2. องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์
2.ส4าขรอส้ มนูลเทแศลทะ่ีมสาีปรรสะนโเยทชศน(น์D้นัatจaะ/Iมnีคfoุณrmสaมtบioตัn)ิ ดงั ต่อไปน้ี
มีความสัมพนั ธ์กนั สามารถนามาประยกุ ตใ์ ชไ้ ดอ้ ยา่ ง
(Relevant) เหมาะสมกบั สถานการณ์ปัจจุบนั
มคี วามทนั สมัย ตอ้ งมีความทนั สมยั และพร้อมที่จะใชง้ าน
ไดเ้ มื่อตอ้ งการ
(Timely)
มีความถกู ต้อง เมื่อป้อนขอ้ มูลเขา้ สู่คอมพวิ เตอร์แลว้
แม่นยา (Accurate) ผลลพั ธ์ท่ีไดจ้ ะตอ้ งถูกตอ้ งในทุกๆ ส่วน
มคี วามกระชับรัดกมุ ขอ้ มูลจะตอ้ งถูกยอ่ ใหม้ ีความกระชบั และ
(Concise) ความยาวที่พอเหมาะ
มีความสมบูรณ์ใน ตอ้ งรวบรวมขอ้ มูลที่สาคญั ไวอ้ ยา่ ง
ตัวเอง (Complete) ครบถว้ น
2. องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์
2.5 กระบวนการทางาน (Procedure)
หมายถึง ข้ันตอนที่ผู้ใชจ้ ะต้องทาตาม เพื่อใหไ้ ด้งานเฉพาะ
บางอยา่ งจากคอมพวิ เตอร์
ผูใ้ ชค้ อมพิวเตอรท์ ุกคนจะตอ้ งรูก้ ระบวนการทางาน พ้ ืนฐานของ
เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ เพ่ือที่จะสามารถใชง้ านไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง เชน่
การใชเ้ คร่ือง ฝาก – ถอนเงินอตั โนมตั ิ (ATM) ถา้ ตอ้ งการ
ถอนเงินจะตอ้ งผ่านกระบวนการต่างๆ
2. องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์
2.5 กระบวนการทางาน (Procedure)
1. จอภาพแสดงขอ้ ความเตรียมพรอ้ มท่ีจะทางาน
2. สอดบตั ร และพิมพร์ หสั ผูใ้ ช้
3. เลือกรายการ
4. ใส่จานวนเงินที่ตอ้ งการ
5. รบั เงิน
6. รบั ใบบนั ทึกรายการ และบตั รคืน
กิจกรรมและความสมั พนั ธข์ องแตล่ ะองคป์ ระกอบ
ประเภทของเครอื่ งคอมพวิ เตอร ์
จาแนกตามขนาดและความสามารถของเคร่ืองคอมพวิ เตอรไ์ ด้ ดงั น้ ี
ซเู ปอรค์ อมพวิ เตอร ์(Super Computer)
เมนเฟรมคอมพวิ เตอร ์(Mainframe Computer)
มนิ ิคอมพวิ เตอร ์ (Minicomputer)
ไมโครคอมพวิ เตอร ์ (Microcomputer)
คอมพิวเตอรม์ ือถือ (Handheld Computer)
ซเู ปอรค์ อมพวิ เตอร ์ (Super
Computer)
เป็ นเครอื่ งคอมพิวเตอรท์ มี่ ีขนาดใหญ่และมีราคาสูง มี
ความเรว็ ในการประมวลผลถงึ 1,000 ลา้ นคาสง่ั ตอ่ 1 วนิ าที
ภายในเครอื่ งมีหน่ วยประมวลผลเป็ นจานวนมากทาให ้
สามารถประมวลผลคาส่งั หลายคาส่งั พรอ้ มกนั ได ้ เหมาะ
สาหรบั งานที่ตอ้ งคานวณผลซบั ซอ้ น และเป็ นงานที่มี
้
เมนเฟรมคอมพวิ เตอร ์(Mainframe
Computer)
เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่มีลกั ษณะการทางานโดยมีผใู้ ชห้ ลายๆ คน
ในเวลาเดียวกันได้ สามารถประมวลผล 10 ลา้ นคาสั่งต่อ 1 วินาที
เหมาะสาหรับงานที่มีการเก็บข้อมูลปริ มาณมาก เช่น ธนาคาร
โรงพยาบาล การใชเ้ มนเฟรมคอมพิวเตอร์ ตอ้ งคานึงถึง อุณหภูมิและ
ความช้ืนโดยมีระบบควบคุมและผเู้ ช่ียวชาญคอยดูแล
มนิ ิคอมพวิ เตอร ์ (Minicomputer)
มี ลั ก ษ ณ ะ เ ดี ย ว กั น กั บ เ ค รื่ อ ง
เมนเฟรมคอมพิวเตอร ์ แต่มีขนาดเล็กกว่า และมี
ประสิทธิภาพต่ากว่า ทั้งในดา้ นความเร็วในการ
ประมวลผล และความจุของหน่ วยความจา ปัจจุบนั
อ ง ค ก์ ร ข น า ด ก ล า ง แ ล ะ ข น า ด เ ล็ ก จ ะ นิ ย มใ ช ้
ไมโครคอมพวิ เตอร ์
(Microcomputer)
หรือท่ีเรียกวา่ เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal
Computer :PC) เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีเหมาะสาหรับ
การใช้งาน 1 คนต่อ 1 เคร่ือง หรื อ ใช้เช่ือมต่อกับเคร่ืองใน
เครื อข่าย ไมโครคอมพิวเตอร์มีลักษณะการใช้งานง่าย
เคลื่อนยา้ ยสะดวก ราคาถูก ตวั อยา่ งของไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น
โน๊ตบุค๊ เดสกโ์ น๊ต และแทบ็ เลต็ พซี ี
คอมพวิ เตอรม์ ือถือ (Handheld Computer)
เป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กท่ีสุดเมื่อเทียบกับคอมพิวเตอร์
ประเภทอื่นๆ อีกท้งั ยงั สามารถพกพาไปในที่ต่างๆไดง้ ่าย ประโยชน์การ
ใชค้ อมพิวเตอร์ประเภทน้ ีอาจนาไปใชใ้ นการจดั การขอ้ มูลประจาวนั
การสรา้ งปฏิทินนัดหมาย การดูหนังฟังเพลง รวมถึงการรับส่งอีเมล์
บางรุ่นอาจมีความสามารถเทียบเคียงไดก้ บั ไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น
ปาลม์ , พอ๊ กเกต็ พซี ี เป็ นตน้
4. คอมพวิ เตอรย์ คุ ใหม่
เดสกท์ ็อป (Desktop)
โน๊ตบุค๊ (Notebook)
เดสกโ์ น๊ต (Desknote)
แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC)
พีดีเอ (PDA-Personal Digital
Assistants)
สมารท์ โฟน (Smart Phone)
เดสกท์ อ็ ป (Desktop)
เป็ นคอมพิวเตอรแ์ บบต้งั โต๊ะที่ใชใ้ นสานักงานหรือตามบา้ น
ทัว่ ไป นิยมใชส้ าหรับการประมวลผล ตัวเคร่ืองและจอภาพ
สามารถจดั วางเพ่ือทางานบนโต๊ะไดอ้ ย่างสบาย ปัจจุบันมีการ
ผลิตที่เนน้ ความสวยงามและราคาถูก
โนต๊ บคุ๊ (Notebook)
คอมพิวเตอรโ์ น๊ตบุ๊คมีคุณสมบตั ิที่ใกลเ้ คียงกบั พีซี แต่จะ
มีขนาดเล็กและบางลง มีน้าหนักเบาสามารถพกพาไดส้ ะดวก
มากยิ่งข้ ึน และขอ้ แตกต่างอีกประการหน่ึงคือ โน๊ตบุ๊คจะมี
แบตเตอร่ีไวส้ าหรับการทางานดว้ ย ท่ีสาคญั ราคาถูกลงกว่า
เมื่อกอ่ นมาก แต่ยงั ถือวา่ มรี าคาแพงกวา่ พซี ีธรรมดา
เดสกโ์ นต๊ (Desknote)
เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาอีกแบบหนึ่งคลา้ ยๆกับ
โน๊ตบุ๊ค ต่างกนั ตรงท่ีเดสกโ์ น๊ตไม่มีแบตเตอรี่ท่ีคอยจ่ายไฟให้
จึงตอ้ งเสียบปล๊ักตลอดเวลาที่ใช้ อีกท้ังราคาถูกกว่าโน๊ตบุ๊ค
เหมาะกบั ผูท้ ่ีมีสานักงานหลายๆท่ี และเดินทางไปมาบ่อยๆ
แทบ็ เลต็ พซี ี (Tablet PC)
เป็ นเคร่ืองคอมพิวเตอรท์ ่ีผูใ้ ชส้ ามารถป้อนขอ้ มลู เขา้ ไป
ไดโ้ ดยการเขียนบนจอภาพเหมือนกบั การเขียนขอ้ ความลง
ไปในสมุดโน๊ต และเคร่ืองสามารถท่ีจะแปลงขอ้ มูลต่างๆ
เหล่าน้ันเก็บไวไ้ ด้ และบางเคร่ืองยงั สามารถพลิกหน้าจอได้
2 แบบ คือ เหมือนกบั การใชง้ านแบบโน๊ตบุ๊คหรือเหมือน
กบั กระดานรองเขียนกไ็ ด้
พดี ีเอ (PDA-Personal Digital Assistants)
สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็ น 2 กลุม่ คือ
ปาลม์ (Palm)
พ็อกเกต็ พีซี (Pocket PC)
ปาลม์ (Palm)
เป็ นเครื่องคอมพิวเตอรพ์ กพาที่เปิ ดตลาดมาก่อน แต่เดิมน้ันเน้น
เพ่ือการใชง้ านสาหรบั เป็ นเคร่ืองบนั ทึกช่วยจาต่างๆ(organizer) เชน่
การนัดหมาย ปฏิทิน สมุดโทรศัพท์ แต่ปั จจุบันได้พัฒนาให้มีขีด
ความสามารถต่างๆ เพิ่มมากข้ ึน โดยจะใชร้ ะบบปฏิบัติการท่ีเป็ นของ
ตวั เองเรียกวา่ Palm OS
พอ็ กเก็ตพีซี (Pocket PC)
เป็ นเครื่องคอมพิวเตอรท์ ี่อานวยความสะดวกในการใชง้ าน
ไดด้ ีเช่นเดียวกบั เคร่ืองปาลม์ แต่จะแตกต่างจากเคร่ืองปาลม์ ใน
เรื่องของระบบปฏิบตั ิการที่ใชจ้ ะอิงกบั ค่ายไมโครซอฟทเ์ ป็ นหลกั
ผูใ้ ชง้ านพอ็ กเก็ตพีซีท่ีชินกบั ระบบปฏบิ ตั ิการของไมโครซอฟทม์ า
ก่อน สามารถใช้งานได้ง่ายมาก แต่จะกินกาลังของเคร่ือง
มากกวา่ เคร่ืองปาลม์
สมารท์ โฟน (Smart Phone)
เป็ นกลุ่มของโทรศัพทม์ ือถือท่ีพฒั นาขีดความสามารถใหม้ ี
การทางานไดใ้ กลเ้ คียงกบั พีดีเอเป็ นอย่างมาก โดยสมารท์ โฟน
สามารถท่ีจะใชเ้ ป็ นเคร่ืองโทรศพั ทไ์ ดใ้ นตวั รวมถึงความสามารถ
อ่ืนๆ เช่น กลอ้ งถ่ายรูป การใชง้ านอินเตอร์เน็ต เป็ นต้น ซึ่ง
คุณสมบัติต่างๆเหล่าน้ ีข้ ึนอยู่กับระบบปฏิบัติการท่ีใช้ด้วย
เชน่ เดียวกนั
5. คอมพิวเตอรใ์ นอนาคต
ศาสตรท์ างดา้ นปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
ไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทในการสรา้ งปัญญาเทียมเลียนแบบการคิดหรือสมอง
ของมนุษย์ ซ่ึงในงานหลายๆดา้ นก็มีการประยุกต์เอาคอมพิวเตอร์เขา้
ไปใชเ้ พ่ือคิดและตดั สินใจแกป้ ัญหาต่างๆ ไดเ้ ป็ นอยา่ งดี เชน่
ระบบผูเ้ ชีย่ วชาญ (expert system)
ระบบหนุ่ ยนต์ (robotics)
ภาธรรมชาติ (natural language)
ระบบผเู้ ชี่ยวชาญ (expert system)
เป็ นศาสตร์แขนงหน่ึงของปัญญาประดิษฐ์ท่ีนาเอาคอมพิวเตอร์มา
ประยุกต์ใชง้ าน เพ่ือเก็บรวบรวมความรูต้ ่างๆ ที่จาเป็ นตอ้ งใชส้ าหรับ
งานใดงานหนึ่งใหอ้ ยตู่ ลอดไปในหน่วยงานโดยไมข่ ้ นึ กบั บุคคล
ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการตรวจสอบ วนิ ิจฉยั ตัดสินใจต่างๆ ไดอ้ ยา่ ง
แมน่ ยา เชน่ ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญในวงการแพทยเ์ พ่ือวนิ ิจฉยั โรค
ระบบหุ่นยนต์ (robotics)
นาเอาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใชเ้ พื่อใหท้ างานร่วมกบั เคร่ืองจกั รและ
อุปกรณบ์ งั คบั บางชนิด เกิดเป็ น “หุน่ ยนต”์ (robot)
สามารถทางานทดแทนแรงงานคนไดเ้ ป็ นอยา่ งดี โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งกบั
ลกั ษณะงานที่มีความเส่ียงต่ออนั ตรายมากๆ
อาจพบเห็นการออกแบบหุ่นยนต์โดยอาศัยการทางานของโปรแกรม
คอมพวิ เตอรเ์ พื่อเลียนแบบพฤติกรรมของสิ่งมีชีวติ และสามารถนามาใช้
งานไดจ้ ริง เชน่ หนุ่ ยนตส์ ุนัข เป็ นตน้
5. คอมพิวเตอรใ์ นอนาคต
การเขา้ ใจภาษาธรรมชาติของมนุษยเ์ ป็ นการนาเอาความสามารถของ
ของคอมพวิ เตอรเ์ ขา้ มาชว่ ยในการส่ือสารกบั มนุษยใ์ หส้ ะดวกข้ นึ
ตัวอย่างที่พบเห็นมากที่สุด เช่น การใชร้ ะบบรับรูแ้ ละจาเสียงพูดของ
มนุษยห์ รือที่เรียกวา่ speech recognition ที่คอมพิวเตอรส์ ามารถแยกแยะ
เสียงได้
ทาใหล้ ดระยะเวลาในการทางานของผูใ้ ชล้ งไดม้ ากทีเดียว
แบบฝึกหดั
จงวเิ คราะหว์ า่ คอมพิวเตอรใ์ นอนาคตจะ
สามารถทาอะไรไดบ้ า้ ง