวต้ อนที่ยงั มีชีวติ อยู่ โดย
จะเร่ิมปล่อยตวั จากนรกในทุกวนั แรม 1 ค่าเดือน 10 เพ่ือมายงั โลกมนุษย์ มีจุดประสงคเ์ พ่ือมาขอส่วนบุญจาก
ลูกหลานญาติพ่ีน้องที่ไดเ้ ตรียมการอุทิศไวใ้ ห้ เป็ นการแสดงความกตญั ญูกตเวทีต่อผูล้ ่วงลบั หลงั จากน้นั ดวง
วญิ ญาณกจ็ ะกลบั ไปยงั นรก ในวนั แรม 15 ค่า เดือน 10
10
10.2 งำนประเพณชี ักพระ
หากกลา่ วถึงประเพณีชกั พระ-ทอดผา้ ป่ า และแข่งเรือยาวชงิ ถว้ ยพระราชทานฯ จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ถอื
เป็นประเพณีที่ยง่ิ ใหญ่ และเก่าแก่ ซ่ึงไดร้ ับการสืบทอดจากบรรพบุรุษผา่ นกาลเวลามาชา้ นาน มกี าหนดจดั ข้นึ
ในช่วงเทศกาลวนั ออกพรรษา เป็นเวลารวม 9 วนั 9 คนื โดยกว่าหน่ึงเดือนก่อนถึงวนั ออกพรรษาทางวดั และ
ชาวบา้ นในชุมชนต่าง ๆ ทวั่ ท้งั จงั หวดั สุราษฎร์ธานีจะช่วยกนั จดั เตรียมรถพนมพระ และเรือพนมพระ ซ่ึงวดั ที่อยู่
ติดแมน่ ้าลาคลองก็จะใชเ้ ป็นเรือพนมพระ ในขณะเดียวกนั บางวดั กม็ ีท้งั รถ และเรือ นามาประดบั ตกแต่งลวดลาย
อยา่ งประณีตงดงามตามจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ และภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ เป็นรูปสตั วใ์ นวรรณคดีบา้ งเป็น
พญานาค หงส์ พญาครุฑ บา้ งหนุมาน นยั วา่ เป็นราชพาหนะของพระพทุ ธเจา้ จากน้นั กน็ าบษุ บกข้ึนประดบั ก่อน
นาพระพทุ ธรูปข้ึนประดษิ ฐานบนบุษบกเพอื่ ทาการสรงน้า และพร้อมที่จะร่วมขบวนแห่ในวนั แรม 1 ค่า เดือน
11 (หลงั วนั ออกพรรษา 1 วนั ) ซ่ึงเป็นวนั ที่พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ลงจากสวรรคช์ ้นั ดาวดึงสม์ ายงั โลกมนุษย์ และหาก
กล่าวถงึ เรือพนมพระ ซ่ึงเป็นการชกั พระทางน้าน้นั ทางททท.สานกั งานสุราษฎร์ธานี เป็นผรู้ ้ือฟ้ื นข้ึนมา โดยการ
สนบั สนุนวดั ต่าง ๆ ที่ต้งั อยรู่ ิมแมน่ ้าลาคลองในการจดั สร้างทุ่นเหลก็ สาหรับการจดั ทาเรือพนมพระ และในวนั
ออกพรรษา คือวนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 11 (8 ตุลาคม 2557) จะมีการประดบั ประดาตกแต่งพุ่มผา้ ป่ า เรียกวา่ “พุ่ม
ผา้ ป่ าหนา้ บา้ น” ซ่ึงมเี พยี งท่ีเดียวในประเทศไทย จดั ข้ึนในเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีทว่ั ทกุ มมุ เมือง และ
บริเวณหนา้ หน่วยงานราชการ องคก์ รสถานศกึ ษา หา้ งร้าน และอาคารบา้ นเรือนต่าง ๆ
10.3 งำนวนั ลอยกระทง
ลอยกระทง เป็ นพิธีอยา่ งหน่ึงที่มกั จะทากนั ในคืนวนั เพญ็ เดือน 12 หรือวนั ข้ึน 15 ค่าเดือน 12 เป็ นวนั
พระจนั ทร์เต็มดวง และเป็ นช่วงที่น้าหลากเต็มตลิ่ง โดยจะมีการนาดอกไม้ ธูป เทียนหรือสิ่งของใส่ลงใน
ส่ิงประดิษฐร์ ูปต่าง ๆ ที่ไม่จมน้า เช่น กระทง เรือ แพ ดอกบวั ฯลฯ แลว้ นาไปลอยตามลาน้า โดยมีวตั ถปุ ระสงค์
และความเชื่อต่าง ๆ แตกต่างกนั ออกไป
11
10.4 งำนประเพณรี ดนำ้ ขอพรผ้สู ูงอำยเุ นื่องในวนั สงกรำนต์
ประเพณีรดน้าดาหวั ผสู้ ูงอายุเป็ นประเพณีในช่วงเทศกาลวนั สงกรานต์ หรือวนั ข้ึนปี ใหม่ของไทย คือ
ระหวา่ งวนั ที่ 13-15 เมษายน ของทุกปี แต่ส่วนใหญ่จะกระทากนั ในวนั สุดทา้ ยของเทศกาลสงกรานต์ เพียง
วนั เดียวหรือวนั เถลิงศก การรดน้าดาหัวผูส้ ูงอายุเป็ นประเพณีท่ีแสดงถึงความเคารพนบนอ้ มต่อบิดามารดา
ผใู้ หญ่ หรือผมู้ ีพระคุณ เป็นการแสดงออกถงึ ความกตญั ญูกตเวทีของผนู้ อ้ ย และขอขมาลาโทษท่ีผนู้ อ้ ยอาจ
เคยล่วงเกินผใู้ หญ่ อกี ท้งั เป็นการขอพรเพอื่ ความเป็นสิริมงคลแก่ตนเอง ประเพณีรดน้าดาหวั ผสู้ ูงอายุ ถือว่า
เป็ นประเพณีท่ีดีงามอีกประเพณีหน่ึง ที่ประชาชนชาวไทยถือปฏิบตั ิสืบทอดกนั มายาวนาน โดยบุตรหลาน
ของผสู้ ูงอายุไม่ว่าจะอยทู่ ี่ไหนก็จะกลบั มาบา้ นเกิดเพ่ือรวมตวั กนั ซ่ึงถือเป็ นวนั ครอบครัวเป็นวนั รวมญาติ
และจะพากนั ไปขอขมาลาโทษ รดน้าดาหัว และขอพรจากผสู้ ูงอายุ โดยเฉพาะบิดามารดาก่อนที่จะไปขอ
ขมา รดน้าดาหัว และขอพรจากผูส้ ูงอายุคนอื่น ๆ ซ่ึงเป็ นการแสดงความเคารพ การแสดงถึงความกตญั ญู
กตเวทิตาคุณ หลงั จากน้นั จะมีการกินเล้ียงสงั สรรค์ คุยกนั สนุกสนาน ตามประสาญาติพนี่ อ้ งท่ีอยหู่ ่างไกลกนั
ทาให้เกิดความรักสามคั คีระหว่างญาติพ่ีน้องมากข้ึน ส่ิงของที่จะนาไปทาการขอขมาลาโทษ รดน้าดาหวั
และขอพรจากผสู้ ูงอายุ ประกอบดว้ ย น้าอบ น้าหอม น้าสม้ ป่ อย เทียน ดอกไม้ ของขวญั เงิน หรือของขวญั
เลก็ ๆ น้อย ๆ ไปมอบใหแ้ ก่ท่านดว้ ย ผไู้ ปดาหัวจะกล่าวคาขอขมาลาโทษ ขอให้ท่านอโหสิกรรมให้ และ
อวยพรใหท้ ่านประสบแต่ความสุข สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง จากน้นั จะเอาขนั เลก็ ๆ ตกั น้าหอม น้าปรุงที่
นามารดลงบนฝ่ ามือผูใ้ หญ่ ท่านจะนาน้าหอม น้าส้มป่ อย ข้ึนลูบศีรษะเป็ นการยอมรับการขอขมาและ
อโหสิกรรมแลว้ กล่าวใหศ้ ีลให้พร ประเพณีดงั กล่าวน้ีถือว่าควรแก่การอนุรักษเ์ ป็ นอยา่ งยงิ่ เพราะเป็ นการ
แสดงความกตญั ญูกตเวทิตาคุณ และบุตรหลานก็จะไดร้ ู้ไดเ้ ห็น และปฏิบตั ิเช่นน้ีไปตลอด การรดน้าดาหวั
พระสงฆน์ ้นั จะมลี กั ษณะคลา้ ย ๆ กนั แต่พธิ ีการรดน้าดาหวั พระสงฆจ์ ะมพี ิธีการมากกวา่ คือก่อนท่ีจะรดน้า
พระสงคจ์ ะตอ้ งรดน้าพระพุทธรูปก่อน แลว้ จึงค่อยรดน้าดาหวั พระภิกษุสงฆ์ จากน้นั กร็ ับพรจากพระภิกษุ
สงค์ เสร็จพิธีกจ็ ะมีการเลน่ น้ากนั อยา่ งสนุกสนาน และการรดน้าดาหวั พระภิกษุน้นั จะทาทุกวนั ต้งั แต่วนั แรก
ของการเริ่มประเพณีสงกรานต์ จนถึงวนั สุดทา้ ยของสงกรานต์
12
11. สถำนทสี่ ำคญั
หม่ทู ี่ 1 บา้ นบางปาน ประกอบไปดว้ ย คลองวงั ชา้ ง (คลองบางปาน) โรงเรียนบา้ นบางปาน และศาลา
ประจาหมบู่ า้ น
หมู่ที่ 2 บา้ นสองแพรก ประกอบไปดว้ ย คลองโตรมหรือคลองสองแพรก วดั สองแพรก ศูนยพ์ ฒั นาเดก็
เลก็ วดั สองแพรก โรงเรียนวดั สองแพรก สถานีป้อมตารวจประจาชุมชน และศาลาประจาหมบู่ า้ น
หมู่ท่ี 3 บา้ นไทรงาม ประกอบไปดว้ ย คลองบางปาน คลองสองแพรก และศาลาประจาหมู่บา้ น
หมู่ที่ 4 บา้ นควนสระ ประกอบไปดว้ ย โรงเรียนบา้ นควนสระ วดั ถ้าหอม ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ และศาลา
ประจาหมบู่ า้ น
หม่ทู ่ี 5 บา้ นควนสินชยั ประกอบไปดว้ ย โรงเรียนบา้ นควนสินชยั ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ สานกั สงฆบ์ า้ น
ควนสินชยั สหกรณ์การเกษตรตาบลไทรทอง จากดั สระเกบ็ น้า 200 ไร่ ป่ าพรุเตย และศาลาประจาหมู่บา้ น
หมู่ที่ 6 บา้ นสองแพรกใหม่ ประกอบไปดว้ ย ศาลาประจาหมูบ่ า้ น ฟิ ตเนสประจาหมูบ่ า้ น และสหกรณ์
หมูบ่ า้ น
หม่ทู ่ี 7 บา้ นคลองเพร็ง ประกอบไปดว้ ย ศนู ยก์ ารเรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี งตน้ แบบ น้าตกโตน และศาลา
ประจาหมู่บา้ น
หมู่ท่ี 8 บา้ นสระแกว้ ประกอบไปดว้ ย สานกั สงฆบ์ า้ นสระแกว้ ป่ าชุมชนบา้ นสระแกว้ น้าตกทุง้ ฟ้า และ
ศาลาประจาหม่บู า้ น
12. กำรเปลย่ี นแปลงทำงสังคมและวฒั นธรรม
การยกระดบั การท่องเที่ยว และผลิตภณั ฑข์ องตาบล เป็ นการขบั เคลื่อนระบบเศรษฐกิจ และชีวิตความ
เป็นอยขู่ องประชาชนในตาบล ซ่ึงเมือ่ การท่องเท่ียวเขา้ ถึง ความเจริญกเ็ ขา้ ถงึ และหากมนี กั ท่องเท่ียวชาวต่างชาติ
เขา้ มาท่องเที่ยวในตาบลกจ็ ะเกิดการแลกเปล่ียนวฒั นธรรมกนั เช่น ฝรั่งใชก้ ารทกั ทายเป็นการจบั มือ แต่คนไทย
ใช้การไหวซ้ ่ึงเป็ นจุดเด่น อาจจะสอนให้ชาวต่างชาติได้รู้ว่า การไหว้ การยิ้มแยม้ เป็ นอัตลกั ษณ์และ
ขนบธรรมเนียมของคนไทยได้ เราก็สามารถท่ีจะเรียนรู้วฒั นธรรมของชาวต่างชาติไดเ้ ช่นกนั ตวั อย่างเช่น
ชาวต่างชาติเขาจะมีธรรมเนียมของคนไทยที่เขาไม่ชอบดว้ ยเช่นกนั เพราะฉะน้นั การท่ีเรารู้ว่าเขาชอบอะไร
หรือไม่ชอบอะไรกท็ าใหเ้ ขาประทบั ใจในการมาเที่ยวในตาบลของเราได้ เกิดการบอกต่อ หรือกลบั มาเท่ียวอกี
เป็ นตน้
13
บทที่ 2
กำรดำเนนิ งำน
กำรดำเนินงำนโครงกำรยกระดบั เศรษฐกจิ และสังคมแบบบูรณำกำร
ลำดบั ท่ี กจิ กรรม วตั ถุประสงค์ กำรดำเนนิ โครงกำร หมำยเหตุ
1. ดา้ นส่งเสริมพฒั นา เพื่อส่งเสริมสมั มาชีพ โดยจดั กิจกรรมในดา้ น
สมั มาชีพและสร้าง ครัวเรือนท่ีมรี ายไดน้ อ้ ย ส่งเสริมพฒั นาสมั มาชีพ
อาชีพใหม่ใหช้ ุมชน ใหม้ ีรายไดม้ ากข้นึ และสร้างอาชีพใหม่ให้
ชุมชนเพอ่ื ยกระดบั
เศรษฐกิจ
1.1 ดา้ นเศรษฐกิจ เพอ่ื ส่งเสริมสมั มาชีพ ครัวเรือนยากจนที่มีรายได้ จดั
พอเพียง
ครัวเรือนที่มีรายไดน้ อ้ ย นอ้ ยมีรายจ่ายที่ลดลงและมี โครงการ
1.2 ดา้ นการแปรรูป
ขนม ดา้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง รายไดเ้ สริมสมั มาชีพ ดงั น้ี เมื่อวนั ท่ี
- เพาะเห็ด 14 – 15
- เล้ยี งปลา ตุลาคม
- ปลูกพืชผกั สวน 2564
ครัว
เพ่ือส่งเสริมพฒั นา 1.ครัวเรือนยากจนท่ีมรี ายได้ จดั
สมั มาชีพครัวเรือน นอ้ ยไดร้ ับองคค์ วามรู้ดา้ น โครงการ
ยากจนท่ีมรี ายไดน้ อ้ ย การแปรรูปขนม เมอ่ื วนั ที่
ไดร้ ับองคค์ วามรู้ดา้ นการ 2. ผเู้ ขา้ ร่วมอบรมสามารถ 17 ตุลาคม
แปรรูปขนม เช่น ขนม นาองคค์ วามรู้มาสร้าง 2564
เคก้ กลว้ ยหอม , เตา้ ฮวย รายไดเ้ สริมในครอบครัว
มะพร้าวอ่อน , กลว้ ยตาก
14
ลำดบั ท่ี กจิ กรรม วตั ถุประสงค์ กำรดำเนินโครงกำร หมำยเหตุ
2. 1.3 ผลิตภณั ฑส์ ินคา้ เพือ่ ใหช้ าวบา้ นไดม้ ี ไดม้ กี ารจดั อบรมใหค้ วามรู้ จดั
OTOP ความรู้ทางทฤษฎีและ ภายใต้ 3 หวั ขอ้ ดงั น้ี โครงการ
แนวทางในการปฏิบตั ิ 1.การจดั อบรมในการแปร เมอ่ื วนั ท่ี
การสร้างและส่งเสริม นาไปสู่การพฒั นาท่ีดีข้นึ รูปกลว้ ยหอมเป็นกลว้ ยฉาบ 28-29
พฒั นาแหล่งท่องเที่ยว หลากรส และแปรรูป สิงหาคม
ดว้ ยกระบวนการมี เพ่ือใหช้ าวบา้ นไดม้ ี เคร่ืองแกงก่ึงแหง้ ก่ึงเหลว 2564
ส่วนร่วม ความรู้ทางทฤษฎีท่ีจะ เพอื่ ยกระดบั สินคา้ เป็น
2.1 ลงพ้นื ท่ีสารวจ นาไปสู่การพฒั นาแหล่ง สินคา้ OTOP จดั
แหล่งท่องเท่ียว ท่องเที่ยวในชุมชนเพอ่ื 2. การแปรรูปและการ โครงการ
ยกระดบั การท่องเท่ียว ถนอมอาหาร เมอ่ื วนั ที่
เพื่อใหช้ าวบา้ นไดม้ ี 3.ใหค้ วามรู้ดา้ นสุขลกั ษณะ 26-27
ความรู้ทางทฤษฎีท่ีจะ ของการจดั ทาผลติ ภณั ฑใ์ ห้ กรกฎาคม
นาไปสู่การพฒั นาแหล่ง ถูกหลกั ของ อย. 2564
ท่องเที่ยวในชุมชน โดยจดั กิจกรรมในดา้ นการ
ท่องเที่ยวเพอื่ ระดมความคิด
พฒั นาแหลง่ ท่องเที่ยวที่
ชุมชนมีอยไู่ ดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื
ไดม้ กี ารจดั อบรมใหค้ วามรู้
ภายใต้ 3 หวั ขอ้ ดงั น้ี
1.การจดั การท่องเที่ยวโดย
ชุมชน CBT
2.สารวจเสน้ ทางการ
ท่องเท่ียว
3.ระดมความคิดที่จะพฒั นา
แหล่งท่องเที่ยว
15
ลำดบั ที่ กจิ กรรม วตั ถุประสงค์ กำรดำเนนิ โครงกำร หมำยเหตุ
3 2.2 ปรับภูมทิ ศั น์ เพื่อส่งเสริมและพฒั นา จดั
แหลง่ ท่องเที่ยว ปรับภูมทิ ศั น์แหลง่ ไดม้ กี ารจดั อบรมมอบวสั ดุ โครงการ
ท่องเท่ียว อุปกรณ์และร่วมมอื กนั กบั เมื่อวนั ท่ี
2.3 เปิ ดแหล่ง ชุมชนปรับภูมิทศั น์แหล่ง 10-11
ท่องเที่ยว ท่องเที่ยว ตุลาคม
2564
ส่งเสริมและ 1.เพ่อื ส่งเสริมและ 1.ชุมชนมรี ายไดจ้ ากการ จดั
สนบั สนุนองคค์ วามรู้ โครงการ
และเทคโนโลยดี า้ น ยกระดบั การท่องเท่ียว ส่งเสริมการท่องเที่ยวโดย เมื่อวนั ท่ี
ต่าง ๆ บริการวิชาการ 19
ใหช้ ุมชน ของชุมชนของตาบลไทร ชุมชน พฤศจิกายน
2564
ทอง
จดั
2.เพื่อสร้างแนวทางการ โครงการ
เมือ่ วนั ที่
พฒั นาเสน้ ทางการ 2.มแี หล่งท่องเท่ียวประจา 20 ตุลาคม
2564
ท่องเท่ียวโดย ตาบลเพื่อไวด้ ึงดูด
กระบวนการมสี ่วนร่วม นกั ท่องเที่ยว
1.เพอ่ื ส่งเสริมและ 1.ผเู้ ขา้ ร่วมอบรมไดร้ ับองค์
สนบั สนุนองคค์ วามรู้ ความรู้ดา้ นการปลูกผกั
ดา้ นการปลกู ผกั ปลอด ปลอดสารพษิ และทาระบบ
สารพิษและทาระบบ ฟาร์มอจั ฉริยะ
ฟาร์มอจั ฉริยะใหช้ ุมชน 2.ผเู้ ขา้ ร่วมอบรมไดร้ ับวสั ดุ
2.เพอ่ื ส่งเสริมพฒั นาดา้ น สาธิตทาการเพาะปลกู
เทคโนโลยแี ละเพ่มิ พชื ผกั ปลอดสารพิษ คนละ
รายไดห้ มนุ เวียนใหแ้ ก่ 1 ชุด
ชุมชน
16
ลำดบั ที่ กจิ กรรม วตั ถุประสงค์ กำรดำเนนิ โครงกำร หมำยเหตุ
4 จดั
ส่งเสริมพฒั นาดา้ น เพือ่ ส่งเสริมพฒั นาดา้ น ไดม้ กี ารจดั อบรมและมอบ โครงการ
ส่ิงแวดลอ้ ม และเพม่ิ ส่ิงแวดลอ้ มและเพม่ิ พืชสมุนไพรใหแ้ ก่ชุมชน เมือ่ วนั ที่
รายไดห้ มนุ เวียน รายไดห้ มุนเวยี นใหแ้ ก่ โดยจดั อบรมในหวั ขอ้ 26
ใหแ้ ก่ชุมชน ชุมชน สรรพคุณของสมุนไพรตา้ น สิงหาคม
ภยั โควดิ 2564
17
บทท่ี 3
ผลกำรดำเนินงำน
การจดั ทาโครงการโครงการพฒั นาศกั ยภาพชุมชนดา้ นต่าง ๆ เพื่อยกระดบั เศรษฐกิจ และสังคมพ้ืนที่
ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี โดยการจา้ งงานตามภารกิจต่าง ๆ ของมหาวิทยาลยั สาหรับ
ประชาชนทว่ั ไป บณั ฑิตจบใหม่ และนักศึกษา เพ่ือยกระดบั เศรษฐกิจ และสังคมแบบบูรณาการพฒั นาชุมชน
โดยครอบคลุมท้งั 4 ดา้ น (เน้นกิจกรรมที่เก่ียวขอ้ งกบั การพฒั นาสมั มาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดบั
สินคา้ OTOP/อาชีพอ่ืนๆ) การสร้างและพฒั นา Creative Economy (การยกระดบั การท่องเท่ียว) การนาองค์
ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ) และการส่งเสริมดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม/Circular
Economy (การเพิม่ รายไดห้ มุนเวียนใหแ้ ก่ชุมชน) ใหแ้ ก่ชุมชน) ซ่ึงแต่ละดา้ น มีวตั ถุประสงค์ ดงั น้ี
1 .วตั ถุประสงค์ของโครงกำร/กจิ กรรมในกำรดำเนินกำร
1) เพื่อส่งเสริมพฒั นาสมั มาชีพ สร้างอาชีพใหม่ และยกระดบั สินคา้ ในชุมชน
2) เพอื่ สร้างและส่งเสริมพฒั นาแหลง่ ท่องเที่ยวโดยชุมชนดว้ ยกระบวนการมีส่วนร่วม
3) เพอ่ื นาองคค์ วามรู้เทคโนโลยดี า้ นต่างๆไปช่วยบริการชุมชน
4) เพื่อส่งเสริมพฒั นาดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม และเพมิ่ รายไดห้ มุนเวียนใหแ้ ก่ชุมชน
5) เพ่ือจัดทาข้อมูลและประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ข้อมูล ข่ าวสาร ตาบลไทรทอง อาเภอชัยบุรี
จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
2. ประเภทกจิ กรรมที่จะเข้ำไปดำเนนิ กำรในพืน้ ท่ี (ระบุร้อยละของกิจกรรม)
1) ส่งเสริมพฒั นาสมั มาชีพ และสร้างอาชีพใหมใ่ ห้ชุมชน ร้อยละ 25
2) สร้างและส่งเสริมพฒั นาแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนดว้ ยกระบวนการมสี ่วนร่วมร้อยละ 25
3) การนาองคค์ วามรู้เทคโนโลยดี า้ นต่าง ๆไปช่วยบริการชุมชน ร้อยละ 20
4) การส่งเสริมพฒั นาดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม และเพิ่มรายไดห้ มนุ เวียนใหแ้ ก่ชุมชน ร้อยละ 20
5) จดั ทาข้อมูลประชาสัมพนั ธ์เผยแพร่ ขอ้ มูล ข่าวสาร ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จังหวดั สุราษฎร์ธานี
ร้อยละ 30
18
3. ผลลพั ธ์และผลกำรดำเนนิ งำน
3.1 เชิงปริมำณ
3.1.1 ครัวเรือนยากจน ครัวเรือนที่มีรายไดน้ อ้ ย ไดร้ ับการส่งเสริมพฒั นาสมั มาชีพหรือสร้างอาชีพใหม่
อยา่ งนอ้ ย 15 ครัวเรือน และมีผเู้ ขา้ ร่วม 50 คน
3.1.2 ผลติ ภณั ฑช์ ุมชน สินคา้ OTOP ไดร้ ับการส่งเสริมพฒั นา และยกระดบั จานวน 3 ผลติ ภณั ฑ์
3.1.3 มแี หล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน 1 แหล่ง จากการมสี ่วนร่วม จานวน 100 คน
3.1.4 ประชาชนไดร้ ับองคค์ วามรู้เทคโนโลยดี า้ นต่าง ๆ จานวน 35 คน
3.1.5 พฒั นาดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม และเพมิ่ รายไดห้ มุนเวยี น ใหผ้ เู้ ขา้ ร่วม จานวน 35 คน
3.2 เชิงคุณภำพ
3.2.1 ครัวเรือนยากจน ครัวเรือนท่ีมีรายไดน้ อ้ ย มีรายจ่ายลดลง และมีรายได้เพิ่มข้ึนจากการไดร้ ับ
ส่งเสริมพฒั นาสมั มาชีพ หรือสร้างอาชีพใหม่
3.2.2 ผลิตภณั ฑ์ชุมชน และสินคา้ OTOP ไดร้ ับการยกระดบั ผปู้ ระกอบการ วิสาหกิจชุมชน มีรายได้
เพ่ิมข้ึนสร้างรายไดห้ มนุ เวียนใหแ้ ก่ชุมชน
3.2.3 มแี หล่งท่องเท่ียวโดยชุมชนเป็นท่ีรู้จกั ของคนในชุมชน และพ้นื ท่ีใกลเ้ คียง
3.2.4 ประชาชนนาองคค์ วามรู้ที่ไดร้ ับไปต่อยอด และเพม่ิ รายไดใ้ หค้ รอบครัว
3.2.5 ชุมชนใหค้ วามสาคญั ดา้ นส่ิงแวดลอ้ มสู่การเพมิ่ รายไดห้ มนุ เวียนในชุมชน
3.2.6 ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี เป็นที่รู้จกั และมีโอกาสไดร้ ับการ พฒั นาต่อไป
19
โดยกำรจดั กจิ กรรม มดี งั นี้
กจิ กรรม รำยละเอยี ด วนั ที่จดั กจิ กรรม รูปภำพ
1.อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการเพ่อื ส า ร ว จ แ ห ล่ ง วนั ที่ 26-27 กรกฎาคม
แลกเปล่ยี นเรียนรู้เชิงพ้นื ที่
และกาหนดแนวทางการ ท่องเที่ยวตาบลไทร 2564
พฒั นา การบริหารจดั การ
แหลง่ ท่องเท่ียวโดยชุมชน ทอง อาเภอชัยบุรี ณ พ้นื ที่ตาบลไทรทอง
จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
เ พ่ื อ ร ะ ด ม ค ว า ม คิ ด อ า เ ภ อ ชั ย บุ รี
พฒั นา จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
2.อบรมเชิงปฏิบตั ิการเพ่ือ ทาแปลงสาธิตปลุก วนั ที่ 26 สิงหาคม 2564
ส่ ง เ ส ริ ม พั ฒ น า ด้ า น พืชสมุนไพรตา้ นภยั หมู่ท่ี 5 บา้ นควนสินชยั
สิ่งแวดลอ้ ม และเพ่ิมรายได้ โควดิ
ตาบลไทรทอง อาเภอ
หมนุ เวียนใหแ้ ก่ชุมชน โดย
ชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์
การปลูกพืชสมุนไพร ตา้ น
ธานี
ภยั โควดิ
3.อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อ วนั ที่ 28 สิงหาคม วนั ท่ี 28 สิงหาคม 2564
พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน 2564 จดั กิจกรรม ณ หมู่ท่ี 5 บา้ นควนสิน
และสินคา้ OTOP แปรรูปกลว้ ยหอม ชั ย ต า บ ล ไ ท ร ท อ ง
เช่น ไซรัปกลว้ ย อาเภอชัยบุรี จังหวัดสุ
หอม , กลว้ ยหอม ราษฎร์ธานี
กรอบปรุงรส วนั ท่ี 29 สิงหาคม 2564
วันท่ี 29 สิงหาคม ณ หมู่ท่ี 2 บ้านสอง
2564 จัดกิจกรรม แพรก ตาบลไทรทอง
พฒั นาเครื่องแกงก่ึง อาเภอชัยบุรี จังหวัดสุ
แหง้ ก่ึงเหลว ราษฎร์ธานี
20
กจิ กรรม รำยละเอยี ด วนั ที่จดั กจิ กรรม รูปภำพ
4.อบรมเชิงปฏิบตั ิการ และ วนั ที่ 10 ตุลาคม 2564 วนั ที่ 10-11 ตุลาคม 2564
พฒั นาปรับปรุงภูมิทศั น์ พั ฒ น า บ ริ เ ว ณ ณ พ้ืนที่ตาบลไทรทอง
แหลง่ ท่องเท่ียวโดยชุมชน สระ 200 ไร่ ปลูกพชื อาเภอชยั บุรี
ปอเทือง และดอก จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
ทานตะวนั
วนั ที่ 11 ตุลาคม 2564
พฒั นาสานักสงฆป์ ่ า
ชุมชนบา้ นสระแกว้
5.อบรมเชิงปฏิบัติการเพ่ือ ครัวเรือนยากจนและ วนั ท่ี 14-15 ตุลาคม 2564
สนบั สนุนส่งเสริมสัมมาชีพ ครัวเรื อนท่ีมีรายได้ ณ หมู่ที่ 4 บา้ นควนสระ
สร้างอาชีพใหมใ่ หค้ รัวเรือน น้อยได้มีรายจ่ายท่ี ตาบลไทรทอง อาเภอชยั
ยากจน และครัวเรื อนที่มี ลดลง และมีรายได้ บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
รายได้น้อย ด้านเศรษฐกิจ เสริมสมั มาชีพ
พอเพยี ง - เพาะเห็ด
- เล้ียงปลา
- ปลูกพืชผัก
สวนครัว
21
กจิ กรรม รำยละเอยี ด วนั ทจ่ี ดั กจิ กรรม รูปภำพ
6.อบรมเชิงปฏิบตั ิการเพอ่ื ครัวเรือนยากจนและ วันที่ 17 ตุลาคม 2564
สนบั สนุนส่งเสริมสมั มาชีพ ครัวเรื อนที่มีรายได้ ณ หมู่ท่ี 5 บ้านควนสิน
สร้างอาชีพใหม่ใหค้ รัวเรือน น้อยได้มีรายจ่ายท่ี ชยั ตาบลไทรทอง อาเภอ
ยากจน และครัวเรือนท่ีมี ลดลง และมีรายได้ ชัยบุรี จังหวดั สุราษฎร์
รายไดน้ อ้ ย ดา้ นการแปรรูป เสริ มสัมมาชีพจาก ธานี
ขนม การแปรรูปขนม เช่น
กลว้ ยตาก , เคก้ กลว้ ย
ห อ ม , เ ต้ า ฮ ว ย
มะพร้าวออ่ น
7. อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการเพือ่ เพื่อเป็ นการส่งเสริม วนั ท่ี 20 ตุลาคม 2564
ถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ดา้ น และสนับสนุนองค์ ณ หมทู่ ี่ 2 บา้ นสองแพรก
ต่าง ๆใหช้ ุมชน ค ว า ม รู้ ด้ า น ตาบลไทรทอง อาเภอชยั
เทคโนโลยีการปลูก บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
ผกั ปลอดสารพษิ และ
ท า ร บ บ ฟ า ร์ ม
อจั ฉริยะ
8.งานเสวนาประวตั ิศาสตร์ จั ด ก า ร เ ส ว น า วนั ท่ี 19 พฤศจิกายน
ตาบล และเปิ ดงานแหล่ง ประวตั ิศาสตร์ตาบล 2564 ณ สระ 200 ไร่
ท่องเที่ยวโดยชุมชน และเปิ ดงานแหล่ง หมูท่ ่ี 5บา้ นควนสินชยั
ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี ท่องเท่ียว และมีการ ตาบลไทรทอง
จงั หวดั สุราษฎร์ธานี จดั เตรียมงานก่อนวนั อาเภอชยั บุรี
งาน จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
22
บทที่ 4
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะ
เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพ “โครงการพฒั นาศกั ยภาพชุมชนดา้ นต่าง ๆ เพ่อื ยกระดบั เศรษฐกิจและสงั คมพ้ืนที่
ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี” ดงั น้ี
1. กลมุ่ สมั มาชีพครัวเรือนยากจน ผลติ ภณั ฑช์ ุมชน และสินคา้ OTOP ไดร้ ับการสนบั สนุน ส่งเสริม พฒั นา
ต่อยอด สามารถเพิ่มรายไดใ้ หก้ บั ครอบครัว และสร้างรายไดห้ มุนเวียนใหแ้ ก่ชุมชนต่อไปได้
2. มีความต่อเน่ืองในการสนบั สนุน ส่งเสริม และการพฒั นาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน ใหเ้ ป็นท่ีรู้จกั ของคนใน
ชุมชน พ้นื ที่ใกลเ้ คียง และนกั ท่องเท่ียว
3. ประชาสมั พนั ธ์เผยแพร่ ขอ้ มูล ข่าวสารตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ให้เป็ นท่ีรู้จกั
และมีโอกาสไดร้ ับการพฒั นาต่อไป
4. ควรมีการศึกษาปัญหา อุปสรรค และสาเหตุที่ทาใหก้ ารมีส่วนร่วมในการพฒั นาชุมชนไม่เป็ นไปตาม
แผนท่ีไดก้ าหนดไว้
ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
1. จดั ระบบการดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย และความปลอดภยั หมู่บา้ น การสร้างความเขม้ แข็งใหก้ บั
ชุมชน โดยเสนอใหม้ ีการจดั ชุดรักษาความปลอดภยั หมบู่ า้ น และมีป้อมยามรักษาความปลอดภยั ภายใน
ชุมชนหรือจุดท่ีเป็ นสถานท่ีท่องเที่ยวต่าง ๆ เพื่อความปลอดภยั และอานวยความสะดวกสูงสุดใหแ้ ก่
ชุมชน และนกั ท่องเท่ียว
2. หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนใหค้ วามสนบั สนุนในการปรับปรุงเสน้ ทางการสญั จรของ ประชาชน
ในชุมชนที่ชารุด หรือในพ้ืนที่ทุรกนั ดาร ใหม้ ีความทว่ั ถึงทุกพ้ืนท่ี และติดต้งั ไฟฟ้าแสงสว่างภายใน
ชุมชนบางจุดที่ยงั ไม่มีความสวา่ ง
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
รายช่ือสมาชิกวศิ วกรตาบล อาจารยท์ ี่ปรึกษา
ประเภทบณั ฑิตจบใหม่
นางสาวสุกญั ญา นวนมสุ ิก ประเภทบณั ฑิตจบใหม่
นางสาวสุทธิดา ทบั ทิมทอง ประเภทบณั ฑิตจบใหม่
นางสาววารุณี จิตรคานึง ประเภทบณั ฑิตจบใหม่
นางสาวอลิษา มีพร้อม ประเภทบณั ฑิตจบใหม่
นางสาวพิชญธิดา จงดู ประเภทบณั ฑิตจบใหม่
นางสาวเสาวลกั ษณ์ หงษท์ อง ประเภทบณั ฑิตจบใหม่
นางสาวธิดารัตน์ หนูนิล ประเภทบณั ฑิตจบใหม่
นางสาวนทั ภรณ์ พนั ธุพ์ ิพฒั น์กุล ประเภทบณั ฑิตจบใหม่
นางสาวชุติมา จนั ทร์ทอง ประเภทบณั ฑิตจบใหม่
นายฉตั รชยั กรุงแกว้ ประเภทบณั ฑิตจบใหม่
นางสาวกมลวรรณ ทองสุข ประเภทบณั ฑิตจบใหม่
นางสาวเกียรติมณฑา นุภกั ด์ิ ประเภทบณั ฑิตจบใหม่
นางสาวชนกพร ชว่ ยบารุง ประเภทบณั ฑิตจบใหม่
นางสาวสิริวิมล ศิริรัตน์ ประเภทประชาชน
นางสาวอมรรัตน์ พรหมสุวรรณ์ ประเภทประชาชน
นางสาวกนกพร จนั ทร์เดช ประเภทประชาชน
นางสาวทิพรัตน์ ธนาวุฒิ ประเภทประชาชน
นายนพพร สุขแพ ประเภทประชาชน
นางวชั รีวรรณ บญุ เพชร ประเภทประชาชน
นางจิณณ์พิชา ศรีสวสั ด์ิ ประเภทประชาชน
นางอุทยั ยศหมึก
นางสาวจุฑารัตน์ บุญฤทธ์ิ
นางสาวจิตกานต์ คาขาว ประเภทนกั ศึกษา
นายศวิรินทร์ สุดสิน ประเภทนกั ศึกษา
นางสาวปาลิตา เพช็ รน้าแดง ประเภทนกั ศึกษา
นายธีรภทั ร์ ธรฤทธ์ิ ประเภทนกั ศึกษา
ภาคผนวก ค
กจิ กรรมท่ี 1 ส่งเสริมพฒั นาสัมมาชีพ และสร้างอาชีพใหม่ให้ชุมชน
กจิ กรรม อบรมเชิงปฏิบตั ิการเพือ่ สนบั สนุนส่งเสริมสมั มาชีพ สร้างอาชีพใหมใ่ หค้ รัวเรือนยากจนและครัวเรือน
ที่มีรายไดน้ อ้ ย ดา้ นเศรษฐกิจพอเพียง
วนั ที่จดั กจิ กรรม 14 – 15 ตุลาคม 2564
สถานทจ่ี ดั กจิ กรรม ณ ศาลาหมทู่ ่ี 4 ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
รายละเอยี ดกจิ กรรม อบรมใหค้ วามรู้ดา้ นการเพาะเห็ด การเล้ียงปลา และการปลกู พชื ผกั หลงั การอบรม แจก
กอ้ นเช้ือเห็ด พนั ธุป์ ลา ดิน และเมลด็ พนั ธุผ์ กั ใหก้ บั ครัวเรือนท่ีเขา้ อบรม โดยมนี ายสุกิจ มพี ริ้ง นายอาเภอชยั บุรี
มาเป็นประธานในพิธีเปิ ด
กจิ กรรม อบรมเชิงปฏิบตั ิการเพ่ือสนบั สนุนส่งเสริมสมั มาชีพ สร้างอาชีพใหมใ่ หค้ รัวเรือนยากจนและครัวเรือน
ที่มีรายไดน้ อ้ ย ดา้ นการแปรรูปขนม
วนั ทีจ่ ดั กจิ กรรม 17 ตุลาคม 2564
สถานทีจ่ ดั กจิ กรรม ณ อาคารอเนกประสงค์ หม่ทู ี่ 5 ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
รายละเอยี ดกจิ กรรม อบรมการทาเคก้ กลว้ ยหอมช็อคโกแลต กลว้ ยหอมตาก และเตา้ ฮวยมะพร้าวอ่อน
กจิ กรรม อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการเพือ่ พฒั นาผลติ ภณั ฑช์ ุมชน และสินคา้ OTOP
วนั ที่จดั กจิ กรรม 29 – 30 สิงหาคม 2564
สถานทีจ่ ดั กจิ กรรม ณ อาคารอเนกประสงค์ หมูท่ ี่ 5 ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
และศาลาหมทู่ ี่ 2 ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
รายละเอยี ดกจิ กรรม อบรมการทากลว้ ยหอมกรอบปรุงรส เพื่อพฒั นาเป็นสินคา้ ชุมชน
กจิ กรรมท่ี 2 การสร้างและส่งเสริมพฒั นาแหล่งท่องเทย่ี วโดยชุมชนด้วยกระบวนการมสี ่วนร่วม
กจิ กรรม อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการเพือ่ แลกเปล่ยี นเรียนรู้เชิงพ้ืนท่ีและกาหนดแนวทางการพฒั นา การบริหารจดั การ
แหลง่ ท่องเท่ียวโดยชุมชน
วนั ท่จี ดั กจิ กรรม 26 – 27 กรกฎาคม 2564
สถานทจ่ี ดั กจิ กรรม ณ พ้ืนที่ตาบลไทรทองท้งั 8 หมบู่ า้ น
รายละเอยี ดกจิ กรรม สารวจพ้นื ที่แหลง่ ท่องเที่ยว หรือสถานท่ีน่าสนใจในตาบลไทรทอง ซ่ึงมที ้งั หมด 8 หม่บู า้ น
กจิ กรรม อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการและพฒั นาปรับปรุงภูมทิ ศั นแ์ หล่งท่องเท่ียวโดยชุมชน
วนั ทีจ่ ดั กจิ กรรม 10 – 11 ตุลาคม 2564
สถานทีจ่ ดั กจิ กรรม ณ สระ 200 ไร่ หมู่ท่ี 5 ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
และสานกั สงฆบ์ า้ นสระแกว้ หมทู่ ่ี 8 ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
รายละเอยี ดกจิ กรรม ปรับภูมทิ ศั น์ สระ 200 ไร่ ปลกู ตน้ ไม้ ดอกไม้ และทาจุดเชค็ อนิ ติดต้งั ป้ายต่าง ๆ ท่ีหมู่ท่ี 8
ท้งั สองพ้นื ท่ีไดร้ ับความร่วมมอื จากชาวบา้ น และผนู้ าชุมชน
กจิ กรรม งานเสวนาประวตั ิศาสตร์ตาบล และเปิ ดงานแหล่งท่องเที่ยว โดยชุมชน ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี
จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
วนั ทจ่ี ดั กจิ กรรม 19 พฤศจิกายน 2564
สถานทีจ่ ดั กจิ กรรม ณ สระ 200 ไร่ หมทู่ ่ี 5 ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
รายละเอยี ดกจิ กรรม เตรียมงานเปิ ดแหลง่ ท่องเที่ยว และเปิ ดแหล่งท่องเที่ยวโดยมนี ายอาเภอมาเป็นประธานใน
พิธี มีการจดั ใหช้ าวบา้ นไดม้ าขายของในงาน โดยจดั งานใหเ้ ป็นไปตามมาตรการควบคุมโรค
กจิ กรรมท่ี 3 ส่งเสริม และสนับสนุนองค์ความรู้เทคโนโลยดี ้านต่าง ๆ บริการวชิ าการให้ชุมชน
กจิ กรรม อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการเพ่ือถ่ายทอดองคค์ วามรูด้ า้ นต่าง ๆ ใหช้ ุมชน
วนั ท่จี ดั กจิ กรรม 20 ตุลาคม 2564
สถานที่จดั กจิ กรรม ณ ศาลาหม่ทู ่ี 2 ตาบลไทรทอง อาเภอชยั บุรี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
รายละเอยี ดกจิ กรรม อบรมเรื่อง การปลกู ผกั ปลอดสารพษิ และทาระบบฟาร์มอจั ฉริยะ