The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 กลุ่ม 6A

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aisawan2561, 2022-03-06 10:25:57

พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 กลุ่ม 6A

พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 กลุ่ม 6A

พระราชบัญญัติ
วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท

พ.ศ. ๒๕๕๙

SEC.A

นางสาวธิดารัตน์ อุตรสัก 6201210118

นางสาววิภาวี สวัสดิ์พล 6201210163

นางสาวกีรติ วรรณมะกอก 6201210224
6201210255

นายศราวุฒิ เป็งมูล
นางสาวณัฐธีรา อุดมพิทักษ์เดชา 6201210521

นางสาวณิชกมล พงค์กลาง 6201210989


เสนอ
อาจารย์ขัตติยาพร คนเที่ยง

พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙

พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
สมควรปรับปรุงบทบัญญัติเกี่ยวกับองค์ประกอบของคณะ พ.ศ. ๒๕๑๘ ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานานแล้ว บทบัญญัติ
กรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท การขออนุญาต บางประการไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบันซึ่งมี
สภาพปัญหาเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ที่ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น
และการออก ใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ หน้าที่ของผู้รับ
อนุญาต หน้าที่ของเภสัชกร การโฆษณาและอำนาจหน้าที่ของ สมควรปรับปรุง

พนักงานเจ้าหน้าที่

ปรับปรุงบทกำหนดโทษและอัตรา เหตุผลในการประกาศ เพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับด่านตรวจ
ค่าธรรมเนียมให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ สอบวัตถุออกฤทธิ์และการให้โอกาส
แก่ผู้เสพ เสพและมีไว้ในครอบครอง
เสพและมีไว้ในครอบครองเพื่อขาย
หรือเสพและขายซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ ได้
สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาใน

สถานพยาบาล



เพิ่มบทบัญญัติการจัดแบ่งประเภท กำหนดบทนิยามเพื่อให้สอดคล้องกับเนื้อหาใน พระราชบัญญัติฉบับนี้จะมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด
วัตถุออกฤทธิ์เพื่อให้ประชาชนทราบ บทบัญญัติที่เกี่ยวข้อง และเพื่อให้การบังคับใช้ ๑๘๐ วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ความแตกต่างของวัตถุออกฤทธิ์ใน กฎหมาย มีความชัดเจนตรงตามความมุ่งหมายของ
แต่ละประเภทเนื่องจากมีโทษทาง บทบัญญัตินั้น เช่น “ผู้อนุญาต” เพิ่มการอนุญาตให้ขาย กล่าวคือ จะมีผลใช้บังคับนับตั้งแต่วันที่ ๑๘ มิถุนายน
อาญาร้ายแรงแตกต่างกัน (กฎหมาย วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ในจังหวัดที่อยู่ในเขต ๒๕๖๐ เป็นต้นไป

เดิมไม่มีกำหนดไว้) (มาตรา ๗) อำนาจด้วย (มาตรา ๔)

เนื้อหาสำคัญของพระราชบัญญัติ ระยะเวลาการใช้บังคับของพระราชบัญญัติ(มาตรา ๒)

สาระสำคัญ

กำหนดเพิ่มระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท กำหนดองค์ประกอบและอำนาจ
ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเป็น ๓ ปี และ พ.ศ. ๒๕๕๙ แบ่งเป็น ๑๒ หมวด ดังนี้ หน้าที่ของคณะกรรมการวัตถุที่ออก
เมื่อครบกำหนดตามวาระแล้ว หากยังมิได้มี
การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ หมวด ๑ คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิต ฤทธิ์ต่อจิตและประสาท โดยเพิ่ม
ให้กรรมการนั้นอยู่ในตำแหน่งเพื่อดำเนิน และประสาท (มาตรา ๘ – มาตรา ๑๓) อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรม
งานต่อไปจนกว่ากรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้ง คุมประพฤติอธิบดีกรมสนับสนุน
ใหม่เข้ารับหน้าที่ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง บริการสุขภาพ นายกแพทยสภา และ
นายกสภาเภสัชกรรม เพื่อให้องค์
ในการปฏิบัติหน้าที่ (มาตรา ๙) ประกอบของคณะกรรมการมีความ

เหมาะสมยิ่งขึ้น (มาตรา ๘)

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ความหมาย

วัตถุออกฤทธิ์ = วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทที่เป็นสิ่งธรรมชาติ หรือวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
เป็นวัตถุสังเคราะห์
วัตถุตํารับ = สิ่งปรุงไม่ว่าจะมีรูปลักษณะใดที่มีวัตถุออกฤทธิ์รวมอยู่ด้วย ทั้งนี้ รวมท้ังวัตถุออกฤทธิ์ที่มี
ลักษณะเป็นวัตถุสําเร็จรูปทางเภสัชกรรมซึ่งพร้อมที่จะนําไปใช้แก่คน หรือสัตว์

วัตถุตํารับยกเว้น = วัตถุตํารับที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดให้ได้รับการยกเว้นจากมาตรการควบคุมบาง
ประการสําหรับวัตถุออกฤทธิ์ที่มีอยู่ในวัตถุตํารับ

ฉลาก = รูป รอยประดิษฐ์ เครื่องหมายหรือข้อความใด ๆ ซึ่งแสดงไว้ที่ภาชนะหรือหีบห่อบรรจุภัณฑ์

เอกสารกํากับวัตถุออกฤทธิ์ = กระดาษหรือสิ่งอื่นใดที่ทําให้ปรากฏความหมายด้วยรูป รอยประดิษฐ์
เครื่องหมายหรือข้อความ

ผลิต = ทำ ผสม ปรุง แปรสภาพ เปลี่ยนรูป สังเคราะห์ เพาะ

ขาย = จำหน่าย จ่าย แจกแลกเปลี่ยน ให้ ส่งมอบเพื่อขาย

นำเข้า = นำหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักร

ส่งออก = นำหรือส่งออกไปนอกราชอาณาจักร

นำผ่าน = นำหรือส่งผ่านราชอาณาจักร ไม่รวมการนำหรือส่งวัตถุออกฤทธิ์ผ่านราชอาณาจักร

เสพ = การรับวัตถุออกฤทธิ์เข้าสู่ร่างกายโดยรู้อยู่ว่าเป็นวัตถุออกฤทธิ์ไม่ว่าด้วยวิธีใด

ติดวัตถุออกฤทธิ์ = เสพวัตถุออกฤทธิ์เป็นประจำติดต่อกันจนตกอยู่ในสภาพที่จำเป็นต้องพึ่งวัตถุออฤทธิ์

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ความหมาย

การบำบัดรักษา = การบำบัดรักษาผู้ติดวัตถุออกฤทธิ์รวมตลอดถึงการฟื้ นฟูสมรรถภาพและติดตามผล

สถานพยาบาล = โรงพยาบาล สถานพยาบาล สถานพักฟื้ นหรือสถานที่อื่นใดที่ให้ดารบำบัดรักษาผู้เสพ
หรือผู้ติดวัตถุออกฤทธิ์
สถานที่ = อาคารหรือส่วนของอาคาร และให้หมายความรวมถึงบริเวณของอาคารนั้น
เภสัชกร = ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเภสัชกรรม

ข้อความ = เรื่องราวหรือข้อเท็จจริงไม่ว่างจะปรากฎในรูปแบบของตัดอักษร ภาพ ภาพลักษณ์ แสง
เสียง หรือเครื่องใหม่

โฆษณา = การเผยแพร่หรือการสื่อความหมายไม่ว่ากระทำโดยวิธีใด ๆ ให้ประชาชนเห็น

หน่วยงานของรัฐ = ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการ ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การ
มหาชน และหน่วยงานอื่นของรัฐ

ผู้รับอนุญาต = ผู้ได้รับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่นิติบุคคลเป็นผู้รับใบอนุญาต

ผู้อนุญาต = เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา, ผู้ว่าราชการจังหวัดในจังหวัดอื่นนอกจาก
กรุงเทพมหานคร

คณะกรรมการ = คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท

พนักงานเจ้าหน้าที่ = ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติ

เลขาธิการ = เลขาการคณะกรรมการอาหารและยา

รัฐมนตรี = รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติ

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๑
คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท

มาตรา ๘
"คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท"

มาตรา ๑๐ มาตรา ๙
นอกจาการพ้นตำแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรง
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดำรงตำแหน่ ง

คุณวุฒิพ้นจากตำแหน่ งเมื่อ คราวละสามปี

ตาย มาตรา ๑๑
ลาออก การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมา

รัฐมนตรีให้ออก ประชุมไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่ งของจํานวนกรรมการ

เป็นคนไร้ความสามารถ ทั้งหมด
ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดจำคุก

เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดกระทำโดย

ประมาท
ถูกสั่ งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบ

วิชาชีพเวชกรรมใบอนุญาติประกอบโรคศิ ลป์

มาตรา ๑๒ มาตรา ๑๓ ให้คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะ

ให้คณะกรรมการมีอํานาจหน้ าที่ อนุกรรมการเพื่อพิจารณา ศึ กษาหรือวิจัยเกี่ยวกับ

ให้คำแนะนำต่อรัฐมนตรีเพื่อปฏิบัติการตาม เรื่องที่อยู่ในอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ และ

มาตรา ๗ ให้นําความในมาตรา ๑๑ มาใช้บังคับแก่การประชุม

ให้ความเห็นชอบต่อผูอนุญาติในการขึ้ นทะเบียน ของคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
วัตถุตำหรับ
เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีในการออกกฎ
กระทรวง
ให้ความเห็นต่อผู้อนุญาตในการปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัตินี้
ปฏิบัติการอื่นตามที่พระราชบัญญัติให้เป็น
อำนาจหน้ าที่ของคณะกรรมการ

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๒
การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์

มาตรา ๑๔ ห้ามผู้ใดผลิต ขาย นํ าเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ เว้นแต่
ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาตเฉพาะในกรณี จําเป็น



มาตรา ๑๕ ห้ามผู้ใดผลิตนำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒
เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาตเฉพาะ

๑) มีความจําเป็นเพื่อประโยชน์ ของทางราชการ
๒) เป็นผู้ได้รับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุขโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
๓) เป็นการผลิตเพื่อส่งออกและส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ บางชนิ ดที่

รัฐมนตรีประกาศระบุชื่อตามมาตรา ๗

มาตรา ๑๖ ห้ามผู้ใดขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต

มาตรา ๑๗ ผู้อนุญาตอาจอนุญาตให้ยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งสาธารณะระหว่าง
ประเทศที่จดทะเบียนในราชอาณาจักร นํ าเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์
ในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ในปริมาณเท่าที่จําเป็นต้องใช้ประ
จําในการปฐมพยาบาลหรือในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในยานพาหนะนั้ นได้

มาตรา ๑๘ บทบัญญัติมตรา ๑๕ ไ่ม่ใช้บังคับแก่
๑) การนํ าวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ติดตัวเข้ามาในหรือออกไปนอกราชอาณาจักร
ไม่เกินปริมาณที่จําเป็นต้องใช้รักษาเฉพาะตัวภายในสามสิบวัน โดยมีหนั งสือรับรอง

ของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
๒) การนํ าเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ในปริมาณเท่าที่จําเป็นต้อง
ใช้ประจําในการปฐมพยาบาลหรือในกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ นในยานพาหนะที่ใช้ในการ

ขนส่งสาธารณะ ระหว่างประเทศ ซึ่งไม่ได้จดทะเบียนในราชอาณาจักร

มาตรา ๑๙ ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้ขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ได้เมื่อ
ปรากฏว่าผู้ขออนุญาตเป็น

มาตรา ๒๐ ห้ามผู้ใดผลิต ขาย นําเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓
หรือประเภท ๔ หรือนําผ่านซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท เว้นแต่ได้รับใบ
อนุญาตจากผู้อนุญาต

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๒
การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์

มาตรา ๒๑ บทบัญญัติมาตรา ๒๐ ไม่ใช้บังคับแก่
๑) การผลิตซึ่งกระทำโดยการปรุง การแบ่งบรรจุหรือการรวบรวมบรรจุ

วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท๓ หรือประเภท ๔ ของเภสัชกรผู้มีหน้ าที่ควบคุมการ

ขายตามมาตรา ๕๑ เฉพาะตามใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาเวชกรรม หรือผู้

ประกอบวิชาชีพทันตกรรมสำหรับคนไข้เฉพาะราย
๒) การผลิต ขาย นํ าเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓

หรือประเภท ๔โดยกระทรวง ทบวง กรม และสภากาชาดไทย หรือ

หน่ วยงานของรัฐตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด

๓) การขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ในสถานพยาบาลตาม
กฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผู้ประกอบ
วิชาชีพทันตกรรม
๔) การนําวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ติดตัวเข้ามาในหรือออกไปนอก
ราชอาณาจักรไม่เกินปริมาณที่จำเป็นต้องใช้รักษา

๕) การนําเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ในปริมาณ
เท่าที่จําเป็นต้องใช้ประจําในการปฐมพยาบาลหรือในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในยานพาหนะ

ที่ใช้ในการขนส่งสาธารณะระหว่างประเทศ ซึ่งไม่ได้จดทะเบียนในราชอาณาจักร

มาตรา ๒๒ ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้ผลิต ขายหรือนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ใน
ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ได้เมื่อปรากฎว่าผู้ขออนุญาต

มาตรา ๒๓ ใบอนุญาตตามมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕ มาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐ มาตรา ๘๘
และมาตรา ๑๐๐ ให้คุ้มกันถึงลูกจ้างหรือตัวแทนของผู้รับอนุญาตด้วย

มาตรา ๒๔ ใบอนุญาตตามมาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๘ (๑) และมาตรา ๘๘ ให้ใช้ได้
จนถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคมของปีที่ออกใบอนุญาต ถ้าผู้รับอนุญาตประสงค์จะขอ
ต่ออายุ ใบอนุญาตต้องยื่นคําขอก่อนใบอนุญาตสิ้นอายุ เมื่อได้ยื่นคําขอแล้วจะ
ประกอบกิจการต่อไปก็ได้ จนกว่าผู้อนุญาตจะสั่งไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบ
อนุญาตนั้ น

มาตรา ๒๕ ในกรณีผู้อนุญาตไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาตผู้

ขออนุญาตหรือผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนั งสือต่อรัฐมนตรีภายใน

สามสิบวันนั บแต่วันที่ได้รับหนั งสือของผู้อนุญาตแจ้งการไม่ออกใบอนุญาติหรือไม่

อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาต

มาตรา ๒๖ ให้ผู้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติการตาม

กฎหมายว่าด้วยยาอีก

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๒ หมวด ๓ หมว
ด ๔



การขออนุญาตและการออกใบ หน้ าที่ของผู้รับอนุญาต หน้ าที่ของเภสั ชกร
อนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ (มาตรา ๒๗ – มาตรา ๔๗) (มาตรา ๔๘ – มาตรา ๕๖)
(มาตรา ๑๔ – มาตรา ๒๖)

(๑) วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑

การผลิต ขาย นำเข้า การนำผ่าน การมีไว้ในครอบครอง
หรือส่ งออก หรือใช้ประโยชน์

- ต้องได้รับใบอนุญาตจาก - ต้องได้รับใบอนุญาตจาก รายละเอียดอยู่ในหมวด ๑๐
ผู้อนุญาต ซึ่งกำหนดให้ ผู้อนุญาต มาตรการควบคุมพิเศษ
เฉพาะกรณี จำเป็นเพื่อ (หลักการตามกฎหมายเดิม) (มาตรา ๘๘ มาตรา ๘๙ และ
ประโยชน์ ของทาง (มาตรา ๒๐ วรรคหนึ่ ง) มาตรา ๙๐)
ราชการเท่านั้น เพื่อให้มี
การอนุญาตในขอบเขตของ - กำหนดบทสันนิ ษฐาน
การดำเนิ นการเพื่อ สำหรับฐานความผิดการนำ
ประโยชน์ ของทางราชการ ผ่านเพื่อขาย ซึ่งจะนำไปสู่
(กฎหมายเดิมห้ามการ การลงโทษที่หนั กขึ้น
ดำเนิ นการ แต่ไม่ใช้บังคับ (มาตรา ๒๐ วรรคสาม)
แก่กระทรวงสาธารณสุข
หรือผู้ได้รับมอบหมายจาก
กระทรวสาธารณสุข)

(มาตรา ๑๔ วรรคหนึ่ ง)

- กำหนดบทสันนิ ษฐานสำหรับ
ฐานความผิดการผลิต นำเข้า
หรือส่งออก เพื่อขายซึ่งจะนำไป
สู่การลงโทษที่หนั กขึ้น
(มาตรา ๑๔ วรรคสาม)

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๒) วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒

การผลิต นำเข้า การขาย การนำผ่าน
หรือส่ งออก

- ต้องได้รับใบอนุญาตจาก - ต้องได้รับใบอนุญาตจาก - ต้องได้รับใบอนุญาตจาก
ผู้อนุญาต ซึ่งกำหนดให้ ผู้อนุญาต (กฎหมายเดิม ผู้อนุญาต (หลักการตาม
เฉพาะกรณี จำเป็นเพื่อ ไม่มีการอนุญาตให้ขาย กฎหมายเดิม) (มาตรา ๒๐
ประโยชน์ ของทาง มีเพียงการอนุญาตให้มี วรรคหนึ่ ง)
ราชการ กรณีเป็นผู้ได้รับ ไว้ในครอบครองโดย
มอบหมายจากกระทรวง แพทย์เท่านั้ น) เพื่อให้การ - กำหนดบทสันนิ ษฐาน
สาธารณสุข และกรณี อนุญาตตรงตามความเป็น สำหรับฐานความผิดการ
เป็นการผลิตเพื่อส่ งออก จริงในทางปฏิบัติ สามารถ นำผ่านเพื่อขายซึ่งจะนำไป
และส่ งออกตามประกาศ ตรวจสอบและกำกับดูแล สู่ การลงโทษที่หนั กขึ้ น
ของรัฐมนตรีเท่านั้ น การกระจายยาได้รัดกุม (มาตรา ๒๐ วรรคสาม)
(กฎหมายเดิมห้ามการ ยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับ
ดำเนิ นการ เว้นแต่เป็นการ กฎหมายว่าด้วยยาเสพติด
ผลิตเพื่อส่ งออกและส่ ง ให้โทษ (มาตรา ๑๖)
ออกตามประกาศของ
รัฐมนตรี และไม่ใช้บังคับ - กำหนดคุณสมบัติของ
แก่กระทรวงสาธารณสุข ผู้ขอรับใบอนุญาต
หรือผู้ได้รับมอบหมายจาก (มาตรา ๑๙)
กระทรวงสาธารณสุข)
(มาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ ง)

- ผู้ขออนุญาตเป็นผู้รับผิดชอบ - การต่ออายุใบอนุญาต
ชำระค่าใช้จ่ายในการตรวจ ให้ยื่นคำขอก่อนใบอนุญาต
วิเคราะห์หรือประเมินเอกสาร สิ้นอายุ และในกรณีที่ใบ
ทางวิชาการ เพื่อมิให้เป็นภาระ อนุญาตสิ้ นอายุไม่เกิน
กับเงินงบประมาณของทาง สามสิบวัน ให้ยื่นคำขอผ่อน
ราชการ (มาตรา ๑๕ วรรคสาม) ผันการต่ออายุใบอนุญาตได้
(มาตรา ๒๔)
- ต้องจัดให้มีเภสัชกรอยู่ประจำ
ควบคุมกิจการตามเวลาที่เปิด
ทำการซึ่งระบุไว้ในใบอนุญาต
(มาตรา ๓๐) (กฎหมายเดิมไม่มี
กำหนดไว้)

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๒) วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒

การผลิต นำเข้า การขาย กรณียกเว้น ไม่ต้องขอรับ
หรือส่ งออก ใบอนุญาต (มาตรา ๑๘)

- กำหนดหน้ าที่ของผู้รับ * กรณีเป็นหน่วยงานของรัฐ - การนำเข้าหรือส่งออกใน
อนุญาตขึ้นใหม่ ที่มีการกำหนดหน้ าที่ในการ ปริมาณเท่าที่จำเป็นต้องใช้
(มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ และ บำบัดรักษาหรือป้องกันโรค ประจำในการปฐมพยาบาล
มาตรา ๓๗) สภากาชาดไทย และผู้ประกอบ หรือในกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ น
(กฎหมายเดิม ไม่มีกำหนดไว้) วิชาชีพ (แพทย์/ทันตแพทย์/ ในยานพาหนะที่
สัตวแพทย์) ให้ขายสำหรับ ใช้ในการขนส่ งสาธารณะ
- กำหนดหน้ าที่ของเภสัชกรขึ้น คนไข้/สัตว์ ที่ผู้ประกอบวิชาชีพ ระหว่างประเทศ ซึ่งไม่ได้จด
ใหม่ (มาตรา ๔๘ มาตรา ๕๒ ดังกล่าว ให้การรักษาพยาบาล ทะเบียนในราชอาณาจักร
และมาตรา ๕๔) ณ สถานพยาบาลตามกฎหมาย
(กฎหมายเดิมไม่มีกำหนดไว้) ว่าด้วยสถานพยาบาล หรือ - การนำติดตัวเข้ามาใน
สถานพยาบาลของรัฐ หรือ หรือออกไปนอกราช
สถานพยาบาลสั ตว์ตาม อาณาจักรไม่เกินปริมาณที่
กฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล จำเป็นต้องใช้รักษาเฉพาะ
สัตว์ เพื่อมิให้มีการขายเชิง ตัวภายในสามสิบวัน โดยมี
พาณิชย์ นอกเหนื อจาก หนั งสือรับรองของผู้
วัตถุประสงค์ทางการแพทย์ ประกอบวิชาชีพ (แพทย์/
ทันตแพทย์/สั ตวแพทย์)
* ขายเฉพาะวัตถุออกฤทธิ์ใน
ประเภท ๒ ที่ผู้อนุญาตได้
อนุญาตให้ผลิตหรือนำเข้า
เพื่อมิให้มีการลักลอบขายที่
ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย

- กำหนดหน้ าที่ของผู้รับ
อนุญาตขึ้นใหม่ (มาตรา ๓๓)
(กฎหมายเดิมไม่มีกำหนดไว้)

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๓) วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔

การผลิต ขาย นำเข้า ส่งออก หรือนำผ่าน กรณี ยกเว้น

ไม่ต้องขอรับใบอนุญาต
(มาตรา ๒๑)

- ต้องได้รับใบอนุญาตจาก - ผู้ขอใบอนุญาตส่งออก ต้อง - การผลิตโดยการปรุง การ
ผู้อนุญาต (หลักการตาม มีใบอนุญาตผลิต ขาย หรือ แบ่งบรรจุหรือการรวมบรรจุ
กฎหมายเดิม) นำเข้าแล้ว (กฎหมายเดิมไม่ได้ ของเภสัชกรผู้มีหน้ าที่
(มาตรา ๒๐ วรรคหนึ่ ง) กำหนดไว้) ควบคุมการขายตาม
(มาตรา ๒๒ วรรคสาม) มาตรา ๕๑ เฉพาะตามใบสั่ง
- การต่ออายุใบอนุญาต ให้ยื่น ยาของผู้ประกอบวิชาชีพ
คำขอก่อนใบอนุญาตสิ้ นอายุ - กำหนดเพิ่มหน้ าที่ของผู้รับ (แพทย์/ทันตแพทย์/
และในกรณี ที่ใบอนุญาตสิ้ นอายุ อนุญาต เช่น จัดให้มีการทำ สัตวแพทย์) สำหรับคนไข้/
ไม่เกินสามสิบวัน ให้ยื่นคำขอ บัญชี การแยกเก็บวัตถุออก สั ตว์เฉพาะราย
ผ่อนผันการต่ออายุใบอนุญาตได้ ฤทธิ์เป็นสั ดส่ วนจากยาหรือ
(มาตรา ๒๔) วัตถุอื่น ดำเนิ นการผลิตตาม - การผลิต ขาย นำเข้าหรือ
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ส่งออก โดยกระทรวง ทบวง
- กำหนดบทสันนิ ษฐานสำหรับ ในการผลิตยา (มาตรา ๓๒ กรม และสภากาชาดไทย หรือ
ฐานความผิดการผลิต นำเข้า มาตรา ๓๔ และมาตรา๓๖) หน่ วยงานของรัฐตามที่
ส่งออกหรือนำผ่าน เพื่อขาย ซึ่ง รัฐมนตรีประกาศกำหนด
จะนำไปสู่การลงโทษที่หนั กขึ้น - กำหนดเพิ่มหน้ าที่ของ
(มาตรา ๒๐ วรรคสาม) เภสัชกร เช่น ควบคุมการทำ - การขายในสถานพยาบาล
บัญชี (มาตรา ๔๙ มาตรา ๕๑ ตามกฎหมายว่าด้วยสถาน
- กำหนดคุณสมบัติผู้ขอใบ และมาตรา ๕๓) พยาบาลของผู้ประกอบ
อนุญาตให้ผลิต ขาย หรือนำเข้า วิชาชีพ (แพทย์/ทันตแพทย์/
ต้องมีใบอนุญาตผลิต ขาย หรือ - กำหนดหน้ าที่ของผู้รับ สัตวแพทย์) ซึ่งขายเฉพาะส
นำเข้าซึ่งยาแผนปัจจุบันตาม อนุญาตส่ งออกและเภสั ชกร าหรับคนไข้/สั ตว์ที่ตนให้การ
กฎหมายว่าด้วยยา และมีเภสัชกร (มาตรา ๓๘ และมาตรา ๕๕) รักษาพยาบาล บำบัดหรือ
อยู่ประจำตลอดเวลาที่เปิดทำการ (กฎหมายเดิม ไม่มีกำหนดไว้) ป้องกันโรค
(หลักการตามกฎหมายเดิม)
(มาตรา ๒๒ วรรคหนึ่ ง) - การนำติดตัวเข้ามาในหรือออกไป
นอกราชอาณาจักรไม่เกินปริมาณที่
จำเป็นต้องใช้รักษาเฉพาะตัวภายใน
สามสิบวัน โดยมีหนั งสือรับรองของ
ผู้ประกอบวิชาชีพ

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๒ หมวด ๓ หมว
ด ๔



การขออนุญาตและการออกใบ หน้ าที่ของผู้รับอนุญาต หน้ าที่ของเภสั ชกร
อนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ (มาตรา ๒๗ – มาตรา ๔๗) (มาตรา ๔๘ – มาตรา ๕๖)
(มาตรา ๑๔ – มาตรา ๒๖)

ห้ามผู้รับอนุญาต กำหนดให้การ กำหนดวิธีการ กำหนดให้ผู้รับ
ผลิต ขาย นำเข้า เปลี่ยนแปลงข้อมูล ดำเนิ นการในกรณี อนุญาต
ตามรายการในใบ ผู้รับอนุญาตจะเลิก
หรือเก็บไว้ซึ่ง อนุญาต ต้องมาขอ และผู้ประกอบ
วัตถุออกฤทธิ์ กิจการและกรณี วิชาชีพ (แพทย์/
ทุกประเภท อนุญาต เพื่อให้ ผู้รับอนุญาตตาย
นอกสถานที่ที่ระบุ ข้อมูลในใบอนุญาต เพื่อควบคุมและ ทันตแพทย์/
ไว้ในใบอนุญาต สัตวแพทย์) ซึ่งมีวัตถุ
(มาตรา ๒๗) มีความถูกต้อง ป้องกัน ออกฤทธิ์ในประเภท
และเป็นปัจจุบัน มิให้มีการนำวัตถุ ๓ หรือประเภท ๔ ไว้
การย้าย ออกฤทธิ์ที่เหลืออยู่
เปลี่ยนแปลง หรือ (มาตรา ๔๓) ในครอบครองใน
เพิ่มสถานที่ผลิต ไปใช้ในทาง ปริมาณไม่เกินที่
สถานที่ขาย สถานที่ ที่ไม่ถูกต้อง รัฐมนตรีประกาศ
นำเข้าหรือสถานที่ (มาตรา ๔๔
มาตรา ๔๕ และ กำหนดตาม
เก็บซึ่งวัตถุ มาตรา ๔๖) มาตรา ๙๐
ออกฤทธิ์ทุก (หมวด ๑๐มาตรการ
ประเภท ต้องได้รับ ควบคุมพิเศษ)
กระทรวง ทบวง กรม
อนุญาต สภากาชาดไทย และ
(มาตรา ๔๒) หน่ วยงานของรัฐตาม
ที่รัฐมนตรีประกาศ
กำหนด ต้องเสนอ
รายงานเกี่ยวกับการ
ดำเนิ นกิจการต่อ
เลขาธิการคณะ
กรรมการอาหารและ
ยาเพื่อประโยชน์ ใน
การตรวจสอบและ
ควบคุมวัตถุออกฤทธิ์
(มาตรา ๔๗)

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘

ห้ามผู้รับอนุญาตผู้ใดผลิตขายนำเข้าหรือเก็บไว้ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท ผู้อนุญาตอาจออกใบอนุญาตให้ผู้รับอนุญาตขายวัตถุออก
นอกสถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาต ฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ นอกสถานที่ที่ระบุไว้ใน
ใบอนุญาตได้ในกรณีดังต่อไปนี้
มาตรา ๒๙ (๑) การขายส่งตรงแก่ผู้รับอนุญาตอื่นตามพระราชบัญญัตินี้
หรือแก่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมผู้ประกอบวิชาชีพทันต
ผู้รับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 5 กรรมหรือผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่งกรมการ
จะขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 5 ใต้โดยมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (๒) การขายในบริเวณสถานที่ที่มีการประชุมของผู้ประกอบ
(๑) ขายเฉพาะสําหรับคนไข้ที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือ วิชาชีพเวชกรรมผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรมผู้ประกอบ
ผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรมให้การรักษาพยาบาล ณ สถาน วิชาชีพเภสัชกรรมหรือผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้น
พยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลหรือสถาน หนึ่งการขออนุญาตและการออกใบอนุญาตให้เป็นไปตาม
พยาบาลของรัฐหรือขายเฉพาะสำหรับใช้กับสัตว์ที่ผู้ประกอบ หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนด
วิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่งทำการบำบัดหรือป้องกันโรค
ณ สถานพยาบาลสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลสัตว์
และ
(๒) ขายเฉพาะวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ที่ผู้อนุญาตได้
อนุญาตให้ผลิตหรือนำเข้าความใน (๑) ไม่ใช้บังคับแก่ผู้รับ
อนุญาตตามมาตรา ๓๙ (๒) และ (๓) แต่ต้องปฏิบัติตาม
เงื่อนไขการขายเลขาธิการประกาศทําหนดโดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการ

มาตรา ๓๐ หมวดที่ ๓
หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
ผู้รับอนุญาตผลิตนำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ใน
ประเภท 5 ตามมาตรา ๑๕ ผู้รับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ใน

ประเภท ๒ ตามมาตรา ๑๓ (๓) และผู้รับอนุญาตผลิตขายนำ
เข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ มาตรา ๓๑
ตามมาตรา ๒๐ ต้องจัดให้มีเภสัชกรอยู่ประจําควบคุมกิจการ
ตามเวลาที่เปิดทำการซึ่งระบุไว้ในใบอนุญาตเภสัชกรมิได้ ให้ผู้รับอนุญาตผลิตวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ปฏิบัติดังต่อไปนี้
ประจำควบคุมกิจการ (๑) จัดให้มีการวิเคราะห์วัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิตขึ้นก่อนนำออกจากสถานที่ผลิต
โดยต้องมีการวิเคราะห์ทุกครั้งและมีหลักฐานแสดงรายละเอียดของการ
วิเคราะห์ซึ่งต้องเก็บรักษาไว้ไม่น้อยกว่าสิบปีนับแต่วันวิเคราะห์
(๒) จัดให้มีฉลากสำหรับวัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิตหรือจัดให้มีฉลากและเอกสาร
กำกับวัตถุออกฤทธิ์สำหรับวัตถุตำรับที่ผลิตทั้งนี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธี
การและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๓) จัดให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยาหรือวัตถุอื่น
(๔) จัดให้มีการทำบัญชีเกี่ยวกับการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ตามหลักเกณฑ์วิธีการ
และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๕) ดำเนินการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขในการ
ผลิตยาตามกฎหมายว่าด้วยยา

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓

ให้ผู้รับอนุญาตผลิตวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ให้ผู้รับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ปฏิบัติดังต่อ
ปฏิบัติดังต่อไปนี้ ไปนี้รายการ
(๑) จัดให้มีป้ายแสดงว่าเป็นสถานที่ผลิตวัตถุออกฤทธิ์กับป้ายแสดงชื่อ (๑) ดูแลให้มีฉลากและเอกสารกำกับวัตถุออกฤทธิ์ซึ่งมี
และเวลาทําการของเภสัชกรไว้ในที่เปิดเผยเห็นได้ง่ายจากภายนอก ข้อมูลครบถ้วนตามที่ผู้รับอนุญาตผลิตหรือนำเข้าจัดไว้
อาคาร ณ สถานที่ผลิตลักษณะและขนาดของป้ายและข้อความแสดง (๒) จัดให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยา
ในป้ายให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกาหนดโดยประกาศในราชกิจจา หรือวัตถุอื่น
นุเบกษา (๓) จัดให้มีการทำบัญชีเกี่ยวกับการขายวัตถุออกฤทธิ์ตาม
(๒) จัดให้มีการวิเคราะห์วัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิตขึ้นก่อนนำออกจากสถาน หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนดโดย
ที่ผลิตโดยต้องมีการวิเคราะห์ทุกครั้งและมีหลักฐานแสดงรายละเอียด ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ของการวิเคราะห์ซึ่งต้องเก็บรักษาไว้ไม่น้อยกว่าสิบปีนับ แต่วัน
วิเคราะห์ หมวดที่ ๓
(๓) จัดให้มีฉลากสำหรับวัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิตหรือจัดให้มีฉลากและเอก หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
สารกํากับวัตถุออกฤทธิ์ตามที่ได้ขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับไว้ทั้งนี้ให้เป็น
ไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำาหนดโดย

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๔) จัดให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยาหรือวัตถุอื่น มาตรา ๓๖
(๕) จัดให้มีการทําบัญชีเกี่ยวกับการผลิตและการขายวัตถุออกฤทธิ์
ตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนดโดย ให้ผู้รับอนุญาตนำเข้าชิงวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ประเภท 4 ปฏิบัติดังต่อไปนี้
(๖) ดำเนินการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขใน (๑)จัดให้มีป้ายแสดงว่าเป็นสถานที่นำเข้าวัตถุออกฤทธิ์กับป้าย
การผลิตยาตามกฎหมายว่าด้วยยา แสดงชื่อและเวลาทําการของเภสัชกรไว้ในที่เปิดเผยเห็นได้ง่าย
จากภายนอกอาคาร ณ สถานที่นำเข้าลักษณะและขนาดของ
มาตรา ๓๔ ป้ายและข้อความที่แสดงในป้ายให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ
กำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ให้ผู้รับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท (๒)จัดให้มีใบรับรองของผู้ผลิตซึ่งแสดงรายละเอียดการ
๔ ปฏิบัติดังต่อไปนี้ วิเคราะห์วัตถุออกฤทธิ์ที่นําเข้า
(๑) จัดให้มีป้ายแสดงว่าเป็นสถานที่ขายวัตถุออกฤทธิ์กับป้าย (๓)จัดให้มีฉลากสำหรับวัตถุออกฤทธิ์ที่นำเข้าหรือจัดให้มีฉลาก
แสดงชื่อและเวลาทําการของเภสัชกรไว้ในที่เปิดเผยเห็นได้ง่าย และเอกสารกำกับวัตถุออกฤทธิ์ตามที่ได้ขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับ
จากภายนอกอาคาร ณ สถานที่ขายลักษณะและขนาดของ ไว้ทั้งนี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรม
ป้ายและข้อความที่แสดงในป้ายให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ การกำาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๔)จัดให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยาหรือ
(๒) ดูแลให้มีฉลากและเอกสารกำกับวัตถุออกฤทธิ์ซึ่งมีข้อมูล วัตถุอื่น
ครบถ้วนตามที่ผู้รับอนุญาตผลิตหรือนำเข้าจัดไว้ (๕)จัดให้มีการทําบัญชีเกี่ยวกับการนำเข้าและการขายวัตถุ
(๓) จัดให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยาหรือ ออกฤทธิ์ตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการ
วัตถุอื่นนักงานกระทรวง กำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๔) จัดให้มีการทำบัญชีเกี่ยวกับการขายวัตถุออกฤทธิ์ตามหลัก
เกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนดโดยประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๓๕

ให้ผู้รับอนุญาตนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ปฏิบัติดังต่อไปนี้
(๑)จัดให้มีใบรับรองของผู้ผลิตซึ่งแสดงรายละเอียดการวิเคราะห์วัตถุออก
ฤทธิ์ที่นำเข้า
(๒)จัดให้มีฉลากสำหรับวัตถุออกฤทธิ์ที่นำเข้าหรือจัดให้มีฉลากและ
เอกสารกำกับวัตถุออกฤทธิ์สำหรับวัตถุตำรับที่นำเข้าทั้งนี้ให้เป็นไปตาม
หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำาหนดโดยประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา
(๓)จัดให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยาหรือวัตถุอื่น
(๔)จัดให้มีการทำบัญชีเกี่ยวกับการนำเข้าวัตถุออกฤทธิ์ตามหลักเกณฑ์วิธี
การและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ให้ผู้รับอนุญาตส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ปฏิบัติดังต่อไปนี้ มาตรา ๓๘
(๑) ดูแลให้มีฉลากและเอกสารกำกับวัตถุออกฤทธิ์ซึ่งมีข้อมูลครบถ้วนตาม
ที่ผู้รับอนุญาตผลิตหรือนำเข้าจัดไว้ ให้ผู้รับอนุญาตส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือ
(๒) จัดให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยาหรือวัตถุอื่น ประเภท ๔ ปฏิบัติดังต่อไปนี้
(๓) จัดให้มีการทำบัญชีเกี่ยวกับการส่งออกวัตถุออกฤทธิ์ตามหลักเกณฑ์วิธี (๑)จัดให้มีป้ายแสดงว่าเป็นสถานที่ส่งออกวัตถุออกฤทธิ์กับ
การและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ป้ายแสดงชื่อและเวลาทําการของเภสัชกรไว้ในที่เปิดเผยเห็น
ได้ง่ายจากภายนอกอาคาร ณ สถานที่ส่งออกลักษณะและ
มาตรา ๓๙ ขนาดของป้ายและข้อความที่แสดงในป้ายให้เป็นไปตามที่
คณะกรรมการกำาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
บทบัญญัติมาตรา ๓๐ วรรคหนึ่งมาตรา ๓๑ มาตรา ๒๒ มาตรา ๓๕ (๒)ดูแลให้มีฉลากและเอกสารกำกับวัตถุออกฤทธิ์ซึ่งมีข้อมูล
มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๘ ไม่ใช้บังคับแก่ผู้รับอนุญาตผลิต ครบถ้วนตามที่ผู้รับอนุญาตผลิตหรือนำเข้าจัดไว้
นำเข้าหรือส่งออกเพื่อการศึกษาวิจัยหรือกรณีอื่นตามความจำเป็นเพื่อ (๓)จัดให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยาหรือ
ประโยชน์ของทางราชการตามที่เลขาธิการประกาศกําหนดโดย วัตถุอื่น
ความเห็นชอบของคณะกรรมการ (๔)จัดให้มีการทำบัญชีเกี่ยวกับการส่งออกวัตถุออกฤทธิ์ตาม
หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนดโดย
มาตรา ๔๐ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทำลายในสาระสำคัญให้ผู้รับอนุญาต หมวดที่ ๓
ยื่นคำขอรับใบแทนใบอนุญาตต่อผู้อนุญาตภายในสิบห้าวันนับ แต่วันที่ได้ หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
ทราบถึงการสูญหายหรือถูกทําลายดังกล่าวการขอรับใบแทนใบอนุญาต
และการออกใบแทนใบอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและ

เงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๔๓
มาตรา ๔๑
ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลตามรายการในใบอนุญาต
มาตรา ๔๑ ผู้รับอนุญาตต้องแสดงใบอนุญาตของตนไว้โดยเปิดเผยและ ตามมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕ มาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐ มาตรา
เห็นได้ง่าย ณ สถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาต ๒๘ และมาตรา ๘๘ ให้ผู้รับอนุญาตยื่นคําขอต่อผู้อนุญาตเพื่อ
แก้ไขรายการในใบอนุญาตดังกล่าวภายในสามสิบวันนับ แต่วัน
มาตรา ๔๒ ที่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลนั้น

ห้ามผู้รับอนุญาตย้ายเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มสถานที่ผลิตสถานที่ขายสถาน มาตรา ๔๔
ที่นําเข้าหรือสถานที่เก็บซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภทเว้นแต่ได้รับอนุญาต
จากผู้อนุญาตการขออนุญาตและการอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธี ผู้รับอนุญาตผู้ใดจะเลิกกิจการที่ได้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้แจ้ง
การและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง การเลิกกิจการเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตทราบล่วงหน้าและให้ถือว่า
ใบอนุญาตสิ้นอายุตั้งแต่วันที่เลิกกิจการตามที่แจ้งไว้นั้นผู้รับอนุญาตที่เลิก
กิจการโดยมิได้ปฏิบัติตามวรรคหนึ่งต้องแจ้งการเลิกกิจการเป็นหนังสือให้
ผู้อนุญาตทราบภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่เลิกกิจการและให้ถือว่าใบ
อนุญาตสิ้นอายุตั้งแต่วันที่เลิกกิจการ

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๔๕ มาตรา ๔๖

ให้ผู้รับอนุญาตจึงได้แจ้งการเลิกกิจการไม่ต่ออายุใบอนุญาตหรือผู้ ถ้าผู้รับอนุญาตตายและทายาทหรือผู้ที่ได้รับความยินยอมจาก
อนุญาตไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาตทำลายหรือขายวัตถุออกฤทธิ์ ทายาทแสดงความจำนงต่อผู้อนุญาตเพื่อขอประกอบกิจการที่
ในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ของตนที่เหลืออยู่ในส่วนที่ ได้รับอนุญาตนั้นต่อไปภายในสามสิบวันนับ แต่วันที่ผู้รับ
เกินกว่าที่กฎหมายให้มีไว้ในครอบครองในกรณีที่ขายให้ขายแก่ผู้รับ อนุญาตตายเมื่อผู้อนุญาตตรวจสอบแล้วเห็นว่าผู้นั้นมี
อนุญาตอื่นตามประเภทนั้นหรือแก่ผู้ซึ่งผู้อนุญาตเห็นสมควรทั้งนี้ คุณสมบัติตามมาตรา ๑๙ (๔) หรือมาตรา ๒๒ แล้วแต่กรณีให้
ภายในหกสิบวันนับ แต่วันเลิกกิจการวันที่ใบอนุญาตสิ้นอายุหรือวันที่ ผู้แสดงความจำนงนั้นประกอบกิจการต่อไปได้จนกว่า
ผู้อนุญาตไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาตแล้วแต่กรณีเว้นแต่ผู้อนุญาต ใบอนุญาตสิ้นอายุและให้ถือว่าผู้แสดงความจำนงเป็นผู้รับ
จะผ่อนผันขยายระยะเวลาต่อไปอีกแต่ต้องไม่เกินหกสิบวัน อนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วันที่ผู้รับอนุญาตตาย

หมวดที่ ๓
หน้าที่ของผู้รับอนุญาต




มาตรา ๔๗

ผู้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕ มาตรา ๑๖ มาตรา ๒๐
หรือมาตรา ๘๔ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมผู้ประกอบวิชาชีพ
ทันตกรรมหรือผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่งซึ่งมีวัตถุ
ออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ไว้ในครอบครองใน
ปริมาณไม่เกินที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดตามมาตรา ๙๐ รวมทั้ง
กระทรวงทบวงกรมและสภากาชาดไทยหรือหน่วยงานของรัฐตาม
ที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดที่ได้ดำเนินกิจการเกี่ยวกับการผลิตการ
ขายการนำเข้าการส่งออกการนำผ่านหรือการมีไว้ในครอบครอง
ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ที่มิใช่วัตถุตำรับยกเว้นต้องเสนอรายงานเกี่ยวกับ
การดำเนินกิจการดังกล่าวต่อเลขาธิการ

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ให้เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ปฏิบัติ มาตรา ๔๙
ดังต่อไปนี
(๑) ควบคุมการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท
(๒) ควบคุมให้มีฉลากและเอกสารกำกับวัตถุออกฤทธิ์ตามมาตรา ๓๑ ๓ หรือประเภท ๔ ปฏิบัติดังต่อไปนี้
(๓) ควบคุมให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยาหรือวัตถุอื่น (๑) ควบคุมการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ให้เป็นไปตามพระราช
(๔) ควบคุมการทําบัญชีเกี่ยวกับการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ตามหลักเกณฑ์วิธี บัญญัตินี้
การและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๒) ควบคุมให้มีฉลากและเอกสารกำกับวัตถุออกฤทธิ์ตาม
กฤษฎีกา มาตรา ๓๒
(๕) ต้องอยู่ประจําควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เปิดทําการ (๓) ควบคุมให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยา
หรือวัตถุอื่น
มาตรา ๕๐ (๔) ควบคุมการทำบัญชีเกี่ยวกับการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ตาม
หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนดโดย
ให้เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมการขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ปฏิบัติดังต่อไปนี้ (๕) ต้องอยู่ประจําควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เปิดทําการ
(๑)ควบคุมการขายวัตถุออกฤทธิ์ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้
(๒) ควบคุมการปฏิบัติเกี่ยวกับฉลากและเอกสารกำกับวัตถุออก
ฤทธิ์ตามมาตรา ๓๓
(๓) ควบคุมให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยา
หรือวัตถุอื่น
(๔) ควบคุมการทำบัญชีเกี่ยวกับการขายวัตถุออกฤทธิ์ตามหลัก
เกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนดโดยประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาบรม
(๕) ต้องอยู่ประจำควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เปิดทำการ

หมวดที่ ๔
หน้าที่ของเภสัชกร




มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒

ให้เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมการขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ให้เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมการนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทปฏิบัติ
ปฏิบัติดังต่อไปนี้ ดังต่อไปนี้
(๑)ควบคุมการขายวัตถุออกฤทธิ์ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ (๑) ควบคุมการนำเข้าวัตถุออกฤทธิ์ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้
(๒)ควบคุมการปฏิบัติเกี่ยวกับฉลากและเอกสารกำกับวัตถุออกฤทธิ์ตามมาตรา๓๔ (๒) ควบคุมการปฏิบัติเกี่ยวกับฉลากและเอกสารกำกับวัตถุออกฤทธิ์ตาม
(๓)ควบคุมให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยาหรือวัตถุอื่น มาตรา ๓๕ (๒)
(๔)ควบคุมการปรุงหรือการแบ่งบรรจุวัตถุออกฤทธิ์ให้เป็นไปตามใบสั่งยาของผู้ (๓) ควบคุมให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยาหรือวัตถุอื่น
ประกอบวิชาชีพตาม (๕) (๔) ควบคุมการทำบัญชีเกี่ยวกับการนำเข้าวัตถุออกฤทธิ์ตามหลักเกณฑ์วิธี
(๕)ดูแลให้มีฉลากสำหรับวัตถุออกฤทธิ์ที่ปรุงหรือแบ่งบรรจุตามใบสั่งยาของผู้ การและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ประกอบวิชาชีพเวชกรรมผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรมหรือผู้ประกอบวิชาชีพการ (๕) ต้องอยู่ประจำควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เปิดทำการ
สัตวแพทย์ชั้นหนึ่งทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๖)ควบคุมการส่งมอบวัตถุออกฤทธิ์ให้ถูกต้องตามใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาชีพ
(๗)ควบคุมการทำบัญชีเกี่ยวกับการขายวัตถุออกฤทธิ์ตามหลักเกณฑ์วิธีการและ
เงื่อนไขที่คณะกรรมการกาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๘)ควบคุมมิให้มีการขายวัตถุออกฤทธิ์แก่ผู้ซึ่งไม่มีใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาชีพ
ตาม (๔) หรือแก่ผู้ซึ่งไม่ได้รับใบอนุญาตผลิตขายหรือนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์
(๙)ต้องอยู่ประจำควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เปิดทำการ

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ให้เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมการนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภทหรือ มาตรา ๕๔
ประเภท ๔ ปฏิบัติดังต่อไปนี้
(๑) ควบคุมการนำเข้าวัตถุออกฤทธิ์ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมการส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ใน
(๒) ควบคุมการปฏิบัติเกี่ยวกับฉลากและเอกสารกำกับวัตถุออกฤทธิ์ตาม ประเภท๒ ปฏิบัติดังต่อไปนี้
มาตรา ๓๖ (๑) ควบคุมการส่งออกวัตถุออกฤทธิ์ให้เป็นไปตามพระราช
(๓) ควบคุมให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยาหรือวัตถุอื่น บัญญัตินี้
(๔) ควบคุมการทำบัญชีเกี่ยวกับการนำเข้าวัตถุออกฤทธิ์ตามหลักเกณฑ์วิธี (๒) ควบคุมการปฏิบัติเกี่ยวกับฉลากและเอกสารกำกับวัตถุ
การและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ออกฤทธิ์ตามมาตรา ๓๗ (๑)
(๕) ต้องอยู่ประจำควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เปิดทำการ (๓) ควบคุมให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจาก
ยาหรือวัตถุอื่น
มาตรา ๕๕ (๔) ควบคุมการทำบัญชีเกี่ยวกับการส่งออกวัตถุออกฤทธิ์
ตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด
ให้เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมการส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ใน โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ประเภทำหรือประเภท ๔ ปฏิบัติดังต่อไปนี้ (๕) ต้องอยู่ประจำควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เปิดทำการ
(๑) ควบคุมการส่งออกวัตถุออกฤทธิ์ให้เป็นไปตาม
พระราชบัญญัตินี้ ๓๔ (๒) หมวดที่ ๔
(๒) ควบคุมการปฏิบัติเกี่ยวกับฉลากและเอกสารกำกับวัตถุ หน้าที่ของเภสัชกร
ออกฤทธิ์ตามมาตรา
(๓) ควบคุมให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยา

หรือวัตถุอื่น
(๔) ควบคุมการทําบัญชีเกี่ยวกับการส่งออกวัตถุออกฤทธิ์ตาม
หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนดโดย
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๕) ต้องอยู่ประจําควบคุมกิจการตลอดเวลาที่เปิดทำการ

มาตรา ๕๖

ในกรณีที่เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมกิจการไม่ประสงค์จะปฏิบัติหน้าที่ต่อ
ไปให้เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมกิจการนั้นแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาต
ทราบภายในเจ็ดวันนับ แต่วันที่พ้นหน้าที่

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

กำหนดห้ามขายวัตถุออกฤทธิ์ในลักษณะยา กำหนดห้ามการผลิต ขาย นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุ
ชุดโดยจัดไว้ล่วงหน้า เพื่อประโยชน์ในการ ออกฤทธิ์ปลอม วัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐาน วัตถุออก
คุ้มครองผู้บริโภค ฤทธิ์ เสื่อมคุณภาพ วัตถุออกฤทธิ์ที่มิได้ขึ้นทะเบียน
(กฎหมายเดิมไม่มีกำหนดไว้) (มาตรา ๖๑) วัตถุตำรับ และวัตถุออกฤทธิ์ที่รัฐมนตรีสั่งเพิกถอน
ทะเบียนวัตถุตำรับ (หลักการตามกฎหมายเดิม)
(มาตรา ๕๗ – มาตรา ๖๐)

หมวด ๕ วัตถุออกฤทธิ์ที่ห้ามผลิต ขาย
นำเข้าหรือส่งออก (มาตรา ๕๗ – มาตรา ๖๑)

ผู้ที่จะผลิตหรือนำเข้าวัตถุตำรับที่มีวัตถุ ผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้รับผิดชอบชำระค่าใช้จ่ายใน
ออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ การตรวจวิเคราะห์หรือประเมินเอกสารทางวิชาการ
(กฎหมายเดิมไม่มีกำหนดไว้) (มาตรา ๖๒ วรรคสี่)
ผสมอยู่ต้องขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับ

หมวด ๖ การรับขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับ การแก้ไขรายการ
การขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับ ทะเบียนวัตถุตำรับ การไม่รับขึ้นทะเบียนวัตถุ
(มาตรา ๖๒ – มาตรา ๖๙) ตำรับ และการขอรับใบแทนใบสำคัญการขึ้น
ทะเบียนวัตถุตำรับ เป็นอำนาจของผู้อนุญาต

(มาตรา ๖๒ วรรคหนึ่ง มาตรา ๖๔ มาตรา
๖๕ และมาตรา ๖๙)

ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับมีอายุ ๕ ปี กำหนดกรณีการสั่งเพิกถอนทะเบียนวัตถุตำรับ
การขอต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุ (หลักการตามกฎหมายเดิม) (มาตรา ๖๘)
ตำรับ ต้องยื่นคำขอก่อนใบสำคัญสิ้นอายุ

(หลักการตามกฎหมายเดิม) (มาตรา ๖๗)

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๕ วัตถุออกฤทธิ์ที่ห้ามผลิต ขาย นําเข้าหรือส่งออก

มาตรา ๕๗ มาตรา ๕๘

ห้ามผู้ใดผลิต ขาย นําเข้าหรือส่งออกซึ่ง วัตถุออกฤทธิ์หรือสิ่ งต่อไปนี้
วัตถุออกฤทธิ์ ดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นวัตถุออกฤทธิ์ปลอม
สิ่ งที่ทําเทียมวัตถุออกฤทธิ์ทั้งหมด
วัตถุออกฤทธิ์ปลอม หรือแต่บางส่ วน
วัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐาน วัตถุออกฤทธิ์ที่แสดงชื่อว่าเป็นวัตถุออกฤทธิ์อื่นหรือ
วัตถุออกฤทธิ์เสื่ อมคุณภาพ แสดงเดือนปีที่วัตถุออกฤทธิ์สิ้ นอายุ ซึ่งไม่ใช่ความ
วัตถุออกฤทธิ์ที่ต้องขึ้ นทะเบียนวัตถุ จริง
ตํารับแต่มิได้ขึ้ นทะเบียนไว้ วัตถุออกฤทธิ์ที่แสดงชื่อหรือเครื่องหมายของผู้ผลิต
วัตถุออกฤทธิ์ที่รัฐมนตรีสั่ งเพิกถอน หรือที่ตั้งของสถานที่ผลิตซึ่งไม่ใช่ความจริง
ทะเบียนวัตถุตํารับ วัตถุออกฤทธิ์หรือสิ่ งที่แสดงว่าเป็นวัตถุออกฤทธิ์
ตามที่กําหนดไว้
วัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิตขึ้ นไม่ถูกต้องตามมาตรฐานถึง
ขนาดสารออกฤทธิ์ขาดหรือเกินกว่าร้อยละสิ บ
ของปริมาณที่กําหนดไว้ไปจากเกณฑ์ต่ำสุด
หรือสูงสุด

วัตถุออกฤทธิ์ที่ มาตรา ๕๙
ห้ามผลิต ขาย นํ า
วัตถุออกฤทธิ์ต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นวัตถุออก
เข้าหรือส่ งออก ฤทธิ์ผิดมาตรฐาน

วัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิตขึ้ นไม่ถูกต้องตาม
มาตรฐานโดยมีสารออกฤทธิ์ขาดหรือ
เกินจากเกณฑ์ต่ำสุดหรือสูงสุด
วัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิตขึ้ นโดยมีความ
บริสุทธิ์หรือลักษณะอื่นซึ่ งมีความสํ าคัญ
ต่อคุณภาพของวัตถุออกฤทธิ์ผิดไปจาก
เกณฑ์ที่กําหนดไว้

มาตรา ๖๑ มาตรา ๖๐

ห้ามผู้ใดขายวัตถุออกฤทธิ์ตั้งแต่สอง วัตถุออกฤทธิ์ต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นวัตถุ
ชนิดขึ้นไปหรือขายวัตถุออกฤทธิ์ และยา ออกฤทธิ์เสื่ อมคุณภาพ
รวมกันหลายขนาน โดยจัดเป็นชุดไว้ล่วง (๑) วัตถุออกฤทธิ์ที่สิ้ นอายุตามที่แสดงไว้
หน้า เพื่อประโยชน์ทางการค้า ในฉลากซึ่งขึ้ นทะเบียนวัตถุตํารับไว้
(๒) วัตถุออกฤทธิ์ที่แปรสภาพจนมี
ลักษณะเช่นเดียวกับวัตถุออกฤทธิ์ปลอม
ตามมาตรา ๕๘ (๕) หรือวัตถุออกฤทธิ์ผิด
มาตรฐานตามมาตรา ๕๙

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๖ การขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับ



มาตรา ๖๒ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔

ผู้รับอนุญาตผลิตหรือนําเข้าซึ่งวัตถุ การขอขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับตามมาตรา ๖๒ การแก้ไขรายการทะเบียนวัตถุตํารับที่
ออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ต้องแจ้งรายการ ดังต่อไปนี้ ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว ต้องได้รับอนุญาต
จะผลิตหรือนําเข้าซึ่งวัตถุตํารับที่มีวัตถุ เป็นหนังสือจากผู้อนุญาต
ออกฤทธิ์ดังกล่าว ต้องขอขึ้นทะเบียน ชื่อวัตถุตํารับ การขอแก้ไขรายการและการอนุญาต
วัตถุตํารับนั้นต่อผู้อนุญาตก่อนและ ชื่อและปริมาณของวัตถุต่าง ๆ อันเป็น แก้ไขรายการทะเบียนวัตถุตํารับ ให้
เมื่อได้รับใบสําคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุ ส่วนประกอบของวัตถุตํารับ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและ
ตํารับแล้วจึงจะผลิตหรือนําเข้าซึ่งวัตถุ ขนาดบรรจุ เงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง
ตํารับนั้นได้ วิธีวิเคราะห์มาตรฐานของส่วนประกอบ
ของวัตถุตํารับ

ฉลาก
เอกสารกํากับวัตถุออกฤทธิ์
ชื่อผู้ผลิตและประเทศที่สถานที่ผลิตตั้งอยู่
รายการอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศ
กำหนด

มาตรา ๖๙ การขึ้ น มาตรา ๖๕
ทะเบียน
ในกรณีที่ใบสําคัญการขึ้นทะเบียน วั ต ถุ ตํ า รั บ ผู้อนุญาตโดยความเห็นชอบของคณะ
วัตถุตํารับสูญหายหรือถูกทำลายใน กรรมการมีอํานาจไม่รับขึ้นทะเบียน
สาระสำคัญ ให้ผู้รับอนุญาตยื่นคํา มาตรา ๖๗ วัตถุตํารับในกรณีดังต่อไปนี้
ขอรับใบแทนใบสําคัญการขึ้นทะเบียน
วัตถุตํารับต่อผู้อนุญาตภายในสิบห้า ใบสําคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับให้ การขอขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับที่ไม่
วันนับแต่วันที่ได้ทราบถึงการสูญหาย มีอายุห้าปีนับแต่วันที่ออกใบสําคัญ ถ้า เป็นไปตามมาตรา ๖๓ หรือตามกฎ
หรือถูกทำลายดังกล่าว ผู้รับใบสําคัญประสงค์จะขอต่ออายุ กระทรวงที่ออกตามมาตรา ๖๒
ใบสําคัญ จะต้องยื่นคําขอก่อน วัตถุตํารับที่ขอขึ้นทะเบียนไม่เป็นที่
มาตรา ๖๘ ใบสําคัญสิ้นอายุ เมื่อได้ยื่นคําขอแล้ว เชื้อถือในสรรพคุณหรืออาจไม่
จะประกอบกิจการต่อไปก็ได้จนกว่าจะ ปลอดภัยแก่ผู้ใช้
เมื่อคณะกรรมการเห็นว่าวัตถุตํารับใด ได้มีคำสั่งไม่ต่ออายุใบสําคัญนั้น วัตถุตํารับที่ขอขึ้นทะเบียนใช้ชื่อ
ที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้แล้วนั้น ต่อมา ในทํานองโอ้อวด ไม่สุภาพหรืออาจ
ปรากฏว่าไม่มีสรรพคุณตามที่ขึ้น ทําให้เข้าใจผิดจากความจริง
ทะเบียนไว้ หรืออาจไม่ปลอดภัยแก่ผู้ใช้ วัตถุตํารับที่ขอขึ้นทะเบียนเป็นวัตถุ
หรือเป็นวัตถุออกฤทธิ์ปลอมหรือใช้ชื่อ ออกฤทธิ์ปลอมตามมาตรา ๕๘ หรือ
ผิดไปจากที่ขึ้นทะเบียนไว้ ให้คณะ เป็นวัตถุตํารับที่รัฐมนตรีสั่งเพิก
กรรมการเสนอต่อรัฐมนตรี และให้ ถอนตามมาตรา ๖๘ คําสั่งไม่รับขึ้น
รัฐมนตรีมีอำนาจสั่งเพิกถอนทะเบียน ทะเบียนวัตถุตํารับของผู้อนุญาตให้
วัตถุตํารับนั้น โดยประกาศในราชกิจ เป็นที่สุด
จานุเบกษา
มาตรา ๖๖

บทบัญญัติมาตรา ๖๕ ให้ใช้บังคับแก่
การแก้ไขรายการทะเบียนวัตถุตํารับ
โดยอนุโลม

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

เป็นการโฆษณาที่ เป็นฉลากหรือเอกสาร
กระทำโดยตรงต่อผู้ กำกับวัตถุออกฤทธิ์ซึ่ง
ประกอบวิชาชีพซึ่งต้อง อยู่ที่ภาชนะหรือหีบห่อ
ได้รับอนุญาตก่อน
(มาตรา ๗๐)

เว้นแต่

หมวด ๗ การโฆษณา ๑) ห้ามโฆษณาวัตถุออกฤทธิ์
(มาตรา ๗๐ – มาตรา ๗๓)

๒) กำหนดเพิ่มบทบังคับ
กรณี ฝ่าฝืนการโฆษณา

ผู้ประกอบการสามารถใช้สิ ทธิอุทธรณ์ ต่อคณะกรรมการวัตถุที่ออก
ฤทธิ์ ต่อจิตและประสาทได้และกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการอุทธรณ์
(กฎหมายเดิมไม่มีกำหนดไว้) (มาตรา ๗๑ – มาตรา ๗๓)

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวดที่ ๗ การโฆษณา

มาตรา ๗๑ มาตรา ๗๐

ในกรณีที่ผู้อนุญาตเห็นว่าการโฆษณาใดฝ่าฝืน ห้ามผู้ใดโฆษณาวัตถุออกฤทธิ์ เว้นแต่
มาตรา ๗๐ วรรคสองหรือมีการใช้ข้อความโฆษณาซึ่ง
ไม่เป็นไปตามที่ได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต ให้ผู้ (๑) เป็นฉลากหรือเอกสารกำกับวัตถุออกฤทธิ์ที่ภาชนะ
อนุญาตมีอำนาจออก คำสั่งอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อ หรือหีบห่อบรรจุวัตถุออกฤทธิ์
ไปนี้ (๒) เป็นการโฆษณาซึ่งกระทำโดยตรงต่อผู้ประกอบ
วิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม ผู้ประกอบ
(๑) ห้ามการโฆษณาหรือห้ามใช้วิธีการนั้นในการโฆษณา วิชาชีพเภสัชกรรมหรือผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์
(๒) ห้ามการใช้ข้อความบางอย่างที่ปรากฏในการโฆษณา ชั้นหนึ่ง การบันทึกเสียงหรือภาพ ต้องได้รับใบอนุญาต
(๓) ให้แก้ไขข้อความหรือวิธีการในการโฆษณา จากผู้อนุญาตก่อนจึงจะใช้โฆษณาได้
(๔) ให้โฆษณาเพื่อแก้ไขความเข้าใจผิดที่อาจเกิดขึ้น
ในการออกคำสั่งตาม (๔) ให้ผู้อนุญาตกำหนดหลักเกณฑ์ มาตรา ๗๒
และวิธีการโฆษณาโดยคำนึงถึงประโยชน์ของประชาชน
กับความสุจริตในการกระทำของผู้ทำการโฆษณา ในกรณีที่ผู้ได้รับคำสั่งของผู้อนุญาตตามมาตรา
๗๑ ไม่เห็นด้วยกับคำสั่งดังกล่าวให้มีสิทธิอุทธรณ์
มาตรา ๗๓
ต่อคณะกรรมการได้
การอุทธรณ์ตามมาตรา ๗๒ ให้ยื่นต่อคณะ
กรรมการภายในสิบสี่วัน นับแต่วันที่ผู้อุทธรณ์ได้

รับทราบคำสั่งของผู้อนุญาต
หลักเกณฑ์การยื่นอุทธรณ์และวิธีพิจารณา
อุทธรณ์ ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีประกาศ

กำหนด
การอุทธรณ์คำสั่ งตามวรรคหนึ่ งไม่เป็นการทุเลา

การบังคับตามคำสั่งของผู้อนุญาต
เว้นแต่คณะกรรมการจะสั่งเป็นอย่างอื่นเป็นการ

ชั่วคราวก่อนการวินิจฉัยอุทธรณ์
คำวินิจฉัยของคณะกรรมการให้เป็นที่สุด

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๘ พนักงานเจ้าหน้าที่
(มาตรา ๗๔ – มาตรา ๗๘)

กำหนดอำนาจหน้ าที่ของ
พนั กงานเจ้าหน้ าที่

ในการตรวจสอบสถานที่ทำการของผู้รับ
อนุญาต ตรวจค้นเคหสถาน บุคคลหรือ
ยานพาหนะ ยึดหรืออายัดวัตถุออกฤทธิ์

นำวัตถุออกฤทธิ์เพื่อเป็นตัวอย่างในการตรวจสอบหรือ
วิเคราะห์สั่งให้ผู้รับ อนุญาตเก็บคืนวัตถุออกฤทธิ์หรืองด
ดำเนินการใดๆ ภายในเวลาที่กำหนด หรือสั่งให้ทำลาย

วัตถุออกฤทธิ์ได้ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวดที่ ๘ พนักงานเจ้าหน้าที่

มาตรา ๗๕ มาตรา ๗๔

ในการปฏิบัติการของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๗๔ ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ให้
(๑) และ (๒) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจนําวัตถุออก พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจ หน้าที่ดังต่อไปนี้
ฤทธิ์จากสถานที่นั้นในปริมาณพอสมควรไปเพื่อเป็น
ตัวอย่าง ในการตรวจสอบหรือวิเคราะห์และหากปรากฏว่า (๑) เข้าไปในสถานที่ทําการของผู้รับอนุญาตนําเข้าหรือส่ง
วัตถุออกฤทธิ์ใดเป็นวัตถุออกฤทธิ์ที่ไม่ปลอดภัยหรือ อาจ ออก สถานที่ผลิต สถานที่ ขาย สถานที่เก็บวัตถุออกฤทธิ์
เป็นอันตรายต่อผู้ใช้ให้ประกาศผลการตรวจสอบหรือ หรือสถานที่ที่ต้องได้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ใน
วิเคราะห์คุณภาพของวัตถุออกฤทธิ์ที่นําไป ตรวจสอบหรือ เวลาทําการ ของสถานที่นั้น เพื่อตรวจสอบการปฏิบัติ
วิเคราะห์นั้นให้ประชาชนทราบตามวิธีการที่เห็นสมควร ตามพระราชบัญญัตินี้
โดยได้รับความเห็นชอบจาก เลขาธิการ (๒) เข้าไปในเคหสถานหรือสถานที่ใด ๆ เพื่อตรวจค้นเมื่อ
มีเหตุเชื่อได้ตามสมควรว่า มีทรัพย์สิน ซึ่งมีไว้เป็นความ
เพื่อประโยชน์แก่การคุ้มครองความปลอดภัยของผู้ใช้วัตถุออกฤทธิ์ใน ผิดหรือได้มาโดยการกระทําความผิด หรือได้ใช้หรือจะใช้
กรณีที่ปรากฏต่อพนักงานเจ้าหน้าที่อันเชื่อได้ว่าวัตถุออกฤทธิ์ใดเป็น ในการกระทํา ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งอาจ
วัตถุออกฤทธิ์ที่ไม่ปลอดภัยหรืออาจเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ให้พนักงานเจ้า ใช้เป็นพยานหลักฐานได้ประกอบกับมีเหตุอันควรเชื่อว่า
หน้าที่เก็บวัตถุออกฤทธิ์ดังกล่าวไว้หรือสั่งให้ผู้รับอนุญาตงดผลิต ขาย เนื่ องจากการเนิ่ นช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้ทรัพย์สิ น
นั้นจะถูกโยกย้าย ซุกซ่อน ทําลายหรือทําให้ เปลี่ยน
นําเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์จัดเก็บวัตถุออกฤทธิ์ สภาพไปจากเดิม
ดังกล่าวกลับคืนมาภายในระยะเวลาที่พนักงานเจ้าหน้าที่กําหนด (๓) ค้นบุคคลหรือยานพาหนะใด ๆ ที่มีเหตุอันควรสงสัย
ว่ามีวัตถุออกฤทธิ์ซุกซ่อนอยู่ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
มาตรา ๗๖ (๔) ยึดหรืออายัดวัตถุออกฤทธิ์ที่มีไว้โดยไม่ชอบด้วย
กฎหมาย หรือทรัพย์สินอื่นใดที่ ได้ใช้หรือจะใช้ในการ
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้พนักงานเจ้า กระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้
หน้าที่ต้องแสดง บัตรประจําตัวต่อผู้รับอนุญาตหรือบุคคล (๕) มีหนังสือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยคํา หรือให้ส่ง
ที่เกี่ยวข้อง บัตรประจําตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตาม เอกสารหรือวัตถุใดมาเพื่อ ประกอบการพิจารณา

แบบที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด การดําเนินการตามวรรคหนึ่ง (๒) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ค้นปฏิบัติ
ตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดและแสดงความบริสุทธิ์ก่อน
การเข้าค้น รายงานเหตุผลและผลการตรวจค้นต่อ
ผู้บังคับบัญชาและผู้อนุมัติตามวรรคสาม บันทึกเหตุอันควรเชื่อ
ตามสมควร และให้พนักงานเจ้าหน้าที่

แสดงเอกสารเพื่อแสดงตนและเอกสารที่แสดงอํานาจในการตรวจค้น

มาตรา ๗๗

ในการปฏิบัติการของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๗๔
มาตรา ๗๕ และมาตรา ๗๙ วรรคสาม ให้ผู้รับอนุญาตและ

บุคคลที่เกี่ยวข้องอํานวยความสะดวกตามสมควร

มาตรา ๗๘

ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้พนักงานเจ้า
หน้าที่เป็น เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๙ การพักใช้ใบอนุญาตและการเพิก
ถอนใบอนุญาต (มาตรา ๗๙ – มาตรา ๘๔)

๑) กำหนดให้การสั่งพักใช้ใบอนุญาต การสั่ง ๔) กำหนดเงื่อนไขการเพิกถอนใบอนุญาตให้
เพิกถอนใบอนุญาต และการยกเลิกการสั่ง ครอบคลุมคุณสมบัติของผู้รับอนุญาตเกี่ยว
พักใช้ใบอนุญาตก่อนกำหนดเวลา ต้องได้รับ กับวัตถุออกฤทธิ์ประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ประเภท ๔ (มาตรา ๘๐)
(มาตรา ๗๙ มาตรา ๘๐ และมาตรา ๘๒)

๒) ขยายระยะเวลาการพักใช้ใบอนุญาตเป็น ๕) ผู้ถูกสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตมี
ครั้งละไม่เกิน ๑๘๐ วัน (กฎหมายเดิมกำหนด สิ ทธิอุทธรณ์ ต่อรัฐมนตรีภายในสามสิ บวัน
ไว้ครั้งละไม่เกิน ๑๒๐ วัน) ซึ่งสอดคล้องกับ นั บแต่วันที่รับทราบคำสั่ง (มาตรา ๘๓)
กฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ (มาตรา ๗๙
วรรคหนึ่ ง)

๓) กรณีผู้รับอนุญาตผลิต ขาย หรือนำเข้า ๖) กำหนดมาตรการบังคับแก่ผู้ถูกสั่งเพิก
ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือ ถอนใบอนุญาต โดยต้องทำลายหรือขายวัตถุ
ประเภท ๔ ถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตตาม ออกฤทธิ์ที่เหลืออยู่ในส่ วนที่เกินกว่าที่
กฎหมายว่าด้วยยา ให้ผู้อนุญาตสั่งพักใช้ กฎหมาย ให้มีไว้ในครอบครอง ภายในหกสิบ
ใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ด้วย วันนั บแต่วันที่ได้ทราบคำสั่งเพิกถอน
เนื่ องจากใบอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยยา ใบอนุญาตหรือวันที่ได้ทราบคำวินิ จฉัย
เป็นคุณสมบัติที่ผู้รับอนุญาตตามพระราช ของรัฐมนตรี
บัญญัตินี้ ต้องมีตามมาตรา ๒๒ (๑) เมื่อถูก เว้นแต่ผู้อนุญาตจะผ่อนผันขยายระยะเวลา
พักใช้ใบอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยยา ต่อไปอีกแต่ต้องไม่เกินหกสิ บวัน
แล้วจึงต้องพักใช้ใบอนุญาตตามกฎหมาย หากไม่ปฏิบัติตาม ให้วัตถุออกฤทธิ์ที่เหลืออยู่
นี้ ด้วย (กฎหมายเดิมไม่มีกำหนดไว้) ตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข (มาตรา ๘๔)
(มาตรา ๗๙ วรรคสอง)

หมวด ๙
การพักใช้ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต

มาตรา ๗๙ ผู้รับอนุญาตผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม กรณีมีการฟ้อง คําพิพากษาถึงที่สุดก็ได้ผู้รับอนุญาตต่อ
พระราชบัญญัตินี้ หรือ กฎกระทรวงหรือประกาศที่ออก ศาลว่าได้กระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้อนุญาต
ตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้อนุญาตโดยความเห็นชอบของ จะสั่ งพักใช้ใบอนุญาตไว้รอคําพิพากษาถึงที่สุดก็ได้
คณะกรรมการ มีอำนาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตได้โดยมี
กำหนดครั้งละไม่เกินหนึ่ งร้อยแปดสิบวัน กรณีที่ผู้รับอนุญาตผลิต ขาย หรือนําเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์
ในประเภท ๓ หรือ ประเภท ๔ ถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต
ตามกฎหมายว่าด้วยยา ให้ผู้อนุญาตสั่งพักใช้ ใบอนุญาต
ตามพระราชบัญญัตินี้ ของผู้รับอนุญาตด้วย แล้วแต่กรณี

มาตรา ๘๐ ผู้รับอนุญาตผู้ใดขาด ให้พนั กงานเจ้าหน้ าที่อายัดวัตถุออกฤทธิ์ที่เหลือของผู้ถูก
คุณสมบัติตามมาตรา ๑๙ (๔) หรือ พักใช้ใบอนุญาตไว้ ณ สถานที่ทําการของผู้รับอนุญาต
มาตรา ๒๒ (๑) หรือไม่จัดให้มีเภสัชกร ผู้ถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตจะขอรับใบอนุญาตใด ๆ ใน
อยู่ประจำควบคุมกิจการตลอดเวลาที่ ระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต อีกไม่ได้
เปิดทำการตามมาตรา ๓๐ วรรคหนึ่ ง
ผู้อนุญาตโดยความเห็นชอบของคณะ
มาตรา ๘๓ ผู้รับอนุญาตซึ่งถูกสั่ง
กรรมการมีอำนาจสั่ งเพิกถอนใบ การพักใช้ใบอนุญาตและ พักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบ
อนุญาตได้ ผู้ถูกสั่งเพิกถอนใบ การเพิกถอนใบอนุญาต อนุญาตมีสิทธิ อุทธรณ์ต่อ
อนุญาตจะขอรับใบอนุญาตใด ๆ อีก รัฐมนตรีภายในสามสิบวันนั บแต่
ไม่ได้จนกว่าจะพ้นสองปี นั บแต่วันที่ มาตรา ๘๒ ผู้อนุญาตโดยความ วันที่ทราบคําสั่ง รัฐมนตรีมี
ถูกสั่ งเพิกถอนใบอนุญาต เห็นชอบของคณะกรรมการมี อํานาจสั่ งให้ยกอุทธรณ์ ยกเลิก
อํานาจสั่งยกเลิกคําสั่ง พักใช้ คําสั่ งพักใช้ใบอนุญาตหรือคําสั่ ง
ผู้ถูกสั่ งพักใช้ใบอนุญาตจะขอรับ ใบอนุญาตก่อนกําหนดเวลาได้ เพิกถอนใบอนุญาต หรือแก้ไขคํา
ใบอนุญาตใด ๆ ในระหว่างถูกสั่ง เมื่อเป็นที่พอใจว่าผู้รับอนุญาต สั่ งของผู้อนุญาตในทางที่เป็นคุณ
พักใช้ใบอนุญาต อีกไม่ได้ ซึ่งถูกสั่ งพักใช้ใบอนุญาตได้ แก่ ผู้อุทธรณ์ได้
ปฏิบัติ ตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๘๑ คําสั่งพักใช้ใบอนุญาต หรือกฎกระทรวงหรือประกาศ มาตรา ๘๔ ผู้ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
และคําสั่ งเพิกถอนใบอนุญาตให้ ที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ แล้ว ต้องทําลายหรือขายวัตถุออกฤทธิ์
ทําเป็นหนั งสือ แจ้งให้ผู้รับ ของตนที่ เหลืออยู่ในส่วนที่เกินกว่าที่
อนุญาตทราบ ในกรณีไม่พบตัวผู้ กฎหมายให้มีไว้ในครอบครอง ในกรณี
รับอนุญาตหรือผู้รับอนุญาตไม่ ที่ขายให้ขายแก่ผู้รับอนุญาตอื่นหรือ แก่ผู้
ยอมรับคําสั่งดังกล่าว ให้ปิด ซึ่งผู้อนุญาตเห็นสมควร ทั้งนี้ ภายในหก
คําสั่ งไว้ในที่เปิดเผยและเห็น สิบวันนั บแต่วันที่ได้ทราบคําสั่งเพิกถอน
ได้ง่าย ณ สถานที่ซึ่งระบุไว้ใน ใบอนุญาตหรือ วันที่ได้ทราบคําวินิ จฉัย
ใบอนุญาต และให้ถือว่าผู้รับ ของรัฐมนตรีเว้นแต่ผู้อนุญาตจะผ่อนผัน
อนุญาตได้ ทราบคําสั่งนั้ นแล้ว ขยายระยะเวลาต่อไปอีกแต่ต้อง ไม่เกิน
ตั้งแต่วันที่รับหรือปิดคําสั่ ง หกสิ บวัน

คําสั่ งพักใช้ใบอนุญาตและคําสั่ งเพิกถอน กรณีที่ผู้ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตไม่ปฏิบัติตามวรรคหนึ่ ง ให้วัตถุออก
ใบอนุญาตตามวรรคหนึ่ ง จะโฆษณาใน ฤทธิ์ที่ เหลืออยู่ตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข และให้กระทรวง
หนั งสือพิมพ์หรือโดยวิธีอื่นอีกด้วยก็ได้ สาธารณสุขหรือผู้ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข มอบหมายทําลายหรือนํ าไปใช้
ประโยชน์ ได้ตามระเบียบที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนด

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๑๐ มาตรการควบคุมพิเศษ
(มาตรา ๘๕ – มาตรา ๙๙)

กำหนดให้การมีไว้ในครอบครองหรือใช้ประโยชน์ ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์
ทุกประเภททั้งภาครัฐและภาคเอกชนต้องได้รับใบอนุญาต
(มาตรา ๘๘)

กำหนดบทสั นนิ ษฐานสำหรับฐานความผิดการมีไว้ในครอบครอง
เพื่อขาย ซึ่งจะนำไปสู่การลงโทษที่หนักขึ้น
(มาตรา ๘๘ วรรคสาม)

กำหนดกรณียกเว้น ไม่ต้องขอรับใบอนุญาตไว้ในครอบครองหรือ
ใช้ประโยชน์
(มาตรา ๘๙)

กำหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพ (แพทย์/ทันตแพทย์/สัตวแพทย์)
สามารถมีไว้ในครอบครองวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔
ในปริมาณที่รัฐมนตรีกำหนดได้โดยไม่ต้องมีใบอนุญาต (มาตรา ๙๐)
และต้องจัดทำรายงานเสนอต่อเลขาธิการคณะกรรมการอาหาร
และยาตามมาตรา ๔๗

กำหนดให้พนั กงานฝ่ายปกครอง/ตำรวจ/พนั กงานเจ้าหน้ าที่มีอำนาจ
ตรวจหรือทดสอบ/สั่ งให้ตรวจหรือทดสอบเกี่ยวกับการเสพวัตถุออก
ฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ (เช่น ตรวจปัสสาวะ)
ซึ่งสอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ
(กฎหมายเดิมไม่มีกำหนดไว้) (มาตรา ๙๔)

หมวด ๑๐
มาตรการควบคุมพิเศษ

มาตรา ๘๕ ให้ถือว่าวัตถุตำรับที่มี มาตรา ๘๖ กรณีที่วัตถุตำรับมีวัตถุ
วัตถุออกฤทธิ์ในประเภทหนึ่ ง ออกฤทธิ์อันระบุอยู่ในประเภทต่าง
ประเภทใดปรุงผสม อยู่เป็นวัตถุ กันมากกว่า หนึ่ งประเภทผสมอยู่ ให้
ออกฤทธิ์ในประเภทนั้ นด้วย ถือว่าวัตถุตำรับนั้ นเป็นวัตถุออกฤทธิ์
ในประเภทที่มีการควบคุมเข้มงวด
มาตรา ๘๗ รัฐมนตรีอาจประกาศ ที่สุดใน บรรดาวัตถุออกฤทธิ์ที่ผสม
กําหนดให้วัตถุตํารับใดซึ่งมีลักษณะ อยู่นั้ น
ดังต่อไปนี้ เป็นวัตถุตํารับยกเว้นได้
ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการ มาตรา ๘๘ ห้ามผู้ใดมีไว้ในครอบ
และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง ครองหรือใช้ประโยชน์ ซึ่งวัตถุออก
ฤทธิ์ทุกประเภทเว้นแต่ได้รับใบ
(๑) มีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ประเภท ๓ อนุญาตจากผู้อนุญาต
หรือประเภท ๔ อย่างหนึ่ งอย่างใดหรือ
หลายอย่างปรุงผสมอยู่ มาตรา ๘๙ บทบัญญัติมาตรา ๘๘
วรรคหนึ่ ง ไม่ใช้บังคับแก่

(๒) มีลักษณะที่ไม่อาจก่อให้เกิดการใช้ที่ผิดทาง (๑) การมีไว้ในครอบครองหรือใช้ประโยชน์ ซึ่ง
วัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภทสําหรับ กิจการของ
(๓) ไม่สามารถจะแยกสกัดเอาวัตถุออก ผู้รับอนุญาตผลิต ขาย นํ าเข้า ส่งออกหรือนํ า
ฤทธิ์ที่มีอยู่ในวัตถุตำรับนั้ นกลับมาใช้ใน ผ่านซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ประเภทนั้ น ๆ
ปริมาณที่จะทำให้เกิดการใช้ที่ผิดทาง
(๒) การมีไว้ในครอบครองของบุคคลใน
(๔) ไม่ก่อให้เกิดอันตรายทางด้านสุขภาพ ปริมาณพอสมควรเพื่อการเสพ การรับเข้า
และสังคมได้ วัตถุตำรับยกเว้นที่ประกาศ ร่างกายหรือการใช้ด้วยวิธีอื่นใดซึ่งวัตถุออก
ตามวรรคหนึ่ ง รัฐมนตรีอาจประกาศเพิก ฤทธิ์ในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔
ถอนได้เมื่อ ปรากฏว่าวัตถุตำรับนั้ นไม่ตรง ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามคําสั่งของผู้ประกอบ
ลักษณะที่กำหนดไว้ วิชาชีพเวชกรรม

มาตรา ๙๐ กรณีที่เห็นสมควรรัฐมนตรีจะ (๓) การมีไว้ในครอบครองหรือใช้ประโยชน์
ประกาศกําหนดวัตถุออกฤทธิ์ใน ประเภท ตามหน้ าที่ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือ
๓หรือประเภท ๔ ที่ให้ผู้ประกอบวิชาชีพ ประเภท ๔ ของกระทรวง ทบวง กรม และ
เวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรมหรือผู้ สภากาชาดไทย หรือหน่ วยงานของรัฐตามที่
ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่ งมีไว้ใน รัฐมนตรีประกาศกําหนด
ครอบครองในปริมาณที่รัฐมนตรีกำหนด
โดยคำแนะนํ าของคณะกรรมการโดยไม่ต้อง (๔) การมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุออกฤทธิ์
ขออนุญาตก็ได้ ในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔
ในปริมาณเท่าที่จําเป็นต้องใช้ประจำใน
การปฐมพยาบาลหรือในกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ น
ในยานพาหนะ ที่ใช้ในการขนส่งสาธารณะ
ระหว่างประเทศ ซึ่งไม่ได้จดทะเบียน
ในราชอาณาจักร

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๑๐
มาตรการควบคุมพิเศษ

มาตรา ๙๑ ห้ามผู้ใดเสพวัตถุออก มาตรา ๙๒ ห้ามผู้ใดเสพวัตถุออก
ฤทธิ์ในประเภท ๑ ฤทธิ์ในประเภท ๒ เว้นแต่เป็นการ
เสพตามคำสั่ง ของผู้ประกอบวิชาชีพ
มาตรา ๙๓ ห้ามผู้ใดจูงใจ ชักนำ ยุยงส่งเสริม เวชกรรมหรือผู้ประกอบวิชาชีพ
ใช้อุบายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้อำนาจ ครอบงำ ทันตกรรม เพื่อประโยชน์ ใน
ผิดคลองธรรมหรือใช้วิธีข่มขืนใจด้วยประการ การรักษาพยาบาลผู้นั้ น
อื่นใดให้ผู้อื่นเสพวัตถุออกฤทธิ์ ผู้ประกอบ
วิชาชีพเวชกรรมหรือผู้ประกอบวิชาชีพทันต มาตรา ๙๔ กรณีจำเป็นและมีเหตุอันควรเชื่อ
กรรมอาจแนะนำหรือสั่งให้ ผู้อื่นเสพวัตถุออก ได้ว่ามีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดเสพ วัตถุออก
ฤทธิ์เพื่อประโยชน์ ในการรักษาพยาบาลผู้นั้ น ฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ อันเป็น
ได้ ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในเคหสถาน
สถานที่ใด ๆ หรือยานพาหนะ ให้พนั กงานฝ่าย
มาตรา ๙๕ ผู้รับอนุญาตผลิต ขาย นํ าเข้า ส่ง ปกครองหรือตำรวจหรือพนั กงานเจ้าหน้ าที่
ออก นํ าผ่านหรือมีไว้ในครอบครอง หรือใช้ ตาม พระราชบัญญัตินี้ มีอำนาจตรวจหรือ
ประโยชน์ ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ต้องจัดให้มีการ ทดสอบ
ป้องกันตามสมควรเพื่อมิให้วัตถุออกฤทธิ์
สูญหาย หรือมีการนํ าไปใช้โดยมิชอบ มาตรา ๙๘ กรณีที่ไม่มีสถานพยาบาลตาม
กฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล สถานพยาบาล
มาตรา ๙๖ ห้ามผู้ใดซึ่งมิใช่เภสัชกรที่อยู่ ของรัฐ สถานพยาบาลสัตว์ตามกฎหมายว่า
ประจําควบคุมกิจการของสถานที่ผลิต สถานที่ ด้วยสถานพยาบาลสัตว์ หรือสถานพยาบาล
ขาย หรือสถานที่นํ าเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ขาย สัตว์ของรัฐ ซึ่งมีผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้
วัตถุออกฤทธิ์ให้แก่ผู้อื่นในสถานที่นั้ น เว้นแต่ ประกอบวิชาชีพทันตกรรม หรือผู้ประกอบ
อยู่ใน ความควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดของ วิชาชีพ การสัตวแพทย์ชั้นหนึ่ ง ให้การรักษา
เภสัชกรประจําสถานที่นั้ น พยาบาลผู้ป่วยหรือสั ตว์ป่วยในปริมณฑลห้า
กิโลเมตรนั บจาก สถานที่ที่มีใบอนุญาตขาย
มาตรา ๙๗ ภายใต้บังคับมาตรา ๙๘ เภสัชกรจะ วัตถุออกฤทธิ์ เภสัชกรที่อยู่ประจำควบคุม
ขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท หรือประเภท ๔ ให้ กิจการของสถานที่ขายนั้ นจะขาย นวัตถุออก
ได้เฉพาะแก่กระทรวง ทบวง กรม และ ฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ สำหรับผู้
สภากาชาดไทย หรือหน่ วยงานของรัฐตามที่ ป่วยหรือสัตว์ป่วยโดยไม่ต้องมีใบสั่งยา ของผู้
รัฐมนตรีประกาศกำหนด ผู้ประกอบวิชาชีพ ประกอบวิชาชีพดังกล่าวก็ได้ แต่ทั้งนี้ จะขาย
เวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม หรือผู้ สำหรับการใช้แต่ละรายได้จำนวนไม่เกินสาม
ประกอบ วิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่ ง ผู้ที่มี วันต่อ เดือน และต้องจัดให้มีการลงบัญชีราย
ใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาชีพดังกล่าว หรือผู้รับ ละเอียดการขายทุกครั้งตามแบบที่คณะ
อนุญาตผลิต ขาย หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุ กรรมการกำหนดโดย ประกาศในราชกิจจา
ออกฤทธิ์ในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ เท่านั้ น นุเบกษา
และต้องจัดให้มีการ ลงบัญชีรายละเอียดการขาย
ทุกครั้งตามแบบที่คณะกรรมการกำหนดโดย มาตรา ๙๙ การส่งมอบวัตถุออกฤทธิ์ตาม
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๙๗ หรือมาตรา ๙๘ เภสัชกร ต้องมอบ
คำเตือนหรือข้อควรระวังตามประกาศของ
รัฐมนตรีตามมาตรา ๗ (๒) ให้แก่ผู้ซื้อด้วย

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด 11 การค้าระหว่างประเทศ
(มาตรา 100 – มาตรา 114)

กำหนดให้การนำเข้าหรือส่ ง กำหนดมาตรการควบคุม
ออกวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท การนำเข้า ส่งออก นำผ่าน

เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค

กำหนดให้การนำเข้า
ส่งออก หรือนำผ่านซึ่งวัตถุ

ออกฤทธิ์ทุกประเภท

ได้รับใบอนุญาต ต้องนำมาให้พนั กงาน ป้องกันการรั่วไหลมิให้นำไป
ผลิต ขาย นำเข้าหรือส่งออก เจ้าหน้ าที่ ณ ด่านตรวจสอบ ใช้ใน "ทางที่ผิด"

วัตถุออกฤทธิ์ที่กำหนด

ผู้รับอนุญาตจะต้องได้รับใบ GO! ซึ่งสอดคล้องกับอนุสั ญญา
อนุญาตเฉพาะคราวทุกครั้ง ว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อ
ตรวจสอบวัตถุออกฤทธิ์ที่ จิตและประสาท ค.ศ. ๑๙๗๑
ที่นำเข้าหรือส่ งออกด้วย นำเข้ามาหรือส่ งออกไป
(มาตรา ๑๐๐) นอกราชอาณาจักร

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวดที่ 11 การค้าระหว่างประเทศ

มาตรา 100 การนำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออก ในกรณี ที่ผู้รับอนุญาตไม่สามารถส่ งออกได้
ฤทธิ์ของผู้รับอนุญาตตามมาตรา 11 มาตรา 15 ตามปริมาณที่ระบุไว้ในใบอนุญาตเฉพาะคราวให้
และมาตรา 20 นอกจากจะต้องได้รับใบอนุญาต ผู้รับอนุญาตแจ้งไปยังเลขาธิการเพื่อแก้ไขใบ
ในการนำเข้า หรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ใน อนุญาตเฉพาะคราวให้ถูกต้องตามปริมาณที่ส่ ง
แต่ละครั้งต้องได้รับใบอนุญาตเฉพาะคราว ออกจริง
ทุกครั้งที่นำเข้าหรือส่ งออกอีกด้วย
มาตรา 102 ในการส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ใน
มาตรา 101 ในการนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1 ประเภท 1 หรือประเภท 2 ให้ผู้รับอนุญาตนำ ใบ
ประเภท 2 หรือประเภท 3 ให้ผู้รับอนุญาตจัดให้มีสำเนาใบ อนุญาตนำ เข้าของเจ้าหน้ าที่ผู้มีอำนาจของประเทศ
อนุญาตส่งออกของเจ้าหน้ าที่ผู้มีอำนาจของประเทศที่ส่งออก นั้ นมามอบให้สำนั กงานคณะกรรมการอาหารและ
ส่งมาพร้อมกับวัตถุออกฤทธิ์หนึ่ งฉบับ และจัดให้เจ้าหน้ าที่ผู้มี ยาก่อนจึงจะได้รับการพิจารณาออกใบอนุญาต
อำนาจของประเทศที่ส่ งออกส่ งสำเนาใบอนุญาตหรือสำเนา เฉพาะคราวเพื่อส่งออก และในการส่งออกให้ผู้รับ
หนั งสือแสดงการอนุญาตให้ส่งออกไปยังสำนั กงานคณะ อนุญาตแนบสำเนาใบอนุญาตเฉพาะคราวไปพร้อม
กรรมการอาหารและยาด้วย กับวัตถุออกฤทธิ์ที่ส่งออกด้วยหนึ่ งฉบับ

มาตรา103 ในการนำผ่านซึ่งวัตถุออก มาตรา 104 ผู้รับอนุญาตนำเข้า ส่ง มาตรา 105 ในการนำผ่านซึ่งวัตถุ
ฤทธิ์ในประเภท 1/ประเภท 2 ผู้รับ ออกหรือนำผ่านซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุก ออกฤทธิ์ทุกประเภท ห้ามผู้ใด
อนุญาตต้องมีใบอนุญาตส่ งออกของ
เจ้าหน้ าที่ผู้มีอำนาจของประเทศที่ส่ง ประเภทจะต้องนำวัตถุออกฤทธิ์ที่ เปลี่ยนแปลงการส่ งวัตถุออกฤทธิ์
ออก มาพร้อมกับวัตถุออกฤทธิ์และ ตนนำเข้า ส่งออกหรือนำผ่าน แล้ว ไปยังจุดหมายอื่นที่มิได้ระบุในใบ
ต้องแจ้งให้ผู้ควบคุมยานพาหนะที่ใช้ แต่กรณี มาให้พนั กงานเจ้าหน้ าที่ ณ อนุญาตส่ งออกที่ส่ งมาพร้อมกับ
บรรทุกทราบก่อนผ่านเข้ามาในราช วัตถุออกฤทธิ์ เว้นแต่ได้รับอนุญาต
อาณาจักร และให้ผู้ควบคุมยาน ด่านตรวจสอบวัตถุออกฤทธิ์ที่ เป็นหนั งสือจากเจ้าหน้ าที่ผู้มีอำนาจ
พาหนะ จัดให้มีการป้องกันตาม กำหนดไว้ในประกาศของรัฐมนตรี ของประเทศผู้ออกใบอนุญาตนั้ น
สมควร ตามมาตรา 7(12) เพื่อทำการตรวจ และเลขาธิการให้ความเห็นชอบด้วย

สอบตามหลักเกณฑ์ วิธีการและ
เงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด

มาตรา 106 ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงการส่งวัตถุออกฤทธิ์ไปยังจุดหมายอื่นตามมาตรา 105 ให้ถือว่าวัตถุ
ออกฤทธิ์นั้ นได้ส่งออกจากประเทศที่ออกใบอนุญาตเข้ามาในราชอาณาจักรและให้เจ้าหน้ าที่ซึ่งได้รับมอบ
หมายจากเลขาธิการสลักหลังสำเนาใบอนุญาตของเจ้าหน้ าที่ผู้มีอำนาจของประเทศที่ส่งออกนั้ นโดยแจ้งวัน
เดือนปีและปริมาณที่แท้จริงของวัตถุออกฤทธิ์ที่นำผ่าน และส่งสำเนานั้ นกลับไปให้เจ้าหน้ าที่ของประเทศ
ผู้ออกใบอนุญาต พร้อมทั้งจัดทำสำเนาเก็บรักษาไว้ที่สำนั กงานคณะกรรมการอาหารและยาหนึ่ งฉบับ

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวดที่ 11 การค้าระหว่างประเทศ

มาตรา 107 ในระหว่างที่มีการนำผ่านซึ่งวัตถุ มาตรา 108 ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินหรือจำเป็น เลขาธิการ
ออกฤทธิ์ในประเภท 1 / ประเภท 2 /ในระหว่างที่ มีอำนาจผ่อนผันการใช้บังคับมาตราการควบคุมมาตรา
103 มาตรา 104 มาตรา 106 และมาตรา 107 เกี่ยวกับ
วัตถุออกฤทธิ์อยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้ าที่ การนำผ่านซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ได้ตามที่เห็นสมควร
ศุลกากรตามมาตร 103 วรรค 2 ห้ามผู้ใดแปลรูป

หรือแปรสภาพวัตถุออกฤทธิ์ให้เป็นอย่างอื่น
หรือเปลี่ยนหีบบรรจุวัตถุที่ออกฤทธิ์เว้นแต่ได้รับ

อนุญาตเป็นหนั งสือจากเลขาธิการ

มาตรา 109 ในการนำเข้าซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท ห้ามผู้ มาตรา 110 ในการส่งออกแต่ละครั้ง ซึ่งวัตถุออก
ใดส่ งวัตถุออกฤทธิ์ดังกล่าวไปยังบุคคลอื่นหรือสถานที่อื่น ฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4 ให้ผู้รับอนุญาต
แนบสำเนาใบอนุญาตเฉพาะคราว เพื่อส่งออกไป
นอกเหนื อไปจากบุคคลหรือสถานที่ที่ระบุในใบอนุญาต
เฉพาะคราวเพื่อนำเข้า เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินหรือ พร้อมกับวัตถุออกฤทธิ์ที่ส่งออกนั้ น 1 ฉบับ

จำเป็นโดยได้รับอนุญาตเป็นหนั งสือจากเลขาธิการ

มาตรา 111 เมื่อกระทรวง มาตรา 112 ห้ามผู้ใดส่งออกซึ่ง
สาธารณสุขได้รับแจ้งการห้ามเข้า วัตถุออกฤทธิ์ไปยังประเทศที่
นำซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ประเภทหนึ่ ง ระบุห้ามนำเข้าตามมาตรา 11
ประเภทใดที่ต่างประเทศได้แจ้ง เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตพิเศษ
ผ่านเลขาธิการ สหประชาชาติระบุ เฉพาะคราวจากประเทศนั้ นและ
ห้ามนำเข้าไปยังประเทศนั้ น ให้ ใบอนุญาตพิเศษเฉพาะคราว
รัฐมนตรีประกาศกำหนดการห้าม
นำเข้าของประเทศนั้ น เพื่อส่ งออกจากเลขาธิการ

มาตรา 113 การมีวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2 มาตรา 114 ผู้ควบคุมยานพาหนะตามมาตรา 113
ประเภท 3 หรือประเภท 4 ในปริมาณพอสมควร ต้องจัดให้มีการป้องกันตามสมควรเพื่อมิให้วัตถุ
เท่าที่จำเป้นต้องใช้ประจำในการปฐมพยาบาล ออกฤทธิ์นั้ นสูญหาย หรือ มีการนำไปใช้โดยมิชอบ
หรือในกรณี เกิดกรณี เหตุฉุกเฉิ นในยานพาหนะที่
ใช้ในการขนส่งสารธารณะ ระหว่างประเทศ ให้ได้
รับยกเว้นจากมาตรการควบคุม สำหรับการนำเข้า

ส่งออก หรือนำผ่านตามพระราชบัญญัตินี้

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

และปรับลดโทษกรณี เสพ เมื่อผู้กระทำผิดให้ข้อมูล
ที่เป็นประโยชน์ อันจะนำ
(มาตรา ๑๔๑) ไปสู่การดำเนิ นการกับ

เพิ่มโทษปรับให้สูงขึ้นในกรณี ผู้กระทำผิดรายใหญ่
การผลิต ขาย นำเข้า ส่งออก
ลงโทษจำเลยน้ อยกว่า
ปรับปรุงบทกำหนดโทษ มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุ อัตราโทษขั้นต่ำตามที่
ให้สอดคล้องกับเนื้ อหาใน ออกฤทธิ์ในประเภท 1-4 กฎหมายกำหนดไว้ได้
พระราชบัญญัติและแก้ไข
(มาตรา ๑๑๕ – มาตรา ๑๒๐ และมาตรา ๑๔๐) (มาตรา ๑๖๒ – มาตรา ๑๖๔)
อัตราโทษให้เหมาะสม
กำหนดเพิ่มบทบัญญัติให้ศาล
สามารถใช้ดุลยพินิ จในการ
กำหนดโทษผู้กระทำความผิดให้
เหมาะสมกับพฤติการณ์ แห่งคดี

หมวด 12 บทกำหนดโทษ
(มาตรา 115 – มาตรา 164)

กำหนดเพิ่มบทบัญญัติการ กำหนดเพิ่มบทบัญญัติให้
บำบัดรักษาผู้ติดวัตถุออก กรรมการ พนั กงานเจ้าหน้ าที่
ฤทธิ์แบบระบบสมัครใจ
เจ้าหน้ าที่ของรัฐ ผู้ดำรง
ประสงค์จะเข้ารับการบำบัด ตำแหน่ งทางการเมือง
รักษาและยังไม่ได้ถูกพนั กงาน
กระทำความผิดเกี่ยวกับการผลิต
เจ้าหน้ าที่จับกุมดำเนิ นคดี ขาย นำเข้า หรือส่งออก วัตถุออก
ฤทธิ์ หรือสนั บสนุนการกระทำ

ความผิดตามพระราชบัญญัติ

สามารถขอรับการบำบัด ให้พ้นจากความผิดตามที่
รักษาในสถานพยาบาล กฎหมายบัญญัติไว้ได้
ครบถ้วนตามระเบียบจนได้
รับการรับรองเป็นหนั งสือ ต้องรับโทษเป็น 3 เท่าของโทษที่
กำหนดไว้สาหรับความผิดนั้ น
ซึ่งสอดคล้องกับกฎหมายว่า ซึ่งสอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วย
ด้วยยาเสพติดให้โทษ ยาเสพติดให้โทษ

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด 12

บทกำหนดโทษ

มาตรา 115 มาตร
า 116

มาตรา 115 ผู้ใดผลิต นำเข้าหรือส่งออกวัตถุ มาตรา 116 ผู้ใดขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1
ออกฤทธิ์ในประเภท 1 อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 14 วรรคหนึ่ง ต้อง
14 วรรคหนึ่งต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 5 ปี ถึง ระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 4 ปี ถึง 20 ปีและปรับ
20 ปี และปรับตั้งแต่ 5 แสนบาทถึง 2 ล้านบาท
ตั้งแต่ 4 แสนบาทถึง 2 ล้านบาท

มาตร
า 117 มาตรา 118

มาตรา 117 ผู้ใดผลิตนำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุ มาตรา 118 ผู้ใดขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 2
ออกฤทธิ์ในประเภท 2 อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 16 วรรคหนึ่งต้อง
15 วรรคหนึ่งต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 5 ปี ถึง
20 ปี และปรับตั้งแต่ 5 แสนบาท ถึง 2 ล้านบาท ระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 4 ปี ถึง 20 ปี และปรับ
ตั้งแต่ 4 แสนบาทถึง 2 ล้านบาท

มาตร
า 119 มาตรา 120

มาตรา 119 ผู้ใดผลิต นำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุ มาตรา 120 ผู้ใดขายวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3
ออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4 หรือนำผ่าน หรือประเภท 4 อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 20 วรรค
ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภทอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา หนึ่งต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 2 ปี ถึง 10 ปี และ
20 วรรคหนึ่งต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 2 ปี ถึง 10
ปรับตั้งแต่ 2 แสนบาท ถึง 1 ล้านบาท
ปี และปรับตั้งแต่ 2 แสนบาท ถึง 1 ล้านบาท

มาตร
า 121 มาตรา 122

มาตรา 121 ผู้รับอนุญาตตามมาตรา 16 มาตรา 20 มาตรา 122 ผู้รับอนุญาตผู้ใดฝ่าฝืน
มาตรา 28 (1) หรือมาตรา 88 ผู้ใดดำเนินการภายหลัง มาตรา 27 หรือมาตรา 42 วรรค
ที่ใบอนุญาตสิ้นอายุแล้วโดยมิได้ยื่นคำขอต่ออายุใบ หนึ่ งต้องระวางโทษปรับตั้งแต่
อนุญาต ต้องระวางโทษปรับวันละ 500 บาท นับแต่ 20,000 บาทถึง 50,000 บาท
วันถัดจากวันที่ใบอนุญาตสิ้นอายุ จนถึงวันที่ยื่นคำขอ

ผ่อนผันต่ออายุใบอนุญาตตามมาตรา 24 วรรค 2

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด 12

บทกำหนดโทษ

มาตรา
123 มาตรา 124

มาตรา 123 ผู้ใดรับอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ใน มาตรา 124 ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 30
ประเภทสองหรือผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 29 ต้องระวาง วรรคหนึ่งหรือฝ่าฝืนมาตรา 30 วรรคสองต้องระวาง
โทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึง 5 ปีหรือปรับตั้งแต่สอง
หมื่นบาท ถึง หนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ โทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกิน 20,000
บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ หากผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่
มาตร
า 125 ปฏิบัติตามมาตรา 30 วรรค 3 หรือวรรค 4 ต้อง

มาตรา 125 ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ระวางโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท
31 มาตรา 32 มาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 35
มาตรา 36 มาตรา 37 มาตรา 38 ต้องระวางโทษ มาตรา 127
ปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 100,000 บาท
มาตรา 127 ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม
มาตรา 43 วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับ

ไม่เกิน 1,000 บาท

มาตรา 128 มาตรา 129

มาตรา 128 ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม มาตรา 129 เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมกิจการผู้ใด
มาตรา 47 วรรคหนึ่งต้องระวางโทษปรับ ละทิ้งหน้าที่หรือไม่ปฏิบัติหน้าที่ในการควบคุม
กิจการของผู้รับอนุญาตโดยไม่มีเหตุอันควรตาม
ตั้งแต่ 10,000 บาทถึง 20,000 บาท มาตรา 48 มาตรา 49 มาตรา 50 มาตรา 51 มาตรา
52 มาตรา 53 มาตรา 54 หรือมาตรา 55 ต้องระวาง
โทษปรับตั้งแต่ 10,000 บาท ถึง 50,000 บาท

มาตรา 130 มาตรา 131

มาตรา 130 เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุม มาตรา 131 ผู้ใดผลิตนำเข้าหรือส่งออกซึ่งวัตถุออก
กิจการผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 56 ต้อง ฤทธิ์ฟอร์มอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 57(1) ต้อง
ระวางโทษจำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงสิบห้าปีและปรับ
ระวางโทษปรับไม่เกิน 3,000 บาท ตั้งแต่ห้าแสนบาทถึงหนึ่ งล้านห้าแสนบาท

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด 12

บทกำหนดโทษ

มาตรา 132 มาตรา 133

มาตรา 132 ผู้ใด ผลิต นำเข้า หรือส่งออกซึ่งวัตถุ มาตรา 133 ผู้ใด ขาย นำเข้า หรือส่งออกซึ่งวัตถุ
ออกฤทธิ์ผิดมาตรฐานอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ออกฤทธิ์เสื่อมคุณภาพอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา
57(2) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปีหรือปรับไม่ 57(3) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับ

เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ ไม่เกิน 40,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 134 มาตรา 135

มาตรา 134 ผู้ใดผลิตขายนำเข้าหรือส่งออกซึ่ง มาตรา 135 ผู้ใดผลิตขายนำเข้าหรือส่งออกซึ่ง
วัตถุออกฤทธิ์ที่ต้องขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับแต่ วัตถุออกฤทธิ์ที่รัฐมนตรีสั่งเพิกถอนทะเบียนวัตถุ
ตำรับอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 57(5) ต้องระวาง
มิได้ขึ้นทะเบียนไว้อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา
57(4) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปีหรือปรับ โทษจำคุกตั้งแต่ 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับตั้งแต่
100,000 บาท ถึง 1 ล้านบาท
ไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 137
มาตรา 136
มาตรา 137 ผู้ใดแก้ไขรายการทะเบียนวัตถุ
มาตรา 136 ผู้ใดขายวัตถุออกฤทธิ์อันเป็นการ ตำรับที่ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว อันเป็นการฝ่าฝืน
ฝ่าฝืนมาตรา 61 ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่
หนึ่งปีถึง 5 ปีหรือปรับตั้งแต่สองหมื่นบาท ถึง มาตรา 64 วรรคหนึ่งต้องระวางโทษปรับ
ไม่เกิน 20,000 บาท
หนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด 12

บทกำหนดโทษ

มาตรา 138 มาตรา 139

มาตรา 138 ผู้ใดโฆษณาวัตถุออกฤทธิ์อันเป็นการ มาตรา 139 ผู้รับอนุญาตหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องผู้ใด
ฝ่าฝืนมาตรา 70 วรรคหนึ่งหรือวรรคสองหรือไม่ ต่อสู้หรือขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้า
ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้อนุญาตตามมาตรา 71 ต้อง
ระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับตั้งแต่สอง หน้าที่ตามมาตรา 74 มาตรา 75 หรือมาตรา 79
วรรค 3 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือ
หมื่นบาทถึงสองแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
ปรับไม่เกิน 20,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 140 มาตรา 141

มาตรา 140 ผู้ใดมีไว้ครอบครองหรือใช้ประโยชน์ มาตรา 141 ผู้ใดเสพวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1
ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1 หรือประเภท 2 อัน อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 91 หรือผู้ใดเสพวัตถุ
ออกฤทธิ์ในประเภท 2 อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา
เป็นการฝ่าฝืนมาตรา 88 วรรคหนึ่งต้องระวาง 92 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับ
โทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึง 5 ปีหรือปรับตั้งแต่สอง
ไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
หมื่นบาท ถึง 1 แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 142 มาตรา 143

มาตรา 142 ผู้ใดให้ผู้อื่นเสพวัตถุออกฤทธิ์อัน มาตรา 143 ผู้ใดขัดขวาง หรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง
เป็นการฝ่าฝืนมาตรา 93 ต้องระวางโทษจำคุก ของพนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำรวจหรือ
ตั้งแต่หนึ่งปีถึง 5 ปีหรือปรับตั้งแต่สองหมื่น พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 94 วรรคหนึ่ง

บาทถึงหนึ่ งแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับ
ไม่เกิน 10,000 บาท

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด 12

บทกำหนดโทษ

มาตรา 144 มาตรา 145

มาตรา 144 ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่จัดให้มี มาตรา 145 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 96 ต้องระวางโทษ
การป้องกันตามสมควรเพื่อให้วัตถุออกฤทธิ์ ปรับตั้งแต่ 10,000 บาทถึง 50,000 บาท
สูญหายหรือมีการนำไปใช้โดยมิชอบอันเป็นการ
มาตรา 147
ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 95 ต้องระวางโทษ
ปรับตั้งแต่ 10,000 บาทถึง 50,000 บาท มาตรา 147 เภสัชกรผู้ใดไม่จัดให้มีการลง
บัญชีรายละเอียดการขายตามมาตรา 97 วรรค
มาตรา 146 หนึ่งหรือมาตรา 98 หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา

มาตรา 146 เภสัชกรผู้ใดขายวัตถุออกฤทธิ์ 99 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท
อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 97 วรรคหนึ่ง หรือ

มาตรา 98 ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่
10,000 บาท ถึง 50,000 บาท

มาตรา 148 มาตรา 149

มาตรา 148 ผู้รับอนุญาตนำเข้าหรือส่งออกซึ่ง มาตรา 149 ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม
วัตถุออกฤทธิ์ตามมาตรา 14 มาตรา 15 หรือ มาตรา 101 วรรคหนึ่งมาตรา 102 วรรคหนึ่ง
มาตรา 20 ผู้ใดกระทำการนำเข้าหรือส่งออก มาตรา 103 วรรคหนึ่งมาตรา 106 วรรคสอง
และแต่ละครั้งซึ่งวัตถุออกฤทธิ์อันเป็นการ
ฝ่าฝืนมาตรา 100 วรรคหนึ่งต้องระวางโทษ หรือมาตรา 110 วรรคหนึ่งต้องระวางโทษ
ปรับไม่เกิน 1,000 บาท
ปรับครั้งละไม่เกิน 5,000 บาท

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด 12

บทกำหนดโทษ

มาตร
า 150 มาตรา 151

มาตรา 150 ผู้ควบคุมยานพาหนะผู้ใด ไม่ มาตรา 151 ผู้รับอนุญาตนำเข้าส่งออกหรือ
ปฏิบัติตามหน้าที่ตามมาตรา 103 ต้อง นำผ่านซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม
ระวางโทษปรับไม่เกิน 50,000 บาท
มาตรา 104 ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่
10,000 บาทถึง 50,000 บาท

มาตรา
152 มาตรา 153

มาตรา 152 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 105 มาตรา มาตรา 153 ผู้ใดฝ่าฝืน
170 หรือมาตรา 112 วรรคหนึ่งต้องระวาง มาตรา 109 ต้องระวาง
โทษจำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหก โทษจำคุกไม่เกินสองปี
หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท
หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 154 และได้สมัครใจขอเข้ารับการบำบัดรักษาใน
สถานพยาบาล ก่อนความผิดจะปรากฏต่อ
มาตรา 154 ผู้ควบคุมยานพาหนะตามมาตรา
113 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 114 ต้องระวาง พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจหรือ
พนักงานเจ้าหน้าที่ และได้ปฏิบัติครบถ้วน
โทษปรับไม่เกิน 50,000 บาท ตามระเบียบข้อบังคับ ตามมาตรา 7(15) จน
ได้รับการรับรองเป็นหนังสือจากผู้อำนวย
มาตรา 155 การหรือหัวหน้าสถานพยาบาล ให้พ้นจาก

ความผิดตามที่กฎหมายบัญญัติไว้

มาตรา 155 ผู้ใดเสพ เสพและมีไว้ในครองครอง
เสพและมีไว้ในครอบครองเพื่อขาย หรือเสพ
และขายซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ตามลักษณะ ชนิด
ประเภทและปริมาณที่กำหนดในกฎกระทรวง

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด 12

บทกำหนดโทษ

มาตรา
156 มาตรา 157

มาตรา 156 ผู้ใดทำการบำบัดรักษาผู้ติดวัตถุ มาตรา 157 บรรดาวัตถุออกฤทธิ์ เครื่องมือ
ออกฤทธิ์เป็นปกติไม่ว่าโดยวิธีใดซึ่งมิได้กระทำ เครื่องใช้ ยานพาหนะหรือทรัพย์สินอื่น ซึ่ง
ในสถานพยาบาลตามที่กำหนดไว้ในพระราช บุคคลได้ใช้ ในการกระทำความผิดหรือได้
บัญญัตินี้ไม่ว่าจะได้รับประโยชน์ตอบแทนหรือไม่ มาโดยการกระทำความผิดเกี่ยวกับวัตถุออก
ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 6 เดือนถึง 3 ปีและ
ฤทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้เสียทั้งสิ้น
ปรับตั้งแต่ 5,000 บาทถึง 300,000 บาท

มาตร
า 158 มาตรา 159

มาตรา 158 วัตถุออกฤทธิ์ ภาชนะหรือห*บห่อ มาตรา 159 ในกรณีที่มีการฟ้องคดีความผิดเกี่ยว
บรรจุวัตถุออกฤทธิ์ และเอกสารที่เกี่ยวข้องที่ยึด กับวัตถุออกฤทธิ์ต่อสารและไม่ได้มีการโต้แย้ง
ไว้ตามมาตรา 74 หรือตามกฎหมายอื่นรวมทั้งใน เรื่องประเภท จำนวนหรือน้ำหนักของวัตถุออก
กรณีที่มีการนำเข้า ส่งออก หรือนำผ่านซึ่งวัตถุ
ฤทธิ์นั้น ถ้าศาลชั้นต้นมีคำพิพากษาหรือคำสั่งให้
ออกฤทธิ์โดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัตินี้แล้วแต่ ริบวัตถุออกฤทธิ์ดังกล่าวตามมาตรา 157 และไม่มี
กรณี และไม่มีการฟ้องคดีต่อศาลเพราะเหตุไม่ คำเสนอต่อศาลว่าผู้เป็นเจ้าของแท้จริงไม่ได้รู้เห็น
ปรากฏผู้กระทำความผิดและพนักงานอัยการสั่ง เป็นใจด้วยในการกระทำความผิดภายในกำหนด
งดการสอบสวน ตามมาตรา 160 ถ้าไม่มีผู้ใดมา 30 วันนับตั้งแต่วันที่ศาลมีคำพิพากษา ให้ลิปวัตถุ
อ้างว่าเป็นเจ้าของภายในกำหนด 90 วัน นับแต่ ออกฤทธิ์นั้น ให้กระทรวงสาธารณสุข มอบหมาย
วันที่พนักงานอัยการมีคำสั่งงดการสอบสวน
ทำลายหรือนำไปใช้ประโยชน์ได้ตามระเบียบที่
ให้วัตถุออกฤทธิ์และเอกสารน้ำตกเป็นของ กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
กระทรวงสาธารณสุข

มาตรา 160

มาตรา 160 บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งมีโทษปรับสถานเดียว ให้เลขาธิการหรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมาย
จากเลขาธิการมีอำนาจเปรียบเทียบได้ ตามหลักเกณฑ์ หรือเงื่อนไข ที่คณะกรรมการกำหนด

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด 12

บทกำหนดโทษ

มาตรา 161 มาตรา 162

มาตรา 161 กรรมการหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา 162 ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มี
ตามพระราชบัญญัตินี้เจ้าหน้าที่ของรัฐตาม โทษจำคุกและปรับ ให้ศาลลงโทษจำคุกและ
กฎหมายว่าด้วยบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือ ปรับด้วยเสมอ โดยคำนึงถึงการลงโทษในทาง
ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองผู้ใด ผลิต ขาย นำเข้า ทรัพย์สินเพื่อป้องปราม การกระทำความผิด
หรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ หรือสนับสนุนใน เกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์
การกระทำดังกล่าวอันเป็นการกระทำความผิด
ตามพระราชบัญญัตินี้ ต้องระวางโทษเป็น 3 เท่า มาตรา 163
ของโทษที่กำหนดไว้สำหรับความผิดนั้น
มาตรา 163 ในกรณีที่ศาลเห็นว่าการกระทำความ
มาตรา 164 ผิดของผู้ใด เมื่อได้วิเคราะห์ถึงความร้ายแรง
ของการกระทำความผิดและพฤติการณ์ที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 164 ถ้าศาลเห็นว่าผู้กระทำความผิดผู้ใดได้ให้ ประกอบแล้ว กรณีมีเหตุอันสมควรเป็นการเฉพาะ
ข้อมูลที่สำคัญในชั้นจับกุมหรือชั้นสอบสวนอัน ราย ศาลจะลงโทษจำคุกน้อยกว่าอัตราโทษขั้นต่ำ
เป็นการเปิดเผยถึงการกระทำความผิดเกี่ยวกับวัตถุ ที่กำหนดไว้สำหรับความผิดนั้นก็ได้ ถ้าเป็นกรณีที่
ออกฤทธิ์ของบุคคลที่เป็นเครือข่ายและเป็น มีอัตราโทษปรับขั้นต่ำ ถ้าศาลได้วิเคราะห์ถึง
ประโยชน์อย่างยิ่งต่อการปราบปรามหรือดำเนินคดี ความร้ายแรงของการกระทำความผิดฐานะของ
แก่บุคคลเหล่านั้นศาลจะลงโทษผู้นั้นน้อยกว่า ผู้กระทำความผิดและพฤติการณ์ที่เกี่ยวข้อง
อัตราโทษขั้นต่ำ ที่กำหนดไว้สำหรับความผิดนั้น ประกอบแล้ว กรณีมีเหตุอันสมควรเป็นการ
ก็ได้ เฉพาะราย ศาลจะลงโทษปรับน้อยกว่าอัตราขั้นต่ำ
ที่กำหนดไว้สำหรับความผิดนั้นก็ได้

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๑๖๕ มาตรา ๑๖๖

คําขอใดที่ได้ยื่นไว้ตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออก ให้ผู้รับอนุญาตผลิต ขาย นําเข้า ส่งออกหรือมีไว้ใน
ฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ และยังอยู่ใน ครอบครองซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ตามพระราชบัญญัติวัตถุ
ระหว่างพิจารณาให้ถือว่าเป็นคําขอตามพระราช ที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ในวันก่อน
บัญญัตินี้ ในกรณีที่คําขอมีข้อแตกต่างไปจากคําขอ วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับยังคงดําเนินกิจการ
ซึ่งต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ให้ผู้อนุญาต ต่อไปได้จนกว่าใบอนุญาตนั้นสิ้นอายุ
มีอํานาจสั่งให้ผู้ขออนุญาตแก้ไขเพิ่มเติมได้ตาม และถ้าประสงค์จะดําเนินกิจการต่อไปให้ยื่นคําขอรับ
ความจําเป็น เพื่อให้การเป็นไปตามพระราชบัญญัติ ใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ก่อนใบอนุญาตเดิม
จะสิ้นอายแต่ถ้าผู้อนุญาตมีคําสั่งเป็นหนังสือไม่ออก
มาตรา ๑๖๗ ใบอนุญาตให้ผู้นั้นไม่มีสิทธิดําเนินกิจการนับแต่วันที่
ทราบ คําสั่งเป็นต้นไป
ให้คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและ
ประสาทตาม พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิต มาตรา ๑๖๘
และประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งดํารงตําแหน่งอยู่ในวัน
ก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับปฏิบัติหน้าที่ บรรดากฎกระทรวง ระเบียบหรือประกาศที่ออกตาม
ตามพระราชบัญญัตินี้ต่อไปจนกว่าจะได้มีคณะ พระราชบัญญัติ วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
กรรมการวัตถุที่ ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทตามพ พ.ศ. ๒๕๑๘ ที่ใช้อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้
ระราชบัญญัตินี้ แต่ต้องไม่เกินหนึ่ งร้อยแปดสิ บวัน ใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเพียงเท่าที่ไม่ขัด
นับแต่วันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ หรือแย้งกับบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้จนกว่าจะ
มีกฎกระทรวง ระเบียบหรือประกาศตาม
พระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคับการดําเนินการออก
กฎกระทรวง ระเบียบหรือประกาศตามวรรคหนึ่ง
ให้ดําเนินการ ให้แล้วเสร็จภายในสองปีนับแต่วันที่
พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ หากไม่สามารถดําเนินการได้
ให้ รัฐมนตรีรายงานเหตุผลที่ไม่อาจ ดําเนินการได้ต่อ
คณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

อัตราค่าธรรมเนียม

ใบอนุญาตผลิตวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ใบอนุญาตผลิตเพื่อส่งออกวัตถุออกฤทธิ์ใน
ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ประเภท ๒

ฉบับละ ๑๐,๐๐๐ บาท ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท
มาตรา ๑๖๖
ใบอนุญาตนําเข้าวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒
ประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ใบอนุญาตส่งออกวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท
๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔
ฉบับละ ๑๐,๐๐๐ บาท
และ ใบอนุญาตขายวัตถุออกฤทธิ์ใน
ใบอนุญาตนําผ่านวัตถุออกฤทธิ์ ประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔
ใบอนุญาตให้มีไว้ในครอบครองหรือใช้
ประโยชน์วัตถุออกฤทธิ์ และใบอนุญาตนํา มาตรา ๑๖๖
เข้าหรือส่งออกเฉพาะคราวซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ ฉบับละ ๑,๐๐๐ บาท

ฉบับละ ๕๐๐ บาท ใบอนุญาตโฆษณาวัตถุออกฤทธิ์ตาม
มาตรา ๗๐

ใบสําคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับ ฉบับละ ๓,๐๐๐ บาท
มาตรา ๑๖๖
ฉบับละ ๒,๐๐๐ บาท
การอนุญาตให้แก้ไขรายการทะเบียนวัตถุ
ตํารับตามมาตรา ๖๔

ฉบับละ ๑,๐๐๐ บาท

ใบแทนใบอนุญาตหรือใบแทนใบสําคัญ การต่ออายุใบอนุญาตหรือใบสําคัญการขึ้น
การขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับ ทะเบียนวัตถุตํารับ

ฉบับละ ๑๐๐ บาท

ครั้งละไม่เกินค่าธรรมเนียม
สําหรับใบอนุญาต

เอกสารอ้างอิง:
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกูร. (2559). พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ:สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Click to View FlipBook Version