The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางประกันคุณภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chinen2531, 2021-03-24 03:00:18

แนวทางประกันคุณภาพ

แนวทางประกันคุณภาพ

1

แนวทางการประกนั คณุ ภาพภายใน
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต

สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
พ.ศ. 2561



คานา

ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2560 ลงวนั ท่ี 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ให้ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต
เป็นเป้าหมายในการจัดและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมุ่งเน้น
ให้เกิดแก่ผู้เรียน/ผู้รับบริการ รวมถึงผลผลิต และผลลัพธท์ ่ีเกิดขึ้นจากกระบวนการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา
เพื่อให้สถานศึกษามมี าตรฐานการศึกษา เกิดความเท่าเทียมทางการศกึ ษา และเป็นท่ียอมรับต่อชุมชน สังคม และ
ประชาชน

สานักงาน กศน. ในฐานะหน่วยงานต้นสังกัดของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อาเภอ/เขต ได้ตระหนักและเห็นความสาคญั ในการนามาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
ไปสกู่ ารปฏิบัตอิ ย่างเปน็ รูปธรรม จึงได้จัดทาเอกสาร “แนวทางการประกันคุณภาพภายในศูนย์การศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต” ขึ้น เพื่อให้ผู้บริหาร บุคลากรของสถานศึกษาตลอดจนผู้ทีม่ ีความสนใจ
ได้นาไปใช้เป็นเครื่องมือในการดาเนินงานจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้เป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด ทั้งน้ี เอกสารเล่มน้ีจะประกอบด้วย บทนา แนวคิด
หลักการประกันคุณภาพ และมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

สานกั งาน กศน. หวังเปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ เอกสาร “แนวทางการประกนั คุณภาพภายในศูนย์การศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต” จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร บุคลากรของสถานศึกษา และผู้ที่สนใจ
นาไปใช้ประโยชน์ โดยเฉพาะการดาเนินการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั รว่ มกบั การดาเนินงานด้านการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา

เอกสารฉบับนี้สาเร็จลลุ ่วงด้วยดี จากความรว่ มมือของผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ ครู นักวิชาการศกึ ษา และ
เจา้ หน้าท่ีท่ีเกีย่ วขอ้ งในสังกัดสานกั งาน กศน. จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

(นายกฤตชยั อรณุ รัตน์)
เลขาธกิ าร กศน.

16 พฤษภาคม 2561



สารบัญ

หน้า
คานา………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ก
สารบัญ............................................................................................................................................................... ข
บทที่ 1 บทนา..................................................................................................................................................... 1

ท่มี าและความสาคญั .............................................................................................................................. 1
วัตถุประสงค.์ ......................................................................................................................................... 3
ผู้ใช้เอกสาร............................................................................................................................................ 3
บทที่ 2 การประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ................................................. 4
การประกันคุณภาพการศกึ ษา............................................................................................................... 4

แนวคดิ การประกันคุณภาพการศกึ ษา.............................................................................................. 4
หลักการและความสาคญั ของการประกนั คณุ ภาพการศึกษา........................................................... 5
การกากบั การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา...................................................................... 5
การประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ................................................... 7
กรอบมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย.................................................... 7
การประเมินคุณภาพการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ............................................. 9
นิยามและความหมายของการประกันคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย........... 11
บทที่ 3 มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ................................................................. 14
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รยี น/ผรู้ ับบรกิ าร………………………………………………………………............... 14
มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจดั การศึกษา/การใหบ้ รกิ าร……………………………………………………….......... 39
มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการการศึกษา...................................................................... 67
บทที่ 4 การคดิ คะแนนตัวบ่งช้ี และสรุประดบั คณุ ภาพตัวบง่ ช้ี ตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอ/เขต............................................................................................... 80
เอกสารอา้ งอิง..................................................................................................................................................... 83
ภาคผนวก........................................................................................................................................................... 84
ภาคผนวก ก กฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561................................................... 85
ภาคผนวก ข กฎกระทรวง กาหนดระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการประกันคณุ ภาพภายใน

สาหรับสถานศกึ ษาท่ีจัดการศกึ ษานอกระบบ พ.ศ. 2555................................................. 89
ภาคผนวก ค ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื ง มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ

และการศึกษาตามอธั ยาศัย (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2560........................................................... 94
ภาคผนวก ง ตารางเปรยี บเทียบความสอดคลอ้ งระหวา่ งมาตรฐานตวั บง่ ชีก้ ารศกึ ษานอกระบบและ

การศึกษาตามอธั ยาศัย ปี 2560 กับนโยบายและจดุ เน้นของสานักงาน กศน. นโยบาย
จุดเนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ยุทธศาสตร์และเปา้ หมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี.. 97
ภาคผนวก จ ความเช่อื มโยงระหว่างมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
อาเภอ/เขต ปี 2555 กับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
อาเภอ/เขต ปี 2560......................................................................................................... 126



สารบัญ (ต่อ)

หนา้
คาสง่ั สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ที่ 60/2561

เร่อื ง แตง่ ตงั้ คณะทางาน ชีแ้ จงแนวทางการดาเนนิ งานการประกันคณุ ภาพภายใน
ของ กศน. อาเภอ/เขต......................................................................................................................... 130
รายชอื่ ผเู้ ขา้ ร่วมการประชุมทเี่ กย่ี วข้องกบั การพฒั นามาตรฐาน ตัวบ่งช้ี การศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย.................................................................................................................. 133
คณะทางาน......................................................................................................................................................... 140

1

บทท่ี 1
บทนา

ท่ีมาและความสาคญั

โลกในยุคปจั จุบนั เปน็ ยคุ โลกาภิวัตนท์ ีม่ ีความเจรญิ ก้าวหน้าดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการเปลย่ี นแปลง
ท่เี กิดข้ึนอยา่ งรวดเรว็ จงึ จาเปน็ ท่แี ตล่ ะประเทศต้องเรยี นรทู้ จ่ี ะปรบั ตัวให้ทนั การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขึ้นอยู่ตลอดเวลา
และเตรียมพร้อมท่ีจะเผชิญกับความท้าทายจากกระแสโลก โดยปัจจัยสาคัญที่จะเผชิญการเปลี่ยนแปลงและ
ความท้าทายดังกลา่ วได้ คอื การพฒั นาคุณภาพคน

การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนให้มีคุณภาพจึงเป็นเร่ืองจาเป็นท่ีจะต้องทาให้ศักยภาพท่ีมีอยู่ในตัวตน
ของคนไดร้ ับการพัฒนาอย่างเตม็ ที่ทาใหเ้ ป็นคนที่รจู้ ักคดิ วิเคราะห์ ร้จู ักแก้ปัญหา มคี วามคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ รจู้ ัก
เรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มีคุณธรรม จริยธรรม รู้จัก
พง่ึ ตนเอง และสามารถดารงชวี ิตอยไู่ ดอ้ ย่างเปน็ สขุ จึงมคี วามจาเป็นทจ่ี ะตอ้ งพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของประเทศ
และจดั ใหม้ ีการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา เพือ่ ใหเ้ กดิ กลไกในการตรวจสอบและกระตุ้นให้หนว่ ยงานทางการศึกษา
มกี ารควบคุมคุณภาพการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดเวลา สอดคลอ้ งกับสถานการณค์ วามเปลีย่ นแปลง และเป็นไปตาม
บรบิ ทของสถานศึกษา ซึง่ ตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545
และ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2553 ในหมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศกึ ษา มาตรา 47 กาหนดใหม้ รี ะบบ
การประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบกับในมาตรา 48
ให้หนว่ ยงานต้นสงั กดั และสถานศกึ ษาจดั ใหม้ รี ะบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา และใหถ้ ือวา่ การประกนั
คุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทา
รายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เก่ยี วข้อง และเปดิ เผยต่อสาธารณชน เพอ่ื นาไปสกู่ ารพัฒนา
คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาตอ่ ไป

อย่างไรก็ตาม จากการติดตามผลการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาที่ผ่านมา พบว่า
ผลการดาเนินงานเก่ียวกับการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา และการประเมินคุณภาพภายนอกของการศึกษา
ระดับต่าง ๆ ต้ังแต่ปี 2542 จนถึงปัจจุบัน ท้ังของภาครัฐและเอกชน ตลอดจนสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้
สาหรบั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยที่มีการประเมินคณุ ภาพภายนอก มา 3 รอบ แล้วน้ัน พบว่า
การประเมินคุณภาพบางส่วนยังไม่สามารถสะท้อนการมีคุณภาพของการจัดการศึกษาได้อยา่ งแท้จริง และบางส่วน
ยังไม่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาบางประเภท ซ่ึงมีเป้าหมายของการจัดการศึกษาที่มีความแตกต่างกัน
จงึ ทาให้คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา มีการจัดทาแผนการปฏิรูปกฎหมายเก่ียวกับ
การประกันคุณภาพการศึกษา และกฎหมายที่เก่ียวข้อง เพ่ือมุ่งหวังให้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
เกิดการพัฒนา และสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษามากท่ีสุด ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการถือเป็นหน่วยงานหลัก
ในด้านการจัดการศึกษาของประเทศ จึงมีการกาหนดกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3
ซ่ึงกาหนดให้สถานศึกษาแต่ละแห่งต้องจัดให้มีระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาโดยการกาหนด
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและ แต่ละประเภทการศึกษา
ที่รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด พร้อมท้ังจดั ทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ท่ีมุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และดาเนินการตามแผนท่ีกาหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและ
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตาม

2

มาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานที่กากับดูแล
สถานศึกษาเปน็ ประจาทกุ ปี

จากสถานการณแ์ ละความสาคญั ดงั กลา่ ว สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
หรอื สานักงาน กศน. ในฐานะหน่วยงานหลักท่มี ีบทบาทหนา้ ที่ในการพฒั นาระบบการบริหารจัดการ การสง่ เสริม
สนับสนุน และประสานงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพเพื่อส่งเสริม
การศกึ ษาตลอดชีวติ ของประชาชน จึงได้ดาเนินการพัฒนากรอบมาตรฐานและตัวบ่งชี้การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต ร่วมกับสถานศึกษา
โดยกรอบมาตรฐานและตัวบ่งชี้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่พัฒนาข้ึน เป็นการดาเนินการ
ให้เปน็ ไปตามกฎกระทรวง กาหนดระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สาหรับสถานศกึ ษาท่จี ัด
การศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 ท่ีกาหนดให้สถานศึกษาต้องดาเนินการ ดังน้ี (1) จัดให้มีมาตรฐานการศึกษา
นอกระบบที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนดและพัฒนามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาในส่วนท่ีเป็น
ลักษณะเฉพาะของสถานศกึ ษา (2) จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาและแผนปฏิบัติการประจาปี (3) ดาเนินงาน
ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี (4) จัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษา (5) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (6) จัดทารายงาน
การประเมนิ ตนเองประจาปี (7) เสนอรายงานการประเมนิ คณุ ภาพภายในตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงาน
ตน้ สงั กัด และภาคีเครือขา่ ย และเผยแพรต่ อ่ สาธารณชน (8) นาผลการประเมินคณุ ภาพภายในมาเปน็ ส่วนหนงึ่ ของ
การวางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาและภาคีเครือข่าย
(9) จดั ระบบบรหิ ารและสารสนเทศ และ (10) ยึดหลักการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา บุคลากรทุกคน
ในสถานศึกษา ภาคีเครือข่าย และผู้รับบริการ ท้ังนี้ การประเมินคุณภาพภายในจะเน้นรูปแบบการประเมินผล
การดาเนินงานในเชิงคณุ ภาพ ท้ังปัจจัยป้อน กระบวนการ และผลผลิต ผลลัพธท์ ี่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานของ
สถานศึกษาเป็นสาคัญ และเสนอขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการส่งเสริม สนับสนุน และประสานงาน
ความร่วมมือการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และเม่ือคณะกรรมการผ่านความเห็นชอบแล้ว
จึงนาเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือประกาศใช้มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต ท้ังน้ี กระทรวงศึกษาธิการ
ได้ประกาศใช้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่อื ง มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั (ฉบบั ท่ี 2)
พ.ศ. 2560 ลงวันท่ี 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ซ่ึงประกอบด้วย 3 มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของ
ผู้เรยี น/ผรู้ ับบรกิ าร มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศกึ ษา/การใหบ้ รกิ าร มาตรฐานท่ี 3 ประสิทธิภาพการบริหาร
จดั การการศกึ ษา

ดังนัน้ เพื่อเปน็ การเสริมสร้างความเข้มแขง็ และการเตรียมความพร้อมในการดาเนินงานดา้ นการประกัน
คณุ ภาพภายในให้แก่ผูบ้ รหิ าร และบุคลากรของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต
โดยการสร้างความรู้ ความเข้าใจในการดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560
สานกั งาน กศน. จงึ ได้จดั ทาเอกสาร “แนวทางการประกนั คณุ ภาพภายในศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต” ขนึ้ เพื่อให้สถานศึกษาท่ีเกี่ยวขอ้ งได้นาไปใชเ้ ป็นแนวทางในการดาเนินงานดา้ นการประกัน
คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาอย่างมีคุณภาพ และสอดคล้องกับศักยภาพและบริบทของตนเอง อันจะส่งผลให้
สถานศกึ ษาได้รับการยอมรับจากบุคคล ชมุ ชน และสงั คม ตอ่ ไป

3

วตั ถุประสงค์

1) เพือ่ ให้ผู้บริหาร และบุคลากรของสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับความเป็นมา ความสาคัญ
หลักการ มาตรฐาน ตัวบ่งช้ี และแนวทางการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศยั

2) เพ่อื ให้ผบู้ ริหาร และบุคลากรของสถานศึกษาสามารถพฒั นาและปฏบิ ัตงิ านใหม้ คี ุณภาพสอดคลอ้ งกับ
มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั นาไปส่กู ารประกันคุณภาพ

3) เพ่ือให้สถานศึกษาสามารถดาเนินการประเมินคุณภาพภายในและจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง
ทีส่ ะท้อนคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

ผใู้ ช้เอกสาร

1) ผ้บู ริหาร และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับงานด้านการประกันคุณภาพการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยในสังกัดสานกั งาน กศน.จังหวดั /กทม.

2) ผู้บรหิ าร และบคุ ลากรของศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอ/เขต
3) ผทู้ ี่มสี ่วนไดส้ ว่ นเสีย และผสู้ นใจทั่วไป

4

บทที่ 2
การประกันคุณภาพการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
แนวคดิ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

การประกันคณุ ภาพการศึกษา หมายถึง การบรหิ ารจดั การและกระบวนการจัดการของผรู้ บั ผดิ ชอบการจัด
การศึกษาท่ีจะรบั ประกันใหส้ ังคมเชอื่ ม่ันวา่ จะพัฒนาใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ไดค้ รบถว้ นตามมาตรฐานการศกึ ษา
ท่กี าหนดไว้

มาตรฐานการศึกษา เป็นข้อกาหนดเก่ียวกับคุณลักษณะ กระบวนการการดาเนินงาน รวมถึงคุณภาพที่
พึงประสงค์ท่ีต้องการให้เกิดข้ึนในสถานศกึ ษา ซ่ึงมาตรฐานการศึกษาท่ีกาหนดข้นึ สามารถใช้เปน็ หลักในการสง่ เสริม
และกากบั ดูแล ตรวจสอบ ประเมินผล และประกันคุณภาพทางการศึกษา ซึ่งมาตรฐานการศึกษาในบริบทน้ี จะเป็น
มาตรฐานท่มี ุง่ เน้นการพัฒนาคณุ ภาพของการจัดการศึกษาโดยองค์รวม ซึ่งกาหนดให้มมี าตรฐานการศึกษาที่ทาให้เกิด
โอกาสท่ีเท่าเทียมกันในการพัฒนาคุณภาพ เพราะสถานศึกษาทุกแห่งรวู้ ่าเป้าหมายการพัฒนาท่ีแท้จริงเป็นอย่างไร
การกาหนดใหม้ ีมาตรฐานการศึกษาจึงเปน็ การให้ความสาคัญกับการจัดการศกึ ษา 2 ประการ คอื

1. สถานศึกษาทกุ แหง่ มีเกณฑ์เปรียบเทยี บกบั มาตรฐานซงึ่ เป็นมาตรฐานเดยี วกนั
2. มาตรฐานท่ีทาให้สถานศึกษาเข้าใจชัดเจนวา่ การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาควรไปในทศิ ทางใด

ดังนั้น การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาเพ่ือประเมินความก้าวหน้าหรือการประเมิน
คณุ ภาพภายนอกเพื่อการตรวจสอบ ยืนยันผลการประเมินคุณภาพภายใน นั้น จึงเป็นแนวทางหนึ่งในการกระตุ้น
การปฏิบัติงานในด้านบริหารและจัดการศึกษา นอกจากนี้ การกาหนดมาตรฐานการศึกษายังเป็นการกาหนด
ความคาดหวังให้แก่ครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง ประชาชน ชุมชน สังคม และหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีส่วนเก่ียวข้องใน
การจดั การศึกษา หากไมม่ ีมาตรฐานการศึกษา สาธารณชนกจ็ ะไมท่ ราบวา่ สาระสาคัญทีแ่ ทจ้ ริงของการจดั การศกึ ษา
อยู่ทีใ่ ด การจัดการเรยี นรูใ้ นปัจจบุ ันตอ้ งไปในทิศทางใด คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาแตล่ ะแห่งมจี ดุ เด่น จดุ ควรพฒั นา
ในเรื่องใดบ้างท่ีสอดคล้องกับบรบิ ทและความต้องการของผู้เรียน เนื่องจากไม่มีเครื่องช้ีวัดเทียบเคียง ทาให้ขาด
ความรบั ผิดชอบตอ่ สาธารณชน การกาหนดให้มีมาตรฐานการศึกษาทาใหส้ ถานศกึ ษาตอ้ งถอื เป็นความรบั ผิดชอบ
ที่จะทาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน ซ่ึงครูต้องจัดการเรียนรู้ให้ได้มาตรฐาน มีคุณภาพการบริหารจัดการ
ตลอดจนคณุ ภาพด้านการจดั สถานศกึ ษาให้เปน็ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ และมีกิจกรรม โครงการที่ส่งเสริม สนับสนุน
และเสนอต่อหน่วยงานโดยต้นสังกดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร รวมถงึ นโยบายของรัฐ และมาตรฐานยังเป็นแนวทางให้
สาธารณชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้การสนับสนุน ส่งเสริมสถานศึกษาในด้านต่าง ๆ ได้ เพื่อให้
คุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาเป็นไปตามความคาดหวังของชุมชนและสังคมต่อไป

5

หลักการและความสาคญั ของการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

หลกั การการประกันคณุ ภาพภายใน มดี ังน้ี
1) จดุ มุ่งหมายของการประกนั คุณภาพภายใน คือ สถานศึกษาต้องร่วมกันพฒั นาปรับปรงุ คณุ ภาพ
ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการศึกษา ไม่ใช่การจบั ผิด แต่เป็นการพัฒนาคณุ ภาพใหเ้ กดิ ข้นึ กบั ผู้เรียน
2) การท่ีจะดาเนินการใหบ้ รรลุเป้าหมาย ตามข้อ 1 ตอ้ งทาให้การประกันคุณภาพการศกึ ษาเป็น
ส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการและการทางานของบคุ ลากรทุกคนในสถานศกึ ษาไม่ใชเ่ ป็นกระบวนการทแ่ี ยกสว่ น
จากการดาเนนิ งานตามปกติ โดยสถานศึกษาจะตอ้ งวางแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา และแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี
ทีม่ ีเปา้ หมายชดั เจน ทาตามแผน ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการพฒั นาปรบั ปรงุ อย่างตอ่ เน่ือง เป็นระบบ มคี วามโปรง่ ใส
และมจี ิตสานึกในการพัฒนาคณุ ภาพการทางาน
3) การประกันคุณภาพเป็นหน้าท่ีของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ทั้งผู้บริหาร ครู และ
บุคลากรอ่ืน ๆ ในสถานศึกษา ซึ่งในการดาเนินงานจะต้องให้ผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียน ชุมชน หรือหน่วยงาน
โดยต้นสังกัดเขา้ มามสี ่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมาย วางแผนติดตาม ประเมินผล พัฒนาหรือปรับปรุง ส่งเสริม
สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ ได้รับการศึกษาท่ีดี
มีคณุ ภาพ
ความสาคญั ของการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา มคี วามสาคัญ 3 ประการ คือ
1) ทาใหป้ ระชาชนได้รบั ขอ้ มลู คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาท่ีนา่ เชื่อถือ เกดิ ความเชื่อมัน่
และสามารถตดั สนิ ใจเลอื กรับบรกิ ารท่ีมคี ุณภาพตามมาตรฐานได้
2) ทาให้สถานศึกษาตระหนักถึงการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ ซ่ึงจะเป็นการคุ้มครองผู้เรียน/
ผูร้ บั บรกิ าร และเกดิ ความเสมอภาคในโอกาสทีจ่ ะไดร้ ับการบรกิ ารทางการศึกษาอย่างท่วั ถึง
3) ทาใหผ้ ูร้ บั ผิดชอบในการจัดการศกึ ษามงุ่ บรหิ ารจัดการศกึ ษาสู่คุณภาพและมาตรฐานอยา่ งจรงิ จัง
ซงึ่ มผี ลใหก้ ารศึกษามพี ลังที่จะพัฒนาประชาชนใหม้ คี ณุ ภาพอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนอื่ ง

การกากบั การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

สถานศึกษาควรกาหนดให้มีระบบและกลไกในการควบคุมคุณภาพ (Quality Control) การตรวจสอบ
คุณภาพ (Quality Audit) และการประเมินคุณภาพ (Quality Assess) ตามตัวบ่งชี้ท่ีกาหนดไว้ในมาตรฐาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้ เพ่ือเป็นหลักประกันให้แก่
ผู้เรียน ผู้รับบริการ ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย และสาธารณชน เกิดความม่ันใจว่าสถานศึกษาสามารถให้ผลผลิต
ทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ และพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกจากหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ซ่ึงการกาหนด
ระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในควรประกอบด้วย 3 ระบบ ดังนี้

6

1) ระบบการสรา้ ง และพฒั นาระบบและกลไกการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการศึกษาหรอื การพัฒนาคุณภาพการศึกษา เปน็ การจดั ให้มรี ะบบและกลไก
การดาเนินงานท่เี ปน็ ไปตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ซ่ึงสถานศกึ ษาควรจดั ให้มี
ระบบและกลไกการควบคุมคุณภาพภายใน โดยใช้ปรัชญา วิสัยทัศน์ อานาจและบทบาทหน้าที่ รวมถึงข้อมูล
สารสนเทศจากการดาเนินงานของสถานศึกษาท่ีผ่านมา เป็นข้อมูลตั้งต้นในการวางแผนและพัฒนา ระบบและ
กลไกการควบคมุ คุณภาพ
2) ระบบการตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา
ก า ร ต ร วจ ส อ บ คุ ณ ภ าพ ภ า ย ใน เป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ห นึ่ งข อ ง ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า
เพ่ือให้ทราบถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา รวมถึงให้ทราบถึง
ปญั หาอุปสรรคในการดาเนินการ และแนวทางการปรับปรุงแก้ไข การตรวจสอบคุณภาพการศึกษามีแนวทางโดย
สถานศกึ ษาต้องจดั ให้มีการแตง่ ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา หรือคณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพ
ภายในสถานศึกษา เพื่อทาหน้าท่ีในการวิเคราะห์ว่าสถานศึกษามีระบบและกลไกการควบคุมคุณภาพตลอดจน
การนาระบบและกลไกไปดาเนินการจนปรากฏผลการดาเนินงานเป็นท่ีประจักษ์ พร้อมท้ังให้ข้อเสนอแนะเพื่อ
การปรับปรุงคุณภาพใหด้ ยี ่งิ ขน้ึ ท้ังนี้ การตรวจสอบคุณภาพให้พิจารณาจากข้อมลู ผลการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้เกีย่ วกบั
ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดาเนินงานตามกระบวนการและกลไกที่สถานศึกษากาหนดขึ้น ผลการดาเนินงาน
ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย นโยบายและจดุ เนน้ ของสานกั งาน กศน.
นโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี พร้อมทั้ง
หลกั ฐานเอกสารต่าง ๆ
3) ระบบการประเมนิ คุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษา เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องจากการตรวจสอบคุณภาพ
แต่ในระบบการประเมินคุณภาพจะเน้นการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลผลการดาเนินงานของสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ว่าการดาเนินงานของสถานศึกษาเปน็ ไปตามเกณฑ์
และมาตรฐานการศึกษาท่ีกาหนดมากน้อยเพียงไร ซ่ึงกรอบการประเมนิ จะประเมินตั้งแต่ ปัจจัยนาเข้า (Input)
กระบวนการ (Process) และผลผลติ /ผลลัพธ์ (Output/Outcome) ซึ่งเปน็ ผลมาจากการกาหนดแผนพฒั นาคุณภาพ
การศึกษา และแผนปฏิบัติการประจาปี นาไปสู่การดาเนินงานจนเกิดเป็นผลการดาเนินงานของสถานศึกษา
ซึ่งการประเมนิ คุณภาพภายในจะใช้วิธีการศึกษาตนเอง และการประเมินตนเอง พร้อมท้ังจัดทารายงานประเมิน
ตนเองส่งไปยังหน่วยงานโดยต้นสังกัดเพื่อทราบ และใช้เป็นข้อมูลในการประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด
และการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกตอ่ ไป

7

การประกนั คณุ ภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

กรอบมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มี 3 มาตรฐาน คอื
1. มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบรกิ าร เป็นการให้ความสาคัญกับผลการดาเนินงานที่เป็น
ผลผลิตหรือผลลัพธ์ของการจัดการศึกษาและการให้บริการของสถานศึกษาท่ีดาเนินการ โดยเฉพาะท่ีเกิดกับ
ผ้เู รียน/ผู้เข้ารับการอบรม/ผ้รู ับบรกิ าร ซ่ึงสถานศกึ ษาต้องเป็นผู้กาหนดค่าเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพของ
ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรม/ผู้รับบริการ เพ่ือให้เป็นไปตามศักยภาพและบริบทของสถานศึกษา และต้องผ่าน
ความเห็นชอบจากสานกั งาน กศน.จังหวดั /กทม.
2. มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การศึกษา/การใหบ้ ริการ เปน็ การให้ความสาคญั กับบุคลากร กระบวนการ
จัดการศึกษา ทท่ี าให้เกดิ กจิ กรรมตามพันธกจิ บทบาทและหน้าท่ีของสถานศกึ ษาท่เี น้นผเู้ รยี น/ผู้รบั บริการ เปน็ สาคัญ
ได้แก่ ครู วิทยากร ผูจ้ ัดกิจกรรม หลักสูตร ส่ือ กระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมของการจดั การศึกษา/การใหบ้ รกิ าร
การวดั และการประเมินผล เปน็ ตน้
3. มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา เป็นการใหค้ วามสาคัญกับผู้บริหารในการใช้
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารจัดการการศึกษาของสถานศึกษา การส่งเสริม
สนับสนุนบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา ภาคีเครือข่ายในการสนบั สนุนการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
และการดาเนนิ งานด้านการประกนั คุณภาพการจัดการศกึ ษา
ท้ังน้ี กรอบมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ท้ัง 3 มาตรฐาน จะเปน็ มาตรฐาน
ที่สถานศึกษาจะใช้เป็นเป้าหมายในการจัดการศึกษา ซึ่งสถานศึกษาสามารถใช้แนวทางการดาเนินงานประกัน
คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีสานักงาน กศน. จัดทาข้ึน หรือ
สถานศึกษาสามารถจดั ทาแนวทางการดาเนินงานประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาข้ึนใหม่ไดโ้ ดยให้เปน็ ไป
ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีกระทรวงศึกษาธิการกาหนด ท้ังนี้สถานศึกษา
สามารถพัฒนามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาในส่วนที่เป็นลักษณะเฉพาะของสถานศึกษาเพิ่มเติมได้ตาม
ศักยภาพและบรบิ ทของสถานศกึ ษา
อย่างไรก็ตาม ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ถือเป็นสว่ นหนง่ึ ของระบบการบริหาร
จัดการของสถานศึกษา ซ่ึงแต่ละมาตรฐาน ตัวบ่งช้ีท่ีกาหนดมีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงเป็นเหตุเป็นผลต่อกัน
ต้งั แต่ปัจจัยป้อน กระบวนการ และผลผลิต ผลลัพธ์ทเี่ กดิ ข้ึน โดยเริ่มต้นตั้งแต่มาตรฐานประสิทธิภาพการบริหาร
จัดการการศึกษา มาตรฐานทเ่ี ปน็ คุณภาพการจดั การศกึ ษา/การให้บรกิ าร ซึ่งจะสง่ ผลตอ่ มาตรฐานคุณภาพของผู้เรยี น/
ผู้รับบริการ ดังแผนภาพท่ี 1

ปจั จัยป้อนและกระบวนการ 8

มาตรฐานท่ี 3 ประสทิ ธภิ าพ มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัด ผลผลิต/ผลลพั ธ์
การบรหิ ารจัดการการศึกษา การศึกษา/การใหบ้ ริการ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น/ผู้รบั บริการ

3.1 การบริหาร การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
สถานศกึ ษาตาม 2.1 คุณภาพครูการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 1.1 ผู้เรียนการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานมีคุณธรรม
หลักปรชั ญาของ 2.2 คณุ ภาพของหลักสตู รสถานศกึ ษา 1.2 ผู้เรียนการศึกษาข้นั พ้ืนฐานมที ักษะ
เศรษฐกิจพอเพยี ง 2.3 คณุ ภาพสอื่ ตามหลกั สตู รสถานศึกษา
และหลกั 2.4 คุณภาพการจัดกระบวนการ กระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้
ธรรมาภิบาล เรยี นรอู้ ย่างตอ่ เนื่อง และสามารถนาไป
เรยี นรู้ตามหลกั สตู รสถานศึกษา ประยกุ ต์ใชใ้ นการดารงชวี ติ
3.2 การส่งเสริม 1.3 ผูเ้ รียนการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมคี วามรพู้ ื้นฐาน
สนับสนนุ การจัด การศึกษาตอ่ เน่อื ง
การศึกษาของ 2.5 คณุ ภาพวทิ ยากรการศึกษา การศกึ ษาต่อเนือ่ ง
ภาคเี ครือขา่ ย 1.4 ผ้เู รียนหรอื ผเู้ ข้ารับการอบรมมีความรู้
ตอ่ เนอ่ื ง
3.3 การมีส่วนรว่ ม 2.6 คณุ ภาพของหลักสูตรและส่อื ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ
ของคณะกรรมการ 1.5 ผ้เู รียนหรือผเู้ ขา้ รบั การอบรมปฏิบัตติ น
สถานศึกษา การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง
2.7 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3.4 การประกัน 1.6 ผูเ้ รยี นหรือผูเ้ ขา้ รบั การอบรมสามารถใช้
คณุ ภาพภายใน การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง
ของสถานศกึ ษา เทคโนโลยไี ด้อยา่ งเหมาะสม
การศึกษาตามอธั ยาศยั
2.8 คุณภาพผู้จัดกจิ กรรมการศึกษา การศกึ ษาตามอัธยาศยั
1.7 ผ้รู บั บริการไดร้ ับความรแู้ ละ/หรอื
ตามอธั ยาศัย
2.9 คุณภาพกระบวนการจดั กจิ กรรม ประสบการณจ์ ากการเข้ารว่ มกจิ กรรม/
โครงการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
การศึกษาตามอัธยาศยั

แผนภาพความเชือ่ มโยงของมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

9

การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย เปน็ การนาเสนอขอ้ มลู ผลการดาเนินงาน
ในการจัดและพฒั นาการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย โดยเทยี บเคยี งกบั มาตรฐานการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีกระทรวงศึกษาธิการกาหนดไว้ในประกาศ (ณ วันท่ี 22 พฤศจิกายน
2560) ซ่ึงจะพิจารณาผลการดาเนินงานด้วยการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา และตัดสินระดับคุณภาพ
ท่ีเป็นไปตามประเด็นการพจิ ารณาหรือเกณฑ์การประเมนิ โดยบุคคลหรอื กลุ่มบคุ คลทม่ี คี วามรู้ ความชานาญเกีย่ วกบั
เร่ืองที่ทาการประเมิน เพอื่ ใหท้ ราบว่าผลการดาเนินงานทผ่ี า่ นมาของสถานศกึ ษาน้ัน มีกจิ กรรมหรอื งานใดท่ีทาได้ดี
หรือมกี ิจกรรมหรืองานใดที่ควรได้รับการพฒั นา ปรับปรุง เพ่ือยกระดับคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ให้เปน็ ทย่ี อมรับ
แกผ่ ้เู รียน ผู้เข้ารับการอบรม ผู้รับบริการ และตอ่ สาธารณชน
ทั้งน้ี การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน กศน. ต้องดาเนินการใน 2 ลักษณะ
ประกอบด้วย

1) การประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
2) การประเมนิ คณุ ภาพสถานศึกษาโดยตน้ สงั กัด
ซึ่งถือเป็นการดาเนินงานท่ีเป็นไปตามกฎกระทรวง กาหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการประกันคุณภาพภายใน
สาหรับสถานศกึ ษาท่ีจดั การศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555

1) การประเมินตนเองของสถานศึกษา
การประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา เป็นหนา้ ที่ของสถานศึกษาทีต่ ้องตรวจสอบ และประเมินตนเองตามสภาพ
และบริบทของสถานศึกษา โดยใหค้ วามสาคัญกับการประเมนิ เชงิ คุณภาพกับการประเมนิ เชิงปรมิ าณควบคู่กันไป
ซึง่ สถานศึกษาต้องกาหนดค่าเป้าหมายผลการดาเนินงานของสถานศกึ ษา เพื่อใช้เป็นข้อมูลเทียบเคียง ตรวจสอบ
และประเมนิ ผลการดาเนินงานวา่ เปน็ ไปตามค่าเปา้ หมายท่ีสถานศึกษากาหนดไว้หรือไม่ รวมถงึ เปน็ ไปตามภารกิจ
ของสถานศึกษาหรือไม่ โดยให้ยึดหลักการดาเนินงานเพื่อพัฒนา และสะท้อนคุณภาพการจดั การศึกษาท่ีเป็นไป
ตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
การประเมินตนเองของสถานศึกษา ควรมีเป้าหมายการประเมินเพ่ือการพัฒนา โดยพิจารณาจาก
หลักฐานเชิงประจักษ์ท่เี กิดขนึ้ จากการปฏิบัติงานตามสภาพจรงิ ของสถานศึกษา มีความน่าเช่ือถือ และสามารถ
ตรวจสอบผลการประเมินได้ เพือ่ สะทอ้ นคณุ ภาพการดาเนนิ งานตามมาตรฐานได้อยา่ งชัดเจน
ท้ังนี้ คณะบุคคลที่ทาหน้าที่ประเมินคุณภาพตนเองของสถานศึกษาควรศึกษารายละเอียดมาตรฐาน
ตัวบ่งช้ี ประเด็นการพิจารณา และเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนทก่ี าหนด ให้เกดิ ความเขา้ ใจก่อนดาเนนิ การประเมินตนเอง
ของสถานศึกษา ดาเนินการประเมนิ ตนเองและเขียนรายงานการประเมนิ ตนเอง (Self – Assessment Report)
โดยกาหนดองคป์ ระกอบของคณะกรรมการ และข้นั ตอนการประเมินตนเองของสถานศึกษา ดังนี้

10

คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

องค์ประกอบของคณะกรรมการ
คณะกรรมการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ควรมจี านวน 3 - 5 คน ซง่ึ ประกอบไปด้วย
1. ผอู้ านวยการสถานศึกษา ทาหนา้ ที่ประธานคณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
2. บุคลากรของสถานศึกษาผู้มีความรู้ ความสามารถเก่ียวกับการดาเนินงานของสถานศึกษา
ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จานวน 2 - 3 คน ทาหน้าท่ีเป็น
คณะกรรมการประเมิน
3. บุคลากรของสถานศึกษาผู้มีความรู้ ความสามารถเก่ียวกับการดาเนินงานของสถานศึกษา
ทีส่ อดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และมคี วามสามารถในการประสานงาน
และจัดทาเอกสารรายงาน จานวน 1 คน ทาหนา้ ทเ่ี ป็นเลขานกุ าร
จรรยาบรรณของคณะกรรมการ
1. นาเสนอข้อมลู ตามสง่ิ ทค่ี ้นพบ ตามหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกดิ ขึ้นจากการปฏบิ ตั งิ านตามสภาพจรงิ
ของสถานศกึ ษา
2. มีความซ่ือสัตย์ต่อผลการประเมินท่ีได้ เพ่ือให้สถานศึกษาเกิดการพัฒนาคุณภาพการจัด
การศกึ ษา
3. ดาเนินการประเมินตามบทบาทหน้าท่ีอย่างเต็มความสามารถ อย่างมีเหตุผล ไม่อคติ หรือ
ลาเอยี ง

ขัน้ ตอนการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

กอ่ นการประเมนิ
1. แต่งต้ังคณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ตามองค์ประกอบและ

จรรยาบรรณของคณะกรรมการประเมินท่ีกาหนด เพื่อทาหน้าที่ในการประเมิน และจัดทารายงานการประเมิน
ตนเองของสถานศึกษา

2. คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประชุม ทบทวนรายละเอยี ดมาตรฐาน
ตัวบ่งชี้ ประเด็นการพิจารณาและเกณฑ์การให้คะแนน เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ก่อนการประเมินตนเองของ
สถานศกึ ษา

ระหว่างการประเมิน
3. ดาเนนิ การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูลสารสนเทศท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา

ของสถานศึกษาที่น่าเชือ่ ถอื โดยใช้วิธีการท่ีหลากหลาย เช่น ศกึ ษาเอกสาร สมั ภาษณ์ สังเกต เปน็ ต้น และบนั ทึก
ขอ้ มลู หลักฐาน เพอ่ื เป็นขอ้ มลู สาหรบั การประเมิน

4. ดาเนินการประเมินตามมาตรฐาน และตัวบ่งชี้
หลงั การประเมนิ

5. ร่วมกนั วิเคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเอง
6. จดั ทารายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)
7. เสนอรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาใหก้ ับคณะกรรมการสถานศกึ ษาทราบ

11

8. สถานศกึ ษาเสนอรายงานการประเมนิ ตนเองฉบบั สมบูรณ์ไปยังสานกั งาน กศน.จังหวัด/กทม.
เพ่ือทราบและตรวจสอบความถูกตอ้ ง และให้สานักงาน กศน.จังหวดั /กทม. รวบรวมสง่ ไปยังสานกั งาน กศน.

9. สถานศึกษารายงานและเปิดเผยผลการประเมนิ ตนเองตอ่ สาธารณชน เชน่ ครู บคุ ลากร
ในสถานศึกษา ผู้เรียน ผู้รับบริการ ผู้ท่ีเก่ยี วข้อง และประชาชนในชุมชน ท้องถ่ิน เป็นต้น ซ่ึงสามารถดาเนินการได้หลายวิธี
เชน่ การนาเสนอผ่าน Website ของสถานศึกษา สอื่ ออนไลน์ แผ่นพบั เสยี งตามสาย การช้ีแจงผ่านการประชมุ เปน็ ตน้

2) การประเมนิ สถานศึกษาโดยต้นสงั กัด
การประเมินสถานศึกษาโดยต้นสังกัด เป็นการดาเนินงานท่ีเป็นไปตามกฎกระทรวง กาหนดระบบ
หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายในสาหรับสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 ข้อ 5
ให้สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดหรือสานักงานส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยกรุงเทพมหานคร มีหนา้ ทสี่ ่งเสริมและสนับสนุนการประกันคุณภาพภายใน
ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอหรือศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยเขต ที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ และดาเนินการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐาน
การศึกษาที่กาหนดอย่างน้อย 1 ครั้ง ภายใน 3 ปีงบประมาณ และแจ้งผลให้สถานศึกษาทราบ รวมทั้งเปิดเผย
ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในต่อสาธารณชน

นิยามและความหมายของการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

1) สถานศกึ ษา หมายถึง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอ/เขต ทุกแห่งในสงั กดั
สานักงาน กศน.

2) แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา หมายถึง ทิศทางการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ที่เกิดมาจากผลการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม หรือ
สภาพแวดลอ้ มและศกั ยภาพของสถานศึกษา (จุดแขง็ จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคาม) วิเคราะห์นโยบาย จดุ เน้น
ท่ีเก่ียวขอ้ ง ซึ่งอาจจัดทาเปน็ แผนระยะ 3-5 ปี และใช้เปน็ แนวทางในการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี

3) แผนปฏิบัติการประจาปี หมายถึง ทิศทางการดาเนินงานประจาปีงบประมาณของสถานศึกษา
ท่ีสอดคล้องกบั แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา เพื่อให้เกดิ การดาเนินงานจรงิ ตามกลยทุ ธ์ ซึง่ ตอ้ งกาหนดคา่ เปา้ หมาย
ผลการดาเนนิ งานในโครงการหรือกจิ กรรมต่าง ๆ ท่ีดาเนินการในปนี ั้น ๆ

4) คณุ ภาพการศกึ ษา หมายถึง คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามปรัชญา วสิ ัยทัศน์ และพันธกิจของการจัด
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

5) มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หมายถึง ข้อกาหนดเก่ียวกับคุณลักษณะ
คุณภาพที่พึงประสงค์และเป็นส่ิงท่ีต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง ท่ีใช้เป็นหลักในการเทียบเคียง สาหรับ
ส่งเสริมการกากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา ซึ่งประกอบด้วย
3 มาตรฐาน 20 ตวั บง่ ชี้ ดงั นี้

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี น/ผรู้ ับบรกิ าร
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
1.1 ผูเ้ รยี นการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานมีคณุ ธรรม
1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้
เรียนร้อู ย่างต่อเนอื่ ง และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดารงชีวิต
1.3 ผเู้ รยี นการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานมีความร้พู ้ืนฐาน

12

การศึกษาตอ่ เน่ือง
1.4 ผูเ้ รียนหรือผเู้ ข้ารบั การอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ
1.5 ผูเ้ รยี นหรอื ผ้เู ขา้ รบั การอบรมปฏบิ ตั ติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1.6 ผูเ้ รยี นหรือผูเ้ ข้ารับการอบรมสามารถใชเ้ ทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งเหมาะสม
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั
1.7 ผ้รู ับบริการได้รบั ความร้แู ละ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกจิ กรรม/โครงการ

การศกึ ษาตามอัธยาศัย
มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา/การใหบ้ รกิ าร

การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
2.1 คณุ ภาพครูการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
2.2 คุณภาพของหลกั สูตรสถานศกึ ษา
2.3 คณุ ภาพสือ่ ตามหลกั สตู รสถานศึกษา
2.4 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามหลักสูตรสถานศึกษา
การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง
2.5 คุณภาพวทิ ยากรการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง
2.6 คุณภาพของหลักสตู รและสือ่ การศกึ ษาตอ่ เนื่อง
2.7 คณุ ภาพการจดั กระบวนการเรียนรกู้ ารศึกษาตอ่ เนื่อง
การศึกษาตามอัธยาศยั
2.8 คณุ ภาพผจู้ ดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั
2.9 คุณภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
มาตรฐานที่ 3 ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การการศกึ ษา
3.1 การบรหิ ารสถานศึกษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและหลกั ธรรมาภบิ าล
3.2 การสง่ เสริม สนับสนนุ การจัดการศกึ ษาของภาคเี ครือขา่ ย
3.3 การมสี ่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา
3.4 การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
6) การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง กระบวนการทากิจกรรม หรือการปฏิบัติภารกิจหลักอย่างมี
ระบบตามแบบแผนที่กาหนดไว้ โดยมกี ารควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคณุ ภาพ และการประเมินคุณภาพ จนทาให้
เกิดความมนั่ ใจในคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมถึงกระบวนการและ
กลไกการดาเนินงาน และผลผลติ และผลลัพธข์ องการจดั การศกึ ษา
7) การประกนั คุณภาพภายใน หมายถึง กระบวนการดาเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ซึ่งประกอบด้วย การพัฒนาคุณภาพการศึกษา การตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา และการประเมินคณุ ภาพ
ภายใน
8) การประเมินคณุ ภาพการศึกษา หมายถึง กระบวนการวิเคราะห์ และเปรียบเทียบผลการดาเนินงาน
ของสถานศึกษาว่าส่งผลต่อระดับคุณภาพตามมาตรฐานและตัวบ่งช้ีการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั
9) กระบวนการ หมายถึง ลาดับข้ันตอนของการปฏิบัติงานตามโครงการหรือกิจกรรม เช่น กระบวนการ
พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น กระบวนการจัดทาแผนการเรยี นรู้รายบคุ คล กระบวนการออกข้อสอบ เป็นตน้

13

10) ค่าเป้าหมาย หมายถงึ ค่าความสาเร็จ หรือระดับผลการดาเนินงานที่สถานศึกษาคาดหวังว่าสามารถ
ทาให้เกิดขึ้นได้ตามศกั ยภาพและบริบทของสถานศึกษา ซ่ึงสถานศึกษาเป็นผู้กาหนดขึ้น โดยใช้ขอ้ มูลสารสนเทศ
จากการดาเนินงานท่ีผา่ นมา และตอ้ งผา่ นความเห็นชอบจากผู้บริหารสานกั งาน กศน.จงั หวดั ด้วยวิธีการสอบทาน
คา่ เปา้ หมายทกี่ าหนดขึน้

11) วิธีปฏิบัติที่ดี หมายถึง กระบวนการ วิธีการปฏิบัติในการทาสิ่งใดสิ่งหน่ึงให้ประสบความสาเร็จ
และมีหลักฐานของความสาเร็จปรากฏชดั เจน ซึง่ เป็นผลมาจากการนาความรู้และประสบการณท์ ่มี ีอยู่ไปปฏบิ ัติจริง
ภายใต้ศักยภาพและบรบิ ทของสถานศกึ ษา

12) นวตั กรรม หมายถงึ กระบวนการ วธิ กี ารปฏิบัติท่เี กิดขน้ึ ใหม่ซง่ึ ยังไมเ่ คยมีมากอ่ น หรอื เป็นการพัฒนา
ดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่ให้ทันสมัย ใช้ได้ผลดีมากข้ึนหรือช่วยให้การทางานได้ผลท่ีดี มีประสิทธิภาพ และ
ประสทิ ธิผล เปน็ ที่ยอมรบั ต่อสาธารณะ ซง่ึ เกดิ ข้นึ ภายใตศ้ ักยภาพและบริบทของสถานศกึ ษา

13) ตวั อยา่ งทดี่ ี หมายถึง ผูเ้ รียน/ผ้เู ข้ารับการอบรม/ผูร้ บั บริการ/วทิ ยากร/การดาเนินงานทเ่ี ป็นทย่ี อมรบั
ของบคุ คล ชุมชนและสงั คม

14) ต้นแบบ หมายถึง ผู้เรียน/ผู้เข้ารับการอบรม/ผู้รับบริการ/การดาเนินงานท่ีเป็นแบบอย่าง และมีการ
เผยแพร่ จนเป็นทีย่ อมรบั ของบุคคล ชมุ ชนและสังคม โดยมีบุคคลหรือสถานศึกษานาไปปฏบิ ัติหรอื ประยุกต์ใช้

14

บทท่ี 3
มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผ้เู รียน/ผู้รับบริการ
คาอธบิ ายมาตรฐาน

คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รบั บริการ พิจารณาจากผลผลิตหรือผลลัพธ์ท่ีเกิดข้ึนกับผู้เรียน ผู้เข้ารับการอบรม
ผู้รบั บรกิ าร ของสถานศึกษาท่ีได้ดาเนนิ การจดั การศึกษาในปีงบประมาณน้นั ๆ ซึง่ สอดคลอ้ งกับหลกั การ จุดหมาย
และมาตรฐานการเรยี นรู้ของหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 หลักการ
และจุดมุ่งหมายของการศึกษาต่อเนื่อง และการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย รวมถึงพระบรมราโชบาย
ด้านการศึกษา นโยบายที่เก่ียวข้อง ประกอบด้วย นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. นโยบาย จุดเน้นของ
กระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี พิจารณาได้จากตัวบ่งชี้
ดังต่อไปน้ี

การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
ตัวบ่งช้ี 1.1 ผเู้ รยี นการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานมคี ณุ ธรรม
ตัวบง่ ช้ี 1.2 ผู้เรยี นการศึกษาขน้ั พื้นฐานมีทกั ษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้
เรียนรอู้ ย่างต่อเนอ่ื ง และสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในการดารงชีวติ
ตัวบ่งชี้ 1.3 ผู้เรยี นการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานมคี วามรูพ้ น้ื ฐาน
การศึกษาตอ่ เนื่อง
ตัวบ่งชี้ 1.4 ผเู้ รียนหรอื ผเู้ ขา้ รับการอบรมมคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ
ตวั บ่งชี้ 1.5 ผู้เรียนหรอื ผู้เขา้ รับการอบรมปฏิบัตติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ตัวบ่งชี้ 1.6 ผู้เรียนหรอื ผ้เู ข้ารบั การอบรมสามารถใชเ้ ทคโนโลยีได้อยา่ งเหมาะสม
การศึกษาตามอัธยาศัย
ตวั บ่งชี้ 1.7 ผรู้ บั บรกิ ารไดร้ ับความรแู้ ละ/หรอื ประสบการณจ์ ากการเข้ารว่ มกิจกรรม/โครงการ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย

15

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน/ผู้รบั บริการ
การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน

ตัวบง่ ช้ี 1.1 ผูเ้ รยี นการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานมีคณุ ธรรม

ประเภท  ปัจจัยป้อน  กระบวนการ  ผลผลติ /ผลลัพธ์

น้าหนักคะแนน 5 คะแนน

คาอธิบายตวั บง่ ช้ี 1.1 ผ้เู รยี นการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานมีคุณธรรม

คุณธรรมของผู้เรียนการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พิจารณาจากสภาพคุณงามความดีของผู้เรยี นที่เกิดจากการจัด
กระบวนการเรียนรู้ โครงการ หรือกิจกรรมของสถานศึกษา เป็นไปตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (สะอาด สุภาพ กตัญญูกตเวที ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ สามัคคี มีน้าใจ

มีวินัย) คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ (รกั ชาติศาสน์กษตั รยิ ์ มคี วามเป็นประชาธปิ ไตย) และสอดคลอ้ งกบั พระบรมราโชบาย
ดา้ นการศกึ ษา

ประเด็นการพจิ ารณา

การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น
รายประเด็น ดังน้ี

1. ผูเ้ รยี นมคี ุณธรรมเป็นไปตามคา่ เป้าหมายท่กี าหนดหรอื ไม่

2. สถานศกึ ษามีการประเมินคุณธรรมของผเู้ รียนท่มี คี วามนา่ เชอ่ื ถืออย่างไร
3. สถานศึกษามผี ลการดาเนนิ งานเกย่ี วกบั การพัฒนาคุณธรรมอยา่ งตอ่ เน่อื งอย่างไร
4. สถานศกึ ษามีการดาเนินงานที่สอดคลอ้ งกับ นโยบายและจุดเนน้ ของสานกั งาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น

ของกระทรวงศึกษาธิการ /ยุทธศาสตรแ์ ละเป้าหมายของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี อยา่ งไร
5. สถานศกึ ษามีผเู้ รียนท่เี ป็นตวั อยา่ งท่ดี ี หรอื ตน้ แบบดา้ นคณุ ธรรม เปน็ ไปตามค่าเป้าหมายที่กาหนดหรอื ไม่

อย่างไร

16

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

ประเด็น 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน

1. ผู้เรียนมีคุณธรรมเป็นไปตาม ผู้ เรี ย น มี คุ ณ ธ ร ร ม สู ง ก ว่ า ผู้เรียนมีคุณธรรมเป็นไปตาม ผู้ เรี ย น มี คุ ณ ธ ร ร ม ต่ า ก ว่ า

คา่ เปา้ หมายทก่ี าหนดหรือไม่ ค่าเปา้ หมายทีก่ าหนด คา่ เป้าหมายที่กาหนด คา่ เปา้ หมายที่กาหนด

2. สถานศึกษามีการประเมิน สถานศึกษาสามารถนาเสนอ สถานศึกษาสามารถนาเสนอ สถานศึกษาไม่มี/ไม่สามารถ

คุณธรรมของผู้เรียนที่มีความ ข้ อ มู ล ห ลั ก ฐ าน ร่ องรอยที่ ข้ อ มู ล ห ลั ก ฐ าน ร่ องรอย ที่ นาเสนอข้อมูล หลกั ฐานรอ่ งรอย

นา่ เช่อื ถอื อยา่ งไร น่ าเช่ื อถื อ เป็ นเห ตุ เป็ นผ ล น่ าเชื่ อถื อ เป็ นเห ตุ เป็ นผ ล ทสี่ นบั สนนุ ผลการดาเนินงานได้

สนับสนุนผลการดาเนินงานอย่าง ส นั บ ส นุ น ผลการด าเนิ นงาน

ชัดเจนครบถ้วนตามคณุ ลักษณะ ไม่ครบถ้วนตามคุณ ลักษณ ะ

ทก่ี าหนดไวใ้ นคาอธิบาย ที่กาหนดไวใ้ นคาอธิบาย

3. สถานศกึ ษามีผลการดาเนนิ งาน สถานศึกษามีผลการดาเนินงาน สถานศึกษามีผลการดาเนินงาน สถานศึกษาไมม่ ีผลการดาเนินงาน

เก่ียวกับการพัฒนาคุณธรรม พัฒ นางานและขยายผลการ ในลักษณะเดิม ไม่มีการพัฒนา ท่ีชัดเจน

อยา่ งตอ่ เนอ่ื งอย่างไร ดาเนินงานอย่างชัดเจนต่อเน่ือง หรือขยายการดาเนินงาน

ให้ ค รอบ คลุมคุ ณ ธรรม ตาม

คาอธิบายตัวบง่ ช้ี 1.1

4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษาอธบิ ายการดาเนินงาน สถานศึกษาอธิบายการดาเนินงาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย

ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ ท่ี สอดคล้องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ การดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับ

จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจดุ เน้นของสานกั งาน

น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ

ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร /

ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ

แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี

อย่างไร ได้อยา่ งชดั เจน ได้ แต่ไม่ชัดเจน ได้

5. สถานศึกษามีผู้เรียนที่เป็น ส ถ าน ศึ กษ ามี ผู้ เรี ย น ท่ี เป็ น ส ถ าน ศึ กษ ามี ผู้ เรี ย น ท่ี เป็ น ส ถ าน ศึ กษ ามี ผู้ เรี ย น ที่ เป็ น

ตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบด้าน ตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบด้าน ตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบด้าน ตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบด้าน

คณุ ธรรม เป็นไปตามค่าเป้าหมาย คุณธรรมสูงกว่าค่าเป้าหมาย คุณธรรมเป็นไปตามค่าเป้าหมาย คุณธรรมต่ากว่าค่าเป้าหมาย

ทกี่ าหนดหรอื ไม่ อยา่ งไร ท่กี าหนด ที่กาหนด ทก่ี าหนด

ตารางเทยี บคะแนนระดบั คุณภาพ ต้องปรับปรุง พอใช้ ดี ดมี าก
1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00
ระดับคณุ ภาพ ต้องปรับปรุงเร่งดว่ น
คะแนน 0.00 0.50 1.00

แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา
1. สถานศึกษากาหนดคา่ เป้าหมาย จานวน 2 คา่ โดยผ่านความเห็นชอบจากสานักงาน กศน.จังหวัด/กทม.

ดังน้ี
1.1 ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 1 เปน็ การกาหนดจานวนผเู้ รยี นทุกระดับที่คาดวา่ จะมคี ณุ ธรรม

ที่เกิดจากกระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นไปตามคาอธิบายตัวบ่งช้ี 1.1 ซ่ึงสถานศึกษาสามารถกาหนดคุณธรรม

เพ่ิมเติมไดต้ ามบริบทของสถานศึกษา

17

1.2 ค่าเปา้ หมายในประเด็นข้อท่ี 5 เป็นการกาหนดจานวนผเู้ รยี นทคี่ าดวา่ จะเปน็ ผู้ที่มีการประพฤติ
ปฏิบัติตน มีคุณธรรมโดดเด่น เป็นตัวอย่างท่ีดี หรือเป็นต้นแบบ ด้านคณุ ธรรมในเรื่องใดเร่ืองหน่ึง ซึ่งเป็นผลจาก

การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ดว้ ยโครงการหรือกิจกรรมของสถานศึกษา
2. สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริม พัฒนาคุณธรรมให้กับผู้เรียน เช่น มีการประกวด การคัดเลือก

และมอบรางวลั เกียรติบตั ร หรือยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติแกผ่ เู้ รียนท่มี คี วามประพฤติ ปฏบิ ตั ิทด่ี ี เปน็ ต้น เพ่อื เปน็ ตัวอยา่ ง

ทีด่ ดี ้านคณุ ธรรม
3. สถานศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนได้เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเ่ี กยี่ วกบั คุณธรรม ร่วมกับหน่วยงาน

ภาครฐั เอกชน ชุมชน และทอ้ งถน่ิ เพือ่ เป็นต้นแบบด้านคณุ ธรรม

ตวั อย่าง การกาหนดคา่ เป้าหมายของสถานศกึ ษา
ประเดน็ ขอ้ ท่ี 1 (ผู้เรยี นมีคุณธรรมเปน็ ไปตามค่าเป้าหมายทีก่ าหนดหรอื ไม่)

1) สถานศึกษาทบทวนผลการประเมินคุณธรรมของผเู้ รยี นหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ตามหลกั สูตรกาหนด รวมถงึ การประเมนิ คุณธรรมตามนโยบาย ค่านิยมหลัก
12 ประการ คุณธรรมตามพระบรมราโชบาย จากหลกั ฐานแบบประเมินคุณธรรมของผู้เรยี น แบบรายงานผลการประเมิน

คณุ ธรรมของผู้เรยี นทีส่ ถานศึกษาจดั ทาไว้ รวมถึงผลการดาเนนิ งานโครงการ ย้อนหลัง 2 ภาคเรียน (ปีงบประมาณ
กอ่ นหน้าท่ีจะทารายงานผลการประเมนิ ตนเอง) เช่น ปีงบประมาณ 2561 ใหส้ ถานศกึ ษาทบทวนผลการประเมิน
คุณธรรมผู้เรียนของสถานศึกษา ภาคเรียนท่ี 2/2559 และภาคเรียนท่ี 1/2560 สถานศึกษามีผลการประเมิน

คุณธรรมของผู้เรียนแต่ละระดับการศึกษา ในระดับ พอใช้ ดี และดีมาก จานวนเท่าไร จากจานวนผู้เรียนทั้งหมด
ในแตล่ ะระดับท้งั หมด

2) สถานศึกษาสรุปผลขอ้ มลู วา่ ในแตล่ ะภาคเรยี นดังกลา่ ว มีจานวนรอ้ ยละของผู้เรียนในแตล่ ะระดับ

ทม่ี ผี ลการประเมินคุณธรรมอยใู่ นระดับดมี าก คดิ เป็นรอ้ ยละเทา่ ไร พร้อมกบั คานวณวา่ คา่ เฉลี่ยรอ้ ยละระดับดมี าก
มีค่าเฉลี่ยเท่าไร ดงั รายละเอยี ดตวั อยา่ งท่ีปรากฏในตาราง ดงั น้ี

ภาคเรียนท่ี 2/2559 ภาคเรยี นท่ี 1/2560

ระดบั จานวน พอใช้ ดี ร้อยละ จานวน ดี รอ้ ยละ
ผ้เู รยี น ดมี าก ระดับ ผเู้ รยี น พอใช้ ดมี าก ระดับ

ทัง้ หมด ดมี าก ทั้งหมด ดมี าก

ประถม 35 20 10 5 14.29 37 21 9 7 18.92

ม.ตน้ 112 54 30 28 25.00 122 53 31 38 31.15

ม.ปลาย 142 67 42 33 23.24 154 66 57 31 20.13

เฉล่ีย 20.84 เฉล่ีย 23.40

3) สถานศึกษานาข้อมูลค่าเฉล่ีย และจานวนรอ้ ยละของผู้เรียนที่มีผลการประเมินคุณธรรมใน
ระดับดมี ากในแต่ละระดับช้ันมาใชใ้ นการกาหนดค่าเป้าหมายสูงสุด ซ่งึ เป็นค่าที่คิดว่าสามารถทาได้ (ร้อยละของ

ผู้เรียนท่ีมีคณุ ธรรม และคณุ ลักษณะเป็นไปตามคาอธิบาย) โดยให้พิจารณาจากความพร้อม ศักยภาพ สภาพทาง
สังคม และความสามารถของครูผู้สอน และแนวทางการจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณธรรมร่วมด้วย

ประเด็นข้อท่ี 5 (สถานศึกษามีผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบด้านคุณธรรม เป็นไปตาม

ค่าเปา้ หมายทก่ี าหนดหรอื ไม่ อย่างไร)

18

1) สถานศึกษาทบทวนผลการประเมินคุณธรรมของผู้เรียนตามคาอธิบายตัวบ่งชี้ 1.1 ที่มี
ความโดดเด่น เปน็ ตวั อยา่ งท่ีดี หรอื เปน็ ตน้ แบบ ดา้ นคณุ ธรรมในเร่อื งใดเรอ่ื งหนงึ่ ซงึ่ เป็นผลจากการจดั กระบวนการ

เรยี นรู้ โครงการหรือกิจกรรมของสถานศึกษา ย้อนหลัง 2 ภาคเรียน (ปีงบประมาณก่อนหน้าท่ีจะทารายงานผล
การประเมินตนเอง) เช่น ปีงบประมาณ 2561 ให้สถานศึกษาทบทวนผล การประเมินคุณธรรมผู้เรียนของ
สถานศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 2/2559 และภาคเรียนที่ 1/2560 สถานศึกษามีผลการประเมนิ คณุ ธรรมของผ้เู รียนแตล่ ะ

ระดับการศกึ ษา ท่ีมีความโดดเดน่ เปน็ ตวั อยา่ งทดี่ ี หรอื เป็นต้นแบบ ด้านคุณธรรมในเรอื่ งใดเร่อื งหนงึ่
2) สถานศึกษาสรุปผลข้อมูลว่า ในแต่ละภาคเรียนดังกล่าว มีจานวนผู้เรียนในแต่ละระดับ ที่มี

ความโดดเดน่ เป็นตัวอย่างท่ีดี หรือเป็นตน้ แบบ ด้านคณุ ธรรมในเรือ่ งใดเรื่องหนึง่ ดังรายละเอยี ดตัวอย่างทปี่ รากฏ

ในตาราง ดงั น้ี

ระดบั จานวนผูเ้ รียน จานวนผู้เรียนท่ีเป็นตวั อย่างท่ดี ี คา่ เฉล่ีย
ทัง้ หมด หรอื เปน็ ตน้ แบบในด้านคณุ ธรรม จานวนผู้เรยี นทเี่ ปน็ ตวั อย่างทด่ี ี
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น 37 2/2559 1/2560 หรอื เป็นตน้ แบบ
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 122 ในดา้ นคุณธรรม
154 35
56 4.00
47
5.50

5.50

3) สถานศึกษานาข้อมูลค่าเฉลี่ยของจานวนผู้เรียนท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดี หรือเป็นต้นแบบในด้าน
คุณธรรม ในเรื่องใดเรื่องหน่ึง พร้อมทั้งพิจารณาจากความพร้อม ศักยภาพ สภาพทางสังคม ความสามารถของครู
และกิจกรรมพัฒนาคุณธรรมของสถานศึกษา มาใช้ในการกาหนดค่าเป้าหมาย ซ่ึงเป็นค่าท่ีคาดว่าสามารถทาได้

อาจกาหนดเปน็ จานวนหรอื รอ้ ยละ

ตัวอยา่ งการกาหนดคา่ เป้าหมายเป็นจานวนคน

คา่ เฉลี่ย คา่ เป้าหมาย
ทีส่ ถานศกึ ษากาหนด (คน)
ระดับ จานวนผูเ้ รยี นทง้ั หมด จานวนผูเ้ รยี นท่ีเปน็ ตวั อยา่ งท่ดี ี
4
หรอื เป็นตน้ แบบในดา้ นคุณธรรม 6
6
ประถมศกึ ษา 37 4.00

มัธยมศึกษาตอนตน้ 122 5.50

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 154 5.50

ตวั อย่างการกาหนดค่าเปา้ หมายเปน็ ค่าร้อยละ

ระดับ จานวนผเู้ รียนท้ังหมด ค่าเฉล่ีย ค่าเปา้ หมาย
จานวนผู้เรียนท่เี ป็นตวั อยา่ งท่ดี ี ทสี่ ถานศกึ ษากาหนด (ร้อยละ)
ประถมศกึ ษา 37 หรอื เป็นตน้ แบบในด้านคุณธรรม
มธั ยมศึกษาตอนต้น 122 10.81
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 154 4.00 4.51
3.57
5.50

5.50

19

ตัวบง่ ช้ี 1.2 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานมที ักษะกระบวนการคดิ ทกั ษะการแสวงหาความรู้
เรยี นร้อู ยา่ งต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดารงชวี ติ

ประเภท  ปจั จัยปอ้ น  กระบวนการ  ผลผลิต/ผลลัพธ์

นา้ หนกั คะแนน 5 คะแนน

คาอธิบายตัวบ่งช้ี 1.2 ผูเ้ รยี นการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานมที ักษะกระบวนการคิด ทกั ษะการแสวงหาความรู้
เรยี นรูอ้ ย่างต่อเน่อื ง และสามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดารงชีวติ

ทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเน่ือง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ใน
การดารงชีวิตของผู้เรียน พิจารณาจากความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีทักษะ
ในการสืบเสาะหาข้อมูล การสรุป ประมวลและสังเคราะห์ข้อมูล เพ่ือนาไปใช้ในการดารงชีวิต การทางานและ

การประกอบอาชีพ ซึง่ สถานศึกษาจะต้องตระหนักและพฒั นาผูเ้ รียนให้บรรลตุ ามจุดหมายของหลกั สูตร
ประเด็นการพจิ ารณา
การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น

รายประเด็น ดงั นี้
1. ผเู้ รยี นมีความสามารถตามคาอธบิ ายตวั บ่งช้ี 1.2 เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กาหนดหรือไม่
2. สถานศึกษานาเสนอวิธีการประเมินความสามารถของผ้เู รยี นตามคาอธิบายตวั บ่งชี้ 1.2 อยา่ งไร

3. สถานศกึ ษามีผลการดาเนินงานเก่ยี วกบั การพฒั นาผเู้ รียนตามคาอธบิ ายตัวบ่งชี้ 1.2 อยา่ งตอ่ เนอื่ งอยา่ งไร
4. สถานศกึ ษามีการดาเนินงานทสี่ อดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของสานกั งาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น
ของกระทรวงศกึ ษาธิการ /ยทุ ธศาสตรแ์ ละเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร

5. สถานศกึ ษามีผเู้ รยี นท่ีเป็นตัวอยา่ งที่ดี หรือตน้ แบบตามคาอธิบายตัวบ่งชี้ 1.2 หรอื ไม่ อย่างไร

20

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

ประเด็น 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน

1. ผู้เรียนมีความสามารถตาม ผู้เรียน มีค วามส ามารถ ต าม ผู้เรียน มีค วามส ามารถ ต าม ผู้เรียน มีค วามส ามารถ ต าม

คาอธิบายตัวบ่งช้ี 1.2 เป็นไปตาม คาอธิบายตัวบ่งช้ี 1.2 สูงกว่า คาอธิบายตัวบ่งช้ี 1.2 เป็นไปตาม คาอธิบายตัวบ่งช้ี 1.2 ต่ากว่า

ค่าเปา้ หมายที่กาหนดหรือไม่ คา่ เป้าหมายทกี่ าหนด คา่ เป้าหมายที่กาหนด คา่ เปา้ หมายทกี่ าหนด

2. สถานศึกษานาเสนอวิธีการ สถานศึกษาสามารถนาเสนอ สถานศึกษาสามารถนาเสนอ สถานศึกษาไม่มี/ไม่สามารถ

ประเมนิ ความสามารถของผูเ้ รยี น ข้ อ มู ล ห ลั กฐ าน ร่อ งรอ ย ท่ี ข้ อ มู ล ห ลั กฐ าน ร่อ งรอ ย ที่ นาเสนอขอ้ มูล หลักฐานรอ่ งรอย

ตามคาอธบิ ายตัวบ่งช้ี 1.2 อยา่ งไร น่ าเชื่ อ ถื อ เป็ น เห ตุ เป็ น ผ ล น่ าเชื่ อ ถื อ เป็ นเห ตุ เป็ น ผ ล ทีส่ นับสนนุ ผลการดาเนินงานได้

สนับสนุนผลการดาเนินงานอย่าง ส นั บ ส นุ น ผลการด าเนิ นงาน

ชดั เจนครบถว้ นตามคุณลักษณะ ไม่ครบถ้วนตามคุณ ลักษณ ะ

ทีก่ าหนดไว้ในคาอธบิ าย ทก่ี าหนดไว้ในคาอธบิ าย

3. สถานศกึ ษามีผลการดาเนนิ งาน สถานศึกษามีผลการดาเนินงาน สถานศึกษามีผลการดาเนินงาน สถานศกึ ษาไมม่ ีผลการดาเนินงาน

เก่ียวกับการพัฒนาผู้เรียนตาม พฒั นางานอย่างชัดเจนต่อเนือ่ ง ในลักษณะเดิม ไม่มีการพัฒนา ที่ชดั เจน

คาอธิบายตัวบ่งช้ี 1.2 อยา่ งต่อเน่ือง การดาเนนิ งาน

อยา่ งไร

4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษาอธิบายการดาเนินงาน สถานศึกษาอธิบายการดาเนินงาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบายการ

ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ ด าเนิ น งาน ที่ สอด คล้ องกั บ

จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน

น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ

ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร /

ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ

แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี

อย่างไร ได้อย่างชัดเจน ได้ แต่ไมช่ ัดเจน ได้

5. สถานศึกษามีผู้เรียนที่เป็น ส ถ าน ศึ กษ ามี ผู้ เรี ย น ที่ เป็ น ส ถ าน ศึ กษ ามี ผู้ เรี ย น ที่ เป็ น สถานศึกษาไม่มีผู้เรียน หรือมี

ตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบตาม ตัวอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบ ตัวอย่างที่ดี หรือเป็นต้นแบบ ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือ

คาอธิบายตัวบ่งชี้ 1.2 หรือไม่ ตามคาอธิบายตัวบง่ ช้ี 1.2 สงู กว่า ต าม ค าอธิบ าย ตั วบ่ งช้ี 1 .2 ต้นแบบตามคาอธิบายตัวบ่งชี้

อย่างไร คา่ เป้าหมายท่กี าหนด เปน็ ไปตามคา่ เปา้ หมายที่กาหนด 1.2 ต่ากว่าคา่ เป้าหมายทกี่ าหนด

ตารางเทยี บคะแนนระดับคณุ ภาพ ตอ้ งปรับปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก
1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00
ระดบั คณุ ภาพ ต้องปรบั ปรุงเร่งดว่ น
คะแนน 0.00 0.50 1.00

21

แนวทางการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา
1. สถานศึกษากาหนดค่าเป้าหมาย จานวน 2 ค่า โดยผ่านความเห็นชอบจากสานักงาน กศน.จังหวัด/

กทม. ดงั น้ี
1.1 ค่าเป้าหมายในประเดน็ ข้อที่ 1 เป็นการกาหนดจานวนผู้เรียนทุกระดับท่ีคาดวา่ จะมีทักษะ

ตามคาอธบิ ายตวั บง่ ชี้ 1.2 ซงึ่ เป็นผลจากการจดั กระบวนการเรยี นรู้ โครงการหรือกิจกรรมของสถานศึกษา
1.2 ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อท่ี 5 เป็นการกาหนดจานวนผู้เรียนท่ีคาดว่าจะเป็นผู้ท่ีมี ทักษะ

ท่ีเป็นตัวอย่างทด่ี ี หรอื เป็นต้นแบบ ซ่ึงเปน็ ผลจากการจดั กระบวนการเรยี นรู้ โครงการหรอื กจิ กรรมของสถานศกึ ษา
ที่นาทักษะใดทกั ษะหน่งึ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดารงชีวติ

2. สถานศึกษาควรจัดกระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยครูออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมที่หลากหลาย สอดคล้องกับ
ความต้องการและความแตกต่างกันของผู้เรียน เช่น การเรียนรู้ด้วยโครงงาน การศึกษาด้วยตนเองจากสื่อ
ที่หลากหลาย การเขียนโครงการ การทากิจกรรม กพช. การสอนเสริม ใบงาน เป็นต้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะ
กระบวนการคิด ทกั ษะการแสวงหาความรู้ เรียนรูอ้ ย่างต่อเนือ่ ง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดารงชีวิตได้

3. สถานศึกษาควรจัดโครงการ หรือกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกดิ ทกั ษะกระบวนการคดิ การแสวงหา
ความรู้ เรียนรู้อย่างตอ่ เน่ือง เพอื่ นาไปใชใ้ นการดารงชวี ิต เช่น โครงการรกั การอา่ น การศกึ ษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้
การพัฒนาการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เป็นต้น

4. ครูควรให้ความสาคัญกับการประเมินผู้เรียน พร้อมทั้งให้คาแนะนา หรือข้อเสนอแนะจากการตรวจ
หรือประเมินชิ้นงาน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่าง
ต่อเน่ือง

5. สถานศึกษาควรจดั กิจกรรมเพือ่ สง่ เสริม พัฒนาทกั ษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรยี นรู้
อยา่ งตอ่ เน่ืองให้กบั ผู้เรียน เชน่ มกี ารประกวดโครงงาน การคดั เลือกและมอบรางวัล เกยี รตบิ ัตร หรือยกยอ่ งเชิดชเู กียรติ
เปน็ ต้น ให้แกผ่ ู้เรยี นทเ่ี ป็นตวั อยา่ งท่ีดี หรอื เปน็ ตน้ แบบ

6. สถานศึกษาควรสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหผ้ ูเ้ รยี นไดเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมที่เกีย่ วกับทกั ษะกระบวนการคดิ ทกั ษะ
การแสวงหาความรู้ เรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยร่วมกับหน่วยงาน ภาครัฐ เอกชน ชมุ ชน และท้องถ่ิน

22

ตัวบ่งชี้ 1.3 ผ้เู รยี นการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานมคี วามรพู้ ืน้ ฐาน

ประเภท  ปจั จัยปอ้ น  กระบวนการ  ผลผลิต/ผลลพั ธ์

น้าหนกั คะแนน 5 คะแนน

คาอธบิ ายตัวบ่งช้ี 1.3 ผู้เรยี นการศึกษาข้ันพื้นฐานมคี วามรู้พ้นื ฐาน
ความรู้พื้นฐานของผู้เรียน พิจารณาจากความรู้ ความสามารถ และมีทักษะตามสาระการเรียนรู้ รวมทั้ง

การนาความรู้ ความสามารถ ไปใช้ในการดารงชีวิต การทางาน และการประกอบอาชีพ

ประเดน็ การพิจารณา
การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น
รายประเดน็ ดงั น้ี

1. ผเู้ รยี นมคี วามรพู้ น้ื ฐานตามคาอธิบายตวั บง่ ช้ี 1.3 เปน็ ไปตามค่าเปา้ หมายที่กาหนดไว้อย่างไร
2. ผู้เรียนนาความรู้พ้ืนฐานไปใช้ในการดารงชวี ิต การทางาน หรือการประกอบอาชีพได้ เป็นไปตามค่าเป้าหมาย
ทกี่ าหนดอยา่ งไร

3. สถานศกึ ษามีผลการดาเนินงานเกย่ี วกบั การพัฒนาความรูพ้ น้ื ฐานของผเู้ รยี นตามคาอธิบายตวั บ่งชี้ 1.3
อย่างตอ่ เนือ่ งอย่างไร

4. สถานศกึ ษามีการดาเนินงานที่สอดคลอ้ งกับ นโยบายและจุดเนน้ ของสานักงาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น

ของกระทรวงศึกษาธกิ าร /ยทุ ธศาสตร์และเปา้ หมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี อย่างไร
5. สถานศึกษามีผู้เรียนที่เป็นตัวอยา่ งท่ีดี หรือต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้/ประยุกตใ์ ชใ้ นการดารงชีวิต

หรือไม่ อย่างไร

23

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

ประเด็น 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน

1. ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานตาม ผู้เรียนมี ความรู้พ้ื นฐานตาม ผู้เรียนมี ความรู้พื้ นฐานตาม ผู้เรียนมี ความรู้พื้ นฐานตาม

คาอธิบายตัวบ่งช้ี 1.3 เป็นไปตาม คาอธิบายตัวบ่งช้ี 1.3 สูงกว่า คาอธิบายตั วบ่ งช้ี 1.3 สูงกว่า คาอธิบายตัวบ่งชี้ 1.3 ต่ากว่า

ค่าเป้าหมายท่กี าหนดไว้อย่างไร ค่าเปา้ หมายทกี่ าหนด ทกุ รายวชิ า คา่ เป้าหมายที่กาหนด แต่ไม่ครบ คา่ เปา้ หมายท่กี าหนด ทุกรายวิชา

ทกุ รายวชิ า

2. ผู้เรียนนาความรู้พื้นฐานไปใช้ ผู้เรียนนาความรู้พื้นฐานไปใช้ ผู้เรียนนาความรู้พ้ืนฐานไปใช้ ผูเ้ รียนนาความรู้พื้นฐานไปใช้ใน

ในการดารงชีวิต การทางาน ในการดารงชีวิต การทางาน ในการดารงชีวิต การทางาน การดารงชีวิต การทางาน หรือ

ห รือการ ป ระ กอ บ อาชี พ ได้ หรือการประกอบอาชพี ได้สูงกว่า ห รือก ารป ร ะ กอบ อ าชี พ ได้ การประกอบอาชีพได้ต่ากว่า

เป็ น ไป ต าม ค่ าเป้ าห ม าย ที่ คา่ เป้าหมายท่ีกาหนด เป็นไปตามคา่ เป้าหมายท่ีกาหนด คา่ เปา้ หมายที่กาหนด

กาหนดอยา่ งไร

3. สถานศึกษามีผลการดาเนนิ งาน สถานศึกษามีผลการดาเนินงาน สถานศึกษามีผลการดาเนินงาน สถานศึกษาไม่มีผลการดาเนนิ งาน

เกี่ยวกับการพัฒนาความรู้พ้นื ฐาน ท่ีหลากหลาย/แตกตา่ ง เกีย่ วกับ ลักษณ ะเดิม ๆ/ไม่แตกต่าง เกยี่ วกับการพัฒนาความรพู้ ื้นฐาน

ของผู้เรยี นตามคาอธิบายตวั บ่งช้ี การพัฒนาความรู้พื้นฐานของ เกย่ี วกับการพัฒนาความรพู้ ้ืนฐาน ของผู้เรียนตามคาอธิบายตัวบ่งช้ี

1.3 อยา่ งตอ่ เนือ่ งอยา่ งไร ผูเ้ รียนตามคาอธบิ ายตัวบง่ ช้ี 1.3 ของผู้เรียนตามคาอธิบายตัวบ่งช้ี 1.3

เมือ่ เทียบกบั ปีงบประมาณทผ่ี ่านมา 1.3 เมื่อเทียบกับปีงบประมาณ

ทผ่ี า่ นมา

4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศกึ ษาอธิบายการดาเนินงาน สถานศกึ ษาอธบิ ายการดาเนินงาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบายการ

ที่ สอดคล้ องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกั บ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกั บ นโยบายและ ด าเนิ น งาน ที่ สอด ค ล้ องกั บ

จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจดุ เน้นของสานกั งาน

น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ

ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร /

ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ

แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี

อย่างไร ไดอ้ ยา่ งชัดเจน ได้ แตไ่ ม่ชัดเจน ได้

5. สถานศึกษามีผู้เรียนที่เป็น ส ถ าน ศึ ก ษ ามี ผู้ เรี ย น ที่ เป็ น ส ถ าน ศึ ก ษ ามี ผู้ เรี ย น ที่ เป็ น สถานศึกษาไม่มีผู้เรียน หรือมี

ตัวอย่างที่ ดี ห รือต้นแบบ ใน ตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบใน ตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบใน ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือ

การนาความรู้ไปใช้/ประยุกต์ใช้ การนาความรู้ไปใช้/ประยุกต์ใช้ การนาความรู้ไปใช้/ประยุกต์ใช้ ต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้/

ในการดารงชีวติ หรือไม่ อย่างไร ใ น ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต สู ง ก ว่ า ในการดาร งชีวิตเป็น ไปตาม ประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต

ค่าเปา้ หมายท่กี าหนด ค่าเป้าหมายทกี่ าหนด ต่ากวา่ คา่ เปา้ หมายทีก่ าหนด

ตารางเทียบคะแนนระดับคณุ ภาพ ตอ้ งปรับปรุง พอใช้ ดี ดมี าก
1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00
ระดบั คุณภาพ ต้องปรับปรงุ เร่งด่วน
คะแนน 0.00 0.50 1.00

24

แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา
1. สถานศึกษากาหนดค่าเป้าหมาย จานวน 3 ค่า โดยผ่านความเห็นชอบจากสานักงาน กศน.จังหวัด/

กทม. ดงั น้ี
1.1 ค่าเปา้ หมายในประเด็นขอ้ ที่ 1 เป็นการกาหนดจานวนผเู้ รยี นทุกระดับที่คาดว่าจะมีความรู้

ความสามารถ และมีทักษะตามสาระการเรียนรู้
1.2 ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 2 เป็นการกาหนดจานวนผู้เรียนทุกระดับท่ีคาดว่าน่าจะนา

ความรู้พนื้ ฐานไปใช้ในการดารงชีวิต การทางาน หรอื การประกอบอาชพี
1.3 ค่าเป้าหมายในประเด็นข้อที่ 5 เป็นการกาหนดจานวนผู้เรียนท่ีคาดว่าจะนาความรู้ไปใช้/

ประยกุ ต์ใช้ในการดารงชวี ิต ท่ีเป็นตวั อย่างท่ดี ี หรือเปน็ ต้นแบบได้
2. การกาหนดค่าเป้าหมายความรู้ขั้นพ้ืนฐาน สถานศึกษาอาจใช้คะแนนสอบปลายภาคเรียน หรือ

คะแนนสอบประเมนิ คณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ (N-net) โดยใช้ขอ้ มูลคะแนนสอบจากปีงบประมาณ
ทผี่ า่ นมา

กรณีท่ีเลือกใช้คะแนนสอบปลายภาคเรียน สถานศึกษานาค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบปลายภาคเรียน
จานวน 2 ภาคเรียนในปีงบประมาณที่ผ่านมาของกลุ่มทดสอบการศึกษานอกระบบ มาพิจารณากาหนดเป็น
คา่ เป้าหมาย โดยมีขั้นตอนดาเนนิ การดงั นี้

1) คานวณค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบปลายภาคเรยี นระดับสถานศึกษา เฉพาะรายวิชาบงั คับที่ผู้เรียน
ลงทะเบียนเรียนตามแผนการลงทะเบียนเรียนของสถานศึกษาเป็นรายวิชา จานวน 2 ภาคเรียนในปีงบประมาณ
ท่ีผ่านมา เช่น การกาหนดค่าเป้าหมายในปีงบประมาณ 2561 ใหค้ านวณคา่ เฉลี่ยของคะแนนสอบปลายภาคเรียน
ของปีงบประมาณ 2560 คอื ภาคเรียนท่ี 2/2559 (1 พฤศจกิ ายน 2559 - 1 เมษายน 2560) และภาคเรียนที่ 1/2560
(16 พฤษภาคม - 11 ตุลาคม 2560) เปน็ ตน้

2) คานวณค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบปลายภาคเรียนระดับประเทศ เฉพาะรายวิชาบังคับที่ผู้เรียน
ลงทะเบียนเรียนตามแผนการลงทะเบียนเรียนของสถานศึกษาเป็นรายวิชา จานวน 2 ภาคเรียนในปีงบประมาณ
ท่ผี า่ นมา ซึ่งใชค้ ะแนนสอบปลายภาคเรียนในปงี บประมาณเดียวกนั กบั การคานวณในข้อ 1)

3) เปรียบเทียบค่าเฉล่ียของคะแนนสอบปลายภาคเรียนระหว่างข้อ 1) และ ข้อ 2) พร้อมท้ัง
พจิ ารณาเลือกคา่ เฉล่ียของคะแนนทีส่ ูงกว่า มาเป็นหลักในการกาหนดค่าเปา้ หมาย กรณีท่ีใน 2 ภาคเรียนทผ่ี ่านมา
ไมม่ ีคะแนนสอบปลายภาคเรียนในรายวิชาบังคับ ใหใ้ ช้ค่าเฉลีย่ ของคะแนนสอบปลายภาคเรยี นของระดับประเทศ
มาเปน็ หลกั ในการกาหนดคา่ เป้าหมาย

4) กาหนดค่าเป้าหมายให้เท่ากับหรือสูงกว่าค่าเฉล่ียของคะแนนสอบปลายภาคเรียนท่ีได้จากข้อ 3)
ตามศักยภาพของสถานศึกษา

25

ตัวอยา่ งการต้ังคา่ เปา้ หมายความร้พู ืน้ ฐาน
การต้งั ค่าเปา้ หมายความรพู้ ื้นฐาน ในปีงบประมาณ 2561 ของสถานศึกษาแหง่ หน่งึ มีผู้เรยี นลงทะเบียนเรียน

รายวิชาบังคับ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ปีงบประมาณ 2560 (ภาคเรียนที่ 2/2559 และภาคเรียนท่ี 1/2560)
โดยภาคเรยี นที่ 2/2559 จานวน 2 วชิ า คอื ทกั ษะการเรยี นรู้ และภาษาไทย สาหรับภาคเรียนที่ 1/2560 จานวน 3 วชิ า
คอื ทักษะการเรียนรู้ ภาษาไทย และช่องทางการพฒั นาอาชพี จงึ กาหนดคา่ เปา้ หมายดังนี้

ระดบั การศกึ ษา : มัธยมศกึ ษาตอนตน้

คา่ เฉล่ียของคะแนนสอบปลายภาคเรียน ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบปลายภาคเรียน ค่าเป้าหมาย

รายวิชาบังคับ ของสถานศึกษา ระดบั ประเทศ 40.44
33.00
1. ทกั ษะการเรยี นรู้ 2/2559 1/2560 ค่าเฉล่ีย 2/2559 1/2560 ค่าเฉลี่ย 35.21
2. ภาษาไทย 22.00
3. วิทยาศาสตร์ 37.26 39.11 38.19 38.87 42.00 40.44
4. ชอ่ งทางการพฒั นาอาชีพ
32.76 33.00 32.88 33.50 29.97 31.74

-- - 34.42 36.00 35.21

- 21.66 21.66 21.22 22.50 21.86

จากตัวอย่าง
1) สถานศกึ ษากาหนดคา่ เปา้ หมายในรายวิชาทกั ษะการเรยี นรู้ เปน็ 40.44 คะแนน ซงึ่ มีค่าเท่ากับ

คา่ เฉลย่ี ของคะแนนสอบปลายภาคเรยี นระดับประเทศ (40.44 คะแนน) เนอ่ื งจากมคี ่าสูงกว่าค่าเฉล่ียของคะแนน
ผลการสอบปลายภาคเรียนของสถานศึกษา (38.19 คะแนน) ประกอบกับคะแนนสอบปลายภาคเรียนทั้ง
2 ภาคเรียนของสถานศึกษา มีคา่ ต่ากว่าคะแนนสอบปลายภาคเรยี นระดับประเทศค่อนขา้ งมาก

2) สถานศึกษากาหนดค่าเป้าหมายในรายวิชาภาษาไทย เป็น 33.00 คะแนน ซึ่งมีค่าสูงกว่า
ค่าเฉล่ียของคะแนนสอบปลายภาคเรยี นของสถานศกึ ษา (32.88 คะแนน) เนอื่ งจากมีค่าสูงกว่าค่าเฉล่ยี ของคะแนน
ผลการสอบปลายภาคเรียนระดบั ประเทศ (31.74 คะแนน) ประกอบกับคะแนนสอบปลายภาคเรียนท้ัง 2 ภาคเรียน

ของสถานศึกษา มีค่าใกล้เคียงกับค่าเฉล่ีย 2 ภาคเรียนของสถานศึกษา เพ่ือเป็นการยกระดับคุณภาพการจัด
การศึกษา

3) สถานศกึ ษากาหนดคา่ เป้าหมายในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เป็น 35.21 คะแนน ซึ่งมีค่าเท่ากับค่าเฉล่ีย

ของคะแนนสอบปลายภาคเรยี นระดับประเทศ (35.21 คะแนน) เน่อื งจากสถานศึกษาไม่มีผู้เรียนลงทะเบียนเรียน
ทัง้ ภาคเรยี นที่ 2/2559 และ 1/2560 แต่มีแผนการลงทะเบยี นเรยี น ภาคเรียนท่ี 2/2560

4) สถานศึกษากาหนดค่าเป้าหมายในรายวิชาช่องทางการพัฒนาอาชพี เป็น 22.00 คะแนน ซง่ึ มี

ค่าสงู กวา่ คา่ เฉลีย่ ของคะแนนสอบปลายภาคเรยี นระดบั ประเทศ (21.86 คะแนน) เนื่องจากมีค่าสูงกวา่ ค่าเฉลย่ี ของ
คะแนนสอบปลายภาคเรียนของสถานศึกษา (21.66 คะแนน) ซ่ึงมีคะแนนสอบปลายภาคเรียนเพียง
ภาคเรียนเดียว จึงใช้ค่าเฉลี่ยของภาคเรียนนั้น ประกอบกับคะแนนสอบปลายภาคเรียน 1 ภาคเรียนของ

สถานศึกษา มีคา่ ใกลเ้ คียงกับคา่ เฉลยี่ 2 ภาคเรยี น ระดับประเทศ เพ่ือเป็นการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา

26

กรณีท่ีเลือกใช้คะแนนสอบประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ (N-net)
มีวิธกี ารกาหนดค่าเป้าหมายเช่นเดียวกับกรณีท่ีเลือกใช้คะแนนสอบปลายภาคเรียน แต่ให้ใช้ข้อมูลคะแนนสอบ

ประเมินคุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดับชาติ (N-net) จากสถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ (องค์การ
มหาชน) หรอื สทศ. ดงั ตวั อยา่ ง

ระดับการศกึ ษา : มัธยมศกึ ษาตอนตน้

รายวิชาบังคบั ค่าเฉลี่ยของคะแนน N-net ค่าเฉล่ียของคะแนน N-net คา่ เปา้ หมาย

1. ทกั ษะการเรยี นรู้ ของสถานศกึ ษา ระดบั ประเทศ 39.00
2. ภาษาไทย 42.00
3. วิทยาศาสตร์ 2/2559 1/2560 คา่ เฉลี่ย 2/2559 1/2560 คา่ เฉล่ีย 30.00
4. ชอ่ งทางการพัฒนาอาชพี 54.43
38.99 38.75 38.87 39.25 36.93 38.09

45.33 38.25 41.79 43.59 35.55 39.57

27.83 30.33 29.08 25.54 30.68 28.11

39.67 60.80 50.24 40.87 68.00 54.43

3. เม่อื สถานศึกษาได้จดั การศกึ ษาในปีงบประมาณ 2561 (ภาคเรยี นที่ 2/2560 กับ 1/2561) ให้คานวณ
ค่าเฉล่ียของคะแนนสอบปลายภาคเรียนของสถานศึกษา แล้วนามาเปรยี บเทียบกบั คะแนนค่าเป้าหมายท่ีกาหนด

ไว้ในข้อที่ 2. เพือ่ ตัดสินประเดน็ การพจิ ารณาวา่ ผู้เรยี นมคี วามรู้พืน้ ฐานตามคาอธิบายตัวบง่ ชี้ 1.3 หรือไม่

ตวั อยา่ ง

รายวิชาบงั คับ คา่ เปา้ หมาย ค่าเฉล่ยี ของคะแนนสอบปลายภาคเรียน ผลการเปรียบเทยี บ
กบั ค่าเป้าหมาย
ของสถานศกึ ษา
ต่ากว่า
2/2560 1/2561 ค่าเฉล่ีย สงู กวา่
สงู กวา่
1. ทกั ษะการเรยี นรู้ 40.44 32.50 - 32.50 สงู กว่า
2. ภาษาไทย 33.00
3. วทิ ยาศาสตร์ 35.21 35.45 32.14 33.80
4. ช่องทางการพัฒนาอาชีพ 22.00
34.78 40.20 37.49

26.12 25.00 25.56

จากผลการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา ในปงี บประมาณ 2561 นาไปเปรียบเทยี บกับค่าเปา้ หมาย พบวา่
มคี า่ เฉลยี่ ของคะแนนสอบปลายภาคเรยี นสงู กวา่ ค่าเปา้ หมาย ไมค่ รบทกุ รายวชิ า เม่ือเทียบกบั เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ที่กาหนด ทาใหไ้ ดค้ ะแนนผลการประเมินคณุ ภาพในตัวบ่งช้ี 1.3 ประเดน็ ท่ี 1 ไดค้ ะแนนเท่ากบั 0.5

4. การกาหนดคา่ เป้าหมายประเด็นท่ี 2 ผู้เรียนนาความรู้พื้นฐานไปใช้ในการดารงชีวติ การทางาน หรือ
การประกอบอาชีพได้ อาจกาหนดในลักษณะเป็นจานวน หรือร้อยละของผู้เรียนใน 2 ภาคเรียน โดยใช้ข้อมูล
สารสนเทศจากการตดิ ตามการนาความรู้ไปใช้ ฯ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา เป็นหลกั ในการกาหนดค่าเป้าหมาย

เช่น ในปีงบประมาณ 2560 มีผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ ฯ ร้อยละ 30 ดังนั้นในปีงบประมาณ 2561 ควรกาหนด
ค่าเป้าหมายให้เทา่ กบั หรอื สงู กวา่ ร้อยละ 30 เป็นต้น

27

การศกึ ษาต่อเน่ือง
ตวั บ่งช้ี 1.4 ผ้เู รยี นหรอื ผเู้ ขา้ รบั การอบรมมคี วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะในการประกอบอาชพี

ประเภท  ปัจจยั ปอ้ น  กระบวนการ  ผลผลิต/ผลลัพธ์

น้าหนกั คะแนน 5 คะแนน

คาอธบิ ายตัวบ่งชี้ 1.4 ผเู้ รียนหรอื ผ้เู ข้ารบั การอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะในการประกอบอาชพี
ความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพของผเู้ รียนหรอื ผู้เข้ารับการอบรม พิจารณาจาก

การนาความรูไ้ ปใชใ้ นการลดรายจา่ ย หรือเพิม่ รายได้ หรือประกอบอาชีพ หรอื พัฒนาตอ่ ยอดอาชพี หรือเพม่ิ มลู ค่า
ของสนิ ค้าหรอื บรกิ าร ซง่ึ เปน็ ผลจากการเข้าเรยี นตามหลักสูตร ตั้งแต่ 6 ช่วั โมงขึ้นไป

ประเด็นการพิจารณา

การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น
รายประเดน็ ดังนี้

1. ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ความสามารถ ตามวัตถุประสงค์ของหลกั สูตร เป็นไปตามค่าเปา้ หมายที่กาหนดหรือไม่

2. ผเู้ รียนนาความรูไ้ ปใช้ในการลดรายจา่ ย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาตอ่ ยอดอาชีพ
หรือเพ่ิมมูลค่าของสินค้าหรอื บริการ เปน็ ไปตามคา่ เป้าหมายทก่ี าหนดหรอื ไม่

3. สถานศึกษามีการประเมินผู้เรียนและมีการติดตามการนาความรู้ไปใช้ตามคาอธิบายตัวบ่งช้ี 1.4

ทน่ี ่าเช่อื ถอื อยา่ งไร
4. สถานศึกษามีการดาเนินงานทส่ี อดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น

ของกระทรวงศึกษาธิการ /ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร

5. สถานศกึ ษามีผูเ้ รียนทเ่ี ป็นตัวอยา่ งที่ดี หรอื ต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้หรอื ไม่ อยา่ งไร

28

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเด็น 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน

1. ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ

ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

เป็นไปตามค่าเป้าหมายทกี่ าหนด เปน็ ไปตามค่าเป้าหมายท่กี าหนด น้อยกว่าค่าเป้าหมายท่ีกาหนด นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 ของคา่ เปา้ หมาย

หรอื ไม่ แตม่ ากกวา่ ร้อยละ 50 ท่ีกาหนด

2. ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ใน ผู้ เรี ย น น า ค ว า ม รู้ ไป ใ ช้ ใ น ผู้ เรี ย น น า ค ว า ม รู้ ไป ใ ช้ ใ น ผู้ เรี ย น น า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ ใ น

การลดรายจ่าย หรือเพ่ิมรายได้ การลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ การลดรายจ่าย หรือเพ่ิมรายได้ การลดรายจ่าย หรือเพ่ิมรายได้

หรอื ประกอบอาชีพ หรือพัฒนา หรือประกอบอาชีพ หรอื พัฒนา หรอื ประกอบอาชีพ หรือพัฒนา หรอื ประกอบอาชีพ หรอื พัฒนา

ต่อยอดอาชีพ หรือเพิ่มมูลค่า ต่อยอดอาชีพ หรือเพิ่มมูลค่า ต่อยอดอาชีพ หรือเพิ่มมูลค่า ต่อยอดอาชีพ หรือเพิ่มมูลค่า

ของสินค้าหรือบรกิ าร เป็นไปตาม ของสนิ คา้ หรอื บรกิ าร เป็นไปตาม ของสินค้าหรือบริการ น้อยกว่า ของสินค้าหรือบริการ น้อยกว่า

ค่าเปา้ หมายท่ีกาหนดหรอื ไม่ คา่ เป้าหมายท่ีกาหนด ค่าเป้าหมายทีก่ าหนดแต่มากกว่า ร้ อยละ 50 ของค่ าเป้ าหมาย

ร้อยละ 50 ที่กาหนด

3. สถานศึกษามีการประเมิน สถานศึกษามีหลักฐานร่องรอย สถานศึกษามีหลักฐานร่องรอย สถานศึกษามีหลักฐานร่องรอย

ผู้เรียนและมีการติดตามการนา ที่เป็นเหตุเป็นผล น่าเช่ือถือ ที่เป็นเหตุเป็นผล น่าเชื่อถือ ที่เป็นเหตุเป็นผล น่าเชื่อถือ

ค วามรู้ไป ใช้ ต ามค าอธิบ าย ในการประเมินการเรียนรู้ของ ในการประเมินการเรียนรู้ของ ในการประเมินการเรียนรู้ของ

ตัวบ่งช้ี 1.4 ที่น่าเช่อื ถืออย่างไร ผู้เรียนทุกคน และมีการติดตาม ผู้เรียนทุกคน และมีการติดตาม ผูเ้ รยี นทุกคน แต่ไมม่ ีการติดตาม

ผู้เรียนทกุ กลุ่ม ผเู้ รียนไมค่ รบทุกกลมุ่ ผู้เรยี น

4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษาอธิบายการดาเนนิ งาน สถานศึกษาอธบิ ายการดาเนินงาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย

ท่ี สอดคล้องกับ นโยบายและ ท่ี สอดคล้องกับ นโยบายและ ท่ี สอดคล้องกับ นโยบายและ การดาเนินงานที่สอดคล้องกับ

จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจดุ เน้นของสานกั งาน

น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ

ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร /

ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ

แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี

อย่างไร ได้อยา่ งชดั เจน ได้ แตไ่ มช่ ัดเจน ได้

5. สถานศึกษามีผู้เรียนท่ีเป็น ส ถ าน ศึ กษ ามี ผู้ เรี ย น ท่ี เป็ น ส ถ าน ศึ กษ ามี ผู้ เรี ย น ที่ เป็ น สถานศึกษาไม่มีผู้เรียน หรือมี

ตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการ ตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบ ใน ตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบ ใน ผู้เรียนท่ีเป็นตัวอย่างที่ดี หรือ

นาความรู้ไปใชห้ รือไม่ อยา่ งไร การน าค วาม รู้ ไป ใช้ สู งก ว่ า การนาความรู้ไปใช้เป็นไปตาม ต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้/

ค่าเป้าหมายท่ีกาหนด ค่าเป้าหมายท่กี าหนด ประยุกต์ใช้ แต่ต่ากว่าค่าเป้าหมาย

ทก่ี าหนด

ตารางเทียบคะแนนระดบั คณุ ภาพ ต้องปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก
1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00
ระดบั คุณภาพ ต้องปรบั ปรุงเร่งด่วน
คะแนน 0.00 0.50 1.00

29

แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา
1. สถานศกึ ษาตอ้ งจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของผู้เรียน
2. สถานศึกษาต้องกาหนดค่าเปา้ หมาย จานวน 3 คา่ โดยผ่านความเห็นชอบจากสานกั งาน กศน.จังหวดั /กทม. ดงั น้ี
2.1 ค่าเป้าหมายในประเดน็ ขอ้ ท่ี 1 เปน็ การกาหนดจานวนผ้เู รยี นที่คาดวา่ จะมีความรู้ ความสามารถ

ตามวตั ถุประสงค์ของหลกั สูตร
2.2 คา่ เป้าหมายในประเด็นขอ้ ท่ี 2 เป็นการกาหนดจานวนผู้เรียนท่ีคาดวา่ จะมีการนาความรูท้ ่ไี ด้

ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรอื พฒั นาต่อยอดอาชพี หรือเพิ่มมลู ค่าของสินคา้ หรือ
บรกิ าร

2.3 คา่ เป้าหมายในประเด็นข้อท่ี 5 เปน็ การกาหนดจานวนผ้เู รียนท่ีคาดว่าจะมีการนาความร้ทู ่ไี ด้
ไปใช้ในการลดรายจา่ ย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชพี หรือพัฒนาต่อยอดอาชพี หรือเพ่ิมมูลค่าของสินคา้ หรือ
บริการ ทส่ี ามารถเปน็ ตวั อยา่ งท่ีดี หรอื ตน้ แบบได้

3. สถานศึกษาต้องมีข้อมูลสารสนเทศการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ เช่น การวัดผลประเมินผล
การเรียนของผเู้ รียน ทะเบียนผูเ้ รียน ผู้จบหลักสูตร และความพึงพอใจ เปน็ ต้น เพื่อใช้ในการอา้ งองิ ผลการดาเนนิ งาน
และพัฒนางาน

4. สถานศกึ ษาตอ้ งจดั ให้มีการติดตามผู้เรียนทเ่ี รยี นหลกั สตู ร ต้ังแต่ 6 ชั่วโมงขึ้นไป หลงั จากจบหลกั สูตร
ภายในระยะเวลา 1 เดือน ว่ามีการนาความรู้ท่ีได้ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพ่ิมรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือ
พฒั นาตอ่ ยอดอาชีพ หรอื เพ่มิ มูลค่าของสนิ คา้ หรือบรกิ าร

5. สถานศกึ ษาควรส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรยี นได้เข้ารว่ มกิจกรรมท่ีเกี่ยวกบั การจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นา
อาชีพรว่ มกบั หนว่ ยงานภาครัฐ เอกชน ชมุ ชน และท้องถนิ่

30

ตวั บ่งช้ี 1.5 ผู้เรยี นหรือผเู้ ข้ารับการอบรมปฏิบัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ประเภท  ปัจจัยปอ้ น  กระบวนการ  ผลผลติ /ผลลพั ธ์

น้าหนกั คะแนน 5 คะแนน

คาอธบิ ายตัวบ่งช้ี 1.5 ผเู้ รียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม พิจารณาจาก

ความรูค้ วามเข้าใจในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และสามารถนาไปปฏบิ ัตหิ รอื ประยกุ ต์ใช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

ซึง่ จดั ในลกั ษณะฝกึ อบรม
ประเด็นการพิจารณา
การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น

รายประเดน็ ดงั นี้
1. ผู้เรียนหรือผูเ้ ข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นไปตาม

ค่าเป้าหมายท่ีกาหนดหรอื ไม่

2. ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามคาอธิบาย
ตวั บง่ ชี้ 1.5 เป็นไปตามค่าเปา้ หมายทก่ี าหนดหรอื ไม่

3. สถานศึกษามีการประเมินผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมและมีการติดตามการนาความรู้ไปใช้ตาม

คาอธิบายตัวบ่งชี้ 1.5 ท่ีน่าเชอ่ื ถือ ชดั เจนอยา่ งไร
4. สถานศึกษามีการดาเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น

ของกระทรวงศกึ ษาธิการ /ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร

5. สถานศึกษามีผู้เรยี นหรอื ผู้เข้ารับการอบรมท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบตามคาอธิบายตัวบ่งช้ี 1.5
หรือไม่ อย่างไร

31

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

ประเด็น 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน

1. ผู้เรียนหรือผู้เขา้ รบั การอบรม ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม

มีความรู้ ความเข้าใจในหลัก มีความรู้ ความเข้าใจในหลัก มีความรู้ ความเข้าใจในหลัก มีความรู้ ความเข้าใจในหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กาหนด เปน็ ไปตามคา่ เป้าหมายท่ีกาหนด น้อยกว่าค่าเป้าหมายท่ีกาหนด นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 ของคา่ เปา้ หมาย

หรือไม่ แต่มากกว่ารอ้ ยละ 50 ทก่ี าหนด

2. ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม

ปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ ปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ ปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ ปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง ตามคาอธิบาย เศรษฐกิจพอเพียง เป็นไปตาม เศรษฐกิจพอเพี ยง น้อยกว่า เศรษฐกิจพอเพี ยง น้อยกว่า

ตวั บ่งช้ี 1.5 เป็นไปตามค่าเป้าหมาย คา่ เปา้ หมายที่กาหนด คา่ เป้าหมายที่กาหนดแต่มากกว่า ร้อยละ 50 ของค่าเป้าหมาย

ที่กาหนดหรอื ไม่ รอ้ ยละ 50 ทก่ี าหนด

3. สถานศึกษามีการประเมิน สถานศึกษามีหลักฐานร่องรอย สถานศึกษามีหลักฐานร่องรอย สถานศึกษามีหลักฐานร่องรอย

ผู้เรียนและมีการติดตามการนา ที่เป็นเหตุเป็นผล น่าเชื่อถือ ท่ีเป็นเหตุเป็นผล น่าเช่ือถือ ที่เป็นเหตุเป็นผล น่าเชื่อถือ

ค วามรู้ไป ใช้ ต ามค าอธิบ าย ในการประเมินการเรียนรู้ของ ในการประเมินการเรียนรู้ของ ในการประเมินการเรียนรู้ของ

ตัวบ่งช้ี 1.5 ที่น่าเชื่อถือ ชัดเจน ผู้เรียนทุกคนและมีการติดตาม ผู้เรียนทุกคนและมีการติดตาม ผู้เรียนทุกคน แต่ไม่มกี ารตดิ ตาม

อยา่ งไร ผเู้ รียนทกุ กลมุ่ ผ้เู รยี นไม่ครบทุกกล่มุ ผ้เู รียน

4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษาอธิบายการดาเนินงาน สถานศึกษาอธิบายการดาเนนิ งาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย

ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ ท่ี สอดคล้องกับ นโยบายและ การดาเนินงานที่สอดคล้องกับ

จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจดุ เน้นของสานกั งาน

น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ

ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร /

ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ

แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี

อย่างไร ไดอ้ ยา่ งชดั เจน ได้ แต่ไม่ชดั เจน ได้

5. สถานศึกษามีผู้เรยี นหรือผู้เข้า สถานศึกษามีผู้เรียนหรือผู้เข้า สถานศึกษามีผู้เรียนหรือผู้เข้า สถานศกึ ษาไม่มีผู้เรียนหรือผู้เข้า

รับการอบรมที่เป็นตัวอย่างที่ดี รับการอบรมท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดี รับการอบรมท่ีเป็นตัวอย่างที่ดี รบั การอบรม หรือ มีผ้เู รียนหรือ

หรือต้นแบ บ ตามค าอธิบ าย หรือต้นแบบในการนาความรู้ หรือต้นแบบในการนาความรู้ ผู้เข้ารับการอบรมที่เป็นตัวอยา่ ง

ตวั บ่งชี้ 1.5 หรือไม่ อย่างไร ไป ใช้ สูงกว่าค่ าเป้ าห มาย ที่ ไปใช้ เป็นไปตามค่าเป้าหมายท่ี ท่ี ดี ห รือต้ นแ บ บ ในการน า

กาหนด กาหนด ค ว า ม รู้ ไป ใช้ / ป ระยุ กต์ ใช้

แต่ต่ากวา่ ค่าเปา้ หมายท่ีกาหนด

ตารางเทยี บคะแนนระดับคณุ ภาพ ตอ้ งปรับปรุง พอใช้ ดี ดมี าก
1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00
ระดบั คณุ ภาพ ตอ้ งปรับปรุงเร่งดว่ น
คะแนน 0.00 0.50 1.00

32

แนวทางการดาเนินงานของสถานศกึ ษา
1. สถานศกึ ษาต้องจัดการศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของ

ผู้เรยี นหรือผ้เู ข้ารบั การอบรม
2. สถานศึกษาต้องกาหนดคา่ เป้าหมาย จานวน 3 ค่า โดยผา่ นความเหน็ ชอบจากสานกั งาน กศน.จังหวดั /

กทม. ดงั น้ี
2.1 คา่ เป้าหมายในประเดน็ ข้อท่ี 1 เปน็ การกาหนดจานวนผูเ้ รยี นหรือผเู้ ข้ารับการอบรมที่คาดว่า

จะมีความรู้ ความเขา้ ใจตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.2 คา่ เป้าหมายในประเดน็ ขอ้ ที่ 2 เป็นการกาหนดจานวนผู้เรียนหรอื ผเู้ ข้ารับการอบรมที่คาดว่า

จะมีการนาความรู้ ความเขา้ ใจตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในการดารงชีวติ
2.3 ค่าเปา้ หมายในประเด็นข้อที่ 5 เปน็ การกาหนดจานวนผเู้ รยี นหรือผู้เข้ารบั การอบรมที่คาดว่า

จะมีการนาความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดารงชีวิต ที่สามารถเป็น
ตวั อย่างทดี่ ี หรอื ตน้ แบบได้

3. สถานศกึ ษาต้องมีขอ้ มูลสารสนเทศการจัดการศึกษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของผู้เรียน
หรือผู้เข้ารับการอบรม เชน่ การวัดผลประเมนิ ผลการเรียน การลงทะเบยี น ผจู้ บหลักสูตร และความพึงพอใจ เป็นต้น
เพอ่ื ใชใ้ นการอ้างองิ ผลการดาเนินงาน และพฒั นางาน

4. สถานศึกษาต้องจดั ใหม้ กี ารติดตามผเู้ รยี นหรือผเู้ ขา้ รบั การอบรมทเี่ รยี นหลักสตู ร ต้ังแต่ 6 ชั่วโมงขึน้ ไป
หลังจากจบหลกั สตู รภายในระยะเวลา 1 เดอื น วา่ มีการปฏิบัตติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

5. สถานศึกษาควรส่งเสรมิ สนับสนุนให้ผเู้ รยี นหรอื ผู้เขา้ รบั การอบรมได้เขา้ ร่วมกิจกรรมท่ีเกย่ี วกับการจัด
การศึกษาเพอื่ การดารงชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั หน่วยงานภาครฐั เอกชน ชมุ ชน และทอ้ งถนิ่

33

ตัวบง่ ชี้ 1.6 ผูเ้ รยี นหรอื ผ้เู ข้ารับการอบรมสามารถใชเ้ ทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม

ประเภท  ปัจจัยปอ้ น  กระบวนการ  ผลผลติ /ผลลัพธ์

นา้ หนักคะแนน 5 คะแนน

คาอธิบายตวั บ่งช้ี 1.6 ผเู้ รยี นหรือผู้เขา้ รบั การอบรมสามารถใช้เทคโนโลยีได้อยา่ งเหมาะสม
ความสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสมของผู้เรยี นหรือผู้เข้ารับการอบรม พิจารณาจากความรู้ใน

การใช้เทคโนโลยี และสามารถนาความรู้มาประยุกต์ใชใ้ นการแกป้ ญั หาและพฒั นาการดารงชวี ิต หรอื การประกอบ

อาชีพได้อย่างเหมาะสม
ประเดน็ การพิจารณา
การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น

รายประเด็น ดงั นี้
1. ผเู้ รยี นหรอื ผู้เขา้ รบั การอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจ และมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ไปตาม

ค่าเปา้ หมายที่กาหนดหรือไม่

2. ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม สามารถนาความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการดารงชีวิต หรือ
การประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม ตามคาอธิบายตัวบ่งชี้ 1.6 เป็นไปตามค่าเป้าหมายทีก่ าหนดหรอื ไม่

3. สถานศึกษามีการประเมินผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมและมีการติดตามการนาความรู้ไปใช้ตาม

คาอธิบายตวั บง่ ช้ี 1.6 ท่ีนา่ เชื่อถอื ชัดเจนอยา่ งไร
4. สถานศึกษามีการดาเนินงานท่สี อดคลอ้ งกับ นโยบายและจุดเนน้ ของสานักงาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น

ของกระทรวงศึกษาธิการ /ยทุ ธศาสตรแ์ ละเปา้ หมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร

5. สถานศึกษามีผู้เรยี นหรอื ผู้เข้ารับการอบรมท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบตามคาอธิบายตัวบ่งช้ี 1.6
หรอื ไม่ อยา่ งไร

34

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเดน็ 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน

1. ผ้เู รยี นหรอื ผู้เข้ารับการอบรม ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม

มีความรู้ ความเข้าใจ และมี มีความรู้ ความเข้าใจ และมี มีความรู้ ความเข้าใจ และมี มีความรู้ ความเข้าใจ และมี

ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

เป็นไปตามคา่ เปา้ หมายทกี่ าหนด เปน็ ไปตามค่าเป้าหมายที่กาหนด น้อยกว่าค่าเป้าหมายที่กาหนด น้อยกวา่ ร้อยละ 50 ของค่าเปา้ หมาย

หรอื ไม่ แตม่ ากกวา่ ร้อยละ 50 ทกี่ าหนด

2. ผูเ้ รยี นหรอื ผู้เข้ารับการอบรม ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม

ส ามาร ถ น าค วาม รู้ ไป ใช้ ใน ส าม าร ถ น าค วาม รู้ไป ใช้ ใน ส าม าร ถ น าค วาม รู้ไป ใช้ ใน ส าม าร ถ น าค วาม รู้ไป ใช้ ใน

ก าร แ ก้ ปั ญ ห า แ ล ะ พั ฒ น า ก า ร แ ก้ ปั ญ ห าแ ล ะ พั ฒ น า ก า ร แ ก้ ปั ญ ห าแ ล ะ พั ฒ น า ก า ร แ ก้ ปั ญ ห าแ ล ะ พั ฒ น า

การดารงชวี ิต หรือการประกอบ การดารงชีวิต หรือการประกอบ การดารงชีวิต หรือการประกอบ การดารงชีวติ หรือการประกอบ

อาชีพได้อย่างเหมาะสม ตาม อาชีพได้อย่างเหมาะสม เป็นไป อาชีพไดอ้ ยา่ งเหมาะสม น้อยกว่า อาชีพได้อย่างเหมาะสม น้อยกว่า

คาอธบิ ายตัวบง่ ช้ี 1.6 เป็นไปตาม ตามคา่ เป้าหมายที่กาหนด คา่ เปา้ หมายทกี่ าหนดแต่มากกว่า ร้ อยละ 50 ของค่ าเป้ าหมาย

คา่ เป้าหมายทีก่ าหนดหรือไม่ รอ้ ยละ 50 ท่กี าหนด

3. สถานศึกษามีการประเมิน สถานศึกษามีหลักฐานร่องรอย สถานศึกษามีหลักฐานร่องรอย สถานศึกษามีหลักฐานร่องรอย

ผู้เรียนและมีการติดตามการนา ท่ีเป็ นเหตุเป็นผล น่าเชื่อถือ ท่ีเป็ นเหตุเป็นผล น่าเชื่อถือ ที่เป็ นเหตุเป็นผล น่าเชื่อถือ

ค วามรู้ไป ใช้ ต ามค าอธิบ าย ในการประเมินการเรียนรู้ของ ในการประเมินการเรียนรู้ของ ในการประเมินการเรียนรู้ของ

ตัวบ่งชี้ 1.6 ที่น่าเชื่อถือ ชัดเจน ผู้เรียนทุกคนและมีการติดตาม ผู้เรียนทุกคนและมีการติดตาม ผ้เู รยี นทุกคน แตไ่ มม่ ีการติดตาม

อยา่ งไร ผเู้ รยี นทุกกลุม่ ผเู้ รยี นไมค่ รบทุกกลุ่ม ผ้เู รยี น

4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศกึ ษาอธบิ ายการดาเนินงาน สถานศกึ ษาอธิบายการดาเนินงาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย

ท่ี สอดคล้ องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกั บ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกั บ นโยบายและ การดาเนินงานที่สอดคล้องกับ

จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจดุ เน้นของสานักงาน

น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ

ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร /

ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ

แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี

อย่างไร ได้อยา่ งชัดเจน ได้ แต่ไม่ชดั เจน ได้

5. สถานศึกษามีผู้เรียนหรือผู้เข้า สถานศึกษามีผู้เรียนหรือผู้เข้า สถานศึกษามีผู้เรียนหรือผู้เข้า สถานศึกษาไม่มีผู้เรียนหรือผู้เข้า

รับการอบรมที่เป็นตัวอย่างที่ดี รับการอบรมที่เป็นตัวอย่างท่ีดี รับการอบรมท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดี รับการอบรม หรือ มีผู้เรียนหรือ

ห รือต้ นแบ บ ต ามค าอธิบ าย หรือต้นแบบในการนาความรู้ไป หรือต้นแบบในการนาความรู้ไป ผู้เข้ารบั การอบรมทีเ่ ป็นตัวอย่าง

ตัวบ่งชี้ 1.6 หรือไม่ อยา่ งไร ใชส้ งู กวา่ ค่าเปา้ หมายท่ีกาหนด ใช้เป็นไปตามค่าเป้าหมายท่ี ที่ ดี ห รื อต้ น แ บ บ ในก ารน า

กาหนด ค ว า ม รู้ ไป ใ ช้ / ป ระ ยุ กต์ ใช้

แต่ตา่ กวา่ ค่าเปา้ หมายท่ีกาหนด

ตารางเทียบคะแนนระดบั คณุ ภาพ ตอ้ งปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีมาก
1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00
ระดับคณุ ภาพ ต้องปรับปรงุ เร่งด่วน
คะแนน 0.00 0.50 1.00

35

แนวทางการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา
1. สถานศึกษาต้องจัดการศึกษาด้านการใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน

หรือผูเ้ ข้ารับการอบรม
2. สถานศึกษาต้องกาหนดคา่ เป้าหมาย จานวน 3 คา่ โดยผ่านความเหน็ ชอบจากสานกั งาน กศน.จังหวัด/

กทม. ดังนี้
2.1 คา่ เปา้ หมายในประเด็นขอ้ ที่ 1 เปน็ การกาหนดจานวนผเู้ รียนหรอื ผู้เข้ารับการอบรมที่คาดว่า

จะมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
2.2 คา่ เปา้ หมายในประเดน็ ข้อที่ 2 เปน็ การกาหนดจานวนผ้เู รียนหรือผู้เข้ารบั การอบรมท่ีคาดว่า

จะมีการนาความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาและพฒั นาการดารงชีวติ หรอื การประกอบอาชพี ไดอ้ ย่างเหมาะสม
2.3 ค่าเป้าหมายในประเดน็ ข้อท่ี 5 เป็นการกาหนดจานวนผเู้ รียนหรอื ผเู้ ข้ารับการอบรมท่ีคาดว่า

จะมีการนาความรู้ไปใช้ในการแก้ปญั หาและพฒั นาการดารงชีวิตหรอื การประกอบอาชีพ และสามารถเป็นตวั อย่าง
ที่ดี หรือตน้ แบบได้

3. สถานศึกษาต้องมีข้อมลู สารสนเทศการจัดการศึกษาดา้ นการใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมของผ้เู รียนหรือ
ผู้เข้ารับการอบรม เชน่ การวดั และประเมนิ ผลการเรียน การลงทะเบยี น ผ้จู บหลกั สูตร และความพึงพอใจ เปน็ ต้น
เพ่ือใช้ในการอ้างองิ ผลการดาเนนิ งาน และพฒั นางาน

4. สถานศึกษาตอ้ งจัดให้มีการติดตามผู้เรยี นหรอื ผเู้ ขา้ รบั การอบรมทเี่ รยี นหลกั สูตร ตงั้ แต่ 6 ชวั่ โมงขนึ้ ไป
หลังจากจบหลักสูตรภายในระยะเวลา 1 เดือน ว่ามีการนาความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาและการดารงชีวิต หรือ
การประกอบอาชีพ

5. สถานศึกษาควรส่งเสริม สนบั สนนุ ให้ผ้เู รยี นหรือผู้เข้ารบั การอบรมได้เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเี่ กี่ยวกับการใช้
เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม รว่ มกับหนว่ ยงานภาครฐั เอกชน ชมุ ชน และท้องถ่นิ

36

การศึกษาตามอธั ยาศัย
ตัวบง่ ชี้ 1.7 ผรู้ บั บรกิ ารได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกจิ กรรม/โครงการ

การศึกษาตามอธั ยาศยั

ประเภท  ปัจจัยป้อน  กระบวนการ  ผลผลิต/ผลลัพธ์

น้าหนกั คะแนน 5 คะแนน

คาอธบิ ายตัวบง่ ชี้ 1.7 ผูร้ บั บรกิ ารไดร้ ับความรแู้ ละ/หรอื ประสบการณจ์ ากการเขา้ รว่ มกจิ กรรม/โครงการ

การศึกษาตามอธั ยาศัย
ความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศยั ของผรู้ ับบริการ
พิจารณาจากกิจกรรมการเรยี นรใู้ นวิถีชีวติ ประจาวันของบุคคล ซง่ึ บคุ คลสามารถเลอื กท่ีจะเรยี นรไู้ ด้อย่างต่อเนื่อง

ตลอดชีวติ ตามความสนใจ ความตอ้ งการ โอกาส ความพร้อม และศกั ยภาพในการเรยี นรขู้ องแตล่ ะบุคคล
ประเดน็ การพิจารณา
การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น

รายประเดน็ ดังน้ี
1. ผรู้ ับบรกิ ารเขา้ ร่วมกจิ กรรม/โครงการการศึกษาตามอธั ยาศยั เป็นไปตามคา่ เป้าหมายท่ีกาหนดหรอื ไม่
2. ผรู้ บั บริการทไี่ ดร้ บั ความรแู้ ละ/หรือประสบการณจ์ ากการเขา้ รว่ มกิจกรรม/โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศยั

เปน็ ไปตามคา่ เปา้ หมายท่ีกาหนดหรือไม่
3. สถานศึกษามีวิธีการหาร่องรอยหลักฐานที่แสดงว่าผู้รับบริการมีความรู้และหรือประสบการณ์ที่

นา่ เชอ่ื ถืออย่างไร

4. สถานศึกษามีการดาเนินงานทส่ี อดคลอ้ งกับ นโยบายและจุดเน้นของสานกั งาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น
ของกระทรวงศึกษาธิการ /ยทุ ธศาสตรแ์ ละเป้าหมายของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี อยา่ งไร

5. สถานศกึ ษามีผู้รับบริการทเี่ ป็นตัวอย่างทด่ี ี หรอื ตน้ แบบตามคาอธิบายตัวบ่งชี้ 1.7 หรือไม่ อยา่ งไร

37

เกณฑก์ ารให้คะแนน

ประเด็น 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน

1. ผู้รับบรกิ ารเข้าร่วมกิจกรรม/ ผ้รู ับบริการเป็นไปตามค่าเป้าหมาย ผู้รับบรกิ ารนอ้ ยกวา่ คา่ เปา้ หมาย ผู้รับบริการน้อยกว่าร้อยละ 50

โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ที่กาหนด ทกี่ าหนดแต่มากกว่าร้อยละ 50 ของคา่ เปา้ หมายที่กาหนด

เปน็ ไปตามค่าเป้าหมายท่ีกาหนด

หรอื ไม่

2. ผู้รับบริการท่ีได้รับความรู้ ผู้รับบริการท่ีได้รับความรู้และ/ ผู้รับบริการท่ีได้รับความรู้และ/ ผู้รับบริการที่ได้รับความรู้และ/

และ/หรือประสบการณ์ จาก หรือประสบการณ์ เป็นไปตาม หรือประสบการณ์ น้อยกว่า หรือประสบการณ์ น้อยกว่า

การเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ คา่ เป้าหมายทก่ี าหนด ค่าเป้าหมายที่กาหนดแต่มากกว่า ร้อยละ 50 ของค่าเป้าหมาย

การศึกษาตามอัธยาศยั เป็นไปตาม ร้อยละ 50 ทีก่ าหนด

คา่ เปา้ หมายทก่ี าหนดหรอื ไม่

3. ส ถ าน ศึ กษ ามี วิ ธีก าร ห า สถานศึกษามีหลักฐานร่องรอย สถานศึกษามีหลักฐานร่องรอย ส ถ าน ศึ ก ษ า ไม่ มี ห ลั ก ฐ า น

ร่องรอยห ลักฐานท่ีแสดงว่า ที่เป็นเหตุเป็นผล น่าเช่ือถือ ท่ีเป็นเหตุเป็นผล น่าเชื่อถือ ร่ อ งร อ ย ที่ เป็ น เห ตุ เป็ น ผ ล

ผู้รับบริการมีความรู้และหรือ ในการเรียนรู้ของผู้รับบริการ ในการเรียนรู้ของผู้รับบริการ น่าเชื่อถือ ในการเรียนรู้ของ

ป ร ะ ส บ ก าร ณ์ ท่ี น่ าเชื่ อ ถื อ ทกุ โครงการ/ทุกกจิ กรรม บางโครงการ/บางกิจกรรม ผู้รับบรกิ าร

อยา่ งไร

4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษาอธิบายการดาเนินงาน สถานศึกษาอธบิ ายการดาเนินงาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย

ท่ี สอดคล้องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ ท่ี สอดคล้องกับ นโยบายและ การดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับ

จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจุดเน้นของสานกั งาน

น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ

ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร /

ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ

แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี

อยา่ งไร ได้อย่างชัดเจน ได้ แตไ่ ม่ชัดเจน ได้

5. สถานศึกษามีผู้รับบริการ ส ถ าน ศึ กษ ามี ผู้ เรี ย น ท่ี เป็ น ส ถ าน ศึ กษ ามี ผู้ เรี ย น ที่ เป็ น สถานศึกษาไม่มีผู้เรียน หรือมี

ที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบ ตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบ ใน ตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบ ใน ผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างท่ีดี หรือ

ตามคาอธิบายตวั บ่งช้ี 1.7 หรือไม่ การน าค วาม รู้ ไป ใช้ สู งก ว่ า การนาความรู้ไปใช้เป็นไปตาม ต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้/

อยา่ งไร ค่าเป้าหมายทกี่ าหนด ค่าเป้าหมายทีก่ าหนด ประยุกต์ใช้ แต่ต่ากว่าค่าเป้าหมาย

ทีก่ าหนด

ตารางเทียบคะแนนระดับคุณภาพ ต้องปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีมาก
1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00
ระดบั คณุ ภาพ ตอ้ งปรับปรุงเร่งด่วน
คะแนน 0.00 0.50 1.00

38

แนวทางการดาเนินงานของสถานศกึ ษา
1. สถานศกึ ษาตอ้ งจดั การศึกษาตามอธั ยาศัยในลักษณะของกิจรรม/โครงการ ใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการ

ของผู้รับบรกิ าร
2. สถานศึกษาตอ้ งกาหนดคา่ เป้าหมาย จานวน 3 คา่ โดยผ่านความเหน็ ชอบจากสานักงาน กศน.จงั หวัด/

กทม. ดังนี้
2.1 ค่าเป้าหมายในประเดน็ ข้อที่ 1 เปน็ การกาหนดจานวนผ้รู บั บริการท่ีคาดวา่ จะเข้าร่วมกจิ กรรม/

โครงการการศึกษาตามอธั ยาศยั
2.2 คา่ เป้าหมายในประเดน็ ขอ้ ท่ี 2 เป็นการกาหนดจานวนผู้รบั บรกิ ารที่คาดว่าจะได้รบั ความรแู้ ละ/

หรือประสบการณ์จากการเข้ารว่ มกจิ กรรม/โครงการการศึกษาตามอธั ยาศยั
2.3 ค่าเป้าหมายในประเดน็ ข้อท่ี 5 เป็นการกาหนดจานวนผู้รับบรกิ ารที่คาดว่าจะมีการนาความรู้และ/

หรอื ประสบการณ์จากการเขา้ รว่ มกจิ กรรม/โครงการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ไปใช/้ ประยกุ ต์ใช้ และสามารถเป็นตวั อย่าง
ที่ดี หรอื ต้นแบบได้

3. สถานศึกษาต้องมขี ้อมูลสารสนเทศการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย เช่น กิจกรรม/โครงการ การรายงานผล
สรุปผลการดาเนินงาน ผลการติดตาม และความพึงพอใจ เป็นต้น เพ่ือใช้ในการอ้างอิงผลการดาเนินงาน และ
พฒั นางาน

4. สถานศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้รับบริการได้เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ ท่ีเกี่ยวกับการจัด
การศกึ ษาตามอัธยาศยั ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ชมุ ชน และท้องถ่นิ

39

มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจดั การศึกษา/การใหบ้ รกิ าร
คาอธบิ ายมาตรฐาน

คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ พิจารณาจากปัจจัยป้อนและกระบวนการที่ส่งผลให้ผู้เรียน/
ผ้รู ับบริการ มีคุณภาพตามจุดมงุ่ หมายของหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช
2551 หลกั สูตรการศึกษาต่อเนอ่ื ง และการจดั กิจกรรมตามอธั ยาศยั ของสถานศึกษา ตามตวั บง่ ชี้ ดงั ต่อไปน้ี

การศึกษาข้นั พื้นฐาน
2.1 คุณภาพครกู ารศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
2.2 คณุ ภาพของหลักสูตรสถานศกึ ษา
2.3 คณุ ภาพสอื่ ตามหลักสตู รสถานศึกษา
2.4 คณุ ภาพการจดั กระบวนการเรียนร้ตู ามหลกั สตู รสถานศึกษา
การศึกษาต่อเนื่อง
2.5 คุณภาพวิทยากรการศึกษาตอ่ เน่ือง
2.6 คุณภาพของหลักสตู รและส่ือการศกึ ษาต่อเนอื่ ง
2.7 คณุ ภาพการจัดกระบวนการเรยี นรกู้ ารศึกษาต่อเน่อื ง
การศึกษาตามอัธยาศยั
2.8 คณุ ภาพผู้จดั กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย
2.9 คุณภาพกระบวนการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย

40

มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจดั การศึกษา/การใหบ้ ริการ
การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

ตวั บง่ ช้ี 2.1 คณุ ภาพครกู ารศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

ประเภท  ปจั จัยป้อน  กระบวนการ  ผลผลิต/ผลลพั ธ์

นา้ หนักคะแนน 5 คะแนน

คาอธบิ ายตวั บง่ ช้ี 2.1 คุณภาพครกู ารศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

ครกู ารศึกษาข้นั พ้ืนฐาน หมายถงึ บคุ คลท่ีได้รบั การแต่งตั้งจากสถานศึกษาให้ทาหน้าท่จี ัดกระบวนการเรียนรู้
การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

คุณภาพครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง ครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน มคี วามรู้ ความเข้าใจทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับ

การบรหิ ารจดั การและการใช้หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ไดอ้ ย่าง
มีคุณภาพ สามารถจัดการเรียนรู้ ผลิตหรือเลือกใช้สื่อเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน และมีวิธีการวัดและ
ประเมินผลทีห่ ลากหลาย สอดคลอ้ งกบั จดุ หมายของหลักสตู ร

ประเด็นการพิจารณา
การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น
รายประเดน็ ดงั นี้

1. สถานศึกษามีการดาเนินงานที่เป็นกระบวนการในการส่งเสริมและหรือพัฒนาครูการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ให้มีคณุ ภาพอยา่ งไร

2. สถานศกึ ษาทราบได้อยา่ งไรวา่ ครูการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน มีความร้ตู ามท่ีไดร้ ับการพฒั นา

3. สถานศึกษามีครูการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ที่มีคณุ ภาพตามสง่ิ ท่ีไดร้ บั การพัฒนาจานวนเท่าใด
4. สถานศึกษามีการดาเนินงานที่สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเนน้ ของสานกั งาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น
ของกระทรวงศกึ ษาธิการ /ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี อยา่ งไร

5. สถานศึกษามีการส่งเสริมและหรอื พัฒนาครูการศึกษาขั้นพนื้ ฐานอย่างไร ท่ีเป็นต้นแบบ

41

เกณฑ์การให้คะแนน

ประเดน็ 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน

1. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึ กษาสามารถอธิบ าย สถานศึ กษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาไม่มี หรอื

ที่เปน็ กระบวนการในการสง่ เสรมิ กระบ วน การด าเนิ นงาน ใน กระบ วน การด าเนิ นงาน ใน มีการดาเนินงาน แต่ไม่สามารถ

และหรือพัฒนาครูการศึกษา ก า ร พั ฒ น า ค รู ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า ค รู ก า ร ศึ ก ษ า อธิบายกระบวนการดาเนินงาน

ขน้ั พน้ื ฐานใหม้ ีคณุ ภาพอยา่ งไร ขั้นพ้ืนฐาน ได้อย่างเป็นข้ันตอน ข้ันพ้ื นฐานได้ แต่ขาด ความ ในการพั ฒ น าค รู การศึ กษ า

เห็ นการป ฏิ บั ติ อย่ างชั ดเจน ชัดเจน ขั้นพ้นื ฐานได้

ส่งผลต่อความสาเรจ็ ได้

2. สถานศึกษาทราบได้อย่างไรว่า สถานศึกษาสามารถ อธิบ าย สถานศึกษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย

ครูการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีความรู้ วิ ธี ก าร ที่ ท าให้ ท ร าบ ว่ าค รู วิ ธี ก าร ที่ ท าให้ ท ร าบ ว่ าค รู วิ ธี ก าร ท่ี ท าให้ ท ร าบ ว่ าค รู

ตามที่ไดร้ บั การพฒั นา การศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความรู้ การศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความรู้ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีความรู้

ต า ม ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร พั ฒ น า ตามที่ได้รับการพัฒนา แต่ไม่ ตามที่ได้รับการพฒั นา

ได้อย่างชัดเจน มีความเป็นเหตุ ชัดเจน ไม่เป็นเหตเุ ป็นผล

เป็นผล เชือ่ ถอื ได้

3. สถานศึกษามีครูการศึกษา ครูการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีคุณภาพ ครูการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีคณุ ภาพ ครูการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีคณุ ภาพ

ขั้นพื้นฐาน ท่ีมีคุณภาพตามสิ่งที่ ต าม ส่ิ ง ที่ ได้ รั บ ก าร พั ฒ น า ต าม สิ่ ง ที่ ได้ รั บ ก าร พั ฒ น า ต าม ส่ิ งท่ี ได้ รั บ ก าร พั ฒ น า

ได้รับการพฒั นาจานวนเทา่ ใด มากกวา่ รอ้ ยละ 75 รอ้ ยละ 50 – 75 นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50

4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศกึ ษาอธิบายการดาเนินงาน สถานศึกษาอธิบายการดาเนินงาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย

ที่ สอดคล้ องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้ องกับ นโยบายและ ท่ี สอดคล้ องกับ นโยบายและ การดาเนินงานที่สอดคล้องกับ

จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจุดเน้นของสานกั งาน

น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ

ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร /

ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ

แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี

อย่างไร ได้อย่างชัดเจน ได้ แตไ่ มช่ ัดเจน ได้

5. สถานศึ กษามี การส่งเส ริม สถานศึกษามีกระบวนการส่งเสริม สถานศึกษามีกระบวนการส่งเสริม สถานศึกษามีกระบวนการส่งเสริม

และหรือพัฒ นาครูการศึกษา และหรือพัฒ นาครูการศึกษา และหรือพัฒ นาครูการศึกษา และหรือพัฒ นาครูการศึกษา

ขน้ั พนื้ ฐานอยา่ งไร ท่ีเป็นต้นแบบ ขนั้ พื้นฐาน ท่ีเปน็ ตน้ แบบ ขั้นพ้ืนฐาน ที่เป็นวิธีปฏิบัติท่ีดี ขัน้ พ้ืนฐาน แต่ยังไม่เปน็ วธิ ปี ฏบิ ัติ

(Best Practice) ห รือนวัตกรรม ทีด่ ี (Best Practice)

(Innovation)

ตารางเทียบคะแนนระดับคณุ ภาพ ต้องปรับปรุง พอใช้ ดี ดมี าก
1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00
ระดับคณุ ภาพ ตอ้ งปรบั ปรุงเร่งดว่ น
คะแนน 0.00 0.50 1.00

42

แนวทางการดาเนนิ งานของสถานศึกษา
1. สถานศึกษาควรจัดโครงการ หรอื กิจกรรม ท่ีส่งเสริม สนบั สนนุ ให้ครูได้รบั การพัฒนาศกั ยภาพท่ีเก่ยี วข้อง

กับการจัดการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และแลกเปลีย่ นเรียนรู้ประสบการณ์ในการทางานกับเพ่ือนร่วมงานหรอื จากบุคคลที่มี
ประสบการณ์ พร้อมท้ังการกระตุ้นให้ครูเห็นความสาคัญและเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง เพื่อพัฒนาครูให้มี
ประสทิ ธภิ าพในการจัดกระบวนการเรียนรู้

2. สถานศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุนให้ครูได้รับการพัฒนาศักยภาพท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึก ษา
ขนั้ พื้นฐาน รว่ มกับหนว่ ยงานหรอื องคก์ รทัง้ ภายในและภายนอก

3. สถานศึกษาควรจัดให้ครูได้รบั การนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดกระบวนการเรยี นรู้อย่างต่อเนอื่ ง
โดยมีการให้คาปรึกษา ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะทเ่ี ป็นประโยชนต์ ่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ เช่น พิจารณา
จากผลการปฏิบัติจริง การแสดงความคิดเห็นลงในบันทึกหลังจัดกระบวนการเรียนรู้ การแลกเปล่ียนเรยี นรูท้ ้ังที่
เปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการ เปน็ ต้น

4. สถานศึกษาควรมีข้อมลู สารสนเทศเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษา
ขัน้ พื้นฐานของครู

5. ครคู วรมีหลกั ฐาน ร่องรอย ท่ีเกิดจากการไดร้ ับการพฒั นาศักยภาพของตนเองเกี่ยวกับการจัดการศึกษา
ขัน้ พื้นฐาน เช่น เกียรติบัตร วุฒิบัตร บันทึกรายงานผลการเข้ารับการพัฒนาตนเอง แฟ้มสะสมงาน สมุดบันทึก
การปฏิบัติงาน เป็นต้น โดยกระบวนการสง่ เสรมิ และหรือพฒั นาครู เกิดเป็นนวัตกรรม (Innovation) หรือวิธปี ฏิบตั ิท่ีดี
(Best Practice) หรือเปน็ ต้นแบบทด่ี ีได้

43

ตัวบง่ ช้ี 2.2 คณุ ภาพของหลักสูตรสถานศึกษา

ประเภท  ปจั จัยป้อน  กระบวนการ  ผลผลติ /ผลลพั ธ์

น้าหนักคะแนน 5 คะแนน

คาอธิบายตวั บ่งช้ี 2.2 คณุ ภาพของหลกั สูตรสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษา หมายถึง แผนหรือแนวทางในการจัดการเรียนรู้ ซึ่งจัดทาโดยคณะบุคคลของ

สถานศึกษา และผู้ทีเ่ กี่ยวข้องเพ่ือพัฒนาผู้เรยี นให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ และส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จัก

ตนเอง มีชีวิตอยู่ในสถานศึกษา ชุมชน และสังคมอย่างมีความสุข ซึ่งต้องไม่ขัดต่อความมั่งคงของชาติ และ
สทิ ธมิ นุษยชน

คุณภาพของหลักสตู รสถานศกึ ษา พจิ ารณาจากกระบวนการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาอยา่ งเป็นระบบ

ถกู ตอ้ งตามหลักวชิ าการ มอี งค์ประกอบสาคญั ครบถ้วนเพียงพอต่อการจัดการเรียนรู้อยา่ งมคี ุณภาพ สอดคลอ้ งกับ
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 และความต้องการของผเู้ รียน บุคคล
หรือชุมชน โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษา และผ่านความเห็นชอบจาก

คณะกรรมการสถานศกึ ษา
ประเด็นการพิจารณา
การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้สถานศึกษาพิจารณา และอธิบายหรือแสดงผลการดาเนินงานเป็น

รายประเดน็ ดงั น้ี
1. สถานศึกษามีการดาเนนิ งานทเี่ ป็นกระบวนการในการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาอย่างไร
2. สถานศึกษามีการทบทวน หรือประเมนิ หลกั สตู รสถานศกึ ษาอย่างไร

3. สถานศึกษามกี ารทบทวน หรอื ตดิ ตาม หรอื ประเมินกระบวนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเพ่ือนาไป
ปรบั ปรงุ กระบวนการอย่างไร

4. สถานศกึ ษามีการดาเนินงานทสี่ อดคลอ้ งกับ นโยบายและจุดเนน้ ของสานักงาน กศน. /นโยบาย จุดเน้น

ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร /ยทุ ธศาสตร์และเปา้ หมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี อย่างไร
5. สถานศกึ ษามีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอยา่ งไร ที่เป็นต้นแบบ

44

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

ประเดน็ 1 คะแนน 0.5 คะแนน 0 คะแนน

1. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษาสามารถอธิบ าย สถานศึ กษาสามารถอธิบ าย สถานศกึ ษาไม่มี หรอื

ท่ีเปน็ กระบวนการในการพัฒนา กระ บ วนการด าเนิ นงาน ใน กระบ วน การ ด าเนิ น งาน ใน มีการดาเนินงาน แต่ไม่สามารถ

หลักสูตรสถานศกึ ษาอย่างไร การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา อธิบายกระบวนการดาเนินงานใน

ได้อย่างเปน็ ข้ันตอน มีการปฏิบัติ ได้อย่างเป็นข้ันตอน แต่ขาด การพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาได้

อย่างชัดเจน สง่ ผลต่อความสาเรจ็ ได้ ความชดั เจน

2. สถานศึกษามีการทบทวน สถานศึกษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย

หรือประเมนิ หลักสตู รสถานศึกษา วธิ ีการท่ีทาให้ทราบว่าหลักสูตร วธิ ีการท่ีทาให้ทราบว่าหลักสูตร วธิ ีการที่ทาให้ทราบว่าหลักสูตร

อย่างไร ส ถ านศึ กษ ามี คุ ณ ภ าพ ต าม ส ถ านศึ กษ ามี คุ ณ ภ าพ ต าม ส ถ านศึ กษ ามี คุ ณ ภ าพ ต าม

ค าอ ธิ บ าย ได้ อ ย่ าง ชั ด เจ น คาอธิบาย แต่ไม่ชัดเจน ไม่เป็น คาอธบิ ายได้

มคี วามเปน็ เหตเุ ป็นผล เช่ือถอื ได้ เหตเุ ปน็ ผล

3. สถานศึกษามีการทบทวน สถานศึ กษาสามารถอธิบ าย สถานศึ กษาสามารถอธิบ าย สถานศึกษาไม่มีวิธีการทบทวน

ห รื อติ ด ต าม ห รือ ป ร ะ เมิ น วธิ ีการทบทวน หรือติดตาม หรือ วธิ ีการทบทวน หรือติดตาม หรือ ห รื อ ติ ด ต าม ห รื อ ป ร ะ เมิ น

กระบวนการพัฒนาหลักสูตร ประเมิน กระบวนการพัฒนา ประเมิน กระบวนการพัฒนา กระบวนการพั ฒนาหลักสูตร

สถานศึกษาเพ่ือนาไปปรับปรุง หลักสูตรได้อย่างเป็นข้ันตอน หลักสูตรได้อย่างเป็นข้ันตอน สถานศกึ ษา

กระบวนการอย่างไร ชดั เจน แต่ไมช่ ัดเจน

4. สถานศึกษามีการดาเนินงาน สถานศึกษาอธบิ ายการดาเนินงาน สถานศึกษาอธบิ ายการดาเนนิ งาน สถานศึกษาไม่สามารถอธิบาย

ท่ี สอดคล้องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ ที่ สอดคล้องกับ นโยบายและ การดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับ

จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / จุดเน้นของสานักงาน กศน. / นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน

น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง น โ ย บ า ย จุ ด เ น้ น ข อ ง กศน. /นโยบาย จุดเน้นของ

ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร / ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร /

ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์และเป้าหมายของ

แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี

อยา่ งไร ได้อย่างชัดเจน ได้ แต่ไม่ชดั เจน ได้

5. สถานศึ กษามี การพั ฒ นา สถานศึกษามีกระบวนการ พัฒนา สถ านศึกษามีกระ บ วน การ สถ านศึกษามีกระ บ วน การ

หลักสูตรสถานศึกษาอย่างไร ท่ี หลั กสู ตรสถานศึ กษา ที่ เป็ น พัฒ นาหลักสูตรสถานศึกษา พัฒ นาหลักสูตรสถานศึกษา

เปน็ ต้นแบบ ตน้ แบบ ที ่เ ป ็น วิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ ดี ( Best แต่ยังไม่เป็นวิธีปฏิบัตทิ ่ีดี (Best

Practice) ห รื อ น ว ัต ก ร ร ม Practice)

(Innovation)

ตารางเทียบคะแนนระดบั คณุ ภาพ ตอ้ งปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก
1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00
ระดบั คณุ ภาพ ต้องปรบั ปรุงเร่งดว่ น
คะแนน 0.00 0.50 1.00

45

แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา
1. สถานศึกษาควรให้บคุ ลากรท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานทุกคน มีส่วนรว่ มในการพัฒนา

หลกั สตู รสถานศกึ ษา
2. สถานศึกษาจัดให้มีกระบวนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรรายวิชาเลือก ซึ่งอาจใช้

กระบวนการ หรือรปู แบบทห่ี ลากหลาย เช่น การอบรมเชิงปฏิบตั ิการ การถอดบทเรยี น องคค์ วามรู้ เปน็ ตน้
3. สถานศึกษาควรมีการทบทวน ติดตาม หรือประเมินการใช้หลกั สูตรสถานศึกษาทุก ๆ 2 ปี เพื่อพฒั นา

และปรบั ปรุงหลกั สตู รสถานศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของผู้เรยี น สถานการณค์ วามเปล่ียนแปลงท่ีสาคัญ
และเป็นไปตามบรบิ ทของสถานศึกษา เช่น การสนทนากลุ่ม การประชุม การสงั เกต การสัมภาษณ์ เป็นต้น

4. สถานศกึ ษาควรจดั ทาข้อมลู สารสนเทศเกีย่ วกบั กระบวนการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาทีเ่ หมาะสม
กบั บรบิ ทของสถานศึกษา


Click to View FlipBook Version