The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางประกันคุณภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chinen2531, 2021-03-24 03:00:18

แนวทางประกันคุณภาพ

แนวทางประกันคุณภาพ

96

97

ภาคผนวก ง

ตารางเปรียบเทยี บความสอดคลอ้ งระหวา่ ง
มาตรฐานตวั บง่ ช้ีการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอธั ยาศยั ปี 2560 กับนโยบายและจดุ เนน้ ของ
สานกั งาน กศน. นโยบาย จดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร
ยทุ ธศาสตรแ์ ละเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี

98

การวิเคราะหค์ วามสอดคล้องของมาตรฐานกบั นโยบายทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง

มาตรฐานการศึกษา ความสอดคลอ้ งของมาตรฐานกับนโยบายทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
กศน.
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้น นโยบายและจุดเนน้ สานกั งาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปงี บประมาณ กศน. ปีงบประมาณ 2561

2561

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การจัดการศึกษา 1. จดุ เน้นด้านความม่ันคง ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ด้านความม่นั คง

ของผเู้ รียน/ผรู้ ับบริการ เพื่อความม่ันคงของสังคมและ แนวทางหลกั ข้อ 1.1 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้

1.1 ผู้เรียนการศึกษา ประเทศชาติ 1.3 การยกระดับคุณภาพและ ต าม พ ร ะ บ ร ม ร าโช บ าย ด้ าน

ขน้ั พ้ืนฐานมีคณุ ธรรม ขอ้ 2.1 คนทกุ ช่วงวัยมีความรักใน ส่ งเสริ ม โอ กาส ใน ก าร เข้ าถึ ง การศกึ ษาของรชั กาลที่ 10

สถาบันหลักของชาติ และยึดมั่น การศึกษาในเขตพั ฒ นาพิ เศ ษ (1) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ

การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ถูกต้องในการปกครองระบอบ

อันมีพ ระมหากษัตริย์ทรงเป็น และพน้ื ที่พิเศษ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์

ประมขุ โครงการหลกั ท รงเป็ นป ระมุ ข มี ค วามเป็ น

(1) ร้อยละของสถานศึกษาขั้น 3. การเสริมสร้างความม่ันคงของ พลเมืองดี เคารพความคิดของผ้อู ื่น

พ้ืนฐานท่ีจัดกิจกรรมส่งเสริมการ สถาบนั หลกั ของชาติ ย อ ม รั บ ค ว า ม แ ต ก ต่ าง แ ล ะ

เรียนรู้ที่สะท้อนความรักและการ  โครงการพัฒนาคุณภาพเด็กไทย หลากห ลายท างความคิดและ

ธารงรักษาสถาบันหลักของชาติ และเยาวชนไทย : การเรียนรูโ้ ครงการ อุ ด มการณ์ รวมท้ั งสั งค มพ หุ

และการยึดมั่นในการปกครอง อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ วัฒนธรรม

ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช าธิ ป ไต ย อั น มี  ก า ร พั ฒ น า ก า ร เรี ย น รู้ (2) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการ

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ประวัติศาสตร์ชาติไทย/สถาบัน เรียนรู้ท่ีปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย

เพมิ่ ขน้ึ พระมหากษัตริย์ จิตสาธารณะ และอุดมการณ์ความ

ขอ้ 2.3 คนทุกช่วงวัยได้รบั การศกึ ษา แนวทางหลัก ยึ ด มั่ น ใ น ส ถ า บั น ห ลั ก ข อ ง ช า ติ

การดูแลและป้องกนั จากภยั คกุ คาม 1.4 การพัฒนาการจัดการศึกษา รวมทั้งการมีจิตอาสา ผา่ นกิจกรรม

ในชีวิตรูปแบบใหม่ เพื่อการจัดระบบการดูแลและ ลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอ่ืน ๆ

(1) ร้อยละของสถานศึกษาที่จัด ป้องกนั ภัยคกุ คามในรปู แบบใหม่ ตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัด

กระบวนการเรียนรู้และปลูกฝัง โครงการหลกั กิจกรรมเพ่ื อปลู กฝั งคุ ณ ธรรม

แนวทางการจัดการความขัดแย้ง 4. การส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกัน จริยธรรมใหก้ ับบุคลากรในองค์กร

โดยแนวทางสันตวิ ธิ ีเพ่มิ ขึ้น และพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความม่ันคง

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพฒั นาศักยภาพ  การสร้างเสริมความรู้และ

คนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคม ทักษะความเป็นพลเมือง (Civic

แหง่ การเรียนรู้ Education)

2.1 ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะ 3. จุ ดเน้ นด้ านการพั ฒนาและ

พ้ืนฐานของพลเมืองไทย และ เสรมิ สร้างศกั ยภาพคน

ทักษะและคุณลักษณะท่ีจาเป็นใน แนวทางหลกั

ศตวรรษที่ 21 3.1 พัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียน

(2) ร้ อยละของผู้ เรี ยนทุ กระดั บ การสอน การวัดและประเมนิ ผล

การศึกษามีพฤติกรรมที่แสดงออก โครงการหลัก

ถึงความมีวินัยและมีจิตสาธารณะ 5. การสง่ เสรมิ และสรา้ งคนดี

เพ่ิมข้นึ  โรงเรียนคณุ ธรรม

 โครงการส่งเสริมกิจกรรม

99

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคลอ้ งของมาตรฐานกับนโยบายทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
กศน.
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้น นโยบายและจุดเนน้ สานกั งาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ กศน. ปงี บประมาณ 2561

2561

ลูกเสือ - เนตรนารี เพ่อื สร้างเสริม

คุณธรรม จริยธรรมและลักษณะ

ท่ีพงึ ประสงค์

 การรณรงค์ “เกลียดการโกง

ความไม่ซ่อื สตั ย์”

 การสร้างวินัย หน้าที่ และ

ความเป็นพลเมอื ง

1.2 ผู้เรียนการศึกษา ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศักยภาพ 1. จดุ เนน้ ดา้ นความมัน่ คง ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ด้านการพัฒนา

ขั้นพ้ื นฐานมี ทั กษ ะ คนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคม แนวทางหลัก กาลังคน การวจิ ัย และนวัตกรรม

ก ร ะ บ ว น ก า ร คิ ด แหง่ การเรียนรู้ 1.4 การพัฒนาการจัดการศึกษา เพ่ื อ สร้ างขี ด ค ว าม ส าม าร ถ

ทั กษะ การแ สวงห า ข้ อ 2 .1 ผู้ เรี ย น มี ทั ก ษ ะ แ ล ะ เพ่ือการจัดระบบการดูแลและ ในการแขง่ ขันของประเทศ

ความรู้ เรียนรู้อย่าง คุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทย ปอ้ งกนั ภยั คกุ คามในรปู แบบใหม่ ข้อ 2.2 พัฒนากาลังคนให้เป็น

ต่อเนื่อง และสามารถ และมีทักษะและคุณลักษณะที่ โครงการหลกั “Smart Digital Persons (SDPs)”

นาไปประยุกต์ใช้ใน จาเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 4. การส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกัน ท่ีมีทักษะด้านภาษาและทักษะ

การดารงชีวิต (1) ร้อยละของผู้เรียนที่มีลักษณะ และพัฒนาทักษะชีวิตเพ่ือความ ดิจิทั ล เพ่ื อรองรับ การพั ฒ นา

และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ มนั่ คง ประเทศ

ที่ 21 เพ่ิมขึน้  โค รงการ TO BE NUMBER (1) ส่งเสรมิ การจัดการเรียนรู้ด้าน

ONE Digital เพื่อให้ประชาชนมีความรู้

 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ พ้ืนฐานด้าน Digital และความรู้

เพอ่ื พัฒนาทกั ษะชวี ิต เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทา

ค วา ม ผิ ด เก่ี ย ว กั บ ค อ ม พิ วเต อ ร์

ส าห รั บ ก าร ใช้ ป ร ะ โย ช น์ ใน

ชีวิตประจาวันรวมทั้งการพัฒนา

และการเขา้ สู่อาชพี

ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนา

และเสริมสร้างศักยภาพคนให้มี

คุณภาพ

ขอ้ 3.1 เตรียมความพรอ้ มการเข้า

สู่ สั งค ม ผู้ สู งอ ายุ อ ย่ า งมี คุ ณ ภ า พ

(Smart Aging Society)

(1) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับ

ประชาชนเพ่ือสร้างความตระหนัก

ถึ ง ก า ร เต รี ย ม พ ร้ อ ม เข้ า สู่ สั ง ค ม

ผู้ สู ง อ า ยุ (Aging Society) มี

ความเขา้ ใจในพัฒนาการของช่วงวัย

รวมท้ังเรียนรู้ และมีส่วนร่วมใน

100

มาตรฐานการศึกษา ความสอดคล้องของมาตรฐานกบั นโยบายทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
กศน.
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้น นโยบายและจุดเน้นสานกั งาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ กศน. ปีงบประมาณ 2561

2561

การดู แ ล รั บ ผิ ด ช อบ ผู้ สู งอายุ

ในครอบครัวและชมุ ชน

(2) พัฒนาการจัดบริการการศึกษา

และการเรียนรู้สาหรับประชาชน

ใน ก า ร เต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม เ ข้ า สู่

วยั สงู อายุทเ่ี หมาะสมและมคี ุณภาพ

ข้อ 3.3 ส่งเสริมให้มีการจัดการ

เรียนการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา”

(STEM Education) ส าหรับผู้ เรียน

และประชาชน โดยบูรณาการความรู้

ด้ านวิ ท ย าศ าส ต ร์ ค ว บ คู่ กั บ

เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และ

คณิตศาสตร์ เพ่ือประยุกต์ใช้ใน

ชีวิตประจาวัน พัฒนาทักษะชีวิต

สู่การประกอบอาชีพ

ข้ อ 3 .7 ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ

ก าร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ ร ะ ดั บ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยพัฒนา

หลักสูตร รูปแบบการจัด การเรียน

การสอน และกิ จกรรมพั ฒ นา

คุณภาพผู้เรียน คุณภาพของสื่อ

และนวตั กรรม รวมทัง้ มาตรฐานของ

การวัดและประเมินผล เพ่ือสร้าง

ความเช่ือม่ันให้ สังคมเกี่ยวกั บ

คุ ณ ภ า พ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง

สานกั งาน กศน.

1.3 ผู้เรียนการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและ 2. จุดเน้นด้านการผลิตพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการพัฒนา

ข้ันพ้ื นฐานมีความรู้ พัฒนากาลังคน การวิจัย และ กาลังคนและสร้างความสามารถ กาลงั คน การวิจัย และนวัตกรรม

พ้นื ฐาน น วั ต ก ร ร ม เ พื่ อ ส ร้ า ง ขี ด ในการแขง่ ขนั เพื่ อ สร้ างขี ด ค ว าม ส าม าร ถ

ความสามารถใน การแข่งขัน แนวทางหลกั ในการแข่งขันของประเทศ

ของประเทศ 2.1 การผลิตและพัฒนากาลังคน ข้อ 2.2 พัฒนากาลังคนให้เป็น

ข้อ 2.1 กาลังคนมีทักษะที่สาคัญ ให้ความเช่ียวชาญและเป็นเลิศ “Smart Digital Persons (SDPs)”

จาเป็นและมีสมรรถนะตรงตาม เฉพาะด้าน มีสมรรถนะในสาขาท่ี ท่ีมีทักษะด้านภาษาและทักษะ

ความต้องการของตลาดงานและ ตรงตามความต้องการของตลาด ดิจทิ ัล เพอ่ื รองรับการพัฒนาประเทศ

การพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมของ งานและการพัฒนาเศรษฐกิจและ (1) ส่งเสรมิ การจัดการเรยี นรดู้ ้าน

ประเทศ สังคมของประเทศ Digital เ พื ่อ ใ ห ้ป ร ะ ช า ช น มี

101

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคล้องของมาตรฐานกับนโยบายท่ีเกยี่ วข้อง
กศน.
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี นโยบายและจุดเน้น นโยบายและจดุ เน้นสานกั งาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ กศน. ปงี บประมาณ 2561

2561

(9) ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ปี) โครงการหลกั ความรู้พ้ืนฐานด้าน Digital และ

มีจานวนปกี ารศึกษาเฉลยี่ เพิม่ ขึ้น 4. การส่งเสริม สนับสนุนการ ความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการ

(10) ร้อยละของประชากรวัย พัฒนาเพ่ือเสริมสร้างการผลิตและ ก ร ะ ท า ค ว า ม ผิ ด เ ก่ี ย ว กั บ

แรงงาน (15 - 59 ปี) ที่มีการศึกษา พฒั นากาลงั คน ค อ ม พิ วเต อ ร์ ส า ห รั บ ก าร ใช้

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ  โครงการขับเคล่ือนการจัด ประโยชน์ในชีวิตประจาวนั รวมทั้ง

เทยี บเทา่ ข้ึนไปเพ่มิ ขนึ้ การเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM การพัฒนาและการเข้าสู่อาชพี

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพ Education) ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการพัฒนา

คนทุกช่วงวัยและการสรา้ งสังคม 5. ส่งเสรมิ และพัฒนาทางวิชาการ และเสริมสร้างศักยภาพคนให้มี

แหง่ การเรยี นรู้ เพ่ื อเพ่ิ มขี ด ค วาม ส ามารถ ใน คุณภาพ

ข้อ 2.2 คนทุกช่วงวัยมีทั กษะ การแข่งขัน ข้อ 3.3 ส่งเสริมให้มีการจัดการ

ค ว าม รู้ ค ว า ม ส าม าร ถ แ ล ะ  โครงการพัฒนาขีดความสามารถ เรียนการสอนแบบ “สะเต็มศกึ ษา”

สมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา ทางการแข่งขนั ของผเู้ รยี น (STEM Education) ส าหรับผู้ เรียน

และมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนา 3. จุ ดเน้ นด้ านการพั ฒนาและ และประชาชนโดยบูรณาการความรู้

คุณภาพชีวิตไดต้ ามศกั ยภาพ เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน ด้ าน วิ ท ย าศ าส ต ร์ ค วบ คู่ กั บ

(6) ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ปี) แนวทางหลกั เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และ

มีจานวนปีการศึกษาเฉลีย่ เพิม่ ขึน้ 3.1 พัฒนาหลักสูตรกระบวนการ คณิตศาสตร์ เพ่ือประยุกต์ใช้ใน

(7) ร้อยละของแรงงานท่ีขอเทียบ เรี ย น ก าร ส อ น ก า ร วั ด แ ล ะ ชีวิตประจาวัน พัฒนาทักษะชีวิตสู่

โอนความรู้และประสบการณ์เพื่อ ประเมินผล การประกอบอาชีพ

ยกระดบั คุณวุฒิการศกึ ษาเพม่ิ ขึน้ โครงการหลัก

ข้อ 2.3 สถานศึ กษาทุ กระดั บ 7. การขบั เคลือ่ น STEM Education

การศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/  โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ

กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร ทางการเรียนวิท ยาศาสตร์ขั้น

อย่างมคี ณุ ภาพและมาตรฐาน พน้ื ฐาน

(3) จานวนสถานศึ กษาในระดั บ  โครงการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น

การศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดการศึกษา ด้านคณติ ศาสตร์

ตามหลักสตู รทมี่ งุ่ พฒั นาผู้เรยี นให้มี

คุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้

ในศตวรรษท่ี 21 เพ่ิมขนึ้

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การสร้างโอกาส

ความเสมอภาค และความเท่า

เทียมทางการศกึ ษา

ข้อ 2.1 ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาส

และความเสมอภาคในการเข้าถึง

การศกึ ษาที่มีคณุ ภาพ

(5) ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ปี)

มจี านวนปีการศกึ ษาเฉลีย่ เพมิ่ ข้ึน

102

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคลอ้ งของมาตรฐานกบั นโยบายท่เี กีย่ วขอ้ ง
กศน.
แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้น นโยบายและจุดเน้นสานกั งาน
กระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ กศน. ปงี บประมาณ 2561

2561

1.4 ผูเ้ รียนหรอื ผู้เขา้ รับ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการพัฒนา

การอบ รมมี ค วามรู้ พัฒนากาลังคน การวิจัย และ กาลังคน การวจิ ยั และนวัตกรรม

ความสามารถ และทักษะ นวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความ เพื่ อ สร้ างขี ด ค ว าม ส าม าร ถ

ในการประกอบอาชพี สามารถในการแข่งขันของประเทศ ในการแข่งขนั ของประเทศ

ข้อ 2.1 กาลังคนมีทักษะท่ีสาคัญ ข้อ 2.2 พัฒนากาลังคนให้เป็น

จาเป็นและมีสมรรถนะตรงตาม “Smart Digital Persons (SDPs)”

ความต้องการของตลาดงานและ ท่ี มี ทั ก ษ ะ ด้ า น ภ า ษ าแ ล ะ ทั ก ษ ะ

การพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมของ ดิจิทั ล เพื่ อรองรับ การพั ฒ นา

ประเทศ ประเทศ

(9) ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ปี) (1) ส่งเสรมิ การจัดการเรียนรู้ด้าน

มีจานวนปกี ารศึกษาเฉลยี่ เพิ่มข้นึ Digital เพ่ือให้ประชาชนมีความรู้

(10) ร้อยละของประชากรวัย พื้นฐานด้าน Digital และความรู้

แรงงาน (15 - 59 ป)ี ทมี่ ีการศึกษา เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทา

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ ค วา ม ผิ ด เกี่ ย ว กั บ ค อ ม พิ วเต อ ร์

เทยี บเท่าขน้ึ ไปเพมิ่ ข้นึ ส าห รั บ ก าร ใช้ ป ร ะ โย ช น์ ใน

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การพัฒนาศักยภาพ ชีวิตประจาวัน รวมท้ังการพัฒนา

คนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคม และการเข้าสูอ่ าชพี

แห่งการเรียนรู้ (2) สร้างความรู้ความเข้าใจและ

ข้อ 2.2 คนทุกช่วงวัยมีทั กษะ ทั ก ษ ะ พื้ น ฐ า น ให้ กั บ ป ร ะ ช า ช น

ค ว าม รู้ ค ว า ม ส าม าร ถ แ ล ะ เก่ียวกับการทาธุรกิจและการค้า

สมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา ออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)

และมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนา เพ่ือร่วมขบั เคล่อื นเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั

คุณภาพชีวติ ไดต้ ามศกั ยภาพ (3) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อ

(7) ร้อยละของแรงงานท่ีขอเทียบ การสื่ อส ารข องป ระ ช าช น ใน

โอนความรู้และประสบการณ์เพ่ือ รูปแบบต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม

ยกระดบั คุณวุฒิการศึกษาเพม่ิ ข้นึ โดยเนน้ ทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ท้ัง

(8) จานวนผู้สูงวัยที่ได้รับบริการ ในภาคธุรกิจ การบริการ และการ

การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ ท่องเที่ยว

และทกั ษะชีวติ เพ่มิ ข้ึน ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนา

(9) จานวนสาขาและวิชาชีพท่ี และเสริมสร้างศักยภาพคนให้มี

เ ป ิด โ อ ก าส ให้ ผู้ สู ง วั ย ได้ รั บ ก า ร คุณภาพ

ส่งเส ริมให้ ท างานและถ่ ายทอด ข้อ 3.1 เตรียมความพรอ้ มการเข้า

ความรู้/ประสบการณเ์ พ่มิ ขึ้น สู่ สั งค ม ผู้ สู งอ ายุ อ ย่ า งมี คุ ณ ภ า พ

(Smart Aging Society)

(1) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับ

ประชาชนเพ่อื สร้างความตระหนัก

103

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคลอ้ งของมาตรฐานกบั นโยบายท่เี ก่ียวขอ้ ง
กศน.
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี นโยบายและจุดเน้น นโยบายและจุดเนน้ สานกั งาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ กศน. ปีงบประมาณ 2561

2561

ถึ ง ก า ร เต รี ย ม พ ร้ อ ม เข้ า สู่ สั ง ค ม

ผู้ สู ง อ า ยุ (Aging Society) มี

ความเข้าใจในพัฒนาการของช่วง

วัยรวมท้ังเรียนรู้และมีส่วนร่วมใน

ก า ร ดู แ ล รั บ ผิ ด ช อ บ ผู้ สู ง อ า ยุ ใ น

ครอบครัวและชมุ ชน

(2) พัฒนาการจัดบริการการศึกษา

และการเรียนรู้สาหรับประชาชน

ในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัย

สงู อายทุ เี่ หมาะสมและมีคุณภาพ

(3 ) จั ด การ ศึ กษ าเพื่ อ พั ฒ น า

คุณ ภ าพ ชีวิตส าห รับ ผู้สู งอายุ

ภายใต้แนวคิด “Active Aging”

การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต

และพัฒนาทักษะชีวิตให้สามารถ

ดู แ ล ต น เอ ง ท้ั ง สุ ข ภ า พ ก า ย แ ล ะ

สุขภาพจิต และรู้จักใช้ประโยชน์

จากเทคโนโลยี

(4) สร้างความตระหนักถึงคุณค่า

และศั กดิ์ ศ รีข องผู้ สูงอายุเปิ ด

โอกาสให้มีการเผยแพร่ภูมิปัญญา

ของผู้สูงอายุและให้มีส่วนร่วมใน

กิจกรรมด้านต่าง ๆ ในชุมชน เช่น

ด้ า น อ าชี พ กี ฬ าศ าส น าแ ล ะ

วฒั นธรรม

ข้อ 3.2 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้

ด้านเกษตรกรรม (Smart Farmer :

เกษตรกรปราดเปร่ือง) โดยใช้

เท ค โน โล ยี ส าร ส น เท ศ แ ล ะ

นวัตกรรมในการจัดกระบวนการ

เรียนรู้ด้านเกษตรกรรมท่ีเหมาะ

กับ บ ริบ ทของพ้ื นที่และความ

ตอ้ งการของชุมชนรวมท้ังการเพิ่ม

มูลค่าสินค้าทางการเกษตรและ

สร้างช่องทางการจาหน่ายสินค้า

ผ่านช่องทางต่าง ๆ โดยตระหนัก

104

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคล้องของมาตรฐานกับนโยบายทเ่ี กยี่ วข้อง
กศน.
แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้น นโยบายและจุดเนน้ สานักงาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ กศน. ปงี บประมาณ 2561

2561

ถึงคุ ณ ภ าพ ข องผล ผลิ ตค วาม

ปลอดภัยต่อระบบนิเวศน์ชุมชน

และผู้บรโิ ภค

ข้อ 3.5 ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนสู่

“วสิ าหกิจชุมชน : ชุมชนพ่งึ ตนเอง

ทาไดข้ ายเป็น”

(1) ส่งเสริมการจดั การศึกษาอาชีพ

ทสี่ อดคล้องกับศกั ยภาพของชุมชน

และค วามต้องการของต ลาด

รวมทั้งสร้างเครอื ข่ายการรวมกลุ่ม

ใน ลั ก ษ ณ ะ วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น ส ร้ า ง

รายได้ให้กับชุมชนให้ชุมชนพึ่งพา

ตนเองได้

(2) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีใน

ก าร ส ร้า งมู ล ค่ าเ พิ่ ม ให้ กั บ สิ น ค้ า

การท าช่ องท างเผ ย แ พ ร่แ ล ะ

จาหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจ

ชมุ ชนให้เป็นระบบครบวงจร

1.5 ผู้เรียนหรือผู้เข้า ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การจดั การศกึ ษา 5. จุดเน้ นด้านการเสริมสร้าง ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการพัฒนา

รับการอบรมปฏบิ ัตติ น เพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็น คุณภาพชีวติ ประชาชนทเี่ ป็นมติ ร และเสริมสร้างศักยภาพคนให้มี

ตามหลักปรัชญาของ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม กับสง่ิ แวดลอ้ ม คณุ ภาพ

เศรษฐกิจพอเพียง ข้อ 2.1 คนทุกช่วงวัย มีจิตสานึก แนวทางหลัก ข้อ 3.6 จัดกระบวนการเรียนรู้

รักษ์ สิ่ งแ วด ล้ อ ม มี คุ ณ ธรร ม 5.1 ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสกู่ าร

จรยิ ธรรม และนาแนวคิดตามหลัก กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ พัฒนาอาชพี เกษตรกรรมอยา่ งยั่งยนื

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ แ ล ะ ส่ื อ ก าร เรี ย น รู้ ต่ าง ๆ ท่ี (1) พัฒนาบุคลากรและแกนนา

การปฏิบัติ เก่ี ย วข้ อ งกั บ ก าร ส ร้ าง เส ริ ม เกษตรกรในการเผยแพร่และจัด

(2) ร้อยละของผู้เรียนทุกระดับ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ท่ี เป็ น มิ ต ร กั บ กระบวนการเรียนรู้ตามแนวทาง

การศึกษามีพฤติกรรมที่แสดงออก ส่งิ แวดลอ้ ม เกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพ

ถึงความตระหนักในความสาคัญ โครงการหลัก เกษตรกรรม

ของการดารงชีวิตที่เป็นมิตรกับ 1. การสร้างความรู้ ความเข้าใจ (2) จัดต้ังศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ

ส่ิ งแ วด ล้ อมค วาม มี คุ ณ ธรร ม ความตระหนักในการเปลี่ยนแปลง ระดับตาบลด้านเกษตรธรรมชาติ

จริยธรรม และการประยุกต์ใช้ ของภูมิอากาศและสภาพแวดลอ้ ม สู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม

หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง  โค รงการ ขั บ เค ล่ื อน ห ลั ก เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านเกษตร

ในการดาเนินชวี ติ เพิ่มขึ้น ป รั ช ญ าเศ รษ ฐ กิ จพ อ เพี ย ง สู่ ธรรมช าติ สู่ การ พั ฒ น าอาชี พ

2.3 ร้อยละของจานวนนักเรียนท่ี สถานศกึ ษา เกษตรกรรมใหก้ บั ชมุ ชน

เขา้ ร่วมกิจกรรมตามโครงการน้อม แนวทางหลัก (3) ส่งเสริมให้มีการบูรณาการ

105

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคลอ้ งของมาตรฐานกบั นโยบายที่เกีย่ วขอ้ ง
กศน.
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี นโยบายและจุดเน้น นโยบายและจุดเนน้ สานกั งาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ กศน. ปีงบประมาณ 2561

2561

นาแนวคิดตามหลักปรัชญาของ 5.2 ส่งเสริม สนับสนุน การสร้าง ระหว่าง ศฝช. และ กศน.อาเภอ

เศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ จิ ต ส านึ ก รัก ษ์ สิ่ งแ วด ล้ อ ม มี ในการจัดกระบ วนการเรียนรู้

เพ่มิ ขึ้น คุ ณ ธร รม จริ ย ธรรม แ ล ะ น า ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่

ข้อ 2.2 หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ แนวคิ ดต ามห ลักป รัชญ าของ การพัฒ นาอาชีพเกษตรกรรม

แล ะส่ือการเรียนรู้ ท่ี ส่ งเส ริม เศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติใน ใหก้ ับประชาชน

คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ที่ เป็ น มิ ต ร กั บ การดาเนนิ ชีวติ ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านส่งเสริมและ

สิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม โครงการหลกั จั ด การศึ กษ าเพ่ื อ เสริมสร้าง

แ ล ะการน าแ นวคิ ด ต าม ห ลั ก 2. การส่งเสรมิ สนบั สนุนการสรา้ ง คุ ณ ภ าพ ชี วิ ต ที่ เป็ น มิ ต ร กั บ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จิ ต ส า นึ ก ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม รั ก ษ์ สิ่งแวดล้อม

สกู่ ารปฏิบตั ิ ส่ิงแวดลอ้ ม ข้อ 5.1 ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้

(2) จานวนสถานศึกษา/สถาบัน  โครงการปลูกจิตสานึก/นิสัย กับประชาชนเก่ียวกับการป้องกัน

การศึกษาที่จัดการเรียนการสอน อนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ ผลกระทบและ ปรับตัวต่อการ

และกจิ กรรม เพื่อปลูกฝังคุณธรรม  โค ร งก าร ส ร้ างวิ นั ย แ ล ะ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ

จริยธรรม และการนาแนวคิดตาม จิตสานึกในการจัดการพลังงาน ภยั พิบตั ิธรรมชาติ

หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ขยะ น้าเสีย มลพิษทางอากาศและ ข้อ 5.2 สร้างความตระหนักถึง

สู่การปฏบิ ัตเิ พ่มิ ข้ึน ความหลากหลายทางชวี ภาพ ค วา ม ส าคั ญ ข อ ง ก าร ส ร้า งสั งค ม

สีเขีย ว ส่ งเส ริมค วามรู้ให้ กั บ

ป ร ะ ช า ช น เก่ี ย ว กั บ ก า ร คั ด แ ย ก

การแปรรูป และการกาจัดขยะ

รวมทั้งการจัดการมลพิษในชุมชน

ข้อ 5.3 ส่งเสริมให้หน่วยงานและ

สถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตร

กั บ สิ่ งแ วดล้ อม รวมทั้ งล ด การใช้

ทรัพ ยากรท่ี ส่ งผ ล กระ ท บ ต่ อ

สง่ิ แวดล้อม

1.6 ผู้เรียนหรือผู้เขา้ รับ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การสร้างโอกาส 3. จุ ดเน้ นด้ านการพั ฒนาและ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ด้านการพัฒนา

การอบรมสามารถใช้ ความเสมอภาค และความเท่า เสริมสร้างศักยภาพคน กาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม

เท ค โนโล ยีได้ อย่ าง เทียมทางการศึกษา แนวทางหลัก เพ่ื อ สร้ างขี ด ค ว าม ส าม าร ถ

เหมาะสม ข้ อ 2 .2 ก ารเพิ่ ม โอ ก าส ท าง 3 .4 การ ส่ งเส ริม แ ล ะ พั ฒ น า ในการแขง่ ขันของประเทศ

การศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล แหล่งเรียนรู้ สื่อ ตาราเรียน และ ข้ อ 2 .1 ขั บ เค ล่ื อ น ก ศ น . สู่

เพือ่ การศกึ ษาสาหรบั คนทกุ ชว่ งวยั ส่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้มีคุณภาพ “Smart ONIE” ในการจดั การศกึ ษา

(1) มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยี มาตรฐาน และประชาชนสามารถ แ ล ะ ก าร เรีย น รู้ ท่ี เส ริ ม ส ร้ าง

ดิจิทัลเพื่อการศึกษาท่ีทันสมัย เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้โดยไม่จากัด ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช าช น ให้

สนองตอบ ค วามต้ องการของ เวลาและสถานท่ี สอดคล้องกับการพฒั นาประเทศ

ผู้เรียนและผู้ใช้บริการอย่างทั่วถึง โครงการหลกั (2) พั ฒ นาค วามรู้ แ ละ ทั กษ ะ

และมีประสทิ ธิภาพ 1 7 . ก า ร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ด้ า น เทคโนโลยีดิจิทัลการใช้ Social

106

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคล้องของมาตรฐานกับนโยบายทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
กศน.
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้น นโยบายและจุดเน้นสานักงาน
กระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ กศน. ปีงบประมาณ 2561

2561

(6) ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เทคโนโลยี การสร้างมูลค่าเพ่ิม Media แ ล ะ Application ต่ าง ๆ

เพือ่ การคน้ ควา้ หาความรู้เพมิ่ เติม ด้านผลผลิตและการบริการ และ เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดการเรียน

(7) มีสือ่ ดจิ ิทัลเพือ่ พฒั นาเศรษฐกิจ ทักษะการเป็นผู้ประกอบการแก่ การสอนของครูและบุคลากร

ชุมชนและการส่งเสริมการมีอาชีพ ประชาชนวยั ทางานและผสู้ งู วยั ทางการศึกษา

เพมิ่ ขึ้น 4. จุดเน้นด้านการสร้างโอกาส ข้อ 2.2 พัฒนากาลังคนให้เป็น

ความเสมอภาคและความเท่าเทียม “Smart Digital Persons (SDPs)”

กนั ทางสังคม ที่ มี ทั ก ษ ะ ด้ า น ภ า ษ าแ ล ะ ทั ก ษ ะ

แนวทางหลกั ดิจิทั ล เพ่ื อรองรับ การพั ฒ นา

4.3 ส่งเสริมและพัฒ นาระบ บ ประเทศ

เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (1) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน

และสาหรับคนทกุ ชว่ งวยั Digital เ พื ่อ ใ ห ้ป ร ะ ช า ช น มี

โครงการหลกั ความรู้พ้ืนฐานด้าน Digital และ

5. การขั บ เค ล่ื อน แผ นแ ม่ บ ท ความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการ

เท ค โน โล ยี ส าร ส น เท ศ เพ่ื อ ก ร ะ ท า ค ว า ม ผิ ด เ ก่ี ย ว กั บ

การศึ กษา เพื่ อส ร้างแล ะเพ่ิ ม ค อ ม พิ วเต อ ร์ ส าห รั บ ก าร ใช้

ประสิทธิภาพดา้ นการศึกษา ประโยชน์ในชีวิตประจาวันรวมท้ัง

 พัฒนาบุคลากรให้ใชเ้ ทคโนโลยี การพัฒนาและการเข้าสอู่ าชีพ

ดจิ ทิ ลั อย่างสรา้ งสรรค์ (2) สร้างความรู้ความเข้าใจและ

ทั ก ษ ะ พื้ น ฐ า น ให้ กั บ ป ร ะ ช า ช น

เก่ียวกับการทาธุรกิจและการค้า

ออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)

เพอื่ รว่ มขับเคลอ่ื นเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล

ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการพัฒนา

และเสริมสร้างศักยภาพคนให้มี

คณุ ภาพ

ขอ้ 3.1 เตรียมความพรอ้ มการเข้า

สู่ สั งค ม ผู้ สู งอ ายุ อ ย่ า งมี คุ ณ ภ า พ

(Smart Aging Society)

(3 ) จั ด การ ศึ กษ าเพ่ื อ พั ฒ น า

คุณ ภ าพ ชีวิตส าห รับ ผู้สู งอายุ

ภายใต้แนวคิด “Active Aging”

การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต

และพัฒนาทักษะชีวิตให้สามารถ

ดู แ ล ต น เอ ง ทั้ ง สุ ข ภ า พ ก า ย แ ล ะ

สุขภาพจิต และรู้จักใช้ประโยชน์

จากเทคโนโลยี

107

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคลอ้ งของมาตรฐานกับนโยบายทเี่ กีย่ วขอ้ ง
กศน.
แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้น นโยบายและจดุ เน้นสานักงาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ กศน. ปีงบประมาณ 2561

2561

ข้อ 3.3 ส่งเสริมให้มีการจัดการ

เรียนการสอนแบบ “สะเต็มศกึ ษา”

(STEM Education) ส าหรับผู้ เรียน

และประชาชนโดยบูรณาการความรู้

ด้ าน วิ ท ย าศ าส ต ร์ ค วบ คู่ กั บ

เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และ

ค ณิ ต ศ าส ต ร์ เพ่ื อ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น

ชวี ิตประจาวัน พัฒนาทักษะชีวิตสู่

การประกอบอาชพี

1.7 ผู้รับบริการได้รับ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพ 3. จุ ดเน้ นด้ านการพั ฒนาและ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ด้านการพัฒนา

ค ว า ม รู้ แ ล ะ / ห รื อ คนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคม เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน กาลังคน การวิจยั และนวัตกรรม

ป ร ะ ส บ ก าร ณ์ จ าก แห่งการเรียนรู้ แนวทางหลัก เพื่ อ สร้ างขี ด ค ว าม ส าม าร ถ

การเข้าร่วมกิจกรรม/ ข้อ 2.4 แหล่งเรียนรู้ ส่ือตารา 3.3 การส่ งเสริมสนั บ สนุ นให้ ในการแข่งขันของประเทศ

โครงการการศึ กษา เรียน นวตั กรรม และส่ือการเรียนรู้ คนทุ กช่วงวัยมี ทักษะ ความรู้ ข้ อ 2 .1 ขั บ เค ลื่ อ น ก ศ น . สู่

ตามอธั ยาศยั มีคุณภาพและมาตรฐาน และ ความสามารถ และการพัฒนา “Smart ONIE” ในการจัดการศึกษา

ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่ คุ ณ ภ าพ ชี วิต อย่ างเห ม าะส ม แ ล ะ ก าร เรีย น รู้ ท่ี เส ริ ม ส ร้ าง

จากัดเวลาและสถานท่ี เต็มตามศักยภาพ ศั ก ย ภ า พ ข อ งป ร ะ ช าช น ให้

(1) จานวนแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับ โครงการหลกั สอดคลอ้ งกับการพฒั นาประเทศ

ก า ร พั ฒ น า ใ ห ้ส า ม า ร ถ จ ัด 14. การส่งเสริมสนับสนุนการจัด (1) พัฒนาความรู้ความสามารถ

การศึกษา/จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ การศึ กษ าแ ล ะ การให้ ค วาม รู้ และทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษของ

ตลอดชวี ติ ทม่ี ีคุณภาพเพม่ิ ขน้ึ สาหรบั คนทุกชว่ งวยั ครูและบุ คลากร กศน. เช่ น Boot

(2) จานวนแหล่งเรียนรู้ห้องสมุด 4. จุดเน้นด้านการสร้างโอกาส Camp หลั กสูตรภ าษาอังกฤ ษ

พิพิธภัณฑ์ท่ีได้รับการสนับสนุน ความเสมอภาคและความเท่าเทียม การจัดหลกั สตู รภาษาเพ่ืออาชพี

จากภาคเอกชน สถานประกอบการ กันทางสงั คม (2) พั ฒ นาค วามรู้ แ ละ ทั กษ ะ

สถาบันศาสนามูลนิธิสถาบั น / แนวทางหลกั เทคโนโลยีดิจิทัล การใช้ Social

องคก์ รต่าง ๆ ในสังคมเพิ่มขึ้น 4.4 การพัฒนาฐานข้อมูลด้าน Media แ ล ะ Application ต่ าง ๆ

(4) ร้อย ละข องชุมชนท่ี มี การ การศึกษาที่มีมาตรฐาน เช่ือมโยง เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดการเรียน

จัดการแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ และเขา้ ถึงได้ ก า ร ส อ น ข อ ง ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร

เพิ่มขึน้ โครงการหลกั ทางการศกึ ษา

(5) มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยี 5. การขั บ เค ล่ื อนแผ นแ ม่ บ ท ข้อ 2.2 พัฒนากาลังคนให้เป็น

ดิจิทัลเพ่ือการศึกษาท่ีทั นสมัย เท ค โน โ ล ยี ส า ร ส น เท ศ เพื่ อ “Smart Digital Persons (SDPs)”

สนองตอบ ค วามต้ องการของ การศึ กษา เพื่ อส ร้างแล ะเพ่ิ ม ท่ีมีทักษะด้านภาษาและทักษะ

ผู้ใช้บริการอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธภิ าพดา้ นการศกึ ษา ดิจิทั ล เพ่ื อรองรับ การพั ฒ นา

(9) มีระบบคลังข้อมูลเกี่ยวกับ  บูรณาการด้านส่ือและองค์ ประเทศ

สื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มี ความรู้ (1) ส่งเสรมิ การจัดการเรียนรู้ด้าน

คุ ณ ภ าพ ม า ต ร ฐ าน ส าม าร ถ  จั ด ก าร เรี ย น รู้ /จั ด ท าส่ื อ Digital เพ่ือให้ประชาชนมีความรู้

108

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคล้องของมาตรฐานกบั นโยบายที่เกีย่ วข้อง
กศน.
แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้น นโยบายและจุดเน้นสานกั งาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ กศน. ปงี บประมาณ 2561

2561

ให้บริการคนทุกช่วงวัยและใช้ สาหรับ ประชาชนในเร่ืององค์ พ้ืนฐานด้าน Digital และความรู้

ป ร ะ โย ช น์ ร่ ว ม กั น ร ะ ห ว่ า ง ความรู้เกีย่ วกบั นโยบายการพัฒนา เร่ืองกฎหมายว่าด้วยการกระทา

หน่วยงานได้ ต่าง ๆ ของรัฐ ค วา ม ผิ ด เกี่ ย ว กั บ ค อ ม พิ วเต อ ร์

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างโอกาส ส าห รั บ ก าร ใช้ ป ร ะ โย ช น์ ใน

ความเสมอภาค และความเท่า ชีวิตประจาวันรวมท้ังการพัฒนา

เทยี มทางการศึกษา และการเข้าสู่อาชพี

ข้ อ 2 .2 การ เพิ่ ม โอก าส ท าง ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนา

กา ร ศึ ก ษ า ผ่ าน เท ค โน โล ยี ดิ จิ ทั ล และเสริมสร้างศักยภาพคนให้มี

เพอื่ การศึกษาสาหรบั คนทกุ ชว่ งวยั คุณภาพ

(1) มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยี ข้อ 3.4 เพิ่มอัตราการอ่านของ

ดิ จิ ทั ล เ พื่ อ ก า ร ศึ ก ษ า ที่ ทั น ส มั ย ป ร ะ ช า ช น โ ด ย ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม

สนองตอบค วามต้องการของ ส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่าง ๆ

ผู้เรียนและผู้ใช้บริการอย่างทั่วถึง เช่น อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน

และมปี ระสทิ ธิภาพ ห้ อ งสมุ ด ป ร ะ ช าช น บ้ าน ห นั งสื อ

(6) ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ชุมชนห้ องสมุด เค ล่ือนท่ี เพื่ อ

เพื่อการคน้ ควา้ หาความรเู้ พ่มิ ข้นึ พฒั นาใหป้ ระชาชนมคี วามสามารถ

(7) มสี ือ่ ดจิ ทิ ัลเพ่ือพฒั นาเศรษฐกิจ ในระดบั อ่านคล่อง เขา้ ใจความคิด

ชมุ ชนและการส่งเสริมการมีอาชีพ วิเคราะห์พื้นฐานและสามารถรับรู้

เพม่ิ ข้นึ ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและทัน

ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษา เหตุการณ์ รวมท้ังนาความร้ทู ่ีได้รับ

เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็น ไปใช้ปฏบิ ัตจิ ริงในชีวิตประจาวัน

มติ รกับส่งิ แวดล้อม ข้อ 3.5 ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนสู่

ข้อ 2.2 หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ “วสิ าหกิจชุมชน : ชุมชนพึ่งตนเอง

แ ล ะ สื่ อ การ เรี ย น รู้ท่ี ส่ งเส ริ ม ทาได้ ขายเปน็ ”

คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ท่ี เป็ น มิ ต ร กั บ (1) ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพ

สิ่งแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม ท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน

แ ล ะการน าแ นวคิ ด ต าม ห ลั ก และค วามต้องการของต ลาด

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ รวมท้ังสร้างเครอื ข่ายการรวมกลุ่ม

การปฏบิ ัติ ในลักษณะวิสาหกิจชุมชน สร้าง

(3) จานวนแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับ รายได้ให้กับชุมชน ใหช้ ุมชนพึ่งพา

ก า ร พั ฒ น า ใ ห้ ส า ม า ร ถ จั ด ตนเองได้

การศึกษา/จัดกิจกรรมการเรียนรู้ (2) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีใน

ท่ีส่งเสริมในเรื่องการสร้างเสริม ก าร ส ร้า งมู ล ค่ าเ พิ่ ม ให้ กั บ สิ น ค้ า

คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ที่ เป็ น มิ ต ร กั บ การท าช่ องท างเผ ย แ พ ร่แ ล ะ

ส่ิงแวดล้อมเพม่ิ ข้นึ จาหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจ

ชมุ ชนใหเ้ ปน็ ระบบครบวงจร

109

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคล้องของมาตรฐานกับนโยบายทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
กศน.
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี นโยบายและจุดเน้น นโยบายและจดุ เนน้ สานักงาน
กระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ กศน. ปงี บประมาณ 2561

2561

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ด้านการสร้าง

โอกาสและความเสมอภาคทาง

การศกึ ษา

ข้อ 4.2 สร้างกระบวนการเรียนรู้

ใน รูปแบบ E-learning ที่ ใช้ ระบบ

เทคโนโลยี เข้ า ม า บ ริ ห า ร จั ด ก า ร

เรียนรู้ เพ่ือเป็นการสร้างและขยาย

โอ ก า ส ใน ก าร เรี ย น รู้ ใ ห้ กั บ

กลุ่มเป้าหมายได้สะดวก รวดเร็ว

ต ร งต าม ค วา ม ต้ อ ง ก าร ข อ ง

ประชาชนผรู้ ับบริการ

ข้อ 4.3 เพิ่มอัตราการรู้หนังสือ

แ ล ะ ย ก ร ะ ดั บ ก า ร รู้ ห นั ง สื อ ข อ ง

ประชาชน

(2) ยกระดั บการรู้ หนั งสื อของ

ประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนา

ทั ก ษ ะ ก า ร รู้ ห นั ง สื อ ใ น รู ป แ บ บ

ตา่ ง ๆ รวมทั้งทักษะด้านเทคโนโลยี

ดิจิทัล เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการ

เรยี นร้ตู ลอดชีวติ ของประชาชน

มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพ 3. จุดเน้นด้านการพัฒนาและ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการพัฒนา

การจัดการศกึ ษา/ คนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคม เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน กาลงั คน การวจิ ยั และนวัตกรรม

การให้บริการ แห่งการเรียนรู้ แนวทางหลกั เพ่ื อ สร้ างขี ด ค ว าม ส าม าร ถ

2.1 คุณภาพครูการศกึ ษา ข้อ 2.7 ครู อาจารย์ และบคุ ลากร 3 .2 ก าร ผ ลิ ต แ ล ะ พั ฒ น าค รู ในการแขง่ ขนั ของประเทศ

ขัน้ พืน้ ฐาน ทางการศึกษาได้รับการพัฒ นา คณาจารย์ และบุคลากรทางการ ข้ อ 2 .1 ขั บ เค ลื่ อ น ก ศ น . สู่

สมรรถนะตามมาตรฐาน ศกึ ษา “Smart ONIE” ในการจดั การศึกษา

(1) ร้อยละของครูอาจารย์และ โครงการหลัก แ ล ะ ก าร เรีย น รู้ ที่ เส ริ ม ส ร้ าง

บุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ/ 1 0 . โ ค ร ง ก า ร ผ ลิ ต พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช าช น ให้

ประเภทการศกึ ษาไดร้ ับการพฒั นา เสริมสร้างคุณภาพวิชาชีพ ครู สอดคล้องกบั การพัฒนาประเทศ

ตามมาตรฐานวิชาชีพและสามารถ คณาจารย์ และบุคลากรทางการ (1) พัฒนาความรู้ความสามารถ

ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ศกึ ษา และทกั ษะการใช้ภาษาองั กฤษของ

เพ่ิมข้ึน  ผลิตครเู พอ่ื พัฒนาท้องถิ่น ครูและบุคลากร กศน. เช่น Boot

(2) ร้อยละของครูอาจารย์และ  ผลิตครูระบบปิด Camp หลั กสูตรภ าษาอังกฤ ษ

บุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการ  Training for trainers/Boot การจดั หลกั สตู รภาษาเพ่ืออาชีพ

พั ฒ นาให้ ส อด คล้ องกั บ ความ Camp (2) พั ฒ นาค วามรู้ แ ละ ทั กษ ะ

ต้องการแล ะยุท ธศ าสต ร์ของ  การพฒั นาระบบนเิ ทศ เทคโนโลยีดิจิทัล การใช้ Social

110

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคลอ้ งของมาตรฐานกบั นโยบายท่ีเกี่ยวขอ้ ง
กศน.
แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี นโยบายและจุดเน้น นโยบายและจุดเน้นสานักงาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ ปีงบประมาณ กศน. ปีงบประมาณ 2561

2561

หน่วยงานเพ่มิ ขึ้น  สร้าง Trainers ด้านการประเมิน Media แ ล ะ Application ต่ าง ๆ

คณุ ภาพ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียน

 โค ร งก าร พั ฒ น าค รู แ ล ะ การสอนของครูและบุคลากร

บุ ค ล ากร ท าง การ ศึ กษ าด้ วย ทางการศกึ ษา

DLTV/TPEP online ข้อ 2.2 พัฒนากาลังคนให้เป็น

 การพัฒนาครูเฉพาะช่วงปิด “Smart Digital Persons (SDPs)”

ภาคเรียน ท่ี มี ทั ก ษ ะ ด้ า น ภ า ษ าแ ล ะ ทั ก ษ ะ

ดิจิทั ล เพ่ื อรองรับ การพั ฒ นา

ประเทศ

(1) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน

Digital เ พื ่อ ใ ห ้ป ร ะ ช า ช น มี

ความรู้พ้ืนฐานด้าน Digital และ

ความรู้เร่ืองกฎหมายว่าด้วยการ

ก ร ะ ท า ค ว า ม ผิ ด เ ก่ี ย ว กั บ

ค อม พิ วเต อร์ ส าห รับ การใช้

ประโยชน์ในชวี ติ ประจาวัน รวมท้ัง

การพัฒนาและการเข้าสู่อาชพี

(2) สร้างความรู้ความเข้าใจและ

ทั ก ษ ะ พื้ น ฐ า น ให้ กั บ ป ร ะ ช า ช น

เกี่ยวกับการทาธุรกิจและการค้า

ออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)

เพื่อร่วมขับเคลอื่ นเศรษฐกิจดจิ ิทลั

(3) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือ

การส่ื อส ารข องป ระ ช าช น ใน

รูปแบบต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม

โดยเนน้ ทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ทั้ง

ในภาคธุรกิจ การบรกิ าร และการ

ท่องเที่ยว

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ด้านการสร้าง

โอกาสและความเสมอภาคทาง

การศึกษา

ข้อ 4.5 พลิกโฉม กศน.ตาบล สู่

“กศน.ตาบล 4G”

(1) พัฒนาครู กศน. และบุคลากร

ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม

การศึกษาและการเรียนรู้ : Good

111

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคล้องของมาตรฐานกบั นโยบายทีเ่ กี่ยวข้อง
กศน.
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้น นโยบายและจุดเนน้ สานกั งาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ ปีงบประมาณ กศน. ปีงบประมาณ 2561

2561

Teachers ให้เป็นตัวกลางในการ

เช่ื อ ม โ ย ง ค ว า ม รู้ กั บ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร

มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิต

บริการ มีความรอบรู้ และทันต่อ

การเปลี่ยนแปลงของสังคมเป็นผู้

จดั กิจกรรมการเรียนรู้และบริหาร

จัดการความรู้ที่ดี รวมทั้งเป็ น

ผปู้ ฏบิ ัติงานอยา่ งมีความสขุ

(2 ) พั ฒ นา กศ น .ต าบ ล ให้ มี

บ ร ร ย า ก าศ แ ล ะ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม

เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง :

Good Places Best Check-In

มี ค ว า ม พ ร้ อ ม ใน ก า ร ให้ บ ริ ก า ร

กิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้

เป็นแหลง่ ขอ้ มูลสาธารณะท่ีง่ายต่อ

ก า ร เข้ า ถึ ง แ ล ะ ส ะ ด ว ก ต่ อ ก า ร

เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างสร้างสรรค์

มีส่ิงอานวยความสะดวก ดึงดูด

ความสนใจ และมีความปลอดภัย

สาหรบั ผูร้ บั บริการ

(3 ) ส่ งเส ริ ม ก าร จั ด กิ จก ร ร ม

การเรียนรู้ภายใน กศน.ตาบล :

Good Activities ใ ห ้ม ีค ว า ม

ห ล า ก ห ล า ย น่ าส น ใจ ต อ บ ส น อ ง

ความต้องการข องชุมช นเพื่ อ

พั ฒ น าศั กย ภ า พ กา ร เรี ย น รู้ ข อ ง

ประชาชนรวมทั้งเปิดโอกาสให้ชุมชน

เข้ า ม าจั ด กิ จ ก ร ร ม เพื่ อ เชื่ อ ม โ ย ง

ความสัมพันธข์ องคนในชุมชน

2.2 คุณภาพของหลกั สูตร ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและ 3. จุ ดเน้ นด้ านการพั ฒนาและ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ด้านการพัฒนา

สถานศึกษา พัฒนากาลังคน การวิจัย และ เสริมสร้างศกั ยภาพคน กาลงั คน การวิจัย และนวัตกรรม

นวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความ แนวทางหลัก เพื่ อ สร้ างขี ด ค ว าม ส าม าร ถ

สามารถในการแข่งขันของประเทศ 3.1 พัฒนาหลักสูตรกระบวนการ ในการแข่งขนั ของประเทศ

ข้อ 2.2 สถาบันการศึกษาและ เรี ย น ก า ร ส อ น ก า ร วั ด แ ล ะ ข้ อ 2 .1 ขั บ เค ล่ื อ น ก ศ น . สู่

หน่วยงานท่ี จัดการศึกษาผลิต ประเมินผล “Smart ONIE” ในการจดั การศึกษา

บณั ฑิตที่มีความเชี่ยวชาญและเป็น โครงการหลกั แ ล ะ ก าร เรีย น รู้ ที่ เส ริ ม ส ร้ าง

112

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคลอ้ งของมาตรฐานกบั นโยบายที่เกี่ยวข้อง
กศน.
แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้น นโยบายและจุดเนน้ สานกั งาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ กศน. ปีงบประมาณ 2561

2561

เลศิ เฉพาะด้าน 1. การพัฒนาหลักสูตรที่มีความ ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช าช น ให้

(8) จานวนหลกั สูตรหรือสาขาวิชา ยืดหยุน่ สอดคล้องกบั การพฒั นาประเทศ

ท่ีผู้เรียนสามารถโอนย้ายหรือ  โครงการส่งเสริมและพัฒนา (1) พัฒนาความรู้ความสามารถ

ศกึ ษาตอ่ เน่อื งเพ่ิมขึน้ หลักสตู ร ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของครู

และบุคลากร กศน. เช่น Boot

Camp หลั กสูตรภ าษาอังกฤ ษ

การจัดหลักสตู รภาษาเพอ่ื อาชพี

(2) พั ฒ นาค วามรู้ แ ละ ทั กษ ะ

เทคโนโลยีดิจิทัล การใช้ Social

Media แ ล ะ Application ต่ าง ๆ

เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดการเรียน

การสอนของครูและ บุคลากร

ทางการศกึ ษา

2.3 คุณภาพสื่อตาม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพ 3. จุ ดเน้ นด้ านการพั ฒนาและ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนา

หลกั สตู รสถานศกึ ษา คนทุกช่วงวัยและการสรา้ งสังคม เสริมสรา้ งศักยภาพคน และเสริมสร้างศักยภาพคนให้มี

แห่งการเรยี นรู้ แนวทางหลกั คณุ ภาพ

ข้อ 2.4 แหล่งเรียนรู้ สื่อตารา 3.1 พัฒนาหลักสูตรกระบวนการ ข้อ 3.3 ส่งเสริมให้มีการจัดการ

เรยี น นวัตกรรม และสือ่ การเรยี นรู้ เรี ย น ก า ร ส อ น ก า ร วั ด แ ล ะ เรียนการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา”

มีคุณภาพและมาตรฐาน และ ประเมินผล (STEM Education) ส าหรับผู้ เรียน

ประชาชนสามารถเข้าถงึ ได้โดยไม่ โครงการหลัก และประชาชนโดยบูรณาการความรู้

จากดั เวลาและสถานท่ี 1. การพัฒนาหลักสูตรท่ีมี ความ ด้ าน วิ ท ย าศ าส ต ร์ ค ว บ คู่ กั บ

(6) จานวนสื่อตาราเรียน และสื่อ ยดื หยุ่น เทคโนโลยีวิศวกรรมศาสตร์และ

การเรีย นรู้ ที่ ผ่านการ รับ รอง  โค รงการ พัฒ นาสื่อ คู่มือ คณิตศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้ใน

มาตรฐานคุณภาพจากหน่วยงาน Application Website ชีวิตประจาวันพัฒนาทักษะชีวิตสู่

ที่รับผดิ ชอบเพิม่ ขนึ้  โค ร ง ก าร พ ัฒ น าห นัง ส ือ การประกอบอาชีพ

(7) จานวนส่ือตาราเรียน และสื่อ เรียน เพ่อื การเรียนรู้ในห้องเรียน ข้ อ 3 .7 ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ

การเรียนรู้ ที่ได้รับการพัฒ นา แนวทางหลกั ก าร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ ร ะ ดั บ

โดยการมีส่วนร่วมจากภาครัฐ 3.4 การส่งเสริมและพัฒนาแหล่ง การศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยพัฒนา

และเอกชนเพ่มิ ข้นึ เรียนรู้ ส่ือ ตาราเรียน และส่ือ ห ลั ก สู ต ร รู ป แ บ บ ก า ร จั ด

การเรียนรู้ต่าง ๆ ให้มีคุณภาพ การเรียนการสอน และกิจกรรม

มาตรฐาน และประชาชนสามารถ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพ

เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้โดยไม่จากัด ของสื่อและนวัตกรรม รวม ทั้ง

เวลาและสถานท่ี ม า ต ร ฐ า น ข อ ง ก า ร วั ด แ ล ะ

โครงการหลกั ประเมินผล เพื่อสร้างความเช่ือมั่น

15. การส่งเสริมสนับสนุนการผลิต ให้สังคมเก่ียวกับคุณภาพการจัด

ส่ือ ตารา ส่ิงพิมพ์ ส่ือวีดที ัศน์ และ การศกึ ษาของสานักงาน กศน.

113

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคลอ้ งของมาตรฐานกับนโยบายที่เก่ยี วขอ้ ง
กศน.
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้น นโยบายและจุดเน้นสานกั งาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ กศน. ปงี บประมาณ 2561

2561

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ท่ีมีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ด้านการสร้าง

ม า ต ร ฐ า น ผ่ า น ก า ร รั บ ร อ ง โอกาสและความเสมอภาคทาง

มาตรฐาน การศึกษา

4. จุดเน้นด้านการสร้างโอกาส ข้อ 4.3 เพ่ิมอัตราการรู้หนังสือ

ความเสมอภาคและความเท่าเทียม และยกระดับการรู้หนังสือของ

กันทางสงั คม ประชาชน

แนวทางหลัก (2) ยกระดับการรู้หนังสือของ

4.4 การพัฒนาฐานข้อมูลด้าน ประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนา

การศึกษาท่ีมีมาตรฐาน เชื่อมโยง ทักษะการรู้หนังสือในรูปแบบ

และเขา้ ถงึ ได้ ต่าง ๆ รวมท้ังทักษะด้านเทคโนโลยี

โครงการหลกั ดิจิทัล เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการ

5. การขั บ เค ล่ื อนแผ นแ ม่ บ ท เรยี นรู้ตลอดชวี ติ ของประชาชน

เท ค โน โ ล ยี ส า ร ส น เท ศ เพื่ อ

การศึ กษา เพ่ื อส ร้างแล ะเพ่ิ ม

ประสิทธภิ าพด้านการศกึ ษา

 บูรณาการด้านสื่อและองค์

ความรู้

 การพัฒนาคลงั ข้อมูล ส่อื และ

นวตั กรรมการเรียนรู้

2.4 คุณภาพการจัด ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพ 5. จุดเน้นด้านการเสริมสร้าง ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนา

กระบวนการเรียนรู้ คนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคม คณุ ภาพชวี ิตประชาชนท่ีเปน็ มิตร และเสริมสร้างศักยภาพคนให้มี

ตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา แหง่ การเรยี นรู้ กับสิ่งแวดล้อม คณุ ภาพ

ข้ อ 2.3 สถานศึ กษาทุ กระดั บ แนวทางหลัก ข้อ 3.3 ส่งเสริมให้มีการจัดการ

การศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/ 5.1 ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร เรียนการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา”

กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ (STEM Education) ส าหรับผู้ เรียน

ได้อย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน แ ล ะ ส่ื อ ก าร เรี ย น รู้ ต่ าง ๆ ที่ และประชาชนโดยบูรณาการความรู้

(3) จานวนสถานศึกษาในระดับ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ก าร ส ร้ าง เส ริ ม ด้ าน วิ ท ย าศ าส ต ร์ ค ว บ คู่ กั บ

ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น ที่ จั ด คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ท่ี เป็ น มิ ต ร กั บ เทคโนโลยีวิศวกรรมศาสตร์และ

การศึกษาตามหลักสตู รท่ีมุ่งพัฒนา ส่งิ แวดล้อม คณิตศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้ใน

ผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะ โครงการหลกั ชีวิตประจาวันพัฒนาทักษะชีวิตสู่

การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เพิม่ ข้นึ 1. การสร้างความรู้ ความเข้าใจ การประกอบอาชพี

(6) ร้อยละของสถานศึกษาข้ัน ความตระหนักในการเปลี่ยนแปลง ข้ อ 3 .7 ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ

พน้ื ฐานท่จี ัดกระบวนการเรียนรู้เชิง ของภมู ิอากาศและสภาพแวดลอ้ ม ก าร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ ร ะ ดั บ

บูรณาการเพื่อพัฒนาทกั ษะการคิด  โค รงการ ขั บ เค ล่ื อน ห ลั ก การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยพัฒนา

วิเคราะห์และความคิดสร้างสรรค์ ป รั ช ญ าเศ รษ ฐ กิ จพ อ เพี ย ง สู่ หลักสตู ร รปู แบบการจัด การเรยี น

เพม่ิ ขึ้น สถานศึกษา การสอน และกิ จกรรมพั ฒ นา

114

มาตรฐานการศึกษา ความสอดคล้องของมาตรฐานกบั นโยบายท่ีเก่ยี วขอ้ ง
กศน.
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี นโยบายและจุดเน้น นโยบายและจดุ เน้นสานักงาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปงี บประมาณ กศน. ปีงบประมาณ 2561

2561

คุณภาพผู้เรียน คุณภาพของสื่อ

และนวัตกรรม รวมทัง้ มาตรฐานของ

การวัดและประเมินผล เพื่อสร้าง

ความเช่ือม่ันให้ สังคมเก่ียวกั บ

คุ ณ ภ า พ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง

สานกั งาน กศน.

2.5 คุณภาพวิทยากร ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการพัฒนา

การศึกษาตอ่ เนื่อง คนทุกช่วงวัยและการสรา้ งสังคม กาลังคน การวจิ ยั และนวัตกรรม

แหง่ การเรยี นรู้ เพื่ อ สร้ างขี ด ค ว าม ส าม าร ถ

ขอ้ 2.7 ครู อาจารย์ และบคุ ลากร ในการแข่งขนั ของประเทศ

ท า งก า ร ศึ กษ า ไ ด้ รั บ กา ร พั ฒ น า ข้ อ 2 .1 ขั บ เค ลื่ อ น ก ศ น . สู่

สมรรถนะตามมาตรฐาน “Smart ONIE” ในการจัดการศึกษา

(1) ร้อยละของครู อาจารย์ และ แ ล ะ ก าร เรีย น รู้ ที่ เส ริ ม ส ร้ าง

บุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ/ ศั ก ย ภ า พ ข อ งป ร ะ ช าช น ให้

ประเภทการศึกษาไดร้ ับการพฒั นา สอดคลอ้ งกับการพัฒนาประเทศ

ต าม ม า ต ร ฐ าน วิ ช าชี พ แ ล ะ (1) พัฒนาความรู้ความสามารถ

สามารถ ป ฏิ บั ติ งานได้ อย่ างมี ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของครู

ประสิทธิภาพเพิ่มขน้ึ และบุ คลากร กศน. เช่น Boot

Camp ห ลั กสู ต รภ าษาอั งกฤษ

การจัดหลักสูตรภาษาเพ่ืออาชีพ

(2) พั ฒ นาค วามรู้ แ ละ ทั กษ ะ

เทคโนโลยีดิจิทัล การใช้ Social

Media แ ล ะ Application ต่ าง ๆ

เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียน

ก า ร ส อ น ข อ ง ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร

ทางการศกึ ษา

ข้อ 2.2 พัฒนากาลังคนให้เป็น

“Smart Digital Persons (SDPs)”

ท่ี มี ทั ก ษ ะ ด้ า น ภ า ษ าแ ล ะ ทั ก ษ ะ

ดจิ ทิ ัล เพอื่ รองรบั การพัฒนาประเทศ

(1) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน

Digital เ พื ่อ ใ ห ้ป ร ะ ช า ช น มี

ความรู้พ้ืนฐานด้าน Digital และ

ความรู้เร่ืองกฎหมายว่าด้วยการ

ก ร ะ ท า ค ว า ม ผิ ด เ กี่ ย ว กั บ

ค อ ม พิ วเต อ ร์ ส า ห รั บ ก าร ใช้

115

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคลอ้ งของมาตรฐานกบั นโยบายท่เี กยี่ วข้อง
กศน.
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี นโยบายและจุดเน้น นโยบายและจุดเน้นสานกั งาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ กศน. ปีงบประมาณ 2561

2561

ประโยชน์ในชีวติ ประจาวันรวมทั้ง

การพัฒนาและการเข้าสอู่ าชีพ

(2) สร้างความรู้ความเข้าใจและ

ทั ก ษ ะ พื้ น ฐ า น ให้ กั บ ป ร ะ ช า ช น

เก่ียวกับการทาธุรกิจและการค้า

ออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)

เพื่อร่วมขบั เคลอื่ นเศรษฐกิจดจิ ทิ ัล

(3) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือ

การสอ่ื สารของประชาชนในรูปแบบ

ต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม โดยเน้น

ทักษะภาษาเพ่ืออาชีพ ทั้งในภาค

ธรุ กิจ การบรกิ าร และการท่องเทยี่ ว

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ด้านการสร้าง

โอกาสและความเสมอภาคทาง

การศกึ ษา

ข้อ 4.5 พลิกโฉม กศน.ตาบล สู่

“กศน.ตาบล 4G”

(1) พัฒนาครู กศน. และบุคลากร

ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม

ก าร ศ ึก ษ าแ ล ะ ก า ร เร ีย น รู้ :

Good Teachers ให้เป็นตัวกลาง

ใ น ก า ร เชื่ อ ม โย ง ค ว า ม รู้ กั บ

ผู้รับบริการมีความเป็น “ครูมือ

อาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู้

และทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคม

เป็นผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้และ

บริหารจัดการความรู้ท่ีดี รวมท้ัง

เป็นปฏิบัติงานอยา่ งมคี วามสขุ

(2 ) พั ฒ น า ก ศ น .ต าบ ล ให้ มี

บ ร ร ย า ก าศ แ ล ะ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม

เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง :

Good Places Best Check-In

มี ค ว า ม พ ร้ อ ม ใน ก า ร ให้ บ ริ ก า ร

การศึกษาและการเรียนรู้ เป็น

แหล่งข้อมูลสาธารณะทีง่ ่ายต่อการ

เข้าถึงและสะดวกต่อการเรียนรู้

116

มาตรฐานการศึกษา ความสอดคลอ้ งของมาตรฐานกับนโยบายที่เกี่ยวข้อง
กศน.
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี นโยบายและจุดเน้น นโยบายและจุดเน้นสานักงาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ กศน. ปงี บประมาณ 2561

2561

ตลอดชีวิตอย่างสร้างสรรค์ มีสิ่ง

อานวยความสะดวก ดึงดูดความ

สนใจ และมีความปลอดภัยสาหรับ

ผู้รับบริการ

(3) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ภายใน กศน.ตาบล : Good

Activities ให้มีความหลากหลาย

น่าสนใจตอบสนองความต้องการ

ของชมุ ชนเพ่อื พัฒนาศักยภาพการ

เรียนรู้ของประชาชนรวมทั้งเปิด

โอกาสให้ชุมชนเข้ามาจัดกิจกรรม

เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของคน

ในชมุ ชน

2 .6 คุ ณ ภ า พ ข อ ง ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพ 4. จุดเน้นด้านการสร้างโอกาส ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการพัฒนา

ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ สื่ อ คนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคม ความเสมอภาคและความเท่าเทียม กาลังคน การวจิ ัย และนวัตกรรม

การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง แห่งการเรียนรู้ กันทางสังคม เพ่ื อ สร้ างขี ด ค ว าม ส าม าร ถ

ข้อ 2.2 คนทุกช่วงวัยมีทั กษะ แนวทางหลัก ในการแข่งขนั ของประเทศ

ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะ 4.4 การพัฒนาฐานข้อมูลด้าน ข ้อ 2 .1 ข ับ เค ลื ่อ น ก ศ น . สู่

ตามมาต รฐานการศึ กษาแล ะ การศึกษาที่มีมาตรฐาน เช่ือมโยง “Smart ONIE” ในการจดั การศกึ ษา

มาตรฐานวิชาชีพ และพั ฒ นา และเขา้ ถงึ ได้ แล ะ ก าร เรี ย น รู้ ที่ เส ริ ม ส ร้ าง

คุณภาพชีวิตไดต้ ามศกั ยภาพ โครงการหลกั ศั ก ย ภ า พ ข อ งป ร ะ ช าช น ให้

(9) จานวนสาขาและวิชาชีพที่เปิด 5. การขั บ เค ลื่ อนแผ นแ ม่ บ ท สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ

โอกาสให้ผู้สูงวัยได้รับการส่งเสริม เท ค โน โล ยี ส าร ส น เท ศ เพ่ื อ (1) พัฒนาความรู้ความสามารถ

ให้ท างานและถ่ายทอดความรู้/ การศึ กษา เพ่ื อส ร้างแล ะเพ่ิ ม ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของครู

ประสบการณ์เพิม่ ขน้ึ ประสิทธภิ าพด้านการศกึ ษา และบุคลากร กศน. เช่น Boot

ข้อ 2.4 แหล่งเรียนรู้ สื่อตารา  บูรณาการด้านส่ือและองค์ Camp หลั กสูตรภ าษาอังกฤ ษ

เรียน นวัตกรรม และส่ือการเรียน ความรู้ การจดั หลักสตู รภาษาเพ่อื อาชีพ

มีคุณภาพและมาตรฐาน และ  จัดทาหลักสูตรระยะสั้นที่ (2) พั ฒ นาค วามรู้ แ ละ ทั กษ ะ

ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่ จาเป็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต เทคโนโลยีดิจิทัล การใช้ Social

จากดั เวลาและสถานที่ ในยุค IT การพฒั นาศูนยเ์ รยี นร้ทู ุก Media แ ล ะ Application ต่ าง ๆ

(9) มีระบบคลังข้อมูลเก่ียวกับส่ือ ประเภท เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดการเรียน

และนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่ มี  จั ด ก าร เรี ย น รู้ /จั ด ท าสื่ อ การสอนของครูและบุคลากร

คุ ณ ภ าพ ม า ต ร ฐ าน ส าม าร ถ สาหรับ ประชาชนในเร่ืององค์ ทางการศกึ ษา

ให้บริการคนทุกช่วงวัยและใช้ ความรู้เก่ยี วกบั นโยบายการพฒั นา ข้อ 2.2 พัฒนากาลังคนให้เป็น

ป ร ะ โย ช น์ ร่ ว ม กั น ร ะ ห ว่ า ง ตา่ ง ๆ ของรฐั “Smart Digital Persons (SDPs)”

หนว่ ยงานได้ ที่ มี ทั ก ษ ะ ด้ า น ภ า ษ าแ ล ะ ทั ก ษ ะ

117

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคล้องของมาตรฐานกับนโยบายท่เี กยี่ วขอ้ ง
กศน.
แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้น นโยบายและจุดเนน้ สานักงาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปงี บประมาณ กศน. ปงี บประมาณ 2561

2561

ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ดิจิทั ล เพ่ื อรองรับ การพั ฒ นา

ความเสมอภาค และความเท่า ประเทศ

เทยี มทางการศึกษา (1) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน

ข้อ 2.1 ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาส Digital เ พื ่อ ใ ห ้ป ร ะ ช า ช น มี

และความเสมอภาคในการเข้าถึง ความรู้พื้นฐานด้าน Digital และ

การศึกษาทมี่ ีคณุ ภาพ ความรู้เร่ืองกฎหมายว่าด้วยการ

(13) มีหลักสูตรการศึกษาในการ ก ร ะ ท า ค ว า ม ผิ ด เ กี่ ย ว กั บ

จดั การศึกษากล่มุ การศึกษาเฉพาะ ค อ ม พิ วเต อ ร์ ส า ห รั บ ก าร ใช้

ด้านเฉพาะทาง กลุ่มที่มีความ ประโยชน์ในชีวิตประจาวันรวมท้ัง

ต้องการจาเป็นพิเศษในทุกระดับ การพฒั นาและการเข้าสูอ่ าชีพ

การศึกษา ท้ังทางการศึกษาใน (2) สร้างความรู้ความเข้าใจและ

ระบบ นอกระบบ และตาม ทั ก ษ ะ พื้ น ฐ า น ให้ กั บ ป ร ะ ช า ช น

อั ธ ย า ศั ย ที่ มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ เก่ียวกับการทาธุรกิจและการค้า

มาตรฐาน ออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)

ข้ อ 2 .2 ก ารเพ่ิ ม โอ ก าส ท าง เพื่อร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล

การศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล (3) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อ

เพือ่ การศกึ ษาสาหรับคนทุกชว่ งวยั การส่ื อส ารข องป ระ ช าช น ใน

(7 ) มี ส่ื อ ดิ จิ ทั ล เพ่ื อ พั ฒ น า รูปแบบต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม

เศรษฐกิจ ชุมชน และการส่งเสริม โดยเนน้ ทักษะภาษาเพ่ืออาชีพ ท้ัง

การมอี าชพี เพมิ่ ขึ้น ในภาคธรุ กิจ การบรกิ าร และการ

ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษา ท่องเที่ยว

เพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็น ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนา

มิตรกับส่ิงแวดล้อม และเสริมสร้างศักยภาพคนให้มี

2.2 หลกั สูตร แหล่งเรียนรู้ และส่ือ คุณภาพ

การเรียนรู้ ท่ีส่งเสริมคุณภาพชีวิต ข้อ 3.5 ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนสู่

ที่ เป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม “วสิ าหกิจชุมชน : ชมุ ชนพึง่ ตนเอง

คุณธรรม จริยธรรม และการนา ทาได้ขายเป็น”

แนวคิ ดต ามห ลักป รัชญ าของ (1) ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพ

เศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏบิ ตั ิ ทีส่ อดคล้องกับศกั ยภาพของชมุ ชน

(2) จานวนสถานศึ กษา/สถาบั น และค วามต้องการของต ลาด

การศึกษาท่ีจัดการเรียนการสอน รวมทั้งสรา้ งเครอื ขา่ ยการรวมกลุ่ม

และกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม ในลักษณะวิสาหกิจชุมชน สร้าง

จริยธรรมและการนาแนวคิดตาม รายได้ให้กับชุมชน ให้ชุมชนพง่ึ พา

หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตนเองได้

สู่การปฏบิ ตั เิ พมิ่ ขน้ึ (2) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีใน

ก าร ส ร้า งมู ล ค่ าเ พ่ิ ม ให้ กั บ สิ น ค้ า

118

มาตรฐานการศึกษา ความสอดคลอ้ งของมาตรฐานกบั นโยบายที่เก่ยี วข้อง
กศน.
แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้น นโยบายและจดุ เนน้ สานักงาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปงี บประมาณ กศน. ปีงบประมาณ 2561

2561

การท าช่ องท างเผ ย แ พ ร่แ ล ะ

จาหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจ

ชมุ ชนใหเ้ ป็นระบบครบวงจร

2.7 คุณภาพการจัด ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 การจดั การศึกษา 4. จุดเน้นด้านการสร้างโอกาส ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการพัฒนา

กระบวนการเรียนรู้ เพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็น ความเสมอภาค และความเท่าเทียม และเสริมสร้างศักยภาพคนให้มี

การศึกษาต่อเน่ือง มติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม กนั ทางสงั คม คุณภาพ

ข้อ 2.2 หลักสตู รแหล่งเรยี นรู้ และ แนวทางหลกั ข้อ 3.6 จัดกระบวนการเรียนรู้

ส่ือการเรียนรู้ ท่ีส่งเสริมคุณภาพ 4.4 การพัฒนาฐานข้อมูลด้าน ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่

ชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การศึกษาท่ีมีมาตรฐาน เชื่อมโยง การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมอยา่ ง

คุณธรรมจริยธรรม และการนา และเข้าถงึ ได้ ยั่งยนื

แนวคิ ดต ามห ลักป รัชญ าของ โครงการหลกั (1) พัฒนาบุคลากรและแกนนา

เศรษฐกจิ พอเพียงสูก่ ารปฏิบัติ 5. การขั บ เค ลื่ อนแผ นแ ม่ บ ท เกษตรกรในการเผยแพร่และจัด

(1) จานวนสถานศึกษา/สถาบัน เท ค โน โล ยี ส าร ส น เท ศ เพื่ อ กระบวนการเรียนรู้ตามแนวทาง

การศึกษาที่จัดการเรียนการสอน การศึ กษา เพื่ อส ร้างแล ะเพ่ิ ม เกษตรธรรมชาติสู่การพั ฒ นา

และกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการ ประสทิ ธิภาพดา้ นการศกึ ษา อาชพี เกษตรกรรม

สร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตร  บูรณาการด้านส่ือและองค์ (2) จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ

กบั ส่งิ แวดลอ้ มเพมิ่ ขนึ้ ความรู้ ระดับตาบลดา้ นเกษตรธรรมชาติสู่

(2) จานวนสถานศึ กษา/สถาบั น  จั ด ก าร เรี ย น รู้ /จั ด ท าสื่ อ การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมเพ่ือ

การศึกษาที่จัดการเรียนการสอน สาหรับ ประชาชนในเรื่ององค์ ถ่ าย ท อ ด ค วาม รู้ ด้ าน เก ษ ต ร

และกิจกรรมเพ่ือปลูกฝังคุณธรรม ความรู้เกยี่ วกบั นโยบายการพฒั นา ธรรมช าติ สู่ การ พั ฒ น าอาชี พ

จริยธรรมและการนาแนวคิดตาม ต่าง ๆ ของรัฐ เกษตรกรรมใหก้ บั ชุมชน

หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (3) ส่งเสริมให้มีการบูรณาการ

สู่การปฏบิ ตั ิเพ่ิมข้ึน ระหว่าง ศฝช. และ กศน.อาเภอ

(3) จานวนแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับ ในการจัดกระบ วนการเรียนรู้

ก า ร พั ฒ น าใ ห้ ส า ม า ร ถ จั ด ต าม แ น ว ท า งเก ษ ต ร ธ ร ร ม ช าติ สู่

การศึกษา/จัดกิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒ นาอาชีพเกษตรกรรม

ที่ส่งเสริมในเรื่องการสร้างเสริม ใหก้ ับประชาชน

คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ท่ี เป็ น มิ ต ร กั บ

ส่งิ แวดล้อมเพม่ิ ขึน้

2 .8 คุ ณ ภ า พ ผู้ จั ด ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพ 3. จุ ดเน้ นด้ านการพั ฒ นาและ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการพัฒนา

กิจกรรมการศึ กษ า คนทุกช่วงวัยและการสรา้ งสังคม เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน กาลังคน การวิจยั และนวัตกรรม

ตามอธั ยาศยั แห่งการเรียนรู้ แนวทางหลกั เพื่ อ สร้ างขี ด ค ว าม ส าม าร ถ

ข้อ 2.7 ครู อาจารย์ และบคุ ลากร 3 .2 ก าร ผ ลิ ต แ ล ะ พั ฒ น าค รู ในการแขง่ ขนั ของประเทศ

ทางการศึกษาได้รับการพัฒนา คณาจารย์ และบุคลากรทางการ ข้ อ 2 .1 ขั บ เค ล่ื อ น ก ศ น . สู่

สมรรถนะตามมาตรฐาน ศกึ ษา “Smart ONIE” ในการจดั การศกึ ษา

(1) ร้อยละของครู อาจารย์ และ โครงการหลัก แ ล ะ ก าร เรีย น รู้ ท่ี เส ริ ม ส ร้ าง

119

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคลอ้ งของมาตรฐานกับนโยบายท่เี กยี่ วขอ้ ง
กศน.
แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี นโยบายและจุดเน้น นโยบายและจดุ เน้นสานกั งาน
กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ กศน. ปีงบประมาณ 2561

2561

บุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ/ 1 0 . โ ค ร ง ก า ร ผ ลิ ต พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช าช น ให้

ประเภทการศกึ ษาได้รับการพัฒนา เสริมสร้างคุณภาพวิชาชีพ ครู สอดคลอ้ งกับการพัฒนาประเทศ

ต าม ม า ต ร ฐ าน วิ ช าชี พ แ ล ะ คณาจารย์ และบุคลากรทางการ (1) พัฒนาความรู้ความสามารถ

สามารถ ป ฏิ บั ติ งานได้ อย่ างมี ศึกษา ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของครู

ประสทิ ธิภาพเพม่ิ ขึ้น  Training for trainers/Boot และบุ คลากร กศน. เช่น Boot

(2 ) ร้ อ ย ล ะ ข อ งค รู อ าจ าร ย์ Camp Camp หลักสูตรภาษาอังกฤษ การ

บุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการ จดั หลกั สูตรภาษาเพือ่ อาชพี

พั ฒ นาให้ ส อด คล้ องกั บ ความ (2) พั ฒ นาค วามรู้ แ ละ ทั กษ ะ

ต้องการและยุทธศ าสต ร์ของ เทคโนโลยีดิจิทัล การใช้ Social

หน่วยงานเพิม่ ขน้ึ Media แ ล ะ Application ต่ าง ๆ

เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดการเรียน

ก า ร ส อ น ข อ ง ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร

ทางการศึกษา

ข้อ 2.2 พัฒนากาลังคนให้เป็น

“Smart Digital Persons (SDPs)”

ท่ี มี ทั ก ษ ะ ด้ า น ภ า ษ าแ ล ะ ทั ก ษ ะ

ดิจิทั ล เพื่ อรองรับ การพั ฒ นา

ประเทศ

(1) ส่งเสรมิ การจัดการเรียนรู้ด้าน

Digital เพ่ือให้ประชาชนมีความรู้

พ้ืนฐานด้าน Digital และความรู้

เร่ืองกฎหมายว่าด้วยการกระทา

ค วา ม ผิ ด เก่ี ย ว กั บ ค อ ม พิ วเต อ ร์

ส าห รั บ ก าร ใช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ใน

ชีวิตประจาวันรวมท้ังการพัฒนา

และการเขา้ ส่อู าชีพ

(2) สร้างความรู้ความเข้าใจและ

ทั ก ษ ะ พื้ น ฐ า น ให้ กั บ ป ร ะ ช า ช น

เก่ียวกับการทาธุรกิจและการค้า

ออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)

เพอื่ ร่วมขบั เคลือ่ นเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล

(3) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือ

การสื่ อส ารข องป ระ ช าช น ใน

รูปแบบต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม

โดยเนน้ ทักษะภาษาเพ่ืออาชีพ ท้ัง

ในภาคธรุ กิจ การบรกิ าร และการ

120

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคล้องของมาตรฐานกบั นโยบายท่เี ก่ยี วขอ้ ง
กศน.
แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี นโยบายและจุดเน้น นโยบายและจดุ เน้นสานักงาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ ปงี บประมาณ กศน. ปงี บประมาณ 2561

2561

ท่องเท่ียว

ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้าง

โอกาสและความเสมอภาคทาง

การศกึ ษา

ข้อ 4.5 พลิกโฉม กศน.ตาบล สู่

“กศน.ตาบล 4G”

(1) พัฒนาครู กศน. และบุคลากร

ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม

การศึกษาและการเรียนรู้ : Good

Teachers ให้เป็นตัวกลางในการ

เชื่อมโยงความรู้กับผู้รับบริการมี

ความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิต

บริการ มีความรอบรู้ และทันต่อ

การเปล่ียนแปลงของสังคมเป็นผู้

จดั กิจกรรมการเรยี นรู้และบริหาร

จัดการความรู้ที่ดี รวมทั้งเป็ น

ผปู้ ฏบิ ตั งิ านอย่างมคี วามสขุ

(2 ) พั ฒ น า ก ศ น .ต าบ ล ให้ มี

บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มเอ้ือ

ต่อการเรียนรู้อย่างต่อเน่ื อง :

Good Places Best Check-In มี

ค วามพ ร้อมในการให้บ ริการ

การศึกษาและการเรียนรู้ เป็น

แหลง่ ขอ้ มูลสาธารณะทงี่ ่ายต่อการ

เข้าถึงและสะดวกต่อการเรียนรู้

ตลอดชีวิตอย่างสร้างสรรค์ มีส่ิง

อานวยความสะดวก ดึงดูดความ

สนใจ และมีความปลอดภัยสาหรับ

ผู้รบั บรกิ าร

(3) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ภายใน กศน.ตาบล : Good

Activities ให้มีความหลากหลาย

น่าสนใจตอบสนองความต้องการ

ของชมุ ชนเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพการ

เรียนรู้ของประชาชนรวมท้ังเปิด

โอกาสให้ชุมชนเข้ามาจัดกิจกรรม

121

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคล้องของมาตรฐานกบั นโยบายทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
กศน.
แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้น นโยบายและจุดเน้นสานักงาน
กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ กศน. ปีงบประมาณ 2561

2561

เพ่ือเชื่อมโยงความสมั พันธ์ของคน

ในชุมชน

2.9 คุณภาพกระบวนการ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การจดั การศกึ ษา 3. จุดเน้นด้านการพัฒนาและ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนา

จัดกิจกรรมการศึกษา เพื่อความม่ันคงของสังคมและ เสรมิ สร้างศกั ยภาพคน และเสริมสร้างศักยภาพคนให้มี

ตามอธั ยาศัย ประเทศชาติ แนวทางหลกั คณุ ภาพ

ข้อ 2.1 คนทกุ ช่วงวัยมีความรกั ใน 3.3 การส่งเสริมสนับสนุนให้คน ข้อ 3.4 เพิ่มอัตราการอ่านของ

สถาบันหลักของชาติ และยึดม่ัน ทุ ก ช่ ว ง วั ย มี ทั ก ษ ะ ค ว า ม รู้ ประชาชนโดยการจัดกิจกรรม

การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ความสามารถ และการพัฒนา ส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่าง ๆ

อันมีพ ระมหากษัตริย์ทรงเป็น คุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสมเต็ม เช่น อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน

ประมขุ ตามศกั ยภาพ ห้ อ งสมุ ด ป ร ะ ช าช น บ้ าน ห นั งสื อ

(5) ร้อยละของสถานศึกษาที่มี โครงการหลัก ชุมชนห้ องสมุด เค ลื่อนท่ี เพ่ื อ

การจดั การเรียนการสอน/กจิ กรรม 14. การส่งเสริมสนับสนุนการจัด พฒั นาใหป้ ระชาชนมคี วามสามารถ

เพ่ือส่งเสรมิ การอยรู่ ่วมกนั ในสังคม การศึ กษ าแ ล ะ การให้ ค วาม รู้ ในระดบั อ่านคล่อง เข้าใจความคิด

พหุวฒั นธรรมเพิม่ ขน้ึ สาหรับคนทุกชว่ งวยั วิเคราะห์พื้นฐาน และสามารถรับรู้

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศักยภาพ ข้อมูลข่าวสารท่ีถูกต้องและทัน

คนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคม เหตุการณ์รวมทั้งนาความรู้ท่ีได้รับ

แหง่ การเรยี นรู้ ไปใช้ปฏิบัตจิ ริงในชวี ิตประจาวัน

2 .3 ส ถ า น ศึ ก ษ า ทุ ก ร ะ ดั บ ข้อ 3.6 จัดกระบวนการเรียนรู้

ก าร ศึ ก ษ า ส าม าร ถ จั ด กิ จ ก ร ร ม / ต าม แ น ว ท า งเก ษ ต ร ธ ร ร ม ช าติ สู่

กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมอย่าง

ไดอ้ ย่างมคี ุณภาพและมาตรฐาน ย่งั ยนื

(6) ร้อยละของสถานศึกษาข้ัน (1) พัฒนาบุคลากรและแกนนา

พ้ืนฐานท่จี ัดกระบวนการเรียนรู้เชิง เกษตรกรในการเผยแพร่และจัด

บูรณาการเพอื่ พัฒนาทกั ษะการคิด กระบวนการเรียนรู้ตามแนวทาง

วิเคราะห์และความคิดสร้างสรรค์ เกษตรธรรมชาติสู่การพั ฒ นา

เพิ่มขึ้น อาชีพเกษตรกรรม

2.4 แหล่งเรียนรู้สื่อตาราเรียน (2) จัดต้ังศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ

น วั ต ก ร ร ม แ ล ะ สื่ อ ก า ร เรี ย น รู้ มี ระดับตาบลดา้ นเกษตรธรรมชาติสู่

คุ ณ ภ าพ แ ล ะ ม าต ร ฐ าน แ ล ะ การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมเพื่อ

ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่ ถ่ าย ท อ ด ค วาม รู้ ด้ าน เก ษ ต ร

จากดั เวลาและสถานท่ี ธรรมช าติ สู่ การ พั ฒ น าอาชี พ

(1) จานวนแหล่งเรียนร้ทู ี่ได้รับการ เกษตรกรรมให้กับชมุ ชน

พัฒ นาให้ส ามาร ถ จัด การ ศึก ษ า / (3) ส่งเสริมให้มีการบูรณาการ

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ระหว่าง ศฝช. และ กศน.อาเภอ

ท่ีมีคุณภาพเพ่มิ ขน้ึ ในการจัดกระบ วนการเรียนรู้

ต าม แ น ว ท า งเก ษ ต ร ธ ร ร ม ช าติ สู่

122

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคล้องของมาตรฐานกับนโยบายทีเ่ กี่ยวข้อง
กศน.
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี นโยบายและจุดเน้น นโยบายและจุดเน้นสานักงาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ กศน. ปงี บประมาณ 2561

2561

การพัฒ นาอาชีพเกษตรกรรม

ให้กับประชาชน

ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้าง

โอกาสและความเสมอภาคทาง

การศกึ ษา

ข้อ 4.6 ประสานความร่วมมือ

หน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วน

ต่าง ๆ ท่ีมีแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น

พิพิธภัณ ฑ์ ศูนย์เรียนรู้ แหล่ง

โบราณคดี ห้องสมุด เพื่อส่งเสริม

การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มี

รูปแบบที่หลากหลาย และตอบสนอง

ความตอ้ งการของประชาชน

ม า ต ร ฐ า น ท่ี 3 ยุท ธศ าสต ร์ที่ 6 ก ารพั ฒ น า 6. จุดเน้นด้านการพัฒนาระบบ ยุทธศาสตร์ท่ี 5 ด้านส่งเสรมิ และ

ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ประสิทธิภาพของระบบบริหาร และการบริหารจัดการ จัด การศึ กษ าเพื่ อ เสริมส ร้าง

การบ ริห ารจัด การ จัดการศึกษา แนวทางหลกั คุ ณ ภ าพ ชี วิ ต ที่ เป็ น มิ ต ร กั บ

การศกึ ษา ข้อ 2.1 โครงสร้าง บทบาท และ 6.2 เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหาร สิง่ แวดล้อม

3 .1 ก า ร บ ริ ห า ร ระบบการบริหารจัดการศึกษา จัดการสถานศกึ ษา ขอ้ 5.1 ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้

สถานศึกษาตามหลัก มีความค ล่องตัว ชัดเจน และ โครงการหลกั กับประชาชนเก่ียวกับการป้องกัน

ปรัชญาของเศรษฐกิจ สามารถตรวจสอบได้ 3. การเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบริหาร ผ ล ก ร ะ ท บ แ ล ะ ป รั บ ตั ว ต่ อ

พ อ เพี ย ง แ ล ะ ห ลั ก (1) มีการปรับปรุงโครงสร้างและ จดั การสถานศึกษา การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ธรรมาภิบาล ร ะ บ บ บ ริห า ร ร าช ก าร ส่ วน ก ล า ง และภัยพบิ ัติธรรมชาติ

ส่วนภูมิภาค และสถานศึกษาให้มี ข้อ 5.2 สร้างความตระหนักถึง

เอกภาพ สอดคล้องกับบริบทของ ค วา ม ส าคั ญ ข อ ง ก าร ส ร้า งสั งค ม

พื้นที่ และการบริห ารจัด การต าม สีเขีย ว ส่ งเส ริมค วามรู้ให้ กั บ

หลักธรรมาภบิ าล ป ร ะ ช า ช น เก่ี ย ว กั บ ก า ร คั ด แ ย ก

ข้อ 2.2 ระบ บ การบ ริห ารจั ด การแปรรูป และการกาจัดขยะ

ก าร ศึ ก ษ ามี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ รวมทงั้ การจดั การมลพษิ ในชมุ ชน

ประสิทธิผล ส่งผลต่อคุณภาพและ ข้อ 5.3 ส่งเสริมให้หน่วยงานและ

มาตรฐานการศกึ ษา สถานศึกษาใช้พลังงานท่ีเป็นมิตร

(6) จานวนสถานศึกษาทบ่ี รหิ ารงาน กับ สิ่งแ ว ด ล้อ ม ร วม ท้ั งล ด ก าร ใช้

ตามหลักธรรมาภิบาลเพิ่มข้ึน ท รัพ ย ากรที่ ส่ งผ ลกระท บ ต่ อ

สิ่งแวดลอ้ ม

ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการพัฒนา

ประสทิ ธิภาพระบบบรหิ ารจัดการ

ข้อ 6.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูล

123

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคล้องของมาตรฐานกับนโยบายท่ีเกีย่ วขอ้ ง
กศน.
แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้น นโยบายและจดุ เนน้ สานกั งาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ ปงี บประมาณ กศน. ปีงบประมาณ 2561

2561

ส า ร ส น เ ท ศ ด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ

การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ

และเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูล

กลางของกระทรวงศึกษาธกิ ารเพื่อ

การบริหารจัดการและบูรณาการ

ข้ อ มู ล ข อ ง ป ร ะ ช า ช น อ ย่ า ง เป็ น

ระบบ

ข้อ 6.2 ส่งเสริมการใช้ระ บ บ

สานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E-office)

ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบ

การลา ระบบสารบรรณ

อิเล็กทรอนิกส์ ระบบการขอใช้รถ

ราชการ ระบ บการขอใช้ห้ อง

ประชมุ เป็นตน้

ข้ อ 6 .4 ส่ งเส ริ ม ก าร พั ฒ น า

บุคลากรทุกระดับให้มีความรู้และ

ทักษะตามมาตรฐานตาแหน่งให้

ตรงกับสายงานหรือความชานาญ

3 .2 ก า ร ส่ ง เส ริ ม ยุท ธศ าสต ร์ท่ี 6 ก ารพั ฒ น า 6. จุดเน้นด้านการพัฒนาระบบ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ด้านการสร้าง

ส นั บ ส นุ น ก า ร จั ด ประสิทธิภาพของระบบบริหาร และการบรหิ ารจัดการ โอกาสและความเสมอภาคทาง

การศึ กษ าของภ าคี จัดการศึกษา แนวทางหลกั การศกึ ษา

เครือข่าย ขอ้ 2.3 ทุกภาคสว่ นของสังคมมสี ว่ น 6.3 ส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมของทุก ข้อ 4.5 พลิกโฉม กศน.ตาบล สู่

ร่ ว ม ใ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ที่ ภาคสว่ นในการจดั การศกึ ษา “กศน.ตาบล 4G”

ตอบ สนองค วามต้ องการของ โครงการหลัก (4) เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคี

ประชาชนและพื้นที่ 4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุก เครือข่าย : Good Partnerships

(1) จานวนเครือข่ายการศึกษาท่ีมี ภาคสว่ นในการจดั การศกึ ษา ทั้งภาครัฐภาคเอกชนและองค์กร

ศักยภาพและความพร้อมในการ  โครงการพั ฒ นารู ป แบ บ / ป กค ร องส่ วน ท้ องถิ่ น ร วมทั้ ง

ส่งเสริมสนับสนนุ การจัดการศึกษา แนวทาง การส่งเสริมการสร้างการ ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วน

เพ่ือตอบสนองความต้องการของ มสี ่วนร่วมในการจัดและสนับสนุน ร่วมของชุมชน เพื่อสร้างความ

ประชาชนในพน้ื ทเี่ พ่ิมขึน้ การจัดการศึกษาจากทุกภาคส่วน เข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือใน

(2) จานวนองค์กรสมาคมมูลนิธิ ของสังคม การส่งเสริม สนับสนุน และจัดการ

หรือห น่วยงานอ่ื นที่ เข้ามาจัด  โ ค ร ง ก า ร ส่ ง เส ริ ม แ ล ะ ศึ ก ษ าแ ล ะ ก า ร เรี ย น รู้ ให้ กั บ

ก า ร ศึ ก ษ า ห รื อ ร่ ว ม มื อ กั บ สนับสนุนเครือข่ายการศึกษาใน ประชาชนอยา่ งมีคณุ ภาพ

สถานศึกษาท้ังของรัฐเอกชนและ การจัดการศึกษาในพื้นท่ี อาทิ

องค์ ก รป ก ค ร องส่ วน ท้ องถิ่ น ส มั ช ช า ก าร ศึ ก ษ าห รื อ ส ภ า

เพ่มิ ข้นึ การศกึ ษาจังหวัดหรือสถาบัน และ

124

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคล้องของมาตรฐานกับนโยบายท่เี กี่ยวขอ้ ง
กศน.
แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้น นโยบายและจดุ เน้นสานกั งาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ กศน. ปงี บประมาณ 2561

2561

(3) จานวนสถานประกอบการท่ี องคก์ รต่าง ๆ ในสังคม

เข้ าร่วม การจั ด การศึ กษากั บ

ส ถ า น ศึ ก ษ า ส ถ าบั น ก าร ศึ ก ษ า

จ า แ น ก ต า ม ร ะ ดั บ ป ร ะ เภ ท

การศกึ ษาและสาขาวิชาเพ่มิ ขึน้

(4) สัดส่วนผู้เรียนเอกชนสูงข้ึน

เมอื่ เทียบกับรัฐ

(5 ) สั ด ส่ ว น ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม

สนับสนุนการศึกษาของภาคเอกชน

ภาคประชาชนแ ล ะ ภ าคี เค รื อ ข่ า ย

เมื่อเทียบกับรัฐ จาแนกตามระดับ

การศึกษาสงู ข้ึน

(6) จานวนมาตรการ/แนวทาง

การส นั บ ส นุ น ท รั พ ย ากรท าง

การศึกษาเพื่อสร้างแรงจูงใจใน

การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนใน

สงั คมเพมิ่ ขนึ้

3.3 การ มี ส่ วนร่วม ยุท ธศ าสต ร์ที่ 6 ก ารพั ฒ น า 6. จุดเน้นด้านการพัฒนาระบบ

ของคณ ะกรรมการ ประสิทธิภาพของระบบบริหาร และการบริหารจัดการ

สถานศกึ ษา จัดการศกึ ษา แนวทางหลกั

ข้อ 2.5 ระบบบริหารงานบุคคล 6.3 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ

ของครู อาจารย์ และบุคลากร ทุกภาคสว่ นในการจัดการศึกษา

ทางการศึกษา มีความเป็นธรรม โครงการหลกั

สร้างขวัญกาลังใจ และส่งเสริมให้ 4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุก

ป ฏิ บั ติ ง าน ได้ อ ย่ างเต็ ม ต าม ภาคสว่ นในการจดั การศึกษา

ศกั ยภาพ  โครงการพั ฒ นารู ป แบ บ /

(1) มรี ะบบการสรรหาและแต่งต้ัง แนวทาง การส่งเสริมการสร้างการ

ผู้ บ ริ ห า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า ต า ม มีส่วนร่วมในการจัดและสนับสนุน

หลักเกณฑ์ความรู้ ความสามารถ การจัดการศึกษาจากทุกภาคส่วน

ประสบการณ์ การจัดการเรียน ของสงั คม

การสอน การบริหารการศึกษา  โ ค ร ง ก า ร ส่ ง เส ริ ม แ ล ะ

และความสาเรจ็ ในวิชาชพี สนับสนุนเครือข่ายการศึกษาใน

การจัดการศึกษาในพื้ นท่ี อาทิ

ส มั ช ช า ก าร ศึ ก ษ าห รื อ ส ภ า

การศึกษาจังหวัดหรือสถาบนั และ

องค์กรต่าง ๆ ในสังคม

125

มาตรฐานการศกึ ษา ความสอดคล้องของมาตรฐานกับนโยบายท่เี กีย่ วขอ้ ง
กศน.
แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี นโยบายและจุดเน้น นโยบายและจดุ เน้นสานักงาน
กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ กศน. ปงี บประมาณ 2561

2561

3.4 การประกันคุณภาพ ยุท ธศ าสต ร์ท่ี 6 ก ารพั ฒ น า 3. จุดเน้นด้านการพัฒนาและ ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการพัฒนา

ภายในของสถานศึกษา ประสิทธิภาพของระบบบริหาร เสริมสรา้ งศกั ยภาพคน ประสิทธภิ าพระบบบริหารจดั การ

จดั การศกึ ษา แนวทางหลกั ข้อ 6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยี

ข้อ 2.2 ระบ บ การบ ริห ารจั ด 3.1 พัฒนาหลักสูตร กระบวนการ สารสนเทศเพ่ือช่วยในการบริหาร

การศึกษามีประสิทธิภาพและ เรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล จัดการอย่างเต็มรูปแบบ ทั้งระบบ

ประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและ โครงการหลกั การจัดทาแผนปฏิบัติการ และ

มาตรฐานการศึกษา 9. การวดั และประเมินผล ระ บ บ การราย งาน ผลการ

(2) ร้อยละของสถานศึกษาท่ี มี  การปรบั เคร่ืองมือ ระบบและ ดาเนินงานประจาปี รวมท้ังระบบ

คณุ ภาพตามเกณฑ์ประกันคณุ ภาพ วธิ ีการประเมิน/ประกันคณุ ภาพ การประกนั คุณภาพของสถานศึกษา

การศึกษาเพิม่ ขึ้น 6. จุดเน้นด้านการพัฒนาระบบ

(3) ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมี และการบรหิ ารจัดการ

ความพงึ พอใจต่อระบบการประกัน แนวทางหลกั

คณุ ภาพการศึกษาเพ่มิ ขึ้น 6.2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร

จดั การสถานศกึ ษา

โครงการหลัก

3. การเพ่ิมประสทิ ธิภาพการบริหาร

จดั การสถานศกึ ษา

 โครงการพั ฒ นาระบบการ

ประกันคุณภาพการศึกษาและการ

ประเมิ นประสิทธิภาพ การจัด

การศึกษาของสถานศึกษาทุ ก

ระดับ/ประเภทการศึกษา

 โครงการระบบการควบคุม

ภายในเพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศึกษา

ภาคผนวก จ

ความเชือ่ มโยงระหว่างมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต ปี 2555

กับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อาเภอ/เขต ปี 2560

127

เปรยี บเทียบมาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี (เดิม) กับมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ (ใหม่)

มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี (เก่า) มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ (ใหม่)
6 มาตรฐาน 26 ตัวบ่งชี้ 3 มาตรฐาน 20 ตัวบ่งชี้
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรยี น/ผู้รับบริการ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น/ผรู้ บั บรกิ าร
การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
ตัวบง่ ชี้ที่ 1.1 ผเู้ รยี นมีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ีดี
ตวั บง่ ชี้ที่ 1.2 ผู้เรียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม 1.1 ผู้เรยี นการศึกษาขนั้ พื้นฐานมีคณุ ธรรม
และคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์
ตวั บ่งชี้ที่ 1.3 ผเู้ รยี นมีความใฝร่ ู้และเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเน่อื ง 1.2 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานมีทกั ษะกระบวนการคดิ
ตัวบ่งชีท้ ่ี 1.4 ผเู้ รยี นคดิ เปน็ ทาเป็น ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างตอ่ เนอื่ ง
และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นการดารงชีวติ
ตวั บ่งช้ีที่ 1.5 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของผเู้ รียน 1.3 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมคี วามรพู้ นื้ ฐาน
การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง
ตัวบง่ ชี้ที่ 1.6 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผเู้ รยี น 1.4 ผเู้ รยี นหรอื ผเู้ ข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ
การศึกษาตอ่ เนื่อง และทกั ษะในการประกอบอาชีพ
ตวั บ่งชี้ท่ี 1.7 ผเู้ รียนมีงานทาหรอื มีรายไดเ้ สรมิ 1.5 ผู้เรียนหรอื ผู้เขา้ รบั การอบรมปฏบิ ัติตน
มที กั ษะในการทางาน สามารถทางานร่วมกบั ผอู้ ืน่ ได้ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
และมเี จตคตทิ ่ีดตี อ่ อาชีพสจุ รติ 1.6 ผเู้ รียนหรือผเู้ ข้ารับการอบรมสามารถใชเ้ ทคโนโลยี
ไดอ้ ย่างเหมาะสม
การศกึ ษาตามอัธยาศยั การศึกษาตามอธั ยาศยั
1.7 ผู้รับบริการไดร้ บั ความรแู้ ละ/หรอื ประสบการณ์
ตัวบง่ ชท้ี ่ี 1.8 ความพงึ พอใจตอ่ การใหบ้ รกิ ารการศกึ ษา จากการเข้ารว่ มกิจกรรม/โครงการการศกึ ษาตาม
ตามอธั ยาศัย อัธยาศยั
มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การศึกษา/การใหบ้ ริการ
มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การศึกษา/การ
ตัวบง่ ช้ีท่ี 2.1 คณุ ภาพของหลกั สตู ร ใหบ้ รกิ าร
การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน
ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2.2 คณุ ภาพของครู 2.2 คุณภาพของหลักสูตรสถานศกึ ษา
ตวั บ่งชี้ท่ี 2.3 คณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอนของครู 2.6 คณุ ภาพของหลักสตู รและส่อื การศกึ ษาต่อเนื่อง
และผสู้ อนทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั 2.1 คุณภาพครูการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
2.4 คุณภาพการจดั กระบวนการเรยี นรู้ตามหลกั สตู ร
สถานศึกษา
2.7 คณุ ภาพการจัดกระบวนการเรยี นรกู้ ารศกึ ษา
ตอ่ เน่ือง

128

มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี (เกา่ ) มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ (ใหม่)

6 มาตรฐาน 26 ตวั บ่งชี้ 3 มาตรฐาน 20 ตวั บ่งช้ี

การศึกษาตอ่ เน่ือง

ตวั บ่งช้ที ี่ 2.4 คณุ ภาพผ้สู อน/วิทยากรการศึกษาต่อเนอ่ื ง 2.5 คุณภาพวิทยากรการศกึ ษาต่อเนอื่ ง

ตัวบง่ ชท้ี ่ี 2.5 คุณภาพสอ่ื ทเี่ อือ้ ต่อการเรียนรขู้ องผู้เรียน 2.3 คณุ ภาพสอื่ ตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา

และผรู้ ับบรกิ าร 2.6 คณุ ภาพของหลักสูตรและส่ือการศึกษาต่อเนอ่ื ง

การศกึ ษาตามอัธยาศยั

2.8 คณุ ภาพผู้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย

ตัวบง่ ชี้ท่ี 2.6 คณุ ภาพการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย 2.9 คณุ ภาพกระบวนการจดั กิจกรรมการศกึ ษา

ตามอัธยาศยั

ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 การสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้

มาตรฐานที่ 3 การบรหิ ารการศึกษา มาตรฐานท่ี 3 ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการ
การศึกษา

ตวั บ่งชที้ ่ี 3.1 คุณภาพของการบรหิ ารสถานศึกษา 3.1 การบรหิ ารสถานศกึ ษาตามหลกั ปรัชญา

ของเศรษฐกจิ พอเพยี งและหลกั ธรรมาภบิ าล

ตวั บ่งช้ที ี่ 3.2 ระบบฐานข้อมูลเพ่อื การบรหิ ารจัดการ

ตวั บง่ ชี้ที่ 3.3 ผลการบรหิ ารความเสย่ี ง 3.1 การบรหิ ารสถานศึกษาตามหลกั ปรชั ญา

ตวั บง่ ช้ที ่ี 3.4 ผลการปฏิบัตหิ นา้ ท่ขี องผู้บรหิ าร ของเศรษฐกจิ พอเพยี งและหลกั ธรรมาภบิ าล

สถานศึกษา

3.2 การส่งเสรมิ สนบั สนุนการจัดการศึกษา

ของภาคเี ครอื ข่าย

ตัวบ่งชี้ที่ 3.5 ผลการปฏิบัตติ ามบทบาทของ 3.3 การมสี ่วนรว่ มของคณะกรรมการสถานศึกษา

คณะกรรมการสถานศึกษา

มาตรฐานท่ี 4 การประกนั คุณภาพการศึกษา

ตัวบง่ ชี้ที่ 4.1 การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา 3.4 การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

ตวั บง่ ชท้ี ี่ 4.2 การประเมินคุณภาพสถานศึกษา

โดยต้นสังกัด

มาตรฐานที่ 5 อตั ลักษณ์ของสถานศกึ ษา

ตวั บ่งชี้ที่ 5.1 ผลการพัฒนาให้บรรลุเปา้ หมายตามปรัชญา

พันธกจิ และวัตถปุ ระสงคก์ ารจดั ต้งั สถานศึกษา

ตวั บ่งช้ที ี่ 5.2 ผลการพัฒนาตามจดุ เนน้ และจุดเด่น

ทสี่ ะทอ้ นเอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา

129

มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี (เก่า) มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี (ใหม)่
3 มาตรฐาน 20 ตวั บ่งช้ี
6 มาตรฐาน 26 ตวั บ่งชี้

มาตรฐานท่ี 6 มาตรการสง่ เสรมิ

ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ผลการสง่ เสรมิ พัฒนาสถานศึกษา
เพ่ือยกระดับมาตรฐาน รกั ษามาตรฐานและพฒั นา
สู่ความยง่ั ยืน เพือ่ ให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายทางการศกึ ษา
ของกระทรวงศึกษาธกิ าร

ตัวบง่ ชที้ ี่ 6.2 ผลทเ่ี กิดจากการสง่ เสริมการจดั การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในชุมชน

130

131

132

133

รายชอ่ื ผู้เขา้ ร่วมการประชุมท่เี กย่ี วข้องกับการพัฒนามาตรฐาน ตัวบ่งช้ี
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ครั้งที่ 1
การประชุมปฏิบตั กิ ารจดั ทาเกณฑม์ าตรฐานและตัวบง่ ชกี้ ารประกนั และการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา

ระหวา่ งวนั ท่ี 11 - 15 กรกฎาคม 2559
ณ โรงแรมนนทบรุ ี พาเลซ จงั หวดั นนทบุรี

1. นายสรุ พงษ์ จาจด เลขาธกิ าร กศน.

2. นายประเสรฐิ หอมดี รองเลขาธิการ กศน.

3. นางศุทธนิ ี งามเขตต์ ผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านพฒั นาหลกั สูตร

4. นางตรนี ุช สุขสเุ ดช ผ้อู านวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

5. นายนรา เหล่าวิชยา ผอู้ านวยการ สานกั งาน กศน.จงั หวัดพิษณโุ ลก

6. นางนลนิ ี ศรมี หาสารคาม จนั ทร์ตรี ผู้อานวยการ สานกั งาน กศน.จงั หวัดอดุ รธานี

7. นางสาวลัดดาวลั ย์ เลศิ เพญ็ เมธา ผ้อู านวยการ สานกั งาน กศน.จงั หวดั สระบุรี

8. นายปณุ ณรตั น์ ศรที าพุฒ รองผู้อานวยการ สานกั งาน กศน.จังหวัดหนองคาย

9. นายจริ พงษ์ ผลนาค ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย

10. นางจรุ รี ตั น์ โพธวิ์ ิจิตร ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเมอื งกระบ่ี จงั หวดั กระบ่ี

11. นางสาวสังวาล สวุ รรณโสภา ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอผาขาว จงั หวัดเลย

12. นายอนันต์ คงชุม ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอชมุ แสง จังหวัดนครสวรรค์

13. นางบญุ ปลูก สัจจะเวทะ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบรุ ี

14. นางสาวพชั ยา ทับทิม ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอทา่ ตะเกยี บ จงั หวัดฉะเชงิ เทรา

15. นางจิรัชยา เฟ่ืองฟรู ตั น์ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอสามโก้ จังหวดั อา่ งทอง

16. นางสาวอรทยั จารุภัทรพาณชิ ย์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมอื งพจิ ติ ร จงั หวดั พจิ ติ ร

17. นางสาวสุกัญญา ทรัพยม์ ณี ผอู้ านวยการ กศน.เขตดสุ ิต กรงุ เทพมหานคร

18. นายสุธี วรประดิษฐ์ ศกึ ษานเิ ทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวัดตราด

19. นางรัตนา แกน่ สารี ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จังหวดั สมทุ รปราการ

20. นางมณรี ัตน์ อัจฉรยิ พนั ธกลุ ศกึ ษานเิ ทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวัดประจวบครี ีขันธ์

21. นางสาวจรรยา สิงหท์ อง ศึกษานเิ ทศก์ สานกั งาน กศน.

22. นางพิมพา หาญวัฒนะชยั ศึกษานเิ ทศก์ สานกั งาน กศน.

23. นางสาวพจนีย์ สวัสด์ิรตั น์ ครู กศน.อาเภอเมืองกาแพงเพชร จังหวัดกาแพงเพชร

24. นายสมชาย ฐิติรัตนอัศว์ นกั วิชาการศึกษา กล่มุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

25. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาไพศรี นกั วชิ าการศึกษา กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

26. นางสาวฐิติมา วงศ์บัณฑวรรณ นักวชิ าการศึกษา กลุม่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

27. นางสาวขวัญฤดี ลวิ รรโณ นักวชิ าการศึกษา กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

134

คร้ังที่ 2
การประชุมบรรณาธกิ าร (รา่ ง) แนวทางการประกนั คณุ ภาพภายใน

ของศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
ระหว่างวันที่ 15 - 17 พฤศจกิ ายน 2559

ณ ห้องประชมุ วีระ นวพนั ธ์ุ ช้ัน 5 สานกั งาน กศน.

1. นายสุรพงษ์ จาจด เลขาธกิ าร กศน.

2. นายประเสรฐิ หอมดี รองเลขาธิการ กศน.

3. นางศุทธนิ ี งามเขตต์ ผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะดา้ นพฒั นาหลกั สตู ร

4. นางตรีนชุ สุขสุเดช ผอู้ านวยการกลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

5. นางทองพิน ขันอาสา หัวหนา้ หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ สานักงาน กศน.

6. นางสาวอรทยั จารุภัทรพาณิชย์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมอื งพจิ ติ ร จงั หวัดพจิ ติ ร

7. นางสาวจิราภรณ์ ตนั ติถาวร ผู้อานวยการ กศน.เขตบางกอกใหญ่ กรงุ เทพมหานคร

8. นาวสาวนวลพรรณ ศาสตร์เวช ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.

9. นางพมิ พา หาญวฒั นะชัย ศึกษานเิ ทศก์ สานักงาน กศน.

10. นางรัตนา แกน่ สารี ศึกษานเิ ทศก์ สานกั งาน กศน.จังหวดั สมทุ รปราการ

11. นางนฤมล อันตะริกานนท์ ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวัดชยั นาท

12. นางสาวพจนยี ์ สวัสดร์ิ ตั น์ ครู กศน.อาเภอเมอื งกาแพงเพชร จังหวดั กาแพงเพชร

13. นายสมชาย ฐติ ิรัตนอศั ว์ นกั วชิ าการศกึ ษา กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

14. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาไพศรี นกั วิชาการศกึ ษา กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

15. นางสาวฐติ ิมา วงศ์บณั ฑวรรณ นักวิชาการศกึ ษา กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

16. นางสาวขวญั ฤดี ลวิ รรโณ นกั วชิ าการศึกษา กลุม่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

135

คร้งั ท่ี 3
การประชุมจัดทา (ร่าง) แนวทางการประเมนิ คณุ ภาพภายใน กศน.อาเภอ/เขต

ตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2560
ระหวา่ งวนั ท่ี 18 - 20 ธันวาคม 2560

ณ ห้องประชมุ ทองอยู่ แก้วไทรฮะ ชนั้ 3 สานกั งาน กศน.

1. นางรุ่งอรุณ ไสยโสภณ ผอู้ านวยการกลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

2. นางสาวนิตยา มขุ ลาย ศกึ ษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จงั หวดั ลพบรุ ี

3. นางสาวสุภสติ า บัวเลยี้ ง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมอื งสมทุ รปราการ จังหวดั สมทุ รปราการ

4. นางสาวสังวาล สวุ รรณโสภา ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอโกสมุ พสิ ัย จงั หวัดมหาสารคาม

5. นางบญุ ปลกู สจั จะเวทะ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอบางปลามา้ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

6. นางศทุ ธินี งามเขตต์ ข้าราชการบานาญ

7. นายสมชาย ฐิติรตั นอัศว์ ข้าราชการบานาญ

8. นางบษุ บา มาลินกี ลุ ครูชานาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนือ

9. นางสาวพจนีย์ สวัสดร์ิ ตั น์ ครชู านาญการพเิ ศษ กศน.อาเภอเมืองกาแพงเพชร จงั หวดั กาแพงเพชร

10. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาไพศรี นักวิชาการศึกษาชานาญการพเิ ศษ กลุม่ พฒั นาการศึกษานอกระบบฯ

11. นางสาวฐติ มิ า วงศบ์ ัณฑวรรณ นกั วิชาการศกึ ษาชานาญการพิเศษ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบฯ

12. นายจตรุ งค์ ทองดารา นักวชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบฯ

13. นางสาวขวญั ฤดี ลิวรรโณ นกั วิชาการศึกษา กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบฯ

14. นางสาววราภรณ์ บุญเรอื ง นกั วชิ าการศึกษา กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบฯ

136

คร้ังท่ี 4
การประชุมจดั ทาแนวทางการดาเนนิ งานดา้ นการประกันคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบ

และการศึกษาตามอัธยาศยั ของ กศน.อาเภอ/เขต
ระหวา่ งวนั ที่ 9 -12 มกราคม 2561

ณ โรงแรมนนทบรุ ี พาเลส จังหวดั นนทบรุ ี

1. นายกฤตชยั อรุณรัตน์ เลขาธิการ กศน.

2. นางสาววิเลขา ลสี วุ รรณ์ รองเลขาธิการ กศน.

3. นางศุทธนิ ี งามเขตต์ ข้าราชการบานาญ

4. นายสมชาย ฐิติรตั นอศั ว์ ขา้ ราชการบานาญ

5. นางร่งุ อรณุ ไสยโสภณ ผอู้ านวยการกลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

6. นายนรา เหล่าวชิ ยา ผอู้ านวยการสานักงาน กศน.จงั หวัดพิษณุโลก

7. นางยพุ นิ บวั คอม ผู้อานวยการสานักงาน กศน.จงั หวัดลาปาง

8. นายธิติพนธ์ ระลอกแกว้ ผูอ้ านวยการสานกั งาน กศน.จงั หวดั ปราจนี บรุ ี

9. นายวิทยา คชสิทธ์ิ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเมอื งพงั งา จงั หวดั พงั งา

10. นางบญุ ปลูก สัจจะเวทะ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบรุ ี

11. นางสาวสังวาล สุวรรณโสภา ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอโกสมุ พสิ ัย จงั หวดั มหาสารคาม

12. นางสาวสุภสิตา บวั เลี้ยง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมอื งสมทุ รปราการ จงั หวัดสมุทรปราการ

13. นางสาวเกศนิ ี ศรสี าธร ผู้อานวยการ กศน.อาเภอหนองม่วง จงั หวดั ลพบรุ ี

14. นางสุภาภรณ์ อินทมาตย์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบอ่ ทอง จงั หวัดชลบรุ ี

15. นายวรี ยทุ ธ์ แสงสริ ิวัฒน์ ผูอ้ านวยการ กศน.เขตบางคอแหลม กรงุ เทพมหานคร

16. นายสุธี วรประดษิ ฐ์ ศกึ ษานเิ ทศก์เชย่ี วชาญ สานกั งาน กศน.จงั หวัดตราด

17. นางสาวสภุ าพร ลาภจติ ร ศึกษานิเทศกเ์ ช่ียวชาญ สานกั งาน กศน.จงั หวดั สุรนิ ทร์

18. นางสาวสมพิศ ดวงแก้ว ศกึ ษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จงั หวดั กระบ่ี

19. นางรัตนา แกน่ สารี ศึกษานเิ ทศกช์ านาญการพเิ ศษ สานักงาน กศน.จังหวัดสมทุ รปราการ

20. นางสาวจรรยา สงิ ห์ทอง ครชู านาญการพเิ ศษ ศูนยฝ์ กึ และพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณฯ

21. นางสาวพจนีย์ สวสั ด์ิรตั น์ ครูชานาญการพเิ ศษ กศน.อาเภอเมอื งกาแพงเพชร จงั หวดั กาแพงเพชร

22. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาไพศรี นกั วชิ าการศกึ ษาชานาญการพิเศษ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบฯ

23. นางสาวฐติ ิมา วงศ์บณั ฑวรรณ นักวชิ าการศกึ ษาชานาญการพิเศษ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบฯ

24. นายจตรุ งค์ ทองดารา นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ัติการ กลุม่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบฯ

25. นางสาวขวญั ฤดี ลวิ รรโณ นักวชิ าการศึกษา กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบฯ

26. นางสาววราภรณ์ บุญเรอื ง นักวิชาการศึกษา กล่มุ พฒั นาการศึกษานอกระบบฯ

137

คร้งั ท่ี 5
การประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารบรรณาธกิ ารและเพิ่มเตมิ เนอื้ หาแนวทางการประกันคณุ ภาพ

การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กศน.อาเภอ/เขต
ระหวา่ งวนั ท่ี 13 - 16 กุมภาพันธ์ 2561

ณ หอ้ งประชุมทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ ชั้น 3 สานักงาน กศน.

1. นางร่งุ อรุณ ไสยโสภณ ผ้อู านวยการกลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

2. นางสาวนิตยา มขุ ลาย ศกึ ษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานกั งาน กศน.จังหวดั ลพบรุ ี

3. นางนฤมล อนั ตะรกิ านนท์ ศกึ ษานิเทศก์ชานาญการพเิ ศษ สานักงาน กศน.จังหวดั ชัยนาท

4. นางสาวจรรยา สงิ หท์ อง ครชู านาญการพเิ ศษ ศนู ย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวดั ญาณฯ

5. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาไพศรี นักวชิ าการศึกษาชานาญการพิเศษ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบฯ

6. นางสาวฐติ มิ า วงศบ์ ณั ฑวรรณ นักวิชาการศกึ ษาชานาญการพเิ ศษ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบฯ

7. นายจตุรงค์ ทองดารา นักวิชาการศกึ ษาปฏิบตั กิ าร กลุม่ พฒั นาการศึกษานอกระบบฯ

8. นางสาวขวัญฤดี ลิวรรโณ นกั วิชาการศึกษา กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบฯ

9. นางสาววราภรณ์ บุญเรอื ง นกั วชิ าการศึกษา กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบฯ

138

ครงั้ ท่ี 6
การประชุมตรวจสอบความถูกตอ้ งเชงิ เนอื้ หาแนวทางการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบ

และการศึกษาตามอธั ยาศัยของ กศน.อาเภอ/เขต
ระหวา่ งวันท่ี 9 - 11 เมษายน 2561

ณ ห้องประชมุ ทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ ชน้ั 3 สานกั งาน กศน.

1. นางร่งุ อรุณ ไสยโสภณ ผู้อานวยการกล่มุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

2. นางสาวอรทัย จารุภทั รพาณชิ ย์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมอื งพจิ ติ ร จงั หวดั พจิ ติ ร

3. นางบุญปลกู สัจจะเวทะ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอบางปลามา้ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

4. นายสุธี วรประดิษฐ์ ศกึ ษานิเทศก์เชยี่ วชาญ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด

5. นางบษุ บา มาลินกี ลุ ครูชานาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนือ

6. นางสาวจรรยา สงิ หท์ อง ครูชานาญการพเิ ศษ ศนู ย์ฝกึ และพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมวดั ญาณฯ

7. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาไพศรี นักวิชาการศกึ ษาชานาญการพเิ ศษ กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบฯ

8. นางสาวฐิตมิ า วงศ์บณั ฑวรรณ นักวิชาการศกึ ษาชานาญการพเิ ศษ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบฯ

9. นายจตรุ งค์ ทองดารา นักวชิ าการศกึ ษาปฏบิ ัติการ กลุม่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบฯ

10. นางสาวขวญั ฤดี ลิวรรโณ นักวิชาการศึกษา กล่มุ พฒั นาการศึกษานอกระบบฯ

11. นางสาววราภรณ์ บุญเรอื ง นกั วชิ าการศกึ ษา กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบฯ

139

ครง้ั ท่ี 7
การประชุมสรปุ ผลการดาเนนิ การชแ้ี จงแนวทางการดาเนนิ งานการประกันคณุ ภาพภายใน

ของ กศน.อาเภอ/เขต
ระหว่างวันท่ี 13 - 15 มถิ ุนายน 2561
ณ หอ้ งประชมุ ทองอยู่ แก้วไทรฮะ ชน้ั 3 สานกั งาน กศน.

1. นางรุง่ อรณุ ไสยโสภณ ผูอ้ านวยการกลุม่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

2. นางสาวอรทยั จารุภัทรพาณชิ ย์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมอื งพจิ ิตร จงั หวดั พจิ ติ ร

3. นางสาวนติ ยา มุขลาย ศกึ ษานเิ ทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงาน กศน.จงั หวดั ลพบรุ ี

4. นางนฤมล อนั ตะริกานนท์ ศกึ ษานิเทศก์ชานาญการพเิ ศษ สานกั งาน กศน.จังหวดั ชัยนาท

5. นางสาวจรรยา สงิ ห์ทอง ครชู านาญการพเิ ศษ ศูนยฝ์ กึ และพัฒนาอาชพี เกษตรกรรมวัดญาณฯ

6. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาไพศรี นักวิชาการศึกษาชานาญการพิเศษ กล่มุ พฒั นาการศึกษานอกระบบฯ

7. นางสาวฐิตมิ า วงศ์บัณฑวรรณ นกั วชิ าการศึกษาชานาญการพิเศษ กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบฯ

8. นายจตุรงค์ ทองดารา นกั วิชาการศึกษาปฏบิ ัติการ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบฯ

9. นางสาวขวัญฤดี ลิวรรโณ นกั วชิ าการศกึ ษา กล่มุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบฯ

10. นางสาววราภรณ์ บญุ เรือง นักวชิ าการศึกษา กล่มุ พฒั นาการศึกษานอกระบบฯ

140

คณะทางาน

ทปี่ รึกษา อรุณรตั น์ เลขาธิการ กศน.
ลสี ุวรรณ์ รองเลขาธกิ าร กศน.
1. นายกฤตชยั งามเขตต์ ข้าราชการบานาญ
2. นางสาววิเลขา
3. นางศุทธินี ฐิตริ ัตนอศั ว์ ข้าราชการบานาญ
ไสยโสภณ ผู้อานวยการกล่มุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
4. นายสมชาย
5. นางรุ่งอรณุ

คณะบรรณาธกิ าร

1. นางรงุ่ อรุณ ไสยโสภณ ผู้อานวยการกล่มุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

2. นางสาวอรทยั จารภุ ทั รพาณิชย์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมอื งพจิ ิตร จงั หวัดพจิ ิตร

3. นางสาวนติ ยา มุขลาย ศกึ ษานเิ ทศก์ชานาญการพเิ ศษ สานกั งาน กศน.จงั หวัดลพบรุ ี

4. นางนฤมล อนั ตะริกานนท์ ศึกษานเิ ทศกช์ านาญการพเิ ศษ สานกั งาน กศน.จงั หวัดชัยนาท

5. นางสาวจรรยา สงิ หท์ อง ครูชานาญการพเิ ศษ ศนู ย์ฝกึ และพัฒนาอาชพี เกษตรกรรมวดั ญาณฯ

6. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาไพศรี นักวิชาการศกึ ษาชานาญการพเิ ศษ กลุม่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบฯ

7. นางสาวฐิติมา วงศ์บณั ฑวรรณ นกั วชิ าการศึกษาชานาญการพเิ ศษ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบฯ

8. นายจตรุ งค์ ทองดารา นกั วิชาการศกึ ษาปฏิบัตกิ าร กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบฯ

9. นางสาวขวญั ฤดี ลวิ รรโณ นักวชิ าการศึกษา กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบฯ

10. นางสาววราภรณ์ บุญเรือง นกั วิชาการศึกษา กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบฯ

ผรู้ ับผิดชอบ อาไพศรี นกั วิชาการศึกษากลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
1. นางสาวเบญ็ จวรรณ วงศบ์ ัณฑวรรณ นกั วชิ าการศึกษากลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
2. นางสาวฐิติมา
ทองดารา นักวชิ าการศึกษากลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
3. นายจตรุ งค์ ลิวรรโณ นักวชิ าการศึกษากลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
4. นางสาวขวัญฤดี บญุ เรือง นักวิชาการศกึ ษากลุ่มพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
5. นางสาววราภรณ์


Click to View FlipBook Version