The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน้าปกหลัก[PDF]-ผสาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ชัยนันท์ บิดร, 2021-03-30 05:27:21

หน้าปกหลัก[PDF]-ผสาน

หน้าปกหลัก[PDF]-ผสาน

.

แอปพลเิ คชันส่ังอาหารดว้ ยโปรแกรม Appsheet
Food ordering app with Appsheet

แอปพลิเคชนั

เล่ม ไลนก์ ลุ่ม

นายชยั นนั ท์ บิดร รหัสนกั เรียน 6122040092
นางสาวณัฐพร บญุ เลศิ รหัสนักเรียน 6122040094
นางสาวภณั ฑิรา อินทริง รหัสนกั เรียน 6122040103

โครงการนเี้ ป็นสว่ นหน่ึงของรายวชิ าโครงการ รหัสวิชา (2204-8501)
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563
สาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กิจดิจิทัล
วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง



สารบญั ค

เรือ่ ง หนา้
บทคัดย่อ ก
กติ ติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบญั (ตอ่ ) ง
สารบัญตาราง จ
สารบญั ภาพ ฉ
สารบัญภาพ(ต่อ) ช
สารบญั ภาพ(ต่อ) ซ
บทที่ 1 บทนา
1
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของโครงการ 1
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 2
1.3 ขอบเขตของโครงการ 3
1.4 ผลทค่ี าดว่าจะได้รบั 3
1.5 คาจากัดความ
บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีท่เี กยี่ วข้อง 4
2.1 แอปพลเิ คชนั (Application) 5
2.2 เทคโนโลยี (Technology) 7
2.3 ระบบเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ (Internet networking) 8
2.4 โปรแกรม (Program) 11
2.5 AppSheet (Web Application)
บทท่ี 3 วิธกี ารดาเนนิ งานโครงการ 26
3.1 การศกึ ษาข้อมลู เบ้ืองต้น 26
3.2 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 28
3.3 ขนั้ ตอนการดาเนินงาน 42
3.4 เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 42
3.5 ขั้นตอนการดาเนนิ การและเกบ็ รวบรวมข้อมูล 43
3.6 พจิ ารณาจากคะแนนตามเกณฑ์

สารบัญ(ต่อ) ง

เร่อื ง หนา้
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงานโครงการ 48
45
3.7 สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล 51
บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ โครงการ 52

4.1 ผลการดาเนินการ
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผลโครงการ
5.2 ข้อเสนอแนะ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
ก แบบเสนอขออนุมตั ิโครงการ
ข ภาพข้ันตอน การจัดทาโครงการ
ค แบบสอบถามความพึงพอใจ
ง ประวตั ิผู้จดั ทา

สารบญั ตาราง จ

ตารางที่ หน้า
4.1 แสดงจานวนของผตู้ อบแบบประเมนิ ถามคิดเป็นรอ้ ยละ
จานวนตามระดับชั้น 45
4.2 แสดงจานวนของผู้ตอบแบบประเมนิ จาแนกตามเพศ 46
4.3 แสดงความพึงพอใจดา้ นการออกแบบแอปพลิเคชนั 46
4.4 แสดงความพึงพอใจด้านการทางานของแอปพลเิ คชนั 47
4.5 แสดงความพึงพอใจดา้ นความงา่ ยต่อการใชแ้ อปพลเิ คชนั 48
4.6 แสดงสถิตคิ วามพงึ พอใจของนักเรยี นระดับชัน้ ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี 49
ทีป่ ระเมนิ โครงการแอปพลิเคชนั สง่ั อาหารด้วย AppSheet

สารบญั ภาพ ฉ

ภาพท่ี หน้า
2.1 แสดง Application (แอปพลิเคชัน) 5
2.2 แสดงภาพเทคโนโลยี 7
2.3 แสดงภาพระบบเครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ต 8
2.4 แสดง โปรแกรม (Program 11
2.5 แสดง App Sheet 11
2.6 แสดงการ Login เขา้ ใช้แอป 12
2.7 แสดงการLogin เข้ามาแลว้ เราจะเร่มิ ทาการสร้าง Application 12
2.8 แสดงหนา้ ต่างข้นึ มาใหเ้ ลือก 13
2.9 แสดงทีเ่ กบ็ ข้อมูล 13
2.10 แสดงการดึงข้อมลู จาก Google Drive ของ Gmail ที่ใช้ login
กับ App Sheet 14
2.11 แสดงขอ้ มลู Table กบั Columns ท่ี App Sheet จะสร้างข้ึนมาให้เอง
โดยอัตโนมตั ิ 14
2.12 แสดงการเพม่ิ Table และ Columns ข้อมูลต้องเหมอื นกนั ทง้ั หมด 15
2.13 แสดงความต้องการแก้ไขท่อี ยู่ของท่เี กบ็ ข้อมูล 15
2.14 แสดงการกด Add New Table 16
2.15 แสดงการเลือกที่เก็บข้อมูล 16
2.16 แสดงการเลือกไฟลท์ ตี่ ้องการบันทกึ ข้อมูล 17
2.17 แสดงการเพม่ิ Columns ให้กับ Sheet2 17
2.18 แสดงไฟล์ทเ่ี กบ็ ข้อมูล 18
2.19 แสดงการเพิม่ Columns 18
2.20 แสดงการสรา้ ง Columns รอไวท้ ี่ Sheet2 19
2.21 แสดง Columns ท่เี ราสร้างไว้ก็จะมาโดยอัตโนมัติ 19
2.22 แสดงการกาหนดสิทธ์ิให้กับผใู้ ช้ 20
2.23 แสดงปุ่มใหส้ ามารถเพ่ิมขอ้ มลู ได้ 20
2.24 แสดงหน้าฟอรม์ ขนึ้ มาใหก้ รอกขอ้ มูล 21

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ช

ภาพที่ หนา้
2.25 แสดงการบนั ทึกในเว็บไซต์ของ Appsheet 21
2.26 แสดงแบบฟอรม์ 22
2.27 แสดงแอพพลเิ คชั่น AppSheet 22
2.28 แสดงการ Login AppSheet 23
2.29 แสดงหนา้ App Gallery 23
2.30 แสดง Example สามารถกดเพ่ิมข้อมลู ได้ 24
2.31 แสดงการเพิ่มข้อมลู 24
2.32 แสดงการบนั ทึกข้อมลู เสร็จแลว้ 25
2.33 แสดงการเช็คข้อมูลท่ีทาการเพิ่มเขา้ ไป 25
3.1 แสดงตวั อย่างภาพของเครซีแ่ ละมอร์แกน 27
3.2 ภาพแสดงการออกแบบผังงานการดาเนนิ งาน 28
3.3 การออกแบบผงั งานการสร้างแอปพลเิ คชัน 29
3.4 การออกแบบผังงาน แอปพลเิ คชันลกู ค้า 30
3.5 การออกแบบผังงาน แอปพลเิ คชนั แม่คา้ 31
3.6 แสดงการศึกษาเกีย่ วกบั การสรา้ งแอปส่ังอาหาร 32
3.7 แสดงการวางแผนการทาแอป 32
3.8 แสดงการออกแบบปกแอป 32
3.9 แสดงหนา้ เว็บ App Sheet 33
3.10 แสดงหนา้ เว็บการลงชื่อเขา้ ใชง้ าน 33
3.11 แสดงการกดเลอื ก Start with your own data 34
3.12 แสดงการตัง้ ช่ือแอพ หมวดแอพ และการเลือก data 34
3.13 แสดงการกดเลอื ก Data 35
3.14 ฐานข้อมลู จาก Google Sheet 35
3.15 สรา้ งระบบล็อกอนิ 35

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ซ

ภาพท่ี หน้า
3.16 กาหนดการทางาน 36
3.17 กาหนดการเช่ือมโยงระหวา่ งกนั 36
3.18 กาหนดจดุ เรมิ่ ตน้ ของโปรแกรม 37
3.19 กาหนดการทางาน 37
3.20 สรา้ งการทางานการส่งข้อมูล 37
3.21 กาหนดการสง่ ขอ้ มลู 38
3.22 นาไปใช้งาน 38
3.23 คัดลอก URL ไปใชง้ าน 38
3.24 สร้างการส่งข้อมลู เข้าไลน์ 39
3.25 สรา้ งการสง่ ข้อมูล 39
3.26 กาหนดปลายทางท่ีจะสง่ 40
3.27 กาหนดปลายทางทจ่ี ะส่ง 40
3.28 เพมิ่ รายการอาหารของลกู คา้ 41
3.29 กาหนดหนา้ ตาของไอคอนป่มุ การทางาน 41
3.30 ทดสอบการทางานของโปรแกรม 42
4.1 แผนภมู ิแสดงเพศของผตู้ อบแบบประเมินจาแนกตามระดบั ช้ัน 45
4.2 แผนภมู ิแสดงเพศของผตู้ อบแบบประเมินจาแนกตามเพศ 46
4.3 แผนภมู แิ สดงความพึงพอใจด้านการออกแบบชิ้นงาน 47
4.4 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจดา้ นการทางานของแอปพลเิ คชนั 48
4.5 แผนภมู แิ สดงความพึงพอใจด้านความง่ายต่อการใชแ้ อปพลเิ คชัน 49
4.6 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจด้านสถติ ิ 50

บทที่ 1
บทนำ

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของโครงกำร
ในปัจจุบนั คนไทยช่ืนชอบการบริโภคกาแฟและน้าหวานมากข้ึน ส่งผลให้ธุรกิจร้านกาแฟมีจ้านวนเพ่ิมขึ้น

ตามไปด้วย จึงท้าให้เกิดเป็นผู้ประกอบการทั้งรายใหญ่และรายย่อยมากมาย หากร้านกาแฟร้านใดมีท้าเล
และการส่งเสริมการขายท่ีดีจะท้าให้มีลูกค้าเพิ่มข้ึน จนในบางครั้งไม่สามารถรองรับลูกค้ามาก ๆ
ในเวลาเดียวกันได้ท้ังหมด ส่งผลให้เกิดความล่าช้า ความไม่สะดวกแก่ทั้งตัวผู้ประกอบการและผู้ซ้ือ
ท้าให้ร้านกาแฟที่เป็นผู้ประกอบการรายใหญ่หันมาใช้เทคโนโลยีในการแก้ปัญหาดังกล่าว โดยการใช้
ระบบในการจัดล้าดับคิว ในการสั่งอาหาร ซึ่งท้าให้สามารถรับมือกับลูกค้ามาก ๆ ในเวลาเดียวกันได้
แต่ในขณะเดียวกันผู้ประกอบการขนาดเล็กกลับมองว่า การน้าแอปพลิเคชันเข้ามาใช้งานนั้นมีขั้นตอน
ยุ่งยาก และมีค่าใช้จ่ายที่สูง อาจจะส่งผลให้ขาดรายได้จากผู้ซ้ือประจา้ ได้

ปัจจุบันมีการนา้ เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดการระบบต่าง ๆ ให้มีความสะดวกสบายมากข้ึน
ซึ่งการพัฒนาแอปพลิเคชันสามารถท้าได้รวดเร็วและง่ายต่อการใช้งาน โดยการใช้แอปพลิเคชันหนึ่ง
พัฒนาอีกแอปพลิเคชันหนึ่งข้ึนมาใช้งาน เช่น โปรแกรม App sheet, App Inventor และ Flutter
ซึ่งจากปัญหาที่ได้กล่าวมาในข้ันต้น ผู้พัฒนาจึงใช้โปรแกรมที่ได้ยกตัวอย่างมาในการพัฒนาแอปพลิเคชัน
ท่ีเข้ามาจัดการในเรื่องของการจัดล้าดับคิวสั่งอาหาร เพื่อให้ผู้ประกอบการรายย่อยที่ไม่มีรายได้มากนัก
ให้สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีไดง้ ่ายย่ิงข้นึ

ดังนั้นผู้จัดท้าได้ตระหนักถึงปัญหาของการรองรับลูกค้าจ้านวนมากในเวลาเดียวกัน จึงจัดท้า
แอปพลิเคชันสั่งอาหาร ด้วยโปรแกรม App Sheet เพื่อช่วยให้ผู้ประกอบการรายย่อยได้เข้าถึง
แอปพลิเคชันท่ีช่วยในการรับออเดอร์และการจัดลา้ ดับคิวได้ง่ายข้ึนโดยท่ีไม่เสียค่าใช้จ่าย

1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องโครงกำร
ในการทา้ โครงการในครั้งน้ี ผ้จู ัดทา้ ไดต้ ง้ั วตั ถปุ ระสงคไ์ วด้ งั น้ี
1.2.1 เพ่อื สรา้ งแอปพลเิ คชนั ในการส่ังอาหารด้วยโปรแกรม App Sheet
1.2.2 เพื่ออ้านวยความสะดวกใหแ้ กน่ ักเรียน นกั ศึกษาในการสงั่ อาหารด้วย App Sheet
1.2.3 เพือ่ สา้ รวจความพึงพอใจนักเรยี น นักศกึ ษาในการใชแ้ อปพลเิ คชนั สั่งอาหารดว้ ย
App Sheet อยู่ในระดบั ดี

2

1.3 ขอบเขตของโครงกำร
โครงการครงั้ นี้ มีขอบเขตดงั น้ี
1.3.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
1.3.1.1 ประชากร คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ แผนกวิชาเทคโนโลยี

ธรุ กิจดจิ ิทลั จา้ นวน 310 คน
1.3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ แผนกวิชาเทคโนโลยี

ธุรกจิ ดิจทิ ัล ห้อง ปวช.1/1 ปวช.1/2 ปวช.1/3 ปวช.2/3 ปวช.2/4 จา้ นวน 183 คน โดยวธิ ีการสมุ่ อย่างงา่ ย
1.3.2 ขอบเขตชิ้นงาน
1.3.2.1 ด้านฮาร์ดแวร์
1.3.2.1.1 คอมพวิ เตอรพ์ กพา ACER Aspire 5,CPU Intel Core i5-7200U,

RAM 4 GB
1.3.2.1.2 คอมพิวเตอรพ์ กพา ASUS X453S, CPU Intel inside Core,

RAM 4 GB
1.3.2.1.3 โทรศพั ทม์ อื ถือ Samsung Galaxy A30 Android Version 10
1.3.2.1.4 โทรศพั ทม์ อื ถือ iPhone 6 Plus iOS Version 12.4.7

1.3.2.2 ด้านซอฟตแ์ วร์
1.3.2.2.1 ใชโ้ ปรแกรม App Sheet ในการสร้างรูปแบบแอปพลิเคชนั
1.3.2.2.2 ใช้ระบบปฏิบตั ิการ Windows 10

1.4 ข้ันตอนวิธีกำรจดั ทำโครงกำร
1.4.1 ประชมุ สมาชิกในกลุ่มเพอ่ื ศกึ ษาหัวขอ้ เรอื่ งที่สนใจในการทา้ โครงการ
1.4.2 น้าเสนอข้อโครงการต่ออาจารยท์ ่ีปรกึ ษาโครงการ
1.4.3 วางแผนการจัดท้าโครงการ โดยเขยี นแบบรา่ งโครงการ
1.4.4 จัดท้าการออกแบบเนอ้ื หาของสอ่ื ท่ีจะน้าเสนอ
1.4.5 ท้าการสรา้ งหน้าแอปพลิเคชันโดยใชโ้ ปรแกรม App Sheet
1.4.6 ทา้ การตรวจสอบความเสถยี รของแอปพลเิ คชัน
1.4.7 นา้ มาทดลองใช้และสรปุ ผล

3

1.5 ผลทค่ี ำดวำ่ จะได้รับ
โครงการนี้ มีผลท่ีคาดว่าจะได้รับ ดงั น้ี
1.7.1 ได้แอปพลเิ คชันสง่ั อาหารดว้ ยโปรแกรม App Sheet
1.7.2 ไดอ้ ้านวยความสะดวกในการสั่งอาหารด้วย App Sheet
1.7.3 ได้ความพึงพอใจในการใชแ้ อปพลเิ คชนั ส่งั อาหารดว้ ยโปรแกรม App Sheet อยู่ในระดบั ดี

1.6 คำจำกัดควำม
แอปพลิเคชัน หมายถึง โปรแกรมท่ีอ้านวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ ที่ออกแบบมาส้าหรับ

Mobile (โมบาย) Tablet (แท็บเล็ต) หรืออุปกรณ์เคลื่อนที่ ท่ีเรารู้จักกัน ซ่ึงในแต่ละระบบปฏิบัติการ
จะมีผู้พัฒนาแอพพลิเคช่ันขึ้นมามากมายเพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน ซึ่งจะมีให้ดาวน์โหลด
ท้ังฟรีและจา่ ยเงิน ทั้งในดา้ นการศึกษา ดา้ นการสื่อสารหรอื แมแ้ ตด่ ้านความบันเทิงต่าง ๆ

แอปพลิเคชันอาหาร หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบเพ่ือตอบสนองให้ผู้ใช้บริการ
สามารถทา้ กจิ กรรมรบั สง่ อาหาร ผ่านโทรศัพทม์ ือถอื เช่น LINE MAN และ Food panda

เทคโนโลยี หมายถึง เทคโนโลยีเป็นการน้าเอาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการประดิษฐ์
สิ่งของต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ส่วนท่ีเป็นข้อแตกต่างอย่างหนึ่งของเทคโนโลยี กับวิทยาศาสตร์
คือเทคโนโลยีจะขึ้นอยู่กับปัจจัย ทางเศรษฐกิจเป็นสินค้ามีการซื้อขาย ส่วนความรู้ทางวิทยาศาสตร์
เป็นสมบัติส่วนรวมของ ชาวโลกมีการเผยแพร่โดยไม่มีการซ้ือขายแต่อย่างใดกล่าวโดยสรุปคือ
เทคโนโลยีสมัยใหมเ่ กิดข้นึ โดยมีความรทู้ างวิทยาศาสตร์เปน็ ฐานรองรับ

การสั่งอาหาร หมายถึง การสั่งรายการที่อยู่หน้าร้าน โดยระบุทั้งราคาและรูปภาพอาหาร
เพื่อเป็นตัวช่วยในการตัดสินใจให้กับผู้ซื้อ ปัจจุบันร้านค้าออนไลน์เข้ามามีบทบาทต่อการใช้ชีวิต
ในสงั คม ทา้ ให้เกดิ ธุรกจิ ออนไลน์มากขึน้ มากมาย เช่น Grab LINEMAN และ Food panda

โปรแกรม App Sheet หมายถึง โซลูชันด้านการผลิตทางธุรกิจให้การแสดงเนื้อหาการจดบันทึก
รูปแบบและเวิร์กโฟลว์ส้าหรับสถานการณ์ทางธุรกิจที่เรียบง่าย App Sheet จะใช้ข้อมูลที่มีอยู่ใน
แผน่ ตารางทา้ การใน Google, สมารท์ การ์ดและแสดงในแบบโต้ตอบผ่านแอปพลเิ คชนั

บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎที ี่เก่ยี วขอ้ ง

บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้ ง

เพอ่ื เป็นแนวทางในการจัดทาโครงการครงั้ นี้ คณะผู้จัดทาไดศ้ กึ ษาเอกสารและทฤษฎที ่ีเก่ียวข้อง ๆ
ดงั นี้

2.1 แอปพลิเคชันพลิเคชนั (Application)
2.2 เทคโนโลยี (Technology)
2.3 ระบบเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต (Internet networking)
2.4 โปรแกรม (Program)
2.5 AppSheet (Web Application)

2.1 แอปพลเิ คชันพลิเคชัน (Application)
2.1.1 แอปพลิเคชันพลิเคชัน (Application) ในปัจจุบัน ผู้คนมากมายต่างให้ความสนใจและใช้งาน

ส่งิ ที่เรยี กว่า แอปพลิเคชันพลิเคชัน กันอย่างแพร่หลาย แอปพลิเคชันพลิเคชัน คือ ซอฟแวร์ประเภทหน่ึง
ที่สามารถกระทาการบางอย่างได้ตามความต้องการ แอปพลิเคชันพลิเคชันสาหรับใช้งาน
บนเคร่ืองคอมพิวเตอร์และโน้ตบุ๊ก เรียกว่า เดสก์ท็อป แอปพลิเคชันพลิเคชัน (Desktop Application)
ส่วนแอปพลิเคชันพลิเคชันท่ีทางานบนเครื่องอุปกรณ์พกพาทั้งหลาย เรียกว่า แอปพลิเคชันพลิเคชัน
บนสมาร์ทโฟน (Mobile Application) เม่ือรันแอปพลิเคชันพลิเคชัน โดยจะทางานอยู่ภายใต้
ระบบปฏิบตั กิ ารตลอดเวลาจนกวา่ จะทาการปดิ ไป ภายในเวลาเดยี วกนั อาจมหี ลายแอปพลเิ คชันพลิเคชัน
ท่ีกาลังทางานพร้อมกันในระบบปฏิบัติการ เรียกกระบวนการนี้ว่า การทางานของแอปพลิเคชันหลาย ๆ
แอปพลิเคชันพร้อมกัน (Multitasking) แอปพลิเคชันพลิเคชันเล็ก ๆ ท่ีสามารถโหลดมาใช้งานได้ง่าย
โดยเสยี ค่าใช้จ่ายนอ้ ยหรือไม่เสยี ค่าใช้จา่ ย แอปพลิเคชนั พลเิ คชันจานวนหนงึ่ ถกู ออกแบบมาสาหรับใช้งาน
บนอุปกรณพ์ กพารวมถงึ ทวี ีบางร่นุ คือโปรแกรมท่ีอานวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ ที่ออกแบบมาสาหรับ
สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต (Tablet) ซ่ึงในแต่ละระบบปฏิบัติการจะมีผู้พัฒนาแอปพลิเคชันพลิเคชันขึ้นมา
มากมายเพ่ือให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน ซึ่งจะมีให้ดาวน์โหลดท้ังฟรีและจ่ายเงิน
ท้งั ในด้านการศึกษา ดา้ นองคก์ ร สื่อสารหรอื แม้แต่ดา้ นความบันเทิงตา่ ง ๆ เป็นต้น

2.1.2 แอปพลเิ คชนั พลเิ คชนั บนสมาร์ทโฟน (Mobile Application) ประกอบขึ้นด้วยคาสองคา คือ
Mobile กับ Application มี ความหมายดังน้ี Mobile คืออุปกรณ์สื่อสารที่ใช้ในการพกพา ซ่ึงนอกจาก
จะใช้งานได้ตามพ้ืนฐานของ สมาร์ทโฟนแล้ว ยังทางานได้เหมือนกับเครื่องคอมพิวเตอร์

5

เน่ืองจากเป็นอุปกรณ์ท่ีพกพาได้จึงมีคุณสมบัติเด่น คือ ขนาดเล็กน้าหนักเบาใช้พลังงานค่อนข้างน้อย
ปจั จบุ นั มกั ใช้ทาหน้าท่ไี ด้หลายอย่าง ในการติดต่อแลกเปลย่ี นข่าวสารกบั คอมพวิ เตอร์

2.1.3 เว็บแอปพลิเคชันพลิเคชัน (Web Application) คือ แอปพลิเคชันพลิเคชัน (Application)
ท่ีถูกเขียนข้ึนมาเพ่ือเป็นเบราว์เซอร์ (Browser) สาหรับการใช้งานเว็บไซต์ต่าง ๆ ซึ่งถูกปรับแต่ง
ให้แสดงผลแต่ส่วนที่จาเป็น เพ่ือเป็นการลดทรัพยากรในการประมวลผลของสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต
ทาใหโ้ หลดหน้าเวบ็ ไซต์ได้เรว็ ขึ้น อกี ท้ังผู้ใชง้ านยงั สามารถใชง้ านผา่ นอนิ เทอร์เน็ตในความเร็วต่าได้

ภาพที่ 2.1 แสดง Application (แอปพลเิ คชนั พลเิ คชนั )

2.2 เทคโนโลยี (Technology)
2.2.1 เทคโนโลยี หมายถึง ส่ิงท่ีมนุษย์พัฒนาข้ึนเพ่ือช่วยในการทางานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ

เช่น อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เครื่องจักร วัสดุ หรือ แม้กระทั่งท่ีไม่ได้เป็นสิ่งของที่จับต้องได้ เช่น กระบวนการ
ต่าง ๆ เทคโนโลยีเป็นการประยุกต์นาเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้และก่อให้เกิดประโยชน์
ในทางปฏบิ ตั ิแกม่ วลมนษุ ย์กลา่ วคอื เทคโนโลยเี ป็นการนาเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการประดิษฐ์
สิ่งของต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดส่วนที่เป็นข้อแตกต่างอย่างหน่ึงของเทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์คือ
เทคโนโลยจี ะข้ึนอยู่กับปจั จยั ทางเศรษฐกิจเป็นสินค้ามีการซื้อขาย ส่วนความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นสมบัติ
ส่วนรวมของชาวโลกมีการเผยแพร่โดยไม่มีการซื้อขายแต่อย่างใด กล่าวโดยสรุปคือ เทคโนโลยีสมัยใหม่
เกดิ ขึน้ โดยมีความร้ทู างวิทยาศาสตร์เปน็ ฐานรองรับ

2.2.2 เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ (process) หมายถึง เป็นการใช้อย่างเป็นระบบ
ของวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือความรู้ต่าง ๆ ที่ได้รวบรวมไว้ เพ่ือนาไปสู่ผลในทางปฏิบัติ โดยเชื่อว่า
เป็นกระบวนการที่เชอ่ื ถือได้และนาไปสู่การแก้ปัญหาตา่ ง ๆ

6

2.2.3 เทคโนโลยีในลกั ษณะของผลผลิต (product) หมายถงึ วัสดแุ ละอปุ กรณ์ทเี่ ป็นผลมาจากการ
ใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี

2.2.4 เทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (process and product)
เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงมีการทางานเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวเครื่องกับโปรแกรมเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ที่สาคัญท่ีสุดของเทคโนโลยีชีวภาพในอนาคต คือ การพัฒนาพันธ์ุพืชและสัตว์เพื่อเพิ่มผลผลิต
อาหารเล้ียงชาวโลกการปฏิวัติทางเทคโนโลยีชีวภาพที่กาลังจะเกิดข้ึนจะมีความสาคัญต่ อมนุษย์ชาติ
ไม่น้อยไปกว่าการปฏิวัติทางเทคโนโลยีสารสนเทศในขณะท่ีประเทศไทยกาลังซวนเซอันเน่ืองจาก
วิกฤติเศรษฐกิจ หลายคนหันมาคิดได้ว่า ต้องหาทางตั้งตัวใหม่ ผลิตสินค้าและเปิดบริการใหม่ ๆ
แทนที่จะอาศัยวัตถุดิบและค่าแรงราคาถูก ซ่ึงเคยเป็นข้อได้เปรียบของไทยแนวทางใหม่คงต้องเป็นการ
ใช้สมอง ใช้ความสามารถท่ีมีอยู่บ้าง มาเพ่ิมพูนและผสมผสานกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อผลิตสินค้า หรือ
เสนอบริการท่ีสามารถแขง่ ขนั ในตลาดโลกได้

2.2.4.1 ประโยชน์ของเทคโนโลยี ช่วยคุณภาพชีวิตของมนุษย์ แถมยังช่วยพัฒนาระบบ
อารายธรรมโดยทางอ้อมอีกด้วยเรื่องราวจากการเร่ิมต้นเทคโนโลยี ยาวนานจนตอนนี้ทาให้มนุษย์
แทบไม่สามารถแยกจากเทคโนโลยีไปได้แล้ว ช่วยให้มนุษย์มีความสะดวกสบายข้ึน ทันสมัย
และชว่ ยประหยดั เวลา

2.2.4.2 บทบาทหน้าที่ของเทคโนโลยี ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทาให้มีการพัฒนาคิดค้นส่ิงอานวยความสะดวกสบายต่อการดารงชีวิตเป็นอันมาก เทคโนโลยีได้เข้ามา
เสริมปัจจัยพื้นฐานการดารงชีวิตได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีทาให้การสร้างท่ีพักอาศัยมีคุณภาพมาตรฐาน
สามารถผลิตสินค้าและให้บริการต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์มากขึ้น
เทคโนโลยีทาให้ระบบการผลิตสามารถผลิตสินค้าได้เป็นจานวนมากมีราคาถูกลง สินค้าได้คุณภาพ
เทคโนโลยีทาให้มีการติดต่อสื่อสารกันได้สะดวก การเดินทางเชื่อมโยงถึงกันทาให้ประชากรในโลกติดต่อ
รบั ฟงั ขา่ วสารกนั ไดต้ ลอดเวลา

2.2.4.3 วิวัฒนาการเทคโนโลยี (Evolution of Technology) เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลง
ห รื อ พั ฒ น า เ ม่ื อ เ ว ล า ผ่ า น ไ ป ขั้ น ต อ น ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ขึ้ น อ ยู่ กั บ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง วิ วั ฒ น า ก า ร
(Evolution) ของระบบหรือเครื่องมือน้ัน ๆ ดังนั้นคาว่าวิวัฒนาการของเทคโนโลยี (Evolution of
Technology) จึงหมายถึง ความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนในระบบหรือเครื่องมือท่ีเกิดข้ึนอย่างซับซ้อน
และมกี ารเปล่ียนแปลงตามลาดบั อยา่ งต่อเน่ืองอันมสี าเหตุมาจากปจั จยั ตา่ ง ๆ

7

ภาพท่ี 2.2 แสดงภาพเทคโนโลยี

2.3 ระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ (Internet networking)

เครือข่ายอินเทอร์เน็ต หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีเช่ือมต่อกัน เป็นจานวนมากครอบคลุม
ไปทั่วโลก โดยอาศัยโครงสร้างระบบส่ือสารโทรคมนาคมเป็นตัวกลางในการแลกเปล่ียนข้อมูล
มีการประยุกต์ใช้งานหลากหลายรูปแบบ อินเทอร์เน็ตเป็นท้ังเครือข่ายของคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
ของเครือข่าย เพราะอินเทอร์เน็ตประกอบด้วยเครือข่ายย่อยเป็นจานวนมากต่อเช่ือมเข้าด้วยกัน
ภายใต้มาตรฐานเดียวกนั จนเปน็ สังคมเครือขา่ ยขนาดใหญ่ อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายสาธารณะท่ีไม่มีผู้ใด
เป็นเจ้าของ ทาใหก้ ารเข้าส่เู ครือขา่ ยเปน็ ไปไดอ้ ย่างเสรภี ายใต้กฎเกณฑบ์ างประการทก่ี าหนดข้ึน เพ่ือไม่ให้
เกิดความสบั สนและวุ่นวายจากการเชอื่ มตอ่ จากเครือขา่ ยทั่วโลก

ผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตหลายคนอาจเข้าสู่อินเทอร์เน็ตโดยผ่านทางระบบเครือข่ายของสานักงาน
บริษัท หรือ สถานศึกษาของตน ซึ่งตามปกติแล้วหากเป็นหน่วยงานหรือสานักงานใหญ่ ๆ
จะต่อคอมพิวเตอร์เป็นระบบภายในองค์กร แลน (LAN) ซ่ึงมักจะเช่ือมต่อกับผู้ให้บริการ ไอเอสพี (ISP)
ผ่านสายนาสัญญาณความเร็วสูง (High-Speed Leased Line) แทนท่ีจะเชื่อมต่อผ่าน โมเดม (Modem)
แต่ถ้าหากว่าคอมพิวเตอร์ท่ีใช้อยู่ในวง แลน (LAN) ที่ไม่โตมากนักก็อาจใช้เช่ือมต่อผ่านโมเดมก็ได้
เพราะจะทาให้ลดค่าใช้จ่ายในการเช่ือมต่อระบบ แต่อาจจะมีปัญหาในเรื่องของความเร็วในการ
เขา้ สู่อินเทอร์เนต็ บ้างเล็กนอ้ ย

เมื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงเครือข่ายท่ัวโลกให้สามารถติดต่อถึงกันได้หมดจนกลายเป็น
เครือข่ายของโลก ดังน้ันจึงมีผู้ใช้งานบนเครือข่ายน้ีจานวนมาก การใช้งานเหล่าน้ีเป็นส่ิงที่กาลังได้รับการ
กล่าวถึงกันท่ัวไปเพราะการเชื่อมโยงเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาให้โลกไร้พรมแดน ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ
สามารถสือ่ สารถงึ กนั ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว

8

ภาพท่ี 2.3 แสดงภาพระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต

2.4 โปรแกรม (Program)
2.4.1 โปรแกรม (Program) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง คาสั่งหรือชุดคาส่ัง ท่ีเขียนข้ึนมา

เพ่ือสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามที่เราต้องการ เราจะให้คอมพิวเตอร์ทาอะไรก็เขียนเป็นคาสั่ง
ซ่ึงต้องสงั่ เปน็ ขัน้ ตอนและแตล่ ะขัน้ ตอนต้องทาอย่างละเอยี ดและครบถ้วน ซึ่งจะเกิดเป็นงานชิ้นหน่ึงข้ึนมา
มชี ื่อ เรยี กวา่ โปรแกรม

2.4.2 ประเภทซอฟตแ์ วร์
2.4.2.1 ซอฟตแ์ วร์ระบบ (System Software)
2.4.2.2 ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ (Application Software)

2.4.3 ภาษาโปรแกรมมิ่ง (Programming Language) หมายถึง ภาษาใด ๆ ท่ีถูกออกแบบ
โครงสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ในการเขียนคาส่ัง หรือชุดคาส่ัง ส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษท่ีมนุษย์เข้าใจ
ประกอบด้วยโครงสร้างของภาษาสทรัคเชอะ (Structure) รูปแบบไวยากรณ์ซินแทคช (Syntax)
และคาศัพท์ต่าง ๆ เพ่ือสั่งให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทางานตามที่เราต้องการ ในงานเขียนโปรแกรมจะต้อง
มกี ารเตรียมงานเกี่ยวกับการเขียนโปแกรมอย่างเป็นข้ันตอน ซ่ึงเรียกขั้นตอนเหล่านี้ว่าข้ันตอนการพัฒนา
โปรแกรม

9

2.4.4 ข้ันตอนการพฒั นาโปรแกรม
การวเิ คราะหป์ ัญหา ประกอบด้วยขนั้ ตอนต่าง ๆ ดงั น้ี
2.4.4.1 กาหนดวัตถุประสงค์ของงาน เพื่อพิจารณาว่าโปรแกรมต้องทาการ ประมวลผล

อะไรบา้ ง
2.4.4.2 พิจารณาข้อมูลนาเข้า เพื่อให้ทราบว่าจะต้องนาข้อมูลอะไรเข้าคอมพิวเตอร์ข้อมูล

มคี ณุ สมบตั เิ ป็นอยา่ งไร ตลอดจนถึงลกั ษณะและรปู แบบของข้อมลู ท่จี ะนาเข้า
2.4.4.3 พจิ ารณาการประมวลผล เพอื่ ให้ทราบว่าโปรแกรมมีขั้นตอนการประมวลผลอย่างไร

มีเงือ่ นไปการประมวลผลอะไรบา้ ง
2.4.5 การออกแบบโปรแกรม การออกแบบข้ันตอนการทางานของโปรแกรมเป็นขั้นตอนท่ีใช้เป็น

แนวทางในการลงรหัสโปรแกรม ผู้ออกแบบขั้นตอนการทางานของโปรแกรมอาจใช้เคร่ืองมือต่าง ๆ
ชว่ ยในการออกแบบ อาทิเช่น คาส่ังลาลอง หรือผังงานการออกแบบโปรแกรมน้ันไม่ต้องพะวงกับรูปแบบ
คาส่งั ภาษาคอมพิวเตอร์ แตใ่ ห้มุ่งความสนใจไปทลี่ าดับข้ันตอนในการประมวลผลของโปรแกรมเท่านัน้

2.4.6 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมเป็นการนาเอาผลลัพธ์
ของการออกแบบโปรแกรมมาเปลี่ยนเป็นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหน่ึง ผู้เขียนโปรแกรม
จะต้องให้ความสนใจต่อรูปแบบคาสั่งและกฎเกณฑ์ของภาษาที่ใช้เพ่ือให้การประมวลผลเป็นไปตาม
ผลลัพธ์ที่ได้ออกแบบไว้ นอกจากนั้น ผู้เขียนโปรแกรมควรแทรกคาอธิบายการทางานต่าง ๆ
ลงในโปรแกรมเพ่ือใหโ้ ปรแกรมน้นั มีความกระจ่างชดั และงา่ ยต่อการตรวจสอบ

2.4.7 การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม การทดสอบโปรแกรมเป็นการนาโปรแกรมท่ีลงรหัส
แล้วเข้าคอมพิวเตอร์ เพ่ือตรวจสอบรูปแบบกฎเกณฑ์ของภาษาและผลการทางานของโปรแกรมน้ัน
ถา้ พบว่ายงั ไมถ่ กู กแ็ ก้ไขให้ถกู ต้องต่อไป ขนั้ ตอนการทดสอบและแก้ไขโปรแกรมแบ่งไดเ้ ป็น 3 ข้นั คือ

2.4.7.1 สร้างแฟ้มเก็บโปรแกรมซ่ึงส่วนใหญ่นิยมนาโปรแกรมเข้าผ่านทางแป้นพิมพ์
โดยใช้โปรแกรมประมวลคา

2.4.7.2 ใช้ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์แปลโปรแกรมที่สร้างข้ึนเป็นภาษาเครื่อง
โดยระหว่างการแปลจะมีการตรวจสอบความถูกต้องของรูปแบบและกฎเกณฑ์ในการใช้ภาษา
ถ้ า ค า สั่ ง ใ ด มี รู ป แ บ บ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง ก็ จ ะ แ ส ด ง ข้ อ ผิ ด พ ล า ด อ อ ก ม า เ พ่ื อ ใ ห้ ผู้ เ ขี ย น น า ไ ป แ ก้ ไ ข ต่ อ ไ ป
ถา้ ไม่มีขอ้ ผิดพลาด เราจะไดโ้ ปรแกรมภาษาเคร่ืองทส่ี ามารถใหค้ อมพิวเตอร์ประมวลผลได้

2.4.7.3 ตรวจสอบความถูกต้องของการประมวลผลของโปรแกรม โปรแกรมที่ถูกต้องตาม
รูปแบบและกฎเกณฑ์ของภาษา แต่อาจให้ผลลัพธ์ของการประมวลผลไม่ถูกต้องก็ได้ ดังนั้นผู้เขียน

10

โปรแกรมจาเป็นต้องตรวจสอบว่าโปรแกรมประมวลผลถูกต้องตามต้องการหรือไม่ วิธีการหน่ึงก็คือ
สมมติข้อมูลตัวแทนจากข้อมูลจริงนาไปให้โปรแกรมประมวลผลแล้วตรวจสอบผลลัพธ์ว่าถูกต้องหรือไม่
ถ้าพบว่าไม่ถูกต้องก็ต้องดาเนินการแก้ไขโปรแกรมต่อไป การสมมติข้อมูลตัวแทนเพ่ือการทดสอบ
เป็นสิ่งท่ีมีความสาคัญเป็นอย่างมาก ลักษณะของข้อมูลตัวแทนท่ีดีควรจะสมมติทั้งข้อมูลท่ีถูกต้อง
และข้อมูลที่ผิดพลาด เพื่อทดสอบว่าโปรแกรมที่พัฒนาข้ึนสามารถครอบคลุมการปฏิบัติงานในเงื่อนไข
ต่าง ๆ ได้ครบถ้วน นอกจากนี้อาจตรวจสอบการทางานของโปรแกรมด้วยการสมมติตัวเองเป็น
คอมพิวเตอร์ทีจะประมวลผล แล้วทาตามคาสั่งทีละคาส่ังของโปรแกรมนั้น ๆ วิธีการน้ีอาจทาได้ยาก
ถ้าโปรแกรมมีขนาดใหญ่หรือมีการประมวลผลทซ่ี ับซ้อน

2.4.8 การทาเอกสารประกอบโปรแกรม การทาเอกสารประกอบโปรแกรมเป็นงานท่ีสาคัญ
ของการพัฒนาโปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมช่วยให้ ผู้ใช้โปรแกรมเข้าใจวัตถุประสงค์
ข้อมูลท่ีจะต้องใช้กับโปรแกรมตลอดจนผลลัพธ์ท่ีจะได้จากโปรแกรม การทาโปรแกรมทุกโปรแกรม
จึงควรต้องทาเอกสารกากับ เพื่อใช้สาหรับการอ้างอิงเม่ือจะใช้งานโปรแกรมและเมื่อต้องการ แก้ไข
ปรบั ปรุงโปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมที่จัดทา ควรประกอบดว้ ยหัวขอ้ ตอ่ ไปน้ี

2.4.8.1 วตั ถุประสงค์
2.4.8.2 ประเภทและชนดิ ของคอมพวิ เตอรแ์ ละอปุ กรณ์ท่ใี ช้ในโปรแกรม
2.4.8.3 วิธีการใชโ้ ปรแกรม
2.4.8.4 แนวคดิ เกย่ี วกบั การออกแบบโปรแกรม
2.4.8.5 รายละเอียดโปรแกรม
2.4.8.6 ขอ้ มูลตวั แทนท่ีใช้ทดสอบ
2.4.8.7 ผลลัพธข์ องการทดสอบ
2.4.9 การบารุงรักษาโปรแกรม เม่ือโปรแกรมผ่านการตรวจสอบตามขั้นตอนเรียบร้อยแล้ว
และถูกนามาให้ผู้ใช้ได้ใช้งานในช่วงแรก ผู้ใช้อาจจะยังไม่คุ้นเคยก็อาจทาให้เกิดปัญหาข้ึนมาบ้าง
ดังนั้นจึงต้องมีผู้คอยควบคุมดูแลและคอยตรวจสอบการทางาน การบารุงรักษาโปรแกรมจึงเป็นขั้นตอน
ที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องคอยเฝ้าดูและหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ในระหว่างที่ผู้ใช้ใช้งานโ ปรแกรม
และปรับปรุงโปรแกรมเม่ือเกิดข้อผิดพลาดข้ึน หรือในการใช้งานโปรแกรมไปนาน ๆ ผู้ใช้อาจต้องการ
เปล่ียนแปลงการทางานของระบบงานเดิมเพ่ือให้เหมาะกับเหตุการณ์ นักเขียนโปรแกรมก็จะต้อง
คอยปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมตามความต้องการของผู้ใช้ที่เปล่ียนแปลงไป การพัฒนาโปรแกรม
จะดาเนินการตามข้ันตอนแต่ละขั้นตอน สามารถย้อนกลับไปทาในขั้นตอนก่อนหน้านี้ได้ เม่ือเกิด

11
ความผิดพลาดหรือพัฒนาโปรแกรมไม่ครบถ้วน หรือไม่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ในทุกข้ันตอน
ซ่ึงการดาเนินการต่าง ๆ ของขั้นตอนเราจะต้องมีการดาเนินการทาเอกสารประกอบโปรแกรมควบคู่
กับการดาเนินการพัฒนาโปรแกรมตลอด เมื่อเกิดการแก้ไขเพ่ิมเติมหรือเปลี่ยนแปลงอะไรก็ตาม
ในโปรแกรมจะตอ้ งทาการแกไ้ ขปรบั ปรงุ โปรแกรมในอนาคต

ภาพที่ 2.4 แสดง โปรแกรม (Program)
2.5 App Sheet (Web Application)

2.5.1 App Sheet คือ App Sheet เป็นโซลูชันด้านการผลิตทางธุรกิจให้การแสดงเน้ือหา
การจดบันทึกรูปแบบและเวิร์กโฟลว์สาหรับสถานการณ์ทางธุรกิจที่เรียบง่าย App Sheet จะใช้ข้อมูล
ที่มีอยู่ในสเปรดชีต Google ชีต, Excel และสเปรดชีตสมาร์ทการ์ดและแสดงในแบบโต้ตอบผ่าน
แอปพลิเคชนั

ภาพที่ 2.5 แสดง App Sheet

12
2.5.2 วิธีลงทะเบียนเขา้ ใช้ App Sheet

2.5.2.1 Login ก่อนโดยเข้าไปที่ Website ของตัว App Sheet เพื่อจัดการสร้าง App
เมอ่ื กดที่ Login จะมีใหเ้ ลอื กวา่ จะให้ Login โดยใชอ้ ะไร ในตวั อย่างน้จี ะเลือกใชเ้ ป็นของ Google

ภาพท่ี 2.6 แสดงการ Login เข้าใช้แอปพลเิ คชนั
2.5.2.2 เมื่อ Login เขา้ มาแล้วเราจะเรมิ่ ทาการสร้าง Application ของเราโดยจะสรา้ งเอง
ทง้ั หมดเลยก็ไดห้ รอื จะเอา Application ที่ระบบหรือคนอื่นทาไว้มาแกไ้ ขก็ได้

ภาพท่ี 2.7 แสดงการLogin เข้ามาแลว้ เราจะเรมิ่ ทาการสร้าง Application

13
2.5.2.3 เมือ่ กด Make a new app จะมหี น้าตา่ งขึน้ มาให้เลือก

Start with your own data: สร้างเองใหม่ทั้งหมด
Start with an idea: แสดงตัวอยา่ ง application ตามความต้องการ ของเรา
Start with a simple app: copy simple application ของทาง App Sheet

ภาพที่ 2.8 แสดงหน้าตา่ งข้ึนมาให้เลอื ก
2.5.2.4 เมื่อเลือก Start with your own data แล้วจะเข้ามาท่ีหน้านี้เพื่อต้ังช่ือและเลือก
ประเภทให้ Application จากนนั้ กด Next step : choose your data เพ่อื เลอื กทเี่ ก็บข้อมูล

ภาพที่ 2.9 แสดงทเ่ี ก็บข้อมูล

14
2.5.2.5 เม่ือ Next step : choose your data แล้วจะสามารถเลือกที่เก็บข้อมูลได้
โดยจะดงึ ขอ้ มูลจาก Google Drive ของ Gmail ทใี่ ช้ login กบั App Sheet

ภาพที่ 2.10 แสดงการดึงขอ้ มูลจาก Google Drive ของ Gmail ทใ่ี ช้ login กับ App Sheet
2.5.2.6 กรณีท่ีไฟล์ที่ใช้เก็บข้อมูลมี Table กับ Columns ท่ี App Sheet จะสร้างข้ึนมาให้

เองโดยอตั โนมตั โิ ดยขอ้ มลู ชอ่ื Table และ Columns จะเหมอื นกันกับทีเ่ ราต้งั ไวใ้ นไฟลท์ ่ีใช้ เก็บขอ้ มูล

ภาพที่ 2.11 แสดงข้อมูล Table กบั Columns ที่ App Sheet จะสร้างข้ึนมาใหเ้ องโดยอตั โนมตั ิ

15
2.5.2.7 กรณีจะเพ่ิม Table และ Columns ต้องให้ข้อมูลเหมือนกันทั้งหมดทั้งชื่อ Table
และ ช่อื Columns เพราะถ้าไม่เหมอื นกันจะเกิด Error ได้

ภาพท่ี 2.12 แสดงการเพมิ่ Table และ Columns ข้อมลู ตอ้ งเหมือนกันทั้งหมด
2.5.2.8 ถ้าเราต้องการแก้ไขท่ีอยู่ของที่เก็บข้อมูลเพียงเล่ือน Scroll mouse ลงมาจะเจอ
กบั การจัดการกบั ทีเ่ กบ็ ขอ้ มลู โดยเราสามารถแกท้ เี่ กบ็ ขอ้ มลู ได้

Source Path : ไฟลท์ ่ีเกบ็ ข้อมลู
Worksheet Name/Qualifier : เลอื กชที ท่ีอยใู่ นไฟลท์ ่ีใชเ้ ก็บข้อมลู

ภาพท่ี 2.13 แสดงความต้องการแก้ไขทีอ่ ยู่ของที่เกบ็ ข้อมลู

16

2.5.3 ตวั อยา่ งการเพ่ิม Table และ Columns ใน App Sheet
2.5.3.1 กดที่ Add New Table

ภาพที่ 2.14 แสดงการกด Add New Table

2.5.3.2 ต่อไปเลอื กว่าจะเลอื กเกบ็ ขอ้ มลู ไว้ที่เดิมหรือไม่ถ้าต้องการจะเปลี่ยนท่ีเก็บ ข้อมูลให้
เลือก New Data Source

ภาพท่ี 2.15 แสดงการเลือกทเ่ี กบ็ ข้อมูล

17
2.5.3.3 เลือกไฟล์ที่ต้องการบันทึกข้อมูลแล้วเลือก Sheet ท่ีต้องการจะเก็บข้อมูล จากน้ัน
จะมีการให้กาหนดสิทธ์ิสาหรับผู้ใช้มีกาหนดเสร็จแล้วก็กด Add This Table เพื่อสร้าง Table (หากมี
Error ก็เพราะว่าใน Table ทพ่ี ึ่งสรา้ งนีไ้ มม่ ี Columns เราตอ้ งสร้างไวก้ ่อนอย่าปลอ่ ยให้ Table วา่ ง)

ภาพที่ 2.16 แสดงการเลือกไฟลท์ ีต่ ้องการบันทึกข้อมูล
2.5.3.4 ทาการเพิ่ม Columns ใหก้ ับ Sheet2 เพื่อไมใ่ ห้ Table มนั ว่างเม่ือทาเสร็จแล้ว
Error จะหายไป

ภาพท่ี 2.17 แสดงการเพม่ิ Columns ให้กับ Sheet2

18
2.5.3.5 ช่ือ Table สามารถเปลี่ยนได้แตช่ อื่ Columns ถา้ จะเปล่ยี นตอ้ งเปลี่ยนท้งั สองที่
คือท่ี Appsheet และไฟล์ท่เี ก็บข้อมลู ให้เหมือนกนั เสรจ็ แล้วกด Regenerate

ภาพท่ี 2.18 แสดงไฟล์ท่เี ก็บข้อมลู
2.5.3.6 การเพิ่ม Columns โดยอันดับแรกให้เลือก Table ท่ีต้องการจะเพ่ิม Columns
จากนั้นกดที่ Virtual Columns เพื่อเป็นการสร้าง จากน้ันต้ังช่ือ Columns หลังจากนั้น กด OK
เพ่ือยนื ยนั การสร้าง

ภาพที่ 2.19 แสดงการเพม่ิ Columns

19
2.5.3.7 การสร้าง Columns อีกวิธีหนึ่งคือสร้างในไฟล์ที่ใช้เก็บข้อมูลก่อนแล้วค่อย
Regenerate ในตัวของ Appsheet ซึ่งวิธีนี้จะสะดวกและง่าย อันดับแรกสร้าง Columns รอไว้
ท่ี Sheet2 จากน้ันเข้าไปท่ี Appsheet

ภาพท่ี 2.20 แสดงการสร้าง Columns รอไว้ที่ Sheet2
2.5.3.8 ทาการกด Regenerate Columns ท่เี ราสรา้ งไวก้ ็จะมาโดยอตั โนมัติ

ภาพท่ี 2.21 แสดง Columns ท่เี ราสร้างไว้กจ็ ะมาโดยอัตโนมัติ

20
2.5.3.9 การกาหนดสิทธ์ิให้กับผู้ใช้จากในภาพจะไม่สามารถเพิ่มหรือลบข้อมูลได้เลย
เราจะทาการใหส้ ทิ ธิ์กับผู้ใชโ้ ดยเลอื กได้เลย Updates : สามารถแก้ไขข้อมูลได้ Adds : สามารถเพิ่มข้อมูล
Deletes : สามารถลบข้อมูลได้ Read-Only : อนุญาตให้ดูข้อมูลได้อย่างเดียวไม่สามารถแก้ไข
เพม่ิ หรือลบได้

ภาพที่ 2.22 แสดงการกาหนดสิทธิ์ใหก้ บั ผู้ใช้
2.5.3.10 เม่ือทาการให้สิทธิเรียบร้อยแล้วตัว Application ด้านขวามือจะมีปุ่มให้
สามารถเพิ่มขอ้ มลู ได้

ภาพที่ 2.23 แสดงปุ่มใหส้ ามารถเพิ่มข้อมูลได้

21
2.5.3.11 เ ม่ื อ ก ด ปุ่ ม เ พ่ิ ม ข้ อ มู ล แ ล้ ว ก็ จ ะ มี ห น้ า ฟ อ ร์ ม ข้ึ น ม า ใ ห้ ก ร อ ก ข้ อ มู ล โ ด ย ข้ อ มู ล
ท่ีจะให้กรอกนั้นจะเหมือนกันกับ Columns ถ้าข้อมูลใน Columns เป็นอย่างไรข้อมูลท่ีจะกรอกใน
ฟอร์มกจ็ ะเปน็ อย่างน้นั

ภาพท่ี 2.24 แสดงหนา้ ฟอร์มขนึ้ มาให้กรอกข้อมูล
2.5.4 การบันทกึ ข้อมลู ลงในไฟล์ทใี่ ชเ้ กบ็ ขอ้ มลู

2.5.4.1 การบันทกึ ในเวป็ ไซตข์ อง Appsheet ทเ่ี ราใชต้ ั้งคา่ ตวั Application ได้เลย
โดยทาการกดปมุ่ เพิม่ ข้อมูล

ภาพที่ 2.25 แสดงการบนั ทึกในเว็บไซต์ของ Appsheet

22
2.5.4.2 เม่อื กดปุ่มเพิ่มข้อมูลแลว้ จะมีแบบฟอร์มขึน้ มา โดยการกรอกข้อมลู ของแตล่ ะ
Columns จะเป็นไปตาม Columns ท่ีไดต้ ง้ั ไว้

ภาพท่ี 2.26 แสดงแบบฟอร์ม
2.5.5 การบนั ทกึ ข้อมูลโดยใช้โทรศัพท์

2.5.5.1 โหลด Application ทม่ี ชี ือ่ วา่ AppSheet มาก่อน มีท้ัง Android และ IOS

ภาพท่ี 2.27 แสดงแอปพลเิ คชัน AppSheet

23
2.5.5.2 เม่อื ตดิ ตัง้ AppSheet เสร็จแลว้ ให้ทาการ Login โดยใช้ G-mail เดยี วกนั กบั
ทใ่ี ช้ในเว็บไซต์ AppSheet

ภาพท่ี 2.28 แสดงการ Login AppSheet
2.5.5.3 เม่ือทาการ Login เข้ามาแล้วจะเจอกับหน้า App Gallery ซ่ึงจะมี Application
ทงั้ หมดทีเ่ ราทาเอาไว้

ภาพที่ 2.29 แสดงหน้า App Gallery

24
2.5.5.4 กดเข้ามาท่ี Application ทเี่ ราเลอื กคือ Example เม่ือเขา้ มาแล้วกส็ ามารถกดเพม่ิ
ข้อมลู ได้เหมือนกับท่ีทาในเว็บไซต์เลยแตแ่ บบน้ีจะสะดวกกว่า

ภาพท่ี 2.30 แสดง Example สามารถกดเพิม่ ข้อมลู ได้
2.5.5.5 ทาการเพิ่มข้อมูลลงไปในไฟล์ท่ีเกบ็ ขอ้ มูล

ภาพที่ 2.31 แสดงการเพิ่มข้อมูล

25
2.5.5.6 เม่อื ทาการบันทกึ ข้อมูลเสร็จแล้วขอ้ มูลในไฟลเ์ ก็บข้อมลู จะมาแสดงที่หนา้ แรกซ่ึงเรา
สามารถกาหนดไดว้ ่าจะให้แสดงอะไร

ภาพที่ 2.32 แสดงการบนั ทึกขอ้ มลู เสรจ็ แล้ว
2.5.5.7 เมอื่ ต้องการเซ็กขอ้ มลู ทีท่ าการเพิม่ เขา้ ไปสามารถเช็คได้โดยเข้าไปที่ Google Drive
ของ Gmail ท่ีใช้ Login กับ Appsheet เข้าดูไฟล์ที่เก็บข้อมูลแล้วข้อมูลท่ีเราเพ่ิมไป บันทึกเข้ามาก็ถือว่า
Application ใช้งานไดแ้ ลว้

ภาพที่ 2.33 เช็กข้อมูลท่ีทาการเพิ่มเขา้ ไปแล้ว

บทท่ี 3
วธิ ีการดาเนนิ การ

บทท3่ี
วิธีการดาเนนิ งานโครงการ

การดาเนินโครงการ แอปพลิเคชันส่ังอาหารด้วยโปรแกรม Appsheet มีรายละเอียด
ในการดาเนนิ งานโครงการ ดงั น้ี

3.1 การศกึ ษาข้อมลู เบ้ืองตน้
3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3.3 ข้ันตอนการดาเนินงาน
3.4 เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
3.5 ขัน้ ตอนการดาเนนิ การและเก็บรวบรวมข้อมลู
3.6 พจิ ารณาจากคะแนนตามเกณฑ์
3.7 สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล

3.1 การศึกษาขอ้ มูลเบื้องต้น
3.1.1 การสร้างแอปพลเิ คชัน
3.1.2 โปรแกรม AppSheet
3.1.3 ประวัติความเปน็ มา

3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
3.2.1 ประชากร คือ นักเรียนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ แผนกวิชาเทคโนโลยี

ธุรกิจดิจทิ ัล วิทยาลยั เทคนิคระยอง จานวน 310 คน
3.2.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ แผนกวิชาเทคโนโลยี

ธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ห้อง ปวช.1/1 ปวช.1/2 ปวช.1/3 ปวช.2/3 ปวช.2/4 จานวน
183 คน

27

ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด
ประชาก ตัวอย่า ประชาก ตัวอยา่ ประชาก ตัวอยา่ ประชาก ตัวอย่า ประชาก ตวั อยา่

รงรงรงรงรง
10 10 100 80 280 162 800 260 2,800 338
15 14 110 86 290 165 850 265 3,000 341
20 19 120 92 300 169 900 269 3,500 346
25 24 130 97 320 175 950 274 4,000 351
30 28 140 103 340 181 1,000 278 4,500 354
35 32 150 108 360 186 1,100 285 5,000 357
40 36 160 113 380 191 1,200 291 6,000 361
45 40 170 118 400 196 1,300 297 7,000 364
50 44 180 123 420 201 1,400 302 8,000 367
55 48 190 127 440 205 1,500 306 9,000 368
60 52 200 132 460 210 1,600 310 10,000 370
65 56 210 136 480 214 1,700 313 15,000 375
70 59 220 140 500 217 1,800 317 20,000 377
75 63 230 144 550 226 1,900 320 30,000 379
80 66 240 148 600 234 2,000 322 40,000 380
85 70 250 152 650 242 2,200 327 50,000 381
90 73 260 155 700 248 2,400 331 75,000 382
95 76 270 159 750 254 2,600 335 100,000 384

ภาพท่ี 3.1 แสดงตวั อย่างภาพของเครซ่ีและมอรแ์ กน

28

3.3 ขั้นตอนการดาเนนิ งาน
3.3.1 การออกแบบผังงาน
3.3.1.1 การดาเนินงาน

เริ่มตน้

ศกึ ษาปัญหาและ
คน้ ควา้ ข้อมลู

เสนอหวั ขอ้ ต่ออาจารย์
ประจาวิชา

เสนอหัวข้อ ไม่
โครงการ

ใช่
ศึกษาคน้ ควา้ ข้อมูลใน
การทาแอปพลเิ คชัน

วางแผนการสรา้ งแอปพลเิ คชนั

ออกแบบแอปพลิเคชัน

1

ภาพที่ 3.2 ภาพแสดงการออกแบบผงั งานการดาเนินงาน

29

3.3.1.2 การเนินงาน

1

สร้างแอปพลิเคชนั ดว้ ยAppSheet

แอปพลิเคชันเสรจ็ ไม่
สมบูรณ์หรือไม?่

ใช่
ทดสอบการทางานของ

แอปพลิเคชัน

จดั ทารปู เล่มให้สมบูรณ์

จบงาน
ภาพที่ 3.3 ภาพแสดงการออกแบบผงั งานการดาเนินงาน ต่อ

30

3.3.1.1 แอปพลิเคชัน (ลกู คา้ )
เริม่ ต้น

แสดงหน้าLogin
รับคา่ User, Password

ตรวจสอบ ไม่
User, Password ไมแ่ สดงขอ้ มูลผใู้ ช้

ใช่
เลือกรายการอาหาร

สง่ ไปให้แม่คา้

รอรบั ข้อความแจ้งเตือนจากแม่ค้า

รอแอปพลเิ ค ไม่ ไดร้ บั ข้อความ?
ชนั ดาเนนิ การ รบั อาหาร
โหลดเสร็จส้นิ จบงาน

ภาพท่ี 3.4 ภาพแสดงการออกแบบผงั งานแอปพลิเคชันลกู คา้

31

3.3.1.1 แอปพลิเคชนั (แม่คา้ )

เร่มิ ต้น

แสดงหนา้ Login ไม่
รับค่า User, Password ไม่แสดงขอ้ มูลผใู้ ช้

ตรวจสอบ
User, Password

ใช่

รอรบั ออเดอร์ ไม่ ตรวจสอบมี
จากลกู ค้า ออเดอร์หรอื ไม?่
ใช่

มีออเดอร์เข้า ผ่านLine Notify

แจง้ ออเดอร์เสรจ็ ผ่าน Line Notify

เคลียร์ออเดอรท์ ่ีทาแลว้

จบงาน
ภาพท่ี 3.5 ภาพแสดงการออกแบบผังงานแอปพลิเคชันแมค่ ้า

32
3.3.2 ขนั้ ตอนการสรา้ งชิ้นงาน

3.3.2.1 ศกึ ษาหาข้อมูลเก่ยี วกบั การสรา้ งแอปพลเิ คชนั ส่งั อาหารและธุรกจิ รา้ นคาเฟ่

ภาพท่ี 3.6 แสดงการศกึ ษาเกีย่ วกบั การสร้างแอปสัง่ อาหาร
3.3.2.3 ออกแบบหนา้ ปกแอปพลิเคชนั

ภาพที่ 3.7 แสดงการออกแบบหนา้ ปกแอปพลิเคชนั
3.3.1.3 สรา้ งแอปพลิเคชันในโปรแกรม AppSheet

1) ขน้ั ตอนท่ี 1 เข้าหนา้ เวบ็ AppSheet เพอ่ื ลงช่ือเข้าใชง้ าน

ภาพท่ี 3.8 แสดงหนา้ เว็บ AppSheet

33

2) ขัน้ ตอนท่ี 2 ไปท่ี Google Sheet เพื่อกาหนด Data

ภาพที่ 3.9 แสดงหน้าเว็บการลงช่ือเข้าใชง้ าน
3) ขน้ั ตอนที่ 3 ไปที่ Make a new app เลือก Start with your own data

ภาพท่ี 3.10 แสดงการกดเลอื ก Start with your own data

34
4) ขั้นตอนที่ 4 ตั้งช่อื แอปพลเิ คชัน เลือกหมวดแอปพลิเคชัน แล้วกด Choose
your data

ภาพที่ 3.11 แสดงการต้งั ชื่อแอปพลิเคชัน หมวดแอปพลิเคชัน และการเลือก data
5) ขั้นตอนท่ี 5 กดเลือก Data จะมฐี านขอ้ มลู มาจาก Appsheet

ภาพท่ี 3.12 แสดงการกดเลอื ก Data

35

ภาพท่ี 3.13 ฐานข้อมูลจาก Google Sheet
6) ขนั้ ตอนท่ี User Settings เพอ่ื ทาระบบล็อกอิน

ภาพท่ี 3.14 สรา้ งระบบล็อกอนิ
7) ข้นั ตอนท่ี 7 กาหนดการทางานของ User Settings

ภาพท่ี 3.15 กาหนดการทางาน

36
8) ขั้นตอนที่ 8 เลือกแถบเครื่องมือ Data > Slicer > New Slicer เพ่ือทา
การลิงก์เชอ่ื มโยงกบั User Settings

ภาพที่ 3.16 กาหนดการเช่อื มโยงระหว่างกัน
9) ขั้นท่ี 9 เลือกแถบเครื่องมือ Ux > Optons > General เลือก Starting
view ปรับค่าเป็น User Settings เพือ่ ให้เป็นเรม่ิ ตน้ แอปพลิเคชัน

ภาพท่ี 3.17 กาหนดจดุ เร่มิ ต้นของโปรแกรม

37
10) ขั้นตอนท่ี 10 เลือกเครือ่ งมอื Data > Columns เพ่ือกาหนดการทางาน

ภาพที่ 3.18 กาหนดการทางาน
11) ขั้นตอนท่ี 11 เลือก Data > ข้อมูลลูกค้า > View source จะลิงก์ไปท่ี
GoogleSheet เลือก เครื่องมือ > โปรแกรมแก้ไขสคริปต์

ภาพท่ี 3.19 สร้างการทางานการสง่ ขอ้ มูล
12) ข้ันตอนท่ี 12สร้างการสง่ ขอ้ มูลให้กับ GoogleSheet

ภาพท่ี 3.20 กาหนดการส่งข้อมลู

38
13) ขน้ั ตอนท่ี 13 เลอื ก การทาใหใ้ ช้งานได้>การทาใหใ้ ชง้ านไดร้ ายการใหม่

ภาพที่ 3.21 นาไปใชง้ าน
14) ขัน้ ตอนท่ี 15 คัดลอก ในส่วนของ URL

ภาพท่ี 3.22 คัดลอก URL ไปใช้งาน
15) ข้ันตอนท่ี 15 กลับมาที่ App Sheet เลือกแถบเครื่องมือ Behavior
Workflow ของ Rule name

ภาพที่ 3.23 สร้างการสง่ ข้อมลู เข้าไลน์

39

16) ข้ันตอนที่ 16 เลือก New Workflow Rule ตง้ั ชือ่ ในส่วน

ภาพท่ี 3.24 สรา้ งการสง่ ข้อมลู

17) ขนั้ ตอนท่ี 17 เลือก When this happens เลือกข้อมูลที่ต้องการส่งข้อมูล
ในสว่ นของ Targer data ต้ังค่า Update event การทางานในการส่งขอ้ มูล

ภาพท่ี 3.25 กาหนดปลายทางท่จี ะสง่


Click to View FlipBook Version