The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เค้าโครงโครงงาน สู่ขวัญข้าว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aruchapiya, 2022-12-02 02:32:32

เค้าโครงโครงงาน สู่ขวัญข้าว

เค้าโครงโครงงาน สู่ขวัญข้าว

เคาโครงโครงงานบรู ณาการ/สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

1. ชื่อโครงงาน รปู แบบเอกสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ..QR Code.... เร่อื ง ประเพณีสูขวญั ขา ว
2. ชอ่ื ผศู ึกษา

1. .........................................................................................................................................
2. .........................................................................................................................................
3. .........................................................................................................................................
4. .........................................................................................................................................
3. ช่ือครทู ีป่ รกึ ษาโครงงานวิทยาศาสตร
ชอ่ื ครทู ป่ี รกึ ษาโครงงาน ครอู รุชา ปย ะมิตรบัณฑติ

ครนู ติ ชยั วรรณทะมาตร
4. ท่มี าและความสาํ คัญของปญหา

การประกอบพิธีบายศรีสูขวัญ เปนการบูชาพระแมโพสพ ท่ีหลอเลี้ยงมวลมนุษยชาติ และความเปน
สิริมงคลแกชาวนาผูปลูกขาวทุกคน ซ่ึงจะรวมกันกระทําพิธีในชวงหลังฤดูการเก็บเก่ียว ดวยการทําบายศรี
สูขวญั กอนนําขาวเปลือกเกบ็ ใสย ุงขา ว ชาวนาจะนําขา วที่นวดเสร็จแลว มากองรวมกัน หรือนาํ รวงขาวมาถักทอ
เปน รูปตา ง ๆ เพือ่ ประดบั กองขาวตอหนา รูปปน พระแมโ พสพอยางสวยงาม

ซงึ่ ในภาวะสงั คมปจจุบนั หลายสิง่ หลายอยางที่เกิดขึ้นรอบตวั เปน ตัวช้ีบอกวา ประเทศไทยกําลังกาว
สูยุคสารสนเทศ ดวยความกาวหนา ของไอทีและระบบการส่ือสารท่ีมกี ารเติบโตอยางรวดเรว็ ประกอบกับการ
เกิดของระบบเครือขายอนิ เตอรเน็ต ทาํ ใหก ารดําเนินชวี ิตของคน เริม่ เปลย่ี นแปลงไป ตวั อยางทงี่ า ยที่สุดไดแก
การอานหนังสือ การคนควาขอมูลขาวสาร จากรูปแบบหนังสือพิมพ วารสาร จดหมายขาว ไดถูกพัฒนาไปใน
รูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส หรือ E-Document จากการศึกษาคนควาพบวา เอกสารท่ีอยูในรูปแบบของ
ไฟลชนิดตาง ๆ ท่ีเปนรูปแบบอิเล็กทรอนิกส นอกจากจะลดการใชทรัพยากรกระดาษไดแลว ยังชวยประหยัด
คาใชจายอุปกรณในสํานักงาน เชนเคร่ืองพิมพ หมึกพิมพ เครื่องทําลายเอกสาร ฯลฯ แถมยังลดปญหาการ
ทํางานที่ลาชาหรืองานผิดพลาดที่เกิดจากเอกสารสูญหาย ซ่ึงเอกสารอิเล็กทรอนิกสที่นิยมในปจจุบัน มีหลาย
รูปแบบ เชน PDF , QR Code , E-book และการสรางงานเอกสารดวย Google docs , Canva เพราะใช
งานงาย หลักการแสดงผลก็รวดเร็ว และเปนรูปแบบท่ีทั่วโลกใชงานกัน อีกท้ังยังสอดคลองกับการทํางาน
ของ พ.ร.บ. ปฏิบตั ิราชการทางอิเลก็ ทรอนกิ ส อกี ดวย

ดังนน้ั คณะผูจดั ทาํ จึงไดจดั ทําโครงงาน รูปแบบเอกสารอิเลก็ ทรอนิกส ..QR Code.. เรอื่ ง ประเพณี
สขู วัญขา ว เพอื่ เปน การเผยแพรแ ละสงเสริมขนบธรรมเนยี มประเพณกี ารอนรุ กั ษวฒั นธรรมชาวนาตําบล
เขาสามสิบ และเปน ประเพณีโบราณ ที่สบื ทอดกันชา นาน
5. วตั ถุประสงค

1. เพือ่ ศึกษาการสรา งงานเอกสารอิเลก็ ทรอนิกสด วยแอพพลเิ คชนั่ ทเ่ี หมาะสม
2. เพ่ือศกึ ษาประสิทธภิ าพของเอกสารอิเล็กทรอนิกสจากการเผยแพรขอ มลู ขา วสารในทองถิ่น
3. เพือ่ ศกึ ษาความพงึ พอใจของผูสนใจท่ีมีตอ เอกสารอิเล็กทรอนกิ สท่ีเผยแพรข อมูลขาวสารในทอ งถ่ิน

6. สมมตุ ิฐานของการศึกษา
รปู แบบของเอกสารอเิ ล็กทรอนกิ สทเี่ ผยแพรส สู งั คมออนไลน มแี อพพลิเคชัน่ ในการสรา งงานเอกสารได

มากมาย ไดแ ก เอกสาร PDF การสรา ง QR-CODE การสรางงานเอกสารดวย Google docs การสรางงาน
เอกสารดว ย Canva ซงึ่ รูปแบบการนําเสนอจะมคี วามนาสนใจที่แตกตา งกนั

7. ขอบเขตของการทําโครงงาน
ประชากร คอื นักเรียนโรงเรียนเขาฉกรรจวทิ ยาคม ประจาํ ปก ารศกึ ษา 2565
กลุมตัวอยา งที่ศึกษา คอื นักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 1/3 จาํ นวน ............ คน
ตวั แปรทเี่ กย่ี วของ
ตัวแปรตน ประเพณสี ูขวญั ขา ว ตําบลเขาสามสิบ อาํ เภอเขาฉกรรจ จงั หวัดสระแกว
ตวั แปรตาม ความพงึ พอใจในการใชรปู แบบเอกสารอิเล็กทรอนกิ ส ..QR Code.... เรอื่ ง
ประเพณีสูขวัญขาว
ตัวแปรควบคมุ เอกสารอเิ ลก็ ทรอนิกส ..QR Code.... เร่อื ง ประเพณีสขู วัญขา ว

นยิ ามศัพทเ ฉพาะ/นิยามเชิงปฏิบตั กิ าร
เอกสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (E-Document) คอื เอกสารท่อี ยูในรูปแบบของไฟลชนดิ ตา ง ๆ ทีเ่ ปนรูปแบบ

อิเลก็ ทรอนิกส
PDF (Portable Document Format) คือไฟลประเภทหน่ึง ถูกสรางมาจากโปรแกรม Adobe

Acrobat หรอื โปรแกรมประเภท PDF Creater ตัวอ่ืน ๆ เหมาะสําหรบั การทําเอกสาร ปจ จุบันเปน ที่นยิ มมาก
ในการทํา e-Document หรือ e-Paper ตาง ๆ เนอ่ื งจากไฟลทไ่ี ดมีคณุ ภาพสูง ไมผิดเพย้ี นจากตน ฉบับ และผู
ที่นําไฟล PDF ไปใชงาน ก็ไมสามารถแกไขตนฉบับได ถึงแมวาปจจุบันจะมีโปรแกรมออกมาใหม เพื่อที่จะทํา
การแปลงไฟล PDF กลับไปเปนไฟลรูปแบบเดิมก็ตาม แตจากการทดลองใชงานแลวพบวา ใชไดกับเอกสาร
ภาษาอังกฤษเทานั้น สําหรับภาษาไทยยังไมสามารถใชงานได นอกจากน้ียังรับรองการอานขอมูลผาน
web page ไดดว ย

QR Code (คิวอาร โคด) คอื สญั ลกั ษณสีเ่ หล่ยี ม ท่ีเริม่ เหน็ แพรหลายในบานเรามากขน้ึ ไมวาจะเปน
จากหนงั สือพมิ พห รือนติ ยสาร เรยี กวา QR Code (ควิ อาร โคด) ยอมาจาก Quick Response (ควิ๊ก เรสปอน)
เปนบารโ คด 2 มติ ิ

Google Documents หรือที่เรียกกันส้ันๆ วา Google Docs เปนบริการออนไลนท ี่ใหคุณสามารถ
จดั การเอกสารไดแบบไมตอ งเสียเงิน เพียงแคม อี เี มลของ Gmail และเชือ่ มตอ อินเทอรเ น็ต เพราะเตรยี มมาให
หมดแลว ไมว า จะเปนการพมิ พร ายงานแบบทค่ี ุนเคย การทาํ สไลดเ พอ่ื นาํ เสนองานสําคัญ หรอื จะจัดการเอกสาร
แบบ Spreadsheets ไดเหมือน Excel ก็สามารถทําได Google Docs ทํางานเหมือน Microsoft Office แต
ทุกอยางจะทํางานอยูบนเว็บ สามารถทํางานไดทันทีที่มีการเช่ือมตออินเทอรเน็ต โดยไมตองเสียเวลาติดต้ัง
โปรแกรมลงในเคร่ือง หรือเสียเงินคาลิขสิทธิ์กอนใชงานแตอยางใด เพียงแคเขาไปยัง Google Docs เราก็

สามารถสรา ง แกไ ข หรือเปด อานเอกสารไดเลย โดยตวั เอกสารน้ันจะถกู เกบ็ ไวในเซริ ฟเวอรของ Google และ
ทส่ี าํ คญั เราสามารถแชรเอกสารเพือ่ แกไขขอ มลู ไปพรอมๆ กนั

Canva คือ แพลตฟอรมออกแบบกราฟก ไมวาจะเปนชิ้นงานเพ่ือใชลง Social Media,
Presentation, งานสง่ิ พมิ พ รวมไปถึงภาพเคลื่อนไหว

ประโยชนข องแอพ Canva คือ สามารถสรา งรปู ภาพหรือวดี ีโอที่สวยงามไดอยา งรวดเรว็ เพราะเตม็ ไป
ดวยเทมเพลตใหเลอื กใชมากมายแมจะไมมีพนื้ ฐานดา นกราฟก หรือวดิ ีโอก็สามารถเร่ิมตน ใชง านไดทนั ที โดยมี
ใหใ ชงานท้ังแบบฟรแี ละแบบเสยี เงนิ

พิธีบายศรีสูขวัญ เปนการบูชาพระแมโพสพเพื่อความเปนสิริมงคลแกช าวนา ซ่ึงจะกระทําในชวงหลงั
ฤดูการเก็บเก่ียว โดยการทําบายศรีสูขวัญขาวจะทํากอนนําขาวเปลือกเก็บใสยุง และชาวนาจะนําขาวที่นวด
แลวมากองรวมกัน หรือนํารวงขาวมาถักทอเปนรูปตางๆ ประดับกองขาวตอหนารปู ปนพระแมโพสพ และยัง
เชือ่ วาหากไมทาํ บายศรสี ขู วัญขาวกอน จะกอใหเกดิ ความไมส บายใจ นาขาวลม ผลผลิตไมดี

ระยะเวลาดําเนินงาน 1 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ.2565 ถงึ 30 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2565
สถานท่ีทาํ โครงงาน โรงเรียนเขาฉกรรจวทิ ยาคม
8. วิธดี าํ เนนิ งาน
8.1 วสั ดุ/อปุ กรณ

1. เครอ่ื งคอมพวิ เตอรตัง้ โตะหรือโนตบกุ
2. โปรแกรมทีท่ ีใ่ ชใ นการดาํ เนิน

2.1 โปรแกรมสาํ หรบั สราง QR Code
2.2 โปรแกรม Adobe Flash
2.3 โปรแกรม Adobe Photoshop
2.4 โปรแกรม Microsoft Word
2.5 Application Canva
3. Web Browser
8.2 วธิ กี ารทาํ โครงงาน รูปแบบเอกสารอเิ ล็กทรอนิกส ..QR Code.... เรอ่ื ง ประเพณสี ขู วญั ขา ว
ข้นั ที่ 1 การศึกษาประเพณีสขู วญั ขาว ตําบลเขาสามสบิ อําเภอเขาฉกรรจ จังหวดั สระแกว
ขัน้ ที่ 2 สรา งเอกสารอิเลก็ ทรอนิกส ดวย ..QR Code.... เรือ่ ง ประเพณสี ขู วัญขา ว
ขั้นท่ี 3 ศกึ ษาความพึงพอใจของผสู นใจที่มตี อ..QR Code.... เรือ่ ง ประเพณีสขู วญั ขาว
9. ผลท่ีคาดวา จะไดร บั
1. เอกสารอเิ ล็กทรอนสิ ก ..QR Code.... เรือ่ ง ประเพณสี ูขวญั ขา ว
2. ความพงึ พอใจของผสู นใจทมี่ ีตอ..QR Code.... เรอ่ื ง ประเพณสี ูข วัญขา ว

10. แผนการปฏบิ ัติงาน

วนั /เดือน/ป กิจกรรม ผรู ับผดิ ชอบ เวลา สถานท่ี
สมาชกิ ในกลุม (ช่ัวโมง) โรงเรียน
27 ตุลาคม 65 ต้ังกลมุ สมาชกิ พรอมประชมุ เพอ่ื คัดเลือก สมาชกิ ในกลุม 1 ชั่วโมง เขาฉกรรจวทิ ยาคม
3 พฤศจิกายน 65 หวั ขอ โครงงาน สมาชกิ ในกลมุ 1 ชัว่ โมง โรงเรยี น
10 พฤศจกิ ายน 65 ตง้ั ปญ หาโครงงานคอมพวิ เตอรบรู ณาการ สมาชกิ ในกลุม เขาฉกรรจวิทยาคม
17 พฤศจิกายน 65 สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สืบคน
ขอมลู ทีเ่ ก่ยี วขอ งกบั โครงงาน สมาชกิ ในกลุม 2 ชว่ั โมง โรงเรยี น
24 พฤศจกิ ายน 65 เขียนเคาโครงโครงงานคอมพิวเตอร เขาฉกรรจว ิทยาคม
บรู ณาการสังคมศึกษาศาสนาและ
วัฒนธรรม 2 ชั่วโมง โรงเรียน
นําเสนอเคาโครงตอครทู ่ปี รกึ ษา เพอื่ เสนอ เขาฉกรรจว ิทยาคม
ขออนมุ ัตเิ คาโครงโครงงานคอมพวิ เตอร
บูรณาการสงั คมศกึ ษาศาสนาและ โรงเรยี น
วฒั นธรรม และประชมุ แบง หนา ท่ี เขาฉกรรจวิทยาคม
รับผดิ ชอบ
ทํากิจกรรมตามท่ีเสนอโครงงาน (นอก
1. ศึกษาคนควา ขอ มลู เวลา
2. รวบรวมขอมูล เรียน)
3. ลงมือปฏิบตั ิ
- ขัน้ ที่ 1 การศึกษาประเพณสี ูข วัญ

ขาว ตําบลเขาสามสบิ อําเภอเขา
ฉกรรจ จังหวดั สระแกว
- ขน้ั ท่ี 2 สรางเอกสารอิเล็กทรอนิกส
ดว ย ..QR Code.... เรอื่ ง ประเพณีสู
ขวัญขาว
4. ทดลองใช/ศึกษาประสิทธภิ าพ/ศกึ ษา
ความพงึ พอใจ
- ขน้ั ที่ 3 ศึกษาความพึงพอใจของ
ผสู นใจทมี่ ตี อ..QR Code.... เรื่อง
ประเพณสี ูขวัญขาว

1 ธันวาคม 65 สง ผลการทดลอง/ผลงาน/ช้ินงาน/ สมาชกิ ในกลุม 2 ชั่วโมง โรงเรยี น
นวัตกรรมตอ ครูทปี่ รึกษา เขาฉกรรจว ิทยาคม

วัน/เดอื น/ป กิจกรรม ผูรับผดิ ชอบ เวลา สถานท่ี
สมาชิกในกลมุ (ชั่วโมง) โรงเรียน
8 ธนั วาคม 65 สรุปผลการดาํ เนินงาน รวบรวมและสง สมาชิกในกลมุ 2 ช่ัวโมง เขาฉกรรจว ทิ ยาคม
หลกั ฐานการทาํ กิจกรรมตอ ครทู ่ปี รกึ ษา โรงเรยี น
สมาชกิ ในกลมุ ในและ เขาฉกรรจวทิ ยาคม
8 -14 ธันวาคม 65 เขียนรายงานผลโครงงานคอมพิวเตอร นอกเวลา โรงเรยี น
บูรณาการสงั คมศึกษาศาสนาและ สมาชกิ ในกลมุ เขาฉกรรจว ทิ ยาคม
วฒั นธรรม 5 บท โรงเรียน เรยี น โรงเรยี น
เขาฉกรรจ ในและ เขาฉกรรจว ทิ ยาคม
15 ธันวาคม 65 สงรายงานโครงงานคอมพวิ เตอรบรู ณาการ วทิ ยาคม นอกเวลา โรงเรียน
สังคมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรมตอ ครูที่ เรียน เขาฉกรรจวทิ ยาคม
ปรกึ ษา นอกเวลา
เรยี น
15 - 21 ธันวาคม 65 จัดปายนเิ ทศ จัดทําส่อื นาํ เสนอ เพือ่ 15 นาที
แสดงผลงานระดบั โรงเรยี น

22 ธันวาคม 65 นําเสนอผลงาน

11. เอกสารอางอิง/เอกสารท่เี กย่ี วของ

1. สารสม Ammonium alum และ Potassium alum คือ เกลอื เชิงซอนของสารประกอบท่มี ี ธาตุ
อะลมู เิ นียม และ ซลั เฟต เปน สว นประกอบหลัก หรือ รจู ักกนั ในนามวา สารสม (alum) หรอื ผลึกเกลือ มสี ูตร
ทางเคมที ั่วไปคือ [M( l )M,( l l l ) (SO4)2 . 12H2O]
ประเภทของสารสม สารสม (alum) มรี ากศัพทมาจากคําในภาษาลาตินวา alumen แปลวา สารทําใหหดตัว
(astringent) แตใ นปจ จุบัน สารสมหมายถงึ เกลอื เชงิ ซอ น ( ผลึกเกลอื ) ของสารประกอบท่ีมี ธาตุอะลมู ิเนยี ม
และ ซัลเฟต เปน สวนประกอบหลัก แบง ออกเปน 3 ประเภท คือ

1. เกลอื ซัลเฟตของอะลูมิเนียมหรืออะลูมเิ นยี มซัลเฟต [AL2(SO4)3. XH2O] ลักษณะ เปน กอนผงสขี าว
2. เกลอื เชงิ ซอ นของโพแทสเซยี มหรอื โพแทสเซยี มอะลั่ม [AL2(SO4)3 . K2SO4 . 24H2O] ลักษณะเปน

ผลกึ ใสไมม ีสี
3. เกลือเชิงซอ นของแอมโมเนียมหรือแอมโมเนียมอะลั่ม [AL2(SO4)3 . (NH4)2SO4 . 24H2O] ลกั ษณะ

เปน ผลึกใสไมมสี ี
ประโยชน สารสมนําไปใชประโยชนไดอ ยา งกวา งขวางท้งั ในอุตสาหกรรมและทเี่ กี่ยวขอ งกบั ผวิ หนัง

1. การใชป ระโยชนใ นอตุ สาหกรรม สว นมากจะใชในอุตสาหรรมการประปา รองลง มาไดแก
อุตสาหกรรมกระดาษ ยอมผา ฟอกหนัง ผสมเปนยาดับเพลิง สารดบั กลิ่น ฟอกสี และ ผสมทําผงฟู
ใชใ นการทําขนมปง เปน ตน

2. การใชเ ก่ียวของกับผวิ หนัง ใชดับกล่นิ ตัวไดท กุ สวนของรางกายตามท่ตี อ งการ โดยเฉพาะทีใ่ ตวง
แขน ( รกั แร ) และ เทา สามารถระงับ กล่นิ ได 100 % นานถงึ 24 ช.ม และหนวงการเกิดกลน่ิ ได
ไมต ่าํ กวา 10 ช.ม ใชทาหลงั โกนหนวดจะไมทาํ ใหเ กิดการระคายเคือง ชวยหา มเลอื ดและสมาน
บาดแผลที่เกดิ จากมีดโกนบาด หรือ บาดแผลเลก็ นอ ย ใชทาที่สนเทาจะรักษาและปอ งกนั สนเทา
แตก ทาแกคนั ตามผวิ หนงั เมอื่ ถกู ยงุ กดั หรือคนั จากสาเหตอุ นื่

คณุ สมบัติ

1. ไมม สี แี ละกล่ิน ซ่งึ เปน คณุ สมบัตทิ ่พี เิ ศษของมัน เหมาะสาํ หรับผูที่ชอบใชน ํา้ หอม เพราะจะไมมีกลน่ิ
ไปรบกวนหรอื หักลางกล่นิ น้ําหอมทีใ่ สอ ยู กลาวคือ สารดับกลิน่ ตัวสว นมากจะผสมนาํ้ หอมลงไปดวย
ทาํ ใหไ ปรบกวนกล่ินของนาํ้ หอมราคาแพงท่ใี สอ ยู
2. ไมเ ปอ นเสือ้ ผา เพราะไมม สี วนผสมของ ครมี และนํา้ มัน
3. ปลอดภยั กับรา งกาย กลา วคือ ไมอ ดุ ตนั รขู น ไมซ มึ เขา สูรางกายเพราะตัวมันทาํ ใหเกิดประจลุ บจึง
ไมส ามารถที่ผานผนงั เซลได ไมเ ปน พิษตอ สง่ิ แวดลอมและไมท ําลายโอโซน
4. ไมเสื่อมสภาพ มคี วามคงทนตอ สภาพแวดลอมไมเ สอ่ื มสภาพทอี่ ณุ หภูมิหอ ง
ท่มี า : https://www.scimath.org/article-science/item/2491-2011-11-19-17-27-36
คลังความรู SciMath
สบื คน เมื่อ : วนั ที่ 17 มกราคม 2564

2. การตกผลึก คอื การแยกของผสมทเ่ี ปน ของแข็งทม่ี ีสมบตั ิการละลายในตวั ทาํ ละลายตางกันและไดไมเ ทากัน
ทกุ อณุ หภูมิ มีหลักการ คือ เม่อื นาํ ของผสมละลายในตัวทําละลายตมสารละลายน้ันจนละลายหมด แลวทิ้งให
อุณหภูมิลดลง สารทลี่ ะลายนอ ยกวาจะอ่มิ ตวั แลว ตกผลึกแยกออกมากอ น เชน นํา้ ตาลกับเกลอื ซิลเวอรไ นเตรต
กับโพแทสเซียมไนเตรต การแยกเกลือโซเดยี มคลอไรดอ อกจากน้ําทะเล
ทมี่ า :
คลงั ความรู SciMath สบื คน เมื่อ : วนั ที่ 17 มกราคม 2564
3. เตยหอม ช่อื วทิ ยาศาสตร: Pandanus amaryllifolius come เปนไมยนื ตนพมุ เลก็ ขึน้ เปนกอ ลําตนอยูใต
ดนิ ใบเปนใบเดีย่ ว เรยี งสลบั เวยี นเปน เกลียวขน้ึ ไปจนถงึ ยอด ใบเปนทางยาว สีเขม คอนขางแขง็ เปน มันเผอื ก
ขอบใบเรยี บ ในใบมีกล่ินหอมจากนา้ํ มันหอมระเหย Fragrant Screw Pine สเี ขียวจากใบเปนสีของ
คลอโรฟลล ใชแตง สขี นมได
ที่มา : ………………………………………………………………………………………
คลงั ความรู SciMath สืบคนเม่อื : วันที่ 17 มกราคม 2564
4. ตะไคร (ช่ือวทิ ยาศาสตร: Cymbopogon citratus); ชื่อทอ งถนิ่ : จะไคร (ภาคเหนอื ), หวั ซิงไค (ภาคอสี าน),
ไคร (ภาคใต) , คาหอม (แมฮองสอน), เชิดเกรย, เหลอะเกรย (เขมร-สรุ ินทร) , หอวอตะโป (กะเหรีย่ ง-
แมฮ อ งสอน) ) เปน พชื ลม ลุก ความสูงประมาณ 4-6 ฟตุ ใบยาวเรยี ว ปลายใบมีขนหนาม ลาํ ตน รวมกนั เปนกอ
มกี ลิ่นหอม ดอกออกเปน ชอยาวมดี อกเลก็ ฝอยเปนจาํ นวนมาก ตะไครเ ปนพืชทีส่ ามารถนําสวนตน หัวไป
ประกอบอาหาร และจดั เปน พชื สมุนไพรดว ย
ที่มา : ……………………………………………………………………………………..
คลงั ความรู SciMath สบื คน เมื่อ : วันท่ี 17 มกราคม 2564

12. การขออนมุ ัติเคาโครงของโครงงานวิทยาศาสตร

ลงช่ือ ลงช่ือ ลงชือ่
(...................................) (...................................) (...................................)

ผลการพจิ ารณา คณะผูศกึ ษา
อนมุ ัติ เหตุผล............................................................................
ไมอนุมัติ

ลงช่อื ลงช่อื
(นางอรุชา ปย ะมติ รบัณฑิต) (นายนิตชยั วรรณมาศ)

ครปู ระจาํ วิชาการสรา งงานเอกสาร ครูประจาํ วิชาหนาที่พลเมือง
......./......................./................. ......./......................./.................


Click to View FlipBook Version