The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Weeravat, 2021-12-24 00:55:54

White and Grey Minimalist Annual Report

White and Grey Minimalist Annual Report

วารสาร ซี แวลู
ปีที่1 ฉบับที่ 1 มกราคา พ.ศ. 2565

ภาระกิจต่อสังคม

บทบาทที่ช่วยเหลือและสนุนกิจกรรมที่เป็น
ประโยชน์ต่อสังคม

การเติบโตทางธุริจ

การขยายตัวทางเศรษฐกิจ การลงทุน เพิ่มกำลัง
การผลิต

กลุ่ม บมจ. ซี แวลู

วารสาร ซี แวลู

รวบรวมสาระสำคัญ ข่าวสาร และกิจกรรมในปีที่ผ่านมา
อยู่ในรูปแบบหนังสือ เพื่ อให้ผู้สนใจ สามารถเข้าถึงข้อมูล

ได้อย่างสะดวกมายิ่งขึ้น

" พ ร้ อ ม เ ปิ ด แ ผ น ง า น สำ คั ญ เ พื่ อ เ ต รี ย ม ค ว า ม
พ ร้ อ ม ใ ห้ ภ า ค ธุ ร กิ จ เ พิ่ ม ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น

ก า ร แ ข่ ง ขั น ผ ลั ก ดั น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ห ลั ง
ส ถ า น ก า ร ณ์ ก า ร แ พ ร่ ร ะ บ า ด โ ค วิ ด "

ดร.พจน์ อร่ามวัฒนานนท์
กรรมการบริหาร กลุ่ม บมจ. ซี แวลู

ส า ร บั ญ

01

ถอดบทเรียน ซี แวลู

"ความท้าทาย วันนี้คือ เราจะป้ องกันความเสี่ยงจากด้านนอก
ประเทศได้อย่างไร"

บทเรียนโควิดสมุทรสาคร หน้า 02

ลดเลี่ยงใช้ลดเสี่ยง ใช้ระบบออโตเมชั่น หน้า 03

ปี นี้เหนื่อยกว่าปี ก่อน หน้า 04

ตู้ขาด เหล็กแพง หน้า 05

ตลาดส่งออกยังแพงอยู่ หน้า 06




02

ซี แวลูฯ ร่วมต้านโควิด

"บูรณาการความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน
ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหาการแพร่ ระบาดไวรัสโควิด-19"

Kickoff Factory Sandbox หน้า 08
อาหารกลางวัน แบ่งปั น เจ้าหน้าที่สาธารณสุข หน้า 11
ส่งมอบกำลังใจ สู้ภัยโควิดสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสาคร หน้า 12
หน้า 13
3 สมาคมร่วมสนับสนุนอุปกรณ์การแพทย์ หน้า 14
ยูนิคอร์ด ส่งมอบรถกระบะ หน้า 15
หน้า 16
สนับสนุนภารกิจ ร.พ.สมุทรสาคร หน้า 17
ผนึกกำลังใจ ช่วยแคมป์ ก่อสร้าง

Factory practice

03 หน้า 18
หน้า 22
เดินหน้าขยายฐานการผลิตผลิตสัตว์ หน้า 24

"รุกหน้าขยายโรงงานเพิ่มป้ อนตลาดส่งออก"

ปลุกพลังส่งออก พลิกเศรษฐกิจไทย
รุกหน้าขยายโรงงานเพิ่มป้ อนตลาดส่งออก

บริษัท ยูนิคอร์ด จำกัด (มหาชน) สาขา 3

ถอดบทเรียน “ซีแวลู”

ยักษ์ ปลากระป๋องฝ่ าโควิดระลอก 3

การระบาดของโควิด-19 ระลอกใหม่ได้สร้างความเสียหายให้กับอุตสาหกรรมผลิตอาหาร จากการติดเชื้อของแรงงานใน
โรงงานแพร่กระจายจากโรงงานหนึ่งไปอีกโรงงานหนึ่ง ด้วยข้อจำกัดในการควบคุมการเคลื่อนย้ายแรงงาน การขาดแคลนวัคซีน
เกิดคลัสเตอร์ใหม่ ๆ ขึ้นที่ จ.เพชรบุรี-สระบุรี-ตรัง-สมุทรปราการ “ประชาชาติธุรกิจ” สัมภาษณ์ นายอมรพันธุ์ อร่ามวัฒนา
นนท์ รองประธานกรรมการผู้จัดการอาวุโส บริษัท ซีแวลู จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ยูนิคอร์ด จำกัด (มหาชน) ผู้ผลิตปลากระ
ป๋ องแบรนด์ “ซูเปอร์ ซีเชฟ” หนึ่งในโรงงานขนาดใหญ่ที่เผชิญกับโควิดระลอก 2 จนถึงปั จจุบันมีวิธีเตรียมรับสถานการณ์
อย่างไร

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 01

บทเรียนโควิดสมุทรสาคร

มาตรการดู แลกวดขั นภายในพื้ นที่ ทำงานเป็ นเรื่ องที่ สำคั ญที่ สุ ด

ต้องดูให้มีความสะอาดตลอดเวลายังเป็ นหัวใจสำคัญอยู่ ดังนั้น “ความท้าทาย” วันนี้ก็คือ เราจะป้ องกันความเสี่ยง
แต่อย่างหนึ่งที่เห็นก็คือแรงงานพม่าในสมุทรสาครทำได้ดี มี
ความตระหนักสูงมากจากบทเรียนที่เจอโควิดระลอกที่แล้ว จากด้านนอกประเทศได้อย่างไร ทำอย่างไรไม่ให้แรงงาน
มันไม่สนุก หลายคนผ่านการควอรันทีนมา กลายเป็ นไมนด์
เซตของพวกเขาในการป้ องกันตัวเองค่อนข้างดี แต่ที่ปฏิเสธ เถื่อนไหลเข้ามา หรือถึงจุดหนึ่งอาจต้องรับสภาพหรือให้
ไม่ได้ในวันนี้ก็คือ ยังมีแรงงานเถื่อนเข้ามาในประเทศโดย
เฉพาะแรงงานชาวพม่าที่ประเทศกำลังเผชิญกับความ แรงงานเถื่อนขึ้นทะเบียนได้ เพื่อทำให้รู้ว่าอยู่ตรงไหน
วุ่นวายทางการเมืองมีคนพม่าไหลเข้ามาอยู่แล้ว
อย่างไรและสามารถดูแลได้ง่ายขึ้น ผมจึงอยากจะฝากว่า จะ

หาข้อบังคับหรือกฎหมายอะไรที่จะมาช่วยให้แรงงาน

ต่างด้าวเข้าถึงวัคซีนให้ได้ ตอนนี้วัคซีนคงมาแต่จะมาถึง

แรงงานต่างด้าวเมื่อไร

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 03

ถ อ ด บ ท เ รี ย น ปั จจุบันภาพรวมการจ้างแรงงานในบริษัทมีประมาณ 15,000 คน เป็ น
แรงงานต่างด้าว 90% คนไทย 10% หรือประมาณ 1,500 คน หลังจากเกิด
“ ซี แ ว ลู ” ยั ก ษ์ ป ล า ก ร ะ ป๋ อ ง ฝ่ า ปั ญหาการแพร่ระบาดของโควิดระลอก 2 ที่สมุทรสาครก็มีแรงงานจำนวน
หนึ่งเท่านั้นที่ได้รับการฉีดวัคซีนไปแล้วประมาณ 600-700 คน เรียกว่า “คน
โ ค วิ ด ร ะ ล อ ก 3 เหล่านี้โชคดี” ส่วนที่ยังไม่ได้ฉีดวัคซีนเราก็พยายามประชาสัมพันธ์ตลอด
เวลาเพราะเราคือกลุ่มเสี่ยงกลุ่มแรก ขอให้ลงทะเบียนกับทางภาครัฐด่วน
คาดว่าไม่เกินเดือนสิงหาคมคงมีคนไทยครึ่งหนึ่งได้รับการฉีดวัคซีน

ลดเสี่ยงใช้ระบบออโตเมชั่น

คงปฏิเสธไม่ได้ว่าเราต้องมีภาระต้นทุนการบริหารจัดการความเสี่ยงเพิ่ มขึ้น
จากปั จจุบัน เราก็มีปั จจัยเสี่ยงหลาย ๆ อย่างอยู่แล้ว แต่บทเรียนเรื่องนี้ทำให้
เราต้องถอยมาก้าวหนึ่งเพื่อดูว่าต้องพัฒนาเปลี่ยนแปลงอย่างไร เราต้อง
มองข้ามโควิดไปว่าทำอย่างไรให้แรงงานข้างในโรงงานทำงานได้อย่าง
ปลอดภัยมากขึ้น แทนที่จะมานั่งตื่นเต้นว่าโควิดจะกลับมาระบาดอีกทีเมื่อไร
ผมขอยกตัวอย่างเช่น การบริหารจัดการความหนาแน่นในโรงงาน เมื่อก่อน
ตอนที่ไม่มีโรคระบาดอาจมีความหนาแน่นสูง แต่พอเรื่องนี้เกิดขึ้นเราต้อง
กลับมามองว่า พื้นที่หนึ่ง ๆ มีคนเยอะไปหรือไม่ ดูว่ามีโอกาสจะลงทุนส่วนใด
ลดการใช้คนได้บ้างไหมในส่วนงานไหน ทำให้ลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการผลิต โดยเราลงทุนนำระบบออโตเมชั่นมาเสริมบางจุด ตรงนี้ถือเป็ น
การทรานส์ฟอร์มธุรกิจ เอาระบบออโตเมชั่นมาใช้งานมากขึ้น อาจจะไม่ใช่
100% แต่เราจะพยายามนำมาใช้เป็ น hybrid ระหว่างเครื่องจักรอัตโนมัติ
และแรงงาน เพื่อให้เสริมซึ่งกันและกัน เช่น แวร์เฮาส์ ส่วนไลน์การผลิตยัง
จำเป็ นต้องพึ่งพาทักษะของแรงงานอยู่ เช่น การแกะกุ้ง ขูดปลา บริษัทได้วา
งงบฯลงทุนนำเครื่องจักรมาใช้ประมาณไม่เกิน 5% ของยอดขาย ปั จจุบัน
กำลังการผลิตเดินที่ 700-750 ตันต่อวัน แบ่งเป็ นอาหารสัตว์ 35% กับ
อาหารคน 65% ส่วนฐานผลิตโรงงานของเราในฝรั่งเศสยังเดินเครื่องปกติ
จากต้นปี ที่เจอเรื่องโควิดตอนนี้นิ่งแล้ว ดีขึ้นนิดเดียวแต่ฐานการผลิตที่นั่นคิด
เป็ นสัดส่วนน้อย โอเปอเรชั่น 1,000 ล้านบาท เน้นขายในตลาดยุโรป พวก
ฟู้ ดเซอร์วิส

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 04

ปี นี้ เ ห นื่ อ ย ก ว่า ปี ก่ อ น
ถอดบทเรียน “ซีแวลู” ยักษ์ ปลากระป๋ องฝ่ าโควิดระลอก 3

ทั้งอาหารสัตว์เลี้ยง-อาหารคนยังแข็งแรง เพอร์ฟอร์แมนซ์ยังดีอยู่
เพราะไม่ได้เจอแฟกเตอร์การขึ้นราคาของต้นทุนยังไม่มี ทั้งค่าเฟด ตู้ขาด
รวมถึงเรื่องกระป๋ อง แต่ตั้งแต่ Q2 เป็ นต้นไป แฟกเตอร์ต่าง ๆ จะเข้ามาก
ระทบเต็มที่แล้วและก็อย่าลืมว่าสัญญาที่บริษัททำคอนแทร็กต์ไว้มีตั้งแต่ 3
เดือน 6 เดือน การขึ้นของต้นทุนบางตัวจึงส่งผลกับบริษัทอยู่แล้ว ทีนี้ต้อง
มาดูว่าจะมีการบริหารจัดการต้นทุนอย่างไร ตรงนี้ผมไม่ได้แตะเรื่องของ
แรงงาน แต่คิดว่า Q1-Q2 ธุรกิจของเรายังมีการเติบโตเล็กน้อย แต่ครึ่งปี
หลังยังมองยากอยู่ส่วนจะถึงเป้ า 5 ปี 30,000 ล้านบาทหรือไม่ ปี นี้เหนื่อย
กว่าปี ก่อนเป็ นสิบเท่า มีแฟกเตอร์มาให้คิดตลอดเวลา หลายเรื่องเกินจะ
ควบคุมได้ แต่บริษัทยังตั้งเป้ าไว้เหมือนเดิมที่จะผลักดันยอดขายจาก
25,000 ล้านบาทปี 2563 ให้เป็ น 30,000 ล้านบาทในปี 2565 ตามแผน
5 ปี นั่นเป็ นเพราะโรงงาน pet food ใหม่ที่ จ.สมุทรสาครเพิ่งจะเสร็จเมื่อ
กันยายนปี ที่ผ่านมานี่เอง ถ้าโรงงานใหม่เดินเครื่องเต็มกำลังการผลิตคิด
ว่าบริษัทจะมีรายได้อีก 2,500-3,000 ล้านบาท เรายังมองโอกาสเข้าซื้อ
ขายตลาดหลักทรัพย์ฯตามไปป์ ไลน์ปี 2564-2565 อยู่ แต่จริง ๆ มันก็ไม่
ต้องเร่งรีบ

ในปี นี้มียังมีการลงทุนเพิ่มต่อเนื่อง แต่คงไม่ใช่โปรเจ็กต์ใหญ่แบบปี ที่
แล้วที่ทำโรงงาน pet food กับห้องเย็นใหม่ แต่ปี นี้จะเน้นไปที่การเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิต การลดต้นทุน ใช้การปรับเปลี่ยนโครงสร้างข้างใน
มากกว่า เช่น การทำโซลาร์รูฟท็อปกับบริษัทกันกุล ใช้เงินประมาณ 1,000
กว่าล้านบาทก็เสร็จแล้ว

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 05

ตู้ขาด-เหล็กแพง

“ แ ต่ ค ง ย า ก ที่ จ ะ ดี เ ห มื อ น ใ น ช่ ว ง เราเห็นสัญญาณบางอย่างที่ไม่ปกติ เราพึ่งพาการส่งออก 95% ใน
เช่น โลจิสติกส์ ตู้คอนเทนเนอร์ขาด เห็น ประเทศ 5% ตลาดส่งออกหลัก
ที่ เ ค ย ก่ อ น โ ค วิ ด ปั จ จุ บั น เ ร า มี ตั้งแต่ Q4 ปี ที่แล้ว ตอนแรกคาดการณ์ คือ อเมริกา ซึ่งเราขายตรงให้
ก า ร ผ ลิ ต ป ล า ทู น่ า ก ร ะ ป๋ อ ง ว่า เหตุการณ์ไม่น่าจะเลวร้ายถึงขนาดนี้ กับห้างในต่างประเทศหลายแห่ง
แต่มาตอนนี้มันใกล้จะหมด Q2 แล้ว ถ้า คอนเฟิร์มกัน 3 เดือน 6 เดือน
สั ด ส่ ว น 8 0 % ป ล า ซ า ร์ ดี น แ ล ะ ให้ผมคาดการณ์สถานการณ์ตู้ขาดน่า แต่พอตอนนี้ปั ญหาตู้ขาดส่ง
จะยาวไปถึงสิ้นปี 2564 จากปกติเรา ผลกระทบ สมัยก่อนผมภูมิใจว่า
ป ล า แ ม ค เ ค อ เ ร ล ก ร ะ ป๋ อ ง 2 0 % ” เคยส่งออกไปอเมริกาค่าเฟดประมาณ บริหารสต๊อกค่อนข้างดี finish
1,500-2,500 เหรียญสหรัฐต่อตู้ “ไม่ goods อยู่ในคลังไม่เกิน 2-3

เกินนี้” แต่วันนี้ไปถึงนิวยอร์กจะต้องมี อาทิตย์ แต่ตอนนี้ต้องแบกสต๊อก
10,000 เหรียญ ค่าขนส่งขึ้นมาถึง 4 นานขึ้นเพื่ อรอตู้คอนเทนเนอร์
ส่วนปั จจัยจากราคาปลาพบว่า เท่า สินค้าทูน่ายังโชคดีกว่าสินค้าอื่น เข้ามารับสินค้า นอกจากนี้ ยังมี
เพราะมูลค่าสินค้าค่อนข้างสูง มันเกิด ปั ญหาเรื่องเหล็กทำกระป๋ องขึ้น
ต้นทุนราคาทูน่ายังทรงตัว ซาร์ดี สิ่งที่เรียกว่า logistic disruption ทั้ง ราคาตั้งแต่ช่วงปลายปี ถึง
ระบบ ทุกอย่างดีเลย์ ในอดีตปลากระ ปั จจุบัน “แผ่นเหล็ก” ขึ้นราคาไป
นกับแมคเคอเรลก็ยังอยู่ในระดับ ป๋ องหรือสับปะรดกระป๋ องสามารถนำ แล้ว 15% พอจบปี นี้ราคา
มารีบูตโปรโมตได้ตลอดเวลา แต่ตอนนี้ กระป๋ องก็อาจจะขยับขึ้นไปไกล
เกณฑ์ปกติ โดยปี ที่แล้ว (2563) ถือ เกิดความไม่แน่นอนของสต๊อกปลาย ถึง 15-20% ถือเป็ นเรื่องใหญ่
ทาง ห้างร้านต่างก็ไม่ได้โปรโมตสินค้านี้ แล้วและยังมีโอกาสขาดแคลน
เป็ นพีคของการบริโภคปลากระป๋ อง มาก ยืดการสต๊อกให้ยาวขึ้นจึงกระทบ เหล็กอีก
มาถึงว่าคำสั่งซื้อก็จะยืดออกไปอีกด้วย
ทั่วโลก มีการนำเข้ามหาศาล จนมา อย่างไรก็ตาม กลุ่มซีแวลูoยังมีฐาน
ลูกค้าที่แข็งแรง
ถึงครึ่งปี หลังหลาย ๆ ประเทศเริ่ม

กลับมาใช้ชีวิตปกติ ทำให้ฟู้ดเซอร์วิส

กับร้านอาหารน่าจะกลับมาตั้งแต่ปี ที่

แล้วเราได้อานิสงส์เชิงบวกเรื่องโค

วิด ปั จจัยทุกอย่างพร้อม ไม่ว่าจะ

เป็ นวัตถุดิบหรือโลจิสติกส์ ทุกอย่าง

พร้อมหมด ทำให้ปี ที่แล้วค่อนข้างจะ

เป็ นปี ที่ดีทั้งในแง่ การซื้อออร์เดอร์

ในแง่การส่งออก แต่พอปลาย

ไตรมาส 4/2563 จนถึงไตรมาส

1/2564

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 06

ถอดบทเรียน “ซีแวลู” ยักษ์ ปลากระป๋ องฝ่ าโควิดระลอก 3

ต ล า ด ส่ ง อ อ ก ห ลั ก ยั ง ดี อ ยู่

ปี 2563 ตลาดที่ขยับขึ้นมาก ๆ ก็คือ ตลาดอเมริกา ตลาดที่ลดลงไปเยอะ ๆ คือ ตลาดยุโรป ซึ่งอเมริกาโตติด ๆ
กันมาหลายปี แล้ว ปี นี้น่าจะเกิดคอลรีแอ็กชั่นลดลงจากปี ที่แล้วแน่นอน อาจไปอยู่ในระดับเดียวกับปี 2019 ก็มีความ
เป็ นไปได้ ส่วนตลาดยุโรปนั้นเราเสียเปรียบหลายสิบปี แล้ว ยังไม่น่าจะกลับมา ตลาดเอเชียดีขึ้น ญี่ปุ่ นดีขึ้นเล็กน้อย โดย
ภาพรวมตลาดในส่วนของอาหารคนน่าจะลดลง แต่ในตัวของอาหารสัตว์จะเติบโตสูงขึ้น โดยปี นี้สัดส่วนอาหารสัตว์
เลี้ยงโตขึ้นเป็ น 35% ในบางเดือน อาหารคนลดลงเหลือประมาณ 65% แนวโน้มเทรนด์เรื่องอาหารสัตว์เลี้ยงผมว่ายัง
ไปต่อได้อีกหลายปี

แหล่งที่มา : ประชาชาติธุรกิจ ออนไลน์

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 07

ว า ร ส า ร ซี แ ว ลู ฯ 2 5 6 4 ค รั้ ง ที่ 1 ฉ บั บ ที่ 1 ห น้ า 0 6

"ซีแวลู
ร่วมต้าน
โควิด"

KICKOFF FACTORY SANDBOX

นำ ร่ อ ง 1 6 โ ร ง ง า น ร่ ว ม บ ริ ห า ร จั ด ก า ร แ ร ง ง า น ติ ด เ ชื้ อ

นายธีรพัฒน์ คัชมาตย์ รองผู้ว่าราชการจังหวัด ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกระทรวงแรงงาน โรง

สมุทรสาคร พร้อมด้วย นายวรรณรัตน์ ศรีสุขใส รอง พยาบาลวิชัยเวช อินเตอร์เนชั่นแนล จังหวัดสมุทรสาคร

อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน นางสาวศิริ และสถานประกอบการ 16 แห่ง ที่ได้ลงนาม MOU ร่วมกัน

ลักษณ์ มณีประเสริฐ รองนายแพทย์สาธารณสุข เมื่อวันที่ 19 สิงหาคมที่ผ่านมานายธีรพัฒน์ คัชมาตย์ รอง

จังหวัดสมุทรสาคร ตลอดจนผู้แทนหน่วยงานสังกัด ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร กล่าวว่า ตามที่กระทรวง

กระทรวงแรงงาน จังหวัดสมุทรสาคร ได้เข้าตรวจเยี่ยม แรงงานได้ให้ความสำคัญต่อการบริหารจัดการผู้ติดเชื้อใน

โครงการ Factory Sandbox จังหวัดสมุทรสาคร ณ โรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งจังหวัด

บริษัท ยูนิคอร์ด จำกัด (มหาชน) ภายใต้มาตรการของ สมุทรสาคร ที่มีสถานประกอบการเป็ นอันดับต้นๆ ของ

สาธารณสุขและเศรษฐกิจ “ตรวจ รักษา ควบคุม ดูแล” ประเทศและมีผู้ใช้แรงงานเป็ นจำนวนมาก จึงได้มีแนวคิด

ของสถานประกอบกิจการและลูกจ้าง โดยมี ดร.พจน์ ริเริ่มนำร่องของประเทศไทย จัดโครงการ Factory

อร่ามวัฒนานนท์ ประธานกรรมการบริหารและ Sandbox ขึ้นมา โดยมีสถานประกอบกิจการด้านการผลิต

กรรมการผู้จัดการ นายอมรพันธุ์ อร่ามวัฒนานนท์ เพื่อส่งออกขนาดใหญ่ จำนวน 16 แห่ง ซึ่งมีลูกจ้างรวมกัน

รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส และคณะผู้บริหาร บริษัท อยู่ราวๆ 53,615 คน เข้าร่วมโครงการ ซึ่งโครงการนี้นับ

ยูนิคอร์ด จำกัด (มหาชน) ให้การต้อนรับ ซึ่งวันนี้ถือเป็ น เป็ นอีกแนวทางหนึ่งที่จะช่วยผู้ประกอบการได้เป็ นอย่าง

วันแรก (คิ๊กออฟ) การเริ่มดำเนินโครงการ Factory มาก โดยได้เริ่มดำเนินการตั้งแต่วันนี้เป็ นต้นไป

Sandbox จังหวัดสมุทรสาคร นำร่องใน 16 สถาน

ประกอบการขนาดใหญ่

ว า ร ส า ร ซี แ ว ลู ฯ 2 5 6 4 ค รั้ ง ที่ 1 ฉ บั บ ที่ 1 วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 09

| OAKRIDGE HOLDINGS

ทั้งนี้ทางโรงงานจะต้องทำการตรวจหาเชื้อจนกว่าจะครบทุกคน และหากใคร
พบเชื้อก็จะเข้าสู่กระบวนการ FAI ส่วนผู้ที่ไม่พบเชื้อหรือผลเป็ นลบ แล้วยังไม่เคย
ฉีดวัคซีน ก็จะได้รับวัคซีนเข็มแรก จากนั้นทางโรงงานจะต้องทำการตรวจหาเชื้อ
ด้วย ATK ทุกสัปดาห์

เพื่อเป็ นการตรวจสอบว่ามีพนักงานติดเชื้ออีกหรือไม่ โดยจะทำไปเรื่อยๆ จน

ครบกำหนดตามระยะเวลาถึงประมาณเดือนมกราคม 2565 หลังจากนั้นก็จะมีการ ที่มีเป้ าหมายดำเนินการควบคู่กัน
ระหว่างสาธารณสุขและเศรษฐกิจ
ประเมินเพื่อการแก้ไข ปรับปรุง หรือขยายผลต่อไป ขณะที่ นายแพทย์มงคล วณิช (ตรวจ รักษา )ควบคุม ดูแล) มี

ภักดีเดชา ผู้อำนวยการฝ่ ายบริหาร รพ.วิชัยเวชฯ บอกว่า การตรวจหาเชื้อ วัตถุประสงค์ เพื่ อบูรณาการความร่ วม
มือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนใน
แรงงานทั้งคนไทยและคนต่างด้าวตามโครงการ Factory Sandbox จังหวัด การป้ องกันและแก้ไขปั ญหาการแพร่
ระบาดไวรัสโควิด-19 ภายในสถาน
สมุทรสาครนี้ จะทำการตรวจด้วยวิธี RT-PCR (Polymerase chain reaction)
ประกอบกิจการ พร้อมทั้งสร้างสมดุล
เป็ นการ Swab เก็บตัวอย่างหลังโพรงจมูก ทราบผลภายใน 1 วัน ซึ่งมีพนักงานที่ ระหว่างมาตรการทางสาธารณสุขและ
เศรษฐกิจของจังหวัด ให้สามารถขับ
จะต้องเข้ารับการตรวจกว่า 50,000 คน โดยน่าจะทำการตรวจหาเชื้อแล้วเสร็จ เคลื่อนได้ซึ่งจะเป็ นแนวทางแบบอย่าง
ให้กับสถานประกอบกิจการทั่วประเทศ
ภายในกลางเดือนตุลาคมนี้ ส่วนการฉีดวัคซีนก็จะทยอยฉีดตามไปเรื่อยๆ เบื้องต้น ร่วมมือ ร่วมใจ ในการแก้ไขปั ญาการ
แพร่ระบาดโควิด-19 ในประเทศอย่าง
คาดว่า จะมีพนักงานที่เข้ารับการฉีดวัคซีนเข็มแรกตามโครงการนี้ประมาณ เป็ นรูปธรรม ตลอดจนยังเพื่อให้การ
บริหารทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด
25,000 คน ส่วนที่เหลือคือ คนที่ได้รับวัคซีนไปแล้ว กับผู้ที่เคยติดเชื้อโควิด -19 เกิดประโยชน์สูงสุดและตรงกลุ่มเป้ า
หมายอีกด้วย
มาแล้ว ซึ่งยังไม่ต้องรับวัคซีนภายใน 3 เดือนแรกหลังจากพ้นการกักตัว ขณะที่

วัคซีนที่โรงพยาบาลวิชัยเวชฯ ได้รับมาฉีดให้กับแรงงานในสถานประกอบการทั้ง

16 แห่งนั้น เป็ นวัคซีนชนิด แอสตร้าเซนเนก้า ที่ประกันสังคมได้รับการจัดสรรมา

สำหรับโครงการ Factory Sandbox เป็ นแนวคิดในการจัดโครงสร้างและ

กระบวนการในมาตรการ “เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข”

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 10

CSR
กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สั ง ค ม
อาหารกลางวัน แบ่งปั น เจ้าหน้าที่
สาธารณสุข

ผส่งมอบกำลังใจ สู้ภัยโควิด
สาธารณสุขจังหวัดสมุทรสาคร

3 สมาคมร่วมสนับสนุนอุปกรณ์
การแพทย์

ยูนิคอร์ด ส่งมอบรถกระบะ
สนับสนุนภารกิจ ร.พ.สมุทรสาคร

ผนึกกำลังใจ ช่วยแคมป์ ก่อสร้าง
ส่ ง ม อ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อ า ห า ร สำ เ ร็ จ รู ป

GOOD FACTORY PRACTICE

อ า ห า ร ก ล า ง วั น และสนับสนุนกิจกรรมต่างๆของทางภาครัฐ มาโดย
ตลอด และเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2564 บริษัท ยูนิ
แ บ่ ง ปั น เ จ้ า ห น้ า ที่ ส า ธ า ร ณ สุ ข
คอร์ด จำกัด (มหาชน) โดย คุณวรรณา เสริมสุวรรณ
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 ที่กลับ สุข ผู้จัดการฝ่ ายบุคคล คุณณัฐวี ดีเสมอ ผู้จัดการฝ่ าย
มาระบาดในรอบที่สองส่งผลให้คณะเจ้าหน้าที่ที่ ธุรการ พร้อมคณะ ได้เป็ นผู้แทนบริษัทฯ สนับสนุน
เกี่ยวข้องต้องทำงานกันอย่างหนักเพื่อให้ สถานการณ์ อาหารกลางวันเพื่ อมอบให้กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
นั้นกลับมาคลี่คลายได้โดยไว้โดย สาธารณสุขจังหวัด จังหวัดสมุทรสาคร ระหว่างวันที่ 16 ม.ค.-28
สมุทรสาครได้ผนึกกำลังอย่างเต็มที่ในการเข้าช่วย ก.พ.2564 มูลค่า 5.5 แสนบาท (หรือจนกว่า
เหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบในครั้งนี้ ซึ่งภายใต้สถานการณ์ สถานการณ์โควิด-19 ในจังหวัดจะดีขึ้น) โดยมี คุณศิริ
ที่น่าเป็ นห่วงนี้ ทำให้เป็ นที่กังวลของให้ฝ่ าย ทำให้การ ลักษณ์ มณีประเสริฐ นักวิชาการสาธารณสุขผู้
ดูแลควบคุมนั้นต้องขอความร่วมมือจากหน่าวยงานภา เชี่ยวชาญ (ด้านส่งเสริมพัฒนา) เป็ นผู้แทนรับมอบ
คเอกชนให้เข้ามาร่วมมือกันแก้ไข ซึ่งได้การตอบรับเป็ น เพื่อเป็ นขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของเจ้า
อย่างดีโดยหลายฝ่ ายได้ร่วมส่งเสริม หน้าที่สาธารณสุขจังหวัดสมุทรสาครต่อไป

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 12

ส่งมอบกำลังใจ สู้ภัยโควิด

ส า ธ า ร ณ สุ ข จั ง ห วั ด ส มุ ท ร ส า ค ร




ดร.พจน์ อร่ามวัฒนานนท์ ประธานกรรมการบริหารและ
กรรมการผู้จัดการ พร้อมด้วยนายอมรพันธุ์ อร่ามวัฒนา
นนท์ รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส และคณะผู้บริหาร บริษัท
ยูนิคอร์ด จำกัด (มหาชน) เข้าพบนายแพทย์สาธารณสุข
จังหวัดสมุทรสาคร นายแพทย์นเรศฤทธิ์ ขัดธะสีมา ณ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสาคร เพื่อมอบเครื่องใช้
ไฟฟ้า และผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ภายใต้แบรนด์ ซุเปอร์ ซี
เชฟ มูลค่ารวมทั้งสิ้น 121,000 บาท เพื่อเป็ นกำลังใจให้กับเจ้า
หน้าที่ปฏิบัติงานและขอขอบคุณสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
สมุทรสาครในการให้ความรู้และแนวทางการแก้ไขปั ญหาการ
แพร่ระบาดไวรัสโควิด-19 ด้วยความมุ่งมั่นและตั้งใจเสมอมา

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 13

3 สมาคม
ร่วมสนับสนุน
อุปกรณ์การ
แพทย์

10 สิงหาคม 2564 เวลา 08.55 น. ผู้แทนจากสมาคม
อาหารแช่เยือกแข็งไทย (ดร. ผณิศวร ชำนาญเวช นายก
สมาคม, คุณอนุชา เตชะนิธิสวัสดิ์ อุปนายก และ คุณชู
พงษ์ ลือสุขประเสริฐ เลขาธิการสมาคม) ร่วมด้วยสมาคม
การค้าอาหารสัตว์เลี้ยงไทย และสมาคมอุตสาหกรรมทูน่า
ไทย (คุณอมรพันธุ์ อร่ามวัฒนานนท์ กรรมการ, คุณวรวี
ร์ เอ่งฉ้วน เลขาธิการ และคุณนคร นิรุตตินานนท์) ได้เป็ น
ผู้แทน มอบเครื่องวัดออกซิเจนและเครื่องวัดอุณหภูมิ
จำนวน 2,000 ชิ้น ให้กับนายวีระศักดิ์ วิจิตร์แสงศรี ผู้ว่า
ราชการจังหวัดสมุทรสาคร โดยสืบเนื่องจากการที่รอง
ประธานหอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
(ดร.พจน์ อร่ามวัฒนานนท์) ได้นำผู้บริหารจากทั้ง 3
สมาคม เข้าร่วมหารือกับผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร
และสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสาคร เพื่อหาแนวทางการ
จัดการและป้ องกันการแพร่กระจายเชื้อไวรัส COVID-19
จากผู้ป่ วยกระจายไปยังแหล่งชุมชนและพื้นที่สาธารณะ
เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม ที่ผ่าน และทราบว่าจังหวัดอยู่
ระหว่างจัดสร้างโรงพยาบาลสนาม เพื่อเพิ่มจำนวนเตียง
ในการดูแลรักษาผู้ป่ วยกลุ่มสีเหลืองที่มีจำนวนมากขึ้นใน
ขณะนี้ แต่ยังขาดอุปกรณ์ทางการแพทย์เพื่อใช้ในโรง
พยาบาลสนาม ดังนั้น 3 สมาคมจึงขอร่วมสนับสนุนการ
ดำเนินงานของจังหวัด โดยมอบเครื่องวัดอ๊อกซิเจนและ
เครื่องวัดอุณหภูมิ จำนวน 2,000 ชุด เพื่อสาธารณสุข
จังหวัดจะนำไปใช้ประโยชน์ในการดูแลรักษาผู้ป่ วยตาม
วัตถุประสงค์ต่อไป

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 14

ยูนิคอร์ด ส่งมอบรถกระบะ

สนับสนุนภารกิจ ร.พ.สมุทรสาคร

บริษัท ยูนิคอร์ด จำกัด (มหาชน) บริจาครถกระบะพร้อมติดตั้งคอกแซม
เลส มูลค่ารวมทั้งสิ้น 550,968 บาท ให้ทางโรงพยาบาลสมุทรสาคร เพื่อใช้
งานขนย้ายสิ่งของ และใช้ในภารกิจต่างๆในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของเชื้อไวรัส Covid-19 จากสถานการณ์ดังกล่าว ทำให้โรงพยาบาล
สมุทรสาครมีภารกิจเป็ นทั้งหน่วยตั้งรับ และรับผิดชอบ “ศูนย์ห่วงใยคนสาคร”
รวมถึงการจัดตั้งศูนย์ฉีดวัคซีน จำนวน 5 ศูนย์ ในเขตพื้นที่อำเภอเมือง
สมุทรสาคร และยังมีแผนเปิ ดศูนย์ฉีดวัคซีนสำหรับภาคอุตสาหกรรมในเร็วๆ นี้
ทั้งนี้ทางบริษัทฯ จึงขอร่วมเป็ นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนและให้กำลังใจใน
ภารกิจที่โรงพยาบาลกำลังทำหน้าที่อย่างมุ่งมั่น ต่อไป

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 15

ผนึกกำลังใจ ช่วยแคมป์ก่อสร้าง

ส่งมอบผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป

สืบเนื่องจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดเชื้อไวรัส โควิด-19 ที่สร้างความเดือดร้อนให้กับประชน ส่งผลกระทบไปในวง
กว้างทั้งในเรื่องของการดำเนินชีวิตพื้นฐาน เศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา หน่วยงานทุกภาคส่วนได้ร่วมมือ
กันหาแนวทางการป้ องและการเร่งแก้ไข กันอย่างสุดความสามารถ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนที่เกิดขึ้น และจากสถานการณ์
ที่มีข่าวออกไปเกี่ยวกับการสั่งปิ ดแคมป์ คนงานก่อสร้าง ทั่วจังหวัดสมุทรสาคร ทำให้เกิดคำถามถึงมาตราการในการช่วยเหลือ
โดยเมื่อล่าสุดทางบริษัทในเครือซีแวลูฯได้เล็งเห็นความสำคัญในครั้งนี้และนที่พร้อมเป็ นหน่วยงาให้ความช่วยเหลือสนับสนุน
โดยเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 1 กรกฎคม 2564 คณะผู้บริหารและพนักงาน กลุ่มบริษัท ยูนิคอร์ด จำกัด (มหาชน) ได้จัดผลิตภัณฑ์
อาหารสำเร็จรูป ปลากระป๋ องตราบิ๊กโบล์ จำนวน 10 ลัง และข้าวถ้วยจำนวน 1,055 ถ้วย มอบให้กับกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบแคม
ป์ คนงานที่ถูกสั่งปิ ด โดยสำนักงานแรงงานจังหวัดสมุทรสาครเป็ นผู้รับมองสิ่งของ มีคุณวรรณา เสริมสุข และจะนำไปส่งต่อเพื่อ
ร่วมช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนของแรงงาน ในแคมป์ คนงานที่ถูกกักตัว จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ
ไวรัสโควิด-19 รวมมูลค่า ทั้งสิ้น 27,550 บาท

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 16

GPFAORCOATDCOTRICYE

ป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19)

กรมอนามัยและสำนักงาน อุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรสาครเข้าเยี่ยมและติดตามการประเมินมาตรฐาน Good Factory
Practice (GFP) โดยได้รับมอบหมายจาก กระทรวงอุตสาหกรรมบูรณาการร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข เข้าเยี่ยมชมและ
ติดตามการประเมินมาตรฐานการดำเนินการป้ องการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ COVID – 19 ทั้งนี้ได้ทางคณะผู้ตรวจสอบ
จำนวน 15 ท่าน ได้เข้าไปสำรวจในพื้นที่โรงอาหารเพื่อตรวจสอบการบริหารการจัดการในการควบคุมและดูแล เพื่อป้ องกันการ
แพร่ระบาดโควิด-19  ทั้งนี้ได้ทางคณะผู้ตรวจสอบ จำนวน 15 ท่าน ได้เข้าไปสำรวจในพื้นที่โรงอาหารเพื่อตรวจสอบการบริหาร
การจัดการในการควบคุมและดูแล เพื่อป้ องกันการแพร่ระบาดโควิด-19 ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ในกลุ่มพนักงานที่มีจำนวนมาก ทั้งนี้
จากการร่วมกันพู ดคุยและซักถามในประเด็นต่างๆในที่ประชุมถึงผลการดำเนินการที่ผ่านมา โดยคุณสมบัติ จันศศิธร รอง
กรรมการผู้จัดการอาวุโส เป็ นตัวแทน บริษัท ซี แวลูฯ กล่าวถึงการดำเนินงานที่ผ่านมา ว่าเราได้ตระหนักเรื่องนี้เป็ นอย่างดีและ
เน้นย้ำให้ความสำคัญอย่างสูงสุดในการนำมาตราการและแนวทางมาใช้ในองค์กร อีกทั้งยังเป็ นหน่วยงานที่คอยสนับสนุนการช่วย
เหลือทางภาครัฐในด้านต่างๆ เพื่อร่วมเป็ นส่วนหนึ่งในการปั ญหาการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด – 19 ได้อย่างเร็วที่สุด

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 18

“ ป ลุ ก พ ลั ง ส่ ง อ อ ก
พ ลิ ก เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ไ ท ย ”

หนังสือพิมพ์มติชน จัดงานสัมมนา วันที่ 22 กันยายน 2564 รูปแบบ Live
Streaming โดย นายพจน์ อร่ามวัฒนานนท์ รองประธานกรรมการหอการค้าไทย
และนายกกิตติคุณสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย หนึ่งในภาคเอกชน ที่จะพู ดถึงว่ามี
มุมมองอย่างไรในฐานะผู้ส่งออก กับความหวังเศรษฐกิจไทย

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 19

‘ หั น ห น้ า แ ล ห ลั ง ’ ซึ่งตอนนี้เขาสั่งของมีครบถ้วนหมดแล้ว ผมเชื่อว่าในเดือน
อั พ เ ก ร ด ส่ ง อ อ ก
กันยายน-ตุลาคม ยังดีอยู่มาก ในปี หน้าผมมั่นใจว่ายังโตได้
สถานการณ์การส่งออกนั้น จริงๆ เมื่อปี ที่แล้ว เมื่อเราเจอ
สถานการณ์โควิด แต่การส่งออกไม่ได้เลวร้าย ตัวเลขถ้าเทียบ ถ้าในสถานการณ์ที่รัฐบาลเร่งฉีดวัคซีน สิ่งหนึ่งที่ทาง
กับประเทศอื่นๆ เราตกต่ำน้อยที่สุด แต่ปั ญหาจริงๆ คือกา
รดิสรัปชั่นมากกว่า เช่น การชัตดาวน์โรงงานหยุดผลิต การ หอการค้าไทยผลักดันตลอดเวลาในช่วง 2-3 เดือนที่ผ่านมา
ขนส่งได้รับผลกระทบ เรือขนสินค้ากับตู้คอนเทนเนอร์ไปค้าง
อยู่ท่าเรือปลายทางเยอะมาก จนเข้าปลายปี ที่แล้ว สำหรับ การแบ่งสรรวัคซีน โดยด่วนให้กับภาคแรงงาน เราต้องแยก
ตลาดส่งออกหลักของเราไม่ว่าจะเป็ นอเมริกาเหนือ และยุโรป
จีน เริ่มคลายตัวต้นปี นี้มาต่อเนื่อง ทำให้การส่งออกเติบโต เป็ น 3 ภาค ได้แก่ 1.ภาคประชาชน หรือภาคประชาสังคม
รวดเร็วมาก จากตัวเลขเมื่อเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม ขึ้น
สูงมาก จนมาสิงหาคม บวกถึงกว่า 21% หักกลุ่มสินค้าทอง 2.ภาคของแรงงาน ทั้งไทยกับต่างด้าว เราอาศัยต่างด้าว
และพลังงาน บวกถึงกว่า 25 % ก็ถือว่าเป็ นอัตราการเติบโต
ในทิศทางที่ดี ดังนั้น ทิศทางของปี 2564 ต้องยอมรับก่อนว่า เยอะมากในขณะนี้ 3.ภาคเกษตรกร สามารถรวมกับภาค
เครื่องจักรขับเคลื่อนเศรษฐกิจของบ้านเราเกือบทั้งหมด ยัง
ติดชะงักอยู่พอควร และการส่งออกเป็ นตัวหลัก อาจมีหลาย ชุมชนได้ ที่ผ่านมารัฐบาลทุ่มวัคซีนในภาคประชาชนกับ
ท่านบอกว่าจีดีพีไม่ได้โต จึงต้องการส่งออกไปมาก อย่าลืมว่า
ในวันนี้ทุกกรณี เราต้องรักษาการส่งออกของบ้านเรา และก็ ประชาสังคมอยู่เยอะพอควร แต่ว่าภาคแรงงาน ตัวเลขในสิ้น
อย่าให้ต่ำกว่า 50% เพราะว่าเราเป็ นประเทศที่อยู่ในจุดภูมิ
เศรษฐศาสตร์ ที่เหมาะสมมากในการส่งออก เนื่องจากเรามี เดือนสิงหาคม เพิ่งจัดหาวัคซีนให้กระทรวงแรงงาน 2.5 ล้าน
ความพร้อม เรามีผลผลิต และผลิตภัณฑ์ของตัวเอง ในแง่
วัตถุดิบที่สามารถแปรรูป ไปสร้างมูลค่าในการส่งออก เสริม คน ในมาตรา 33 ของประกันสังคม ซึ่งจริงๆ มีถึงเกือบ 11
สร้างรายได้ให้ภาคประชาชน และภาคเกษตรกรอยู่เยอะ ไป
ช่วยพยุงราคา ช่วยให้เกษตรกรมีความหวัง เราจะสังเกตเห็น ล้านคน และต่างด้าวที่ถูกกฎหมาย 1 ล้านกว่าคน แต่ยังมี
ว่าช่วงหลังมีสินค้าเกษตรปรับตัว ในแง่ผลผลิตคุณภาพ ที่จะ
มาสอดคล้องกับการส่งออก ดังนั้น ผมเชื่อว่าประเทศไทยต้อง ต่างด้าวที่ถูกกฎหมายแต่อยู่นอกระบบประกันสังคมอีกเป็ น
รักษาการส่งออกไว้อยู่ โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์จากสินค้าบ้าน
เราเชื่อว่าในปี 2565 เราจะต้องโตต่อไป อัตราการโตของการ ล้านเหมือนกัน และมีแรงงานสีเทา สีดำ ตอนนี้ทางรัฐบาล
ส่งออกในเดือนสิงหาคม-ตุลาคมปี นี้ จะขยายได้ถึง 2 หลักอยู่
อาจจะ 20% บวกลบนิดหน่อย เว้นเดือนพฤศจิกายนอาจ พยายามปรับให้เข้ามาอยู่ในระบบ เพื่อที่จะหยุดการแพร่
ชะลอตัวนิดหนึ่งและเดือนธันวาคมอาจชะลอบ้าง เนื่องจาก
ใกล้เทศกาลรื่นเริงของประเทศทั่วโลก ที่ปกติจะสั่งล่วงหน้า ระบาดของโควิด ซึ่งเรารีบจัดวัคซีนดีๆ เพื่อผลักดันภาคการ
ก่อนหยุดปี ใหม่ 1-2 เดือน
ผลิต และการส่งออก ภาคการผลิตสำคัญ เพราะว่า 1.ไม่ใช่

แค่การส่งออกอย่างเดียว 2.ช่วยจัดการแปรรูปสินค้าเกษตร

และสินค้าอาหาร และวัตถุดิบในประเทศไทย ที่คนไทยและ

เกษตรกร ชาวบ้านจะได้เอามาสร้างมูลค่าให้เขา ไปซื้อเขาได้

3.ผลิตมาเพื่อไม่ให้การบริโภคภายในขาดแคลน เพราะฉะนั้น

ในภาคการผลิต แรงงานเป็ นสิ่งสำคัญ เราเชื่อว่า ถ้าภาค

การผลิตกลับมาเข้มแข็งขึ้น เรายอมรับว่าการระบาดช่วง 3

เดือนหลังมีผลกระทบต่อการผลิตเยอะ ในจังหวัดที่มีแรงงาน

เยอะ ต่างด้าวอยู่เยอะ ระบาดพอควร มีการหยุดชะงัก มีกา

รดิสรัปชั่นเกิดขึ้นมาดังนั้นควรเร่งเรื่องวัคซีน สำหรับทิศทาง

ของอุตสาหกรรมอาหาร ยังดีทุกกรณีแต่ประเทศไทยยัง

ต้องหาจุดเด่นของตัวเอง ต้องยอมรับก่อนว่าเราไม่มีจุดเด่น

เรื่องของสิงค้าไฮเอนด์, เอไอ, หุ่นยนต์ ทุกอย่าง หรือสินค้า

เทคโนโลยี เราเพิ่งเริ่ม สิ่งที่รัฐบาลผลักดันมาดีมากคือ อีอีซี

4.0 แต่พวกนี้มันต้องใช้เวลา ในขณะเดียวกันพวกที่เข้ามา

ลงทุนในช่วงแรกอย่างมากคือ ชาวต่างชาติอยู่เยอะ ดังนั้น

ต้องมีเวลาในการผลักดันให้ผู้ประกอบการไทยเติบโตตามขึ้น

มา ให้การปรับภาคการศึกษาของเยาวชนไทยของคนรุ่นใหม่

เพื่อให้มารองรับกับความรู้ใหม่ๆ หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อ

จะเติบโตต่อไป ดังนั้นระยะเวลาสั้นและกลาง ถึงยาวบางส่วน

ผมว่า 10-20 ปี กว่าจะถึงจุดนั้นได้

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 20

ดังนั้น อะไรที่เราเด่น ได้แก่ สินค้าเกษตรกับอาหาร อย่า เป็ นไปตามความนิยมของโลกตอนนี้ พวกแมลง มีหลายตัว
ลืมว่าเมื่อ 10 กว่าปี ที่แล้ว เราอยู่ในอันดับ 7 ในการส่งออก
สินค้า อาหารและเกษตรโลก ตอนนี้เราร่วงลงมาอันดับ 12 แต่ ที่กว้างขวางมาก เรามาดูภาคการผลิต มีจุดอ่อนบางอย่าง
สาเหตุมาจากว่าหลังจากวิกฤตปี 2540 หลังจากนั้นหลาย ภาคการผลิตในพวกสัตว์ปี กเราเข้มแข็ง แต่มีพวกภาคการ
ประเทศรู้แล้วว่า การฟื้นวิกฤตจำเป็ นต้องเอาทรัพย์ในดินสิน ผลิตสัตว์บก เช่น หมู วัว เรายังไม่แข็งมาก จะต้องมีการ
ในน้ำ มาส่งออกเพื่อนำเงินตราเข้าประเทศ ดังนั้น กลายเป็ น พัฒนาต่อ ภาคการผลิตสัตว์น้ำก็มีปั ญหาอยู่ ในเรื่องการ
ทุกประเทศพยายามส่งออกสินค้าเกษตรและอาหาร อย่าลืม เพาะเลี้ยงของทะเล ในเรื่องของ IUU เราจับได้น้อยลง
ว่า 10-20 ปี ที่แล้ว ยังมีหลายประเทศที่ยังไม่เติบโตเรื่องการ เพราะต้องรักษาพันธุ์สัตว์เอาไว้ และต้องมาผลักดันกันหนัก
ส่งออกเนื่องจากปั ญหาการเมือง เช่น เวียดนาม เมื่อ 20 ปี ที่ มากเรื่องการเพาะเลี้ยง ที่มีการสร้างพันธุ์ใหม่ๆที่แข็งแรง
แล้ว แต่ก่อนสู้เราไม่ได้หรอก แต่ตอนนี้เขาไประเบิดเถิดเทิง และสามารถสร้างผลผลิตได้มาก ตายยากสร้างมูลค่าให้ได้
เขาไม่มีความขัดแย้งแล้ว จีนตอนนั้นเน้นการนำเข้าเป็ นหลัก ตอนนี้เราแข็งและแข็งได้เรื่อยๆ แต่สำคัญคือต้องจับให้ถูก
ผลิตเพื่อบริโภคไม่พอ ตอนนี้ส่งออกเยอะแยะ ดังนั้น แต่ละ จุด เรื่องการส่งออกต้องแยกให้ดีว่า ภาคเกษตรกับภาค
ประเทศทั่วโลกส่งออกมากขึ้น ทำให้เราร่วงลงมา อุตสาหกรรมแปรรูปส่งออกอยู่คนละข้างกัน แต่ในอดีตที่
แต่เราจะหนีอย่างไร เราใช้วิธีการสร้างมูลค่าเพิ่ม เรามีความ ผ่านมามันโตร่วมกัน เนื่องจากเราใช้วัตถุดิบส่งออกใน
ชำนาญ ตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับ 2 ประเทศไทยเป็ น ประเทศ แต่ ณ วันหนึ่งเราเริ่มขาดแคลน เนื่องจากผลผลิต
ประเทศเดียวในภูมิภาคที่เติบโต ไม่มีความขัดแย้งอะไร และเรา น้อยลง แต่ภาคการผลิตแปรรูปอาหารเกษตรทั้งหลายมัน
เติบโตทางอุตสาหกรรมตลอด ภาคการผลิตตลอด รัฐบาล โตต่อเนื่อง และยิ่งโตไปเรื่อยๆ เนื่องจากมีการปรับปรุง
พัฒนามูลค่าเพิ่มและใช้เครื่องมือ เทคโนโลยี การวิจัยและ
แบบไหนก็สนับสนุนการส่งออกและสินค้าเกษตร เราเป็ น พัฒนา ดังนั้น กลายเป็ นว่าวัตถุดิบไม่พอ
เจ้าของการส่งออกในหมวดอาหารเกษตร อย่าลืมว่าเราเป็ น ผมเคยเรียนท่านจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รองนายกฯและ
อันดับหนึ่งของสับปะรดกระป๋ อง และยังเป็ นผู้ส่งออกปลาทูน่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ หลายครั้งแล้ว และท่าน
กระป๋ อง หรือปลาแปรรูป เราเคยเป็ นหนึ่งในการส่งออกกุ้ง เฉลิมชัยว่า ต้องแยกออกให้ดี เราต้องพยายามสร้างตัวเรา
แปรรูปส่งออกตลาดโลกในสหรัฐ เราเป็ นอันดับหนึ่งตลอด แต่ เองเป็ นศูนย์กลางการแปรรูปอาหารและสินค้าเกษตรชั้นสูง
เพิ่งมาเสียอันดับใน 6-7 ปี นี้ หลังจากมีปั ญหาโรคกุ้งระบาด มูลค่าเพิ่ม โดยไม่ต้องคำนึงถึงว่าวัตถุดิบมาจากไหนบ้าง จะ
และแก้ไขไม่ได้ เราส่งออกอันดับหนึ่งเยอะนะ ไก่สุกอันดับ 1 เป็ นในประเทศ หรือนอกประเทศไทย เราต้องยอมรับภาค
และไก่ดิบอันดับ 2 ของโลก งนั้น กลุ่มอาหารเป็ นอนาคต วันนี้ การเมืองกลัวว่าสินค้าเกษตรจะมีปั ญหา ราคาตกต่ำ เรา
ช่วง 3-5 ปี มานี้ กระทรวงเกษตรฯ ท่านรัฐมนตรีว่าการกระ สามารถคุยได้ จัดแบ่งคลัสเตอร์ได้ จัดคอนแทร็กต์ ฟาร์ม
ทรวงเกษตรฯ (นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน) ให้ความสนใจในการ มิ่ง กันได้ เราต้องการส่งออกเท่าไร ผลิตเท่าไร หักบริโภค
ปรับสินค้าเกษตร แบบมูลค่าเพิ่ม โดยใช้เทคโนโลยีเอไอ เข้ามา ในประเทศไทยเท่าไร เหลือเท่าไรที่จะส่งออก ไม่พอก็นำเข้า
สมาร์ทฟาร์มเมอร์ เข้ามา ใช้ระบบเข้ามาปรับปรุงภาค เราต้องเปิ ดตัวเองให้กว้างจะยิ่งโตได้อีกเยอะ จากนี้ส่งออก
การเกษตร และคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยเฉพาะพวก Non- ไทยจะการปรับตัวกันอย่างไรนั้น ต้องตอบ 2 แง่ ในแง่หนึ่ง
Protein ที่ออกมา พวกอาหารท้องถิ่น ใช้พื้นฐานของพวกผัก คือ ตั้งแต่ คสช. ท่านนายกฯและรัฐมนตรีผลักดันนโยบาย
ถั่วเป็ นหลัก การพัฒนาเลี้ยงจิ้งหรีด การพัฒนาสินค้าเกษตร ประชารัฐร่วมมือกับ ภาคเกษตรมีการร่วมมือแบบประชารัฐ
ขึ้นมาหลายอย่าง ที่จะเอามาแปรรูปส่งออก คือ รัฐทำงานร่วมกับภาคเอกชน ตอนนี้ยอมรับว่ารัฐบาล
หลังการเลือกตั้ง ปั จจุบันยังมีหลายโปรเจ็กต์มากที่เอกชน
ทำงานกับภาครัฐ เพราะเอกชนพยายามช่วยเหลือตนเอง
แต่ยังต้องรับการช่วยเหลือจากภาครัฐ แต่รัฐไม่พร้อมทำ
หมด ดังนั้นจึงช่วยกันทำ ผมมองว่าโครงการประชารัฐ
ความร่วมมือระหว่างเอกชนและรัฐบาลสำคัญมาก ที่ต้อง
ทำงานร่วมกันพัฒนา และดูแลกัน บริษัทใหญ่ บริษัทยักษ์ ก็
ต้องมาดูแลบริษัทกลาง บริษัทเล็ก หรือภาคเกษตรกร เพื่อ
ให้เขาลดความเหลื่อมล้ำในแง่รายได้ ดังนั้นผมมองว่าเป็ น
จุดใหญ่อันแรก ที่จะต้องจัดการให้เข้าระบบให้ได้

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 21

ในแง่ที่สอง คือรัฐบาลต้องเปิ ดกว้าง ภาคการเมืองต้อง หรืออยู่ในตัวเองมันจะประสบความสำเร็จอีกเยอะ อย่างผม
เปิ ดกว้าง อย่าเอาความขัดแย้งทางการเมืองมายุ่งกับเรื่อง วัยขนาดนี้แล้วไม่หยุดที่จะเรียนรู้ ผมยังเรียนรู้ตลอดเวลา ดัง
เศรษฐกิจเป็ นอันขาด โดยเฉพาะเศรษฐกิจภาคการเกษตรและ นั้นผมขอเชิญชวนทุกคนให้เข้าฟั งครับ
นอกจากบทสัมภาษณ์ดังกล่าวแล้ว สามารถรับฟังได้เพิ่มเติม
ภาคอาหาร เพราะเป็ นกระดูกสันหลังภาคประชาชนของเรา ในงานสัมมนา “ปลุกพลังส่งออก พลิกเศรษฐกิจไทย” จัดโดย
“มติชน” ร่วมกับพันธมิตรชั้นนำ โดย นายจุรินทร์ ลักษณวิ
ทั้งหมด และผู้บริโภคด้วย การสนับสนุนภาคเอกชนช่วยเหลือ ศิษฏ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ให้โต โดยรัฐบาลช่วยเสริม ซึ่งเป็ นปั จจัยสำคัญทำให้เศรษฐกิจ พาณิชย์ ปาฐกถาพิเศษ “ความหวัง ส่งออกไทย ในมรสุมโค
โต ในขณะเดียวกันอีอีซี หรือ 4.0 ปั จจุบันอุตสาหกรรมแปรรูป วิด” จากนั้นเปิ ดมุมมอง บอกเล่าทิศทางการทำงานภาครัฐ
ในวงเสวนา “2021 สู่ 2022 ทิศทางส่งออกไทย” โดย นายภู
อาหาร ซึ่งมีตั้งแต่แผนพัฒนาฯ ฉบับ 2 เราโตขึ้นมาจากระดับ สิต รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและ
1.0 มา 2.0 มา 2.5 พอระดับมาเป็ น 3.0 เราจะโตเป็ น 3.5 แต่ ยุทธศาสตร์การค้า นายเอกฉัตร ศีตวรรัตน์ รองอธิบดีกรม
ปั จจุบันยังไม่ถึง 4.0 โดยเฉพาะ 2.0-3.0 ตัวขับเคลื่อน ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ดร.รักษ์ วรกิจโภคาทร
เศรษฐกิจของประเทศไทยอยู่วันนี้ขับเคลื่อนตั้งแต่เกิดวิกฤต กรรมการผู้จัดการธนาคารเพื่ อการส่งออกและนำเข้าแห่ง
ตลอดเวลา ตั้งแต่ คสช.ขับเคลื่อนมาตลอดแล้ว เพราะฉะนั้น ประเทศไทย (EXIM BANK) อีกหนึ่งไฮไลต์สำคัญที่พลาดไม่
วันนี้ผมใช้คำหนึ่งมาตลอด หันหน้าแลหลัง เราหันหน้าไปเรื่องอี ได้! กับวงเสวนา “มุมมองผู้ส่งออก ความหวังเศรษฐกิจไทย”
อีซี หรือ 4.0 พัฒนาดีครับ ถูกต้อง แต่ต้องแลหลัง กลับมา ตัวแทนจากภาคเอกชน ที่จะมาร่วมถอดบทเรียนในครั้งนี้ คือ
ดูแลโรงงาน ผู้ประกอบการที่ยังอยู่ในระดับแปรรูปผลิตภัณฑ์ นายพจน์ อร่ามวัฒนานนท์ รองประธานกรรมการ
เกษตร หรืออุตสาหกรรมอื่นๆ ที่ทำเรื่องอาหารและสินค้า หอการค้าไทย และนายกกิตติคุณสมาคมอาหารแช่เยือกแข็ง
เกษตรอยู่ ต้องกลับมาดูแลเขา ให้เขาอัพเกรดอย่างไร ให้ ไทย นายยุทธนา ศิลป์ สรรค์วิชช์ นายกสมาคมอุตสาหกรรม
ปรับปรุงจากเดิม 2.0 ขึ้นเป็ น 2.5 ขึ้นมา 3.0 ได้ไหม 3.5 ได้ เครื่องนุ่งห่มไทย และ ดร.การัณย์ อังอุบลกุล ประธาน
ไหม สนับสนุนทุกทางทั้งความรู้ เทคโนโลยี และแหล่งเงินทุน กรรมการ บริษัท ศรีไทยซุปเปอร์แวร์ โคราช จำกัด
เพราะวันนี้เราจะมารอสร้างใหม่ ผมว่ามันช้า เราดังมานาน
แล้ว เราดังตั้งแต่ 1.0 มา 2.0 เรานำหน้ามาตลอด และมาวันนี้
ช่วงปี นป่ ายไป 4.0 ทุกคนไม่จำเป็ นต้อง 4.0 แต่อย่าต่ำกว่า
3.0 ผมว่าจะเป็ นการแกะอุปสรรคในการเติบโตของประเทศเรา
มาก สำหรับตัวแทนภาคเอกชนและส่งออก ยินดีมากครับ ที่ได้
รับการติดต่อจากสำนักพิมพ์มติชน ซึ่งเป็ นสำนักพิมพ์มีชื่อ
เสียง จัดสัมมนาพวกนี้บ่อย ผมคิดว่าดูจากรายชื่อสปี กเกอร์
ทั้งหมด ท่านรองนายกฯ จุรินทร์ให้เกียรติมานำพู ดเอง ใน
แต่ละท่าน เซสชั่นแรกเป็ นกูรูทั้งนั้น รู้จักกันทุกคน เป็ น
ประโยชน์มากสำหรับผู้ประกอบการ ทั้งรุ่นเก่า กลางเก่า กลาง
ใหม่และใหม่ หรือคนอยากเกิด หรือเอสเอ็มอี สตาร์ตอัพต้อง
ฟัง เพราะว่าวันนี้ผมคิดว่า การเรียนรู้ในสถานการณ์จริง
เหตุการณ์จริง จากประสบการณ์จริงจะไปเสริมสร้างองค์
ความรู้ที่เรียนมา

แหล่งที่มา: หนังสือพิมพ์มติชนออน์ไลน์

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 22

เดิ นหน้า
ขยายฐาน
ก า ร ผ ลิ ต

อาหาร
สั ต ว์ เ ลี้ ย ง

รุ ก ห น้ า ข ย า ย
โ ร ง ง า น เ พิ่ ม ป้ อ น

ต ล า ด ส่ ง อ อ ก

รุกหน้าขยายโรงงานเพิ่มป้ อนตลาดส่งออก คุณ ในการตั้งโรงงานผลิตอาหารสัตว์เลี้ยงแห่งใหม่ที่สมุทรสาคร
อมรพันธุ์ อร่ามวัฒนานนท์ รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ดาดการณ์จะเปิ ดดํานินการได้กลาง ปี 2563 ตั้งเป้ าหมายจะ
ซี แวลู จำกัด (มหาชน) ผู้ส่งออกปลาทูน่ากระป๋ องราย ช่วยเพิ่มรายได้ให้กับบริษัทอีกปี ละ 2,500-3,000 ล้านบาท
ใหญ่ เผยว่า ในปี ที่ผ่านมาจากยอดขายของบริษัท 2.5 “อาหารสุนัขและแมวที่บริษัทผลิตเน้นการส่งออกเป็ นหลัก
หมื่นล้านบาท ในจำนวนนี้สัดส่วน 25% (ประมาณ 6,250 80%โดยผลิตในแบรนด์ลูกด้า(โออีเอ็ม) 90%และอีก 10%
ล้านบาท)มาจากกลุ่มอาหารสัตว์เลี้ยง จาก 1-2 ปี ก่อน ในแบรนด์ของเราเองภายใต้แบรนด์ เพ็ทซิโม(Petsimo)ที่
หน้านั้น สัดส่วนอยู่ที่ประมาณ 20 % จากกลุ่มอาหารสัตว์ เน้นทําตลาดในประเทศ”
เลี้ยงที่มีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง ล่าสุดบริษัทได้ลงทุนกว่า
700 ล้านบาท

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 23

บริษัท ยูนิคอร์ด จำกัด (มหาชน) สาขา 3

ตั้ ง อ ยู่ ที่ ตำ บ ล ท่ า ท ร า ย จั ง ห วั ด ส มุ ท ร ส า ค ร

ในปี นี้บริษัทพร้อมลงทุนกว่า 700 ล้านบาท แบ่งเป็ น 100 ล้านบาท สำหรับลงเครื่องจักรเพิ่มในส่วนของโรงงานเดิมที่
ผลิตอาหารสัตว์ และอีก 600 ล้านบาทสำหรับโรงงานแห่งใหม่บนพื้นที่เดิมที่ยังมีที่เหลืออีกกว่า 10,000 ตารางเมตร ซึ่ง
โรงงานแห่งใหม่นี้จะเน้นผลิตอาหารสัตว์เลี้ยงพรีเมียมที่ทำจากเนื้อวัว หรือแกะ เป็ นต้น คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2563 และ
หากสามารถดำเนินการผลิตได้เต็มรูปแบบใน 3-4 ปี นี้โรงงานใหม่นี้จะทำยอดขายได้ไม่ต่ำกว่า 3,000 ล้านบาท “แผนจาก
นี้จะเน้นกลุ่มอาหารสัตว์เลี้ยงมากขึ้น มุ่งส่งออกยังอเมริกาที่เป็ นตลาดใหญ่สุด รวมถึง ออสเตรเลีย ญี่ปุ่ น และประเทศอื่นๆ
ส่วนอาหารแปรรูปสำหรับรับประทาน ปั จจุบันยอดขายทรงตัว โดยเฉพาะในกลุ่มปลา เพราะผู้บริโภคมีทางเลือกมากขึ้น
หลังจากนี้จะเน้นนวัตกรรมใหม่เข้ามาเพิ่ม เช่น ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากเนื้อไก่ เป็ นต้น”ตามที่ทางโรงงาน Unicord มีการขยาย
พื้นที่ผลิตสินค้าในส่วนของอาหารสัตว์เลี้ยง ที่เป็ นภาชนะบรรจุซองอย่างต่อเนื่องมาตลอดในช่วง 3-5 ปี ที่ผ่านมา ทั้งที่
UC1 และ UC2 โดยล่าสุดได้มีการก่อสร้างอาคารผลิต Pet food UC3 ที่แล้วเสร็จและเริ่มผลิตสินค้าไปเมื่อ ช่วงกลางปี
2563 ที่ผ่านมา แต่เนื่องจากปั จจุบันการขยายตัวของตลาดอาหารสัตว์เลี้ยงทั่ว โลกยังมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่ง
ตามประมาณการแผนทางการตลาดของบริษัท

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 24

คาดว่าทางส่วนโรงงานจะต้องเตรียมในเรื่อง
แผนการขยายพื้นที่การผลิตในอนาคตเพื่อรองรับ ยอด
ขายที่เพิ่มขึ้นตั้งแต่กลางปี 2565 โดยเฉพาะสินค้า
อาหารสัตว์ ที่บรรจุใน Flexible Packaging (Pouch
และ Sachet) ซึ่งมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องมาตลอด
5 ปี ที่ผ่านมา และในส่วนของตลาด USA ที่มีการเติบโต
เพิ่มขึ้นเป็ นจำนวนมาก จากข้อมูลปี ที่แล้ว (2563) เมื่อ
เทียบกับปี 2562 ในส่วน ของสินค้าอาหารสัตว์ของ
กลุ่มบริษัท Unicord ได้เพิ่มขึ้นถึง 20% และจากยอด
ขายในปี นี้ ยังคง เติบโตอย่างต่อเนื่อง
อันเป็ นผลมาจากสภาพการดำเนินชีวิตของผู้คนที่แตก
ต่างจากเดิม เนื่องจาก สถานการณ์ Covid -19 ที่คน
ต้องอยู่บ้านมากขึ้น กิจกรรมภายนอกบ้านลดลง ทำให้
หันมาเลี้ยง สัตว์เลี้ยงเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้อาหารสัตว์
และผลิตภัณฑ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องมีการขยายตัว
สอดคล้องกัน

จากศักยภาพของบุคลากรของโรงงาน,
ประสบการณ์ทำงานที่มายาวนาน, และฐานลูกค้า Pet
food ของบริษัท ที่มีอยู่ในปั จจุบัน ตลอดจนปริมาณการ
สั่งซื้อที่มีเพิ่มขึ้นอย่างมากในปั จจุบัน ตั้งแต่ต้นปี จึงเป็ น
โอกาสที่จะขยายการผลิตเพื่ อตอบรับสภาวการณ์นี้

วารสาร ซี แวลู ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2564
หน้า 25

“ บ ท เ รี ย น แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ทำ ใ ห้ เ ร า เ ข้ า ใ จ ม า ก ขึ้ น
แ ล ะ ทำ ใ ห้ อ ง ค์ ก ร ข อ ง เ ร า เ ติ บ โ ต ไ ด้ อ ย่ า ง แ ข็ ง แ ก ร่ ง
เ ร า ต้ อ ง ม อ ง อ ย่ า ง ร อ บ ด้ า น ไ ม่ ใ ช่ บุ ก อ ย่ า ง เ ดี ย ว แ ต่
ต้ อ ง รั บ ใ ห้ เ ป็ น เ ช่ น กั น ซึ่ ง ก า ร รั บ ใ น ที่ นี้ คื อ โ ร ง ง า น
ต้ อ ง แ ม่ น ร ะ บ บ ต้ อ ง ส ม บู ร ณ์ แ บ บ แ ล ะ ค น ข อ ง เ ร า

ต้ อ ง เ ข้ า ใ จ น โ ย บ า ย ข อ ง บ ริ ษั ท เ พื่ อ เ ดิ น ไ ป ใ น
ทิ ศ ท า ง เ ดี ย ว กั น ใ ห้ ไ ด้ ”

คุณอมรพันธุ์ อร่ามวัฒนานนท์
รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส กลุ่ม บมจ. ซี แวลู

หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ ออน์ไลน์
วันที่ 7 มิถุนายน 2564


Click to View FlipBook Version