The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by faity24112535, 2021-08-17 04:56:20

นิทานเวตาล

นิทานเวตาล

นทิ าน

#เรื่องท่ี ๑๐

ครผู ู้สอน คณุ ครหู ทัยชนก เมฆาวรรณ

รบั ชม ลกั ษณะเวตาล https://www.youtube.com/watch?v=faYs-_ALUUQ

ความเป็นมา

ต้นกาเนิด

ฉบับเดิมชือ่ วา่ เวตาลปัญจวศี ติ
เป็นวรรณคดอี นิ เดยี โบราณ
ผแู้ ต่งนทิ านเวตาล ชอื่ ศิวทาส
ในยุคต่อมา โสมเทวะ รวบรวมนทิ าน ได้ ๓๐๐ เร่อื ง

ความเปน็ มา

ท่มี าฝงั่ ไทย

ผแู้ ตง่ พระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหม่ืนพิทยาลงกรณ มพี ระนามแฝง

ว่า "น.ม.ส." รชั นี แจม่ จรสั
มาจากเซอร์ ริซารด์ เบอรต์ นั ๙ เรอ่ื ง
ฉบบั ภาษาอังกฤษสาํ นวน ซี.เอส.ทอนวน์ ีย์ อกี ๑ เรอื่ ง

รวมเป็น ๑๐เร่อื ง

ความเปน็ มา

ความเปน็ มา

พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมนื่ พิทยาลงกรณ มีพระนามแฝง
วา่ "น.ม.ส." ทรงนพิ นธ์เรอื่ งนทิ านเวตาลข้นึ เม่ือ พ.ศ.๒๔๖๑

ต้นเคา้ ของนิทานเวตาลมาจาก วรรณคดอี นิ เดียชื่อ
"เวตาลปัญจวงิ ศติ" แปลว่า นทิ าน ๒๕ เร่อื งของเวตาล

นิทานเวตาลมลี ักษณะเปน็ นิทานซ้อนนิทาน กลา่ วคือ
มีนิทานยอ่ ยหลายเรื่อง อยู่ในนิทานเร่ืองใหญ่ ฉบับของ

"น.ม.ส." ประกอบด้วยนิทานยอ่ ยเพยี ง ๑๐ เร่อื ง
โดยแปลจากฉบบั ของเบอรต์ ัน ๙ เรื่อง ส่วนอกี หนง่ึ เรื่อง

นาํ มาจากฉบับภาษาองั กฤษสํานวนอ่ืน

น.ม.ส. ทรงเลือกฉบับของเบอร์ตันเป็นหลกั เพราะทรงเห็นว่า
“สนุกกว่าฉบับอ่นื ถ้าจะเปรียบกับเครอ่ื งเพชรพลอยที่ทาํ
เปน็ วัตถสุ าํ หรบั ประดบั กายกเ็ หมอื นกัน พลอยแขกอย่างดี
ซ่งึ ชา่ งฝร่งั เอาไปฝงั ในเรอื นทองคําอันมรี ปู แลลายงดงามถกู
ตาผดู้ ที ีไ่ มใ่ ช่แขกถงึ ผู้อา่ นมใิ ชฝ่ ร่งั กเ็ ห็นดอี ย่างฝรง่ั ได้”

น.ม.ส. ทรงเลือกฉบับของเบอร์ตันเป็นหลกั เพราะทรงเห็นว่า
“สนุกกว่าฉบับอ่นื ถ้าจะเปรียบกับเครอ่ื งเพชรพลอยที่ทาํ
เปน็ วัตถสุ าํ หรบั ประดบั กายกเ็ หมอื นกัน พลอยแขกอย่างดี
ซ่งึ ชา่ งฝร่งั เอาไปฝงั ในเรอื นทองคําอันมรี ปู แลลายงดงามถกู
ตาผดู้ ที ีไ่ มใ่ ช่แขกถงึ ผู้อา่ นมใิ ชฝ่ ร่งั กเ็ ห็นดอี ย่างฝรง่ั ได้”

ประวตั ิผ้แู ตง่

พระราชวงศ์เธอ กรมหมืน่ พทิ ยาลงกรณ ทรงชาํ นาญ
ดา้ นภาษาและวรรณคดีเปน็ พิเศษ ไดท้ รงนพิ นธ์หนังสือ
ไว้มากมายโดยใชน้ ามแฝงวา่ “น.ม.ส.” ซ่ึงทรงเลือกจาก
ตวั อักษรตวั หลงั พยางค์ของพระนาม (พระองคเ์ จ้า)

“รชั นีแจม่ จรัส”

ลกั ษณะคําประพนั ธ์

นทิ านเวตาล แตง่ เป็นร้อยแก้ว โดยนาํ ทํานองเขยี นรอ้ ยแกว้
ของฝรั่งมาปรบั เข้ากับสํานวนไทยไดอ้ ย่างกลมกลนื

และไมท่ าํ ใหเ้ สยี อรรถรส แตก่ ลับทาํ ให้ภาษาไทยมชี วี ติ ชวี า
จึงไดร้ บั ยกยอ่ งเปน็ สาํ นวนรอ้ ยแกว้ ทใ่ี หมท่ ส่ี ดุ ในยุคนั้น
เรยี กวา่ “สํานวน น.ม.ส.”

เน้อื เรื่องยอ่

เวตาลกลา่ วว่า... คร้ังนีข้ า้ พเจ้าเขมน่ ตาซ้าย
หวั ใจเตน้ แรง แลตาก็มืดมวั เหมอื นลางไมด่ ี
เสยี แล้ว แตข่ ้าพเจ้าจะเล่าเรอ่ื งจรงิ ถวาย

แลเหตุทีข่ า้ พเจา้ เบ่ือหน่ายท่ตี อ้ งถกู
แบกหามไปหามมา

ในโบราณกาล มเี มอื งท่ีใหญ่เมอื งหน่งึ ชอ่ื "กรุงธรรมปุระ" พระราชา
ทรงพระนามว่า "ทา้ วมหาพล" มีพระมเหสที ี่ทรงสิรโิ ฉมงดงามแมม้ ี

พระราชธิดาท่ีทรงเจรญิ วัยแลว้

ตอ่ มาไดเ้ กิดศึกสงคราม ทหารของทา้ วมหาพลเอาใจออกหา่ ง
ทาํ ใหท้ รงพา่ ยแพ้ พระองค์จงึ ทรงพาพระมเหสีและพระราชธิดาหลบหนี

ออกจากเมอื งเพือ่ ไปเมอื งเดมิ ของพระมเหส.ี ..

ในระหว่างทางท้าวมหาพลไดถ้ กู โจรรมุ ทาํ รา้ ยเพื่อชงิ ทรัพย์
และสิ่งของมคี า่ จนพระองคส์ ้นิ พระชนม์ จนพระราชธิดา

และพระมเหสเี สด็จหนเี ข้าไปในปา่ ลึก

ในเวลาน้นั มพี ระราชาทรงพระนามวา่ "ท้าวจนั ทรเสน" กบั พระราชบตุ ร
ได้เสด็จมาประพาสปา่ และพบรอยเท้าของสตรซี ง่ึ เม่อื พบสตรที ัง้ สอง
จะให้รอยเทา้ ท่ใี หญเ่ ป็นพระมเหสขี องทา้ วจนั ทรเสน และรอยเทา้ ทเี่ ลก็

เปน็ พระชายาของพระราชบุตร

แต่เมอ่ื พบนางทงั้ ก็ปรากฏวา่ รอยเทา้ ท่ีใหญ่คือพระราชธดิ า
และรอยเท้าทเี่ ลก็ นัน้ คือพระราชมารดา ดังนน้ั พระราชธิดาจึงเปน็ พระมเหสี

ของท้าวจันทรเสน และพระมารดาไดเ้ ป็นพระชายาของพระราชบุตร

กล่าวสน้ั ๆ ทา้ วจนั ทรเสน แลพระราชบตุ รกท็ าํ วิวาหะทั้งสองพระองค์
แตก่ ลับคูก่ ันไป คอื พระราชบิดาวิวาหะกบั พระราชบุตรี พระราชบุตร
วิวาหะกบั พระมเหสี แลเพราะเหตุทค่ี าดขนาดเทา้ ผิด ลูกกลับเป็นเมยี พอ่
แม่กลบั เปน็ เมียลกู ลูกกลับเป็นแม่เล้ียงของผัวตวั เอง แลแม่กลับเปน็

ลกู สะใภข้ องผวั แห่งลกู ตน

“บดั นี้ข้าพเจา้ จะตง้ั ปัญหาทลู ถามพระองคว์ ่า...
ลูกทา้ วจนั ทรเสนที่เกิดจากธิดาท้าวมหาพลลกู พระมเหสี
ทา้ วมหาพลทเี่ กดิ กบั พระราชบุตรทา้ วจนั ทรเสนนน้ั

จะนบั ญาติกนั อย่างไร” ???

พระวกิ รมาทิตยไ์ ดท้ รงฟังปญั หากท็ รงตรึกตรอง
เอาเรอื่ งของพอ่ กับลกู แมก่ บั ลูก แลกับน้องมาปนกันยุ่ง

แลมิหนําซ้ํามาเรือ่ งแมเ่ ล้ียงกบั แมต่ วั
แลลกู สะใภ้กบั ลกู ตวั อกี เล่า

พระราชาทรงตปี ัญหายงั ไมท่ ันแตก พอนึกขน้ึ ไดว้ า่
การพาเวตาลไปส่งคนื โยคีนน้ั จะสําเรจ็ ก็ดว้ ยกเ็ พราะ
ไมท่ รงตอบปญั หา จงึ เปน็ อันทรงน่ิงเพราะจาํ เปน็

แลเพราะสะดวก ก็รบี สาวก้าวดําเนินเรว็ ขนึ้

ครัน้ เวตาลทูลเยา้ ให้ตอบปญั หาดว้ ยวธิ กี ล่าวว่าโง่
จะรบั ส่งั อะไรไม่ได้ ก็ทรงกระแอม เวตาลทูลถามวา่

“รับส่ังตอบปญั หาแล้วไมใ่ ชห่ รือ”

พระราชาไม่ทรงตอบวา่ กระไร เวตาลกน็ งิ่ ครหู่ นง่ึ
แล้วทูลถามวา่ “บางมีพระองคจ์ ะโปรดฟังเรือ่ งส้ัน ๆ

อกี สักเรอ่ื งหน่ึงกระมัง” ครั้งนแ้ี มแ้ ต่กระแอม
พระวิกรมาทติ ยก์ ็ไม่ทรงกระแอม เวตาลจึงกลา่ วอีกครง้ั

หน่ึงว่า “เมอื่ พระองค์ทรงจนปญั ญาถึงเพยี งนี้
บางทพี ระราชบุตรซง่ึ ทรงปญั ญาเฉลียวฉลาด
จะทรงแก้ปัญหาไดบ้ า้ งกระมงั ” แตพ่ ระธรรมวชั พระราช

บตุ รน่งิ สนทิ ทีเดียว...

ความดีเดน่ ด้าน
กลวิธีการแตง่

๑.การใช้สาํ นวนโวหาร
นทิ านเวตาล ฉบบั พระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื พทิ ยา
ลงกรณ์ มกี ารใชส้ ํานวนโวหารเปรียบเทียบที่ไพเราะ

และทําให้เหน็ ภาพแจ่มชัดขึ้น

๒.การใช้กวโี วหาร
พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ ทรงแปลนทิ าน
เวตาลดว้ ยภาษาที่กระชับ อ่านงา่ ย มีบางตอนท่ีทรงใช้

สํานวนภาษาบาลี ซ่ึงไมค่ ุ้นหูผอู้ า่ นในยคุ น้ี
เพราะไมน่ ิยมใช้แล้วในปัจจุบัน

คณุ ค่าด้าน
ปัญญาและความคดิ

๑.ความอดทนอดกลัน้
ความอดทนเปน็ คาํ สอนในทุกศาสนา ดังน้นั เมื่อไม่ตอบ
ปัญหาในเรือ่ งที่ ๑๐ เวตาลจึงกลา่ วชมว่า ทรงต้ัง
พระราชหฤทัยดนี กั พระปัญญาราวกบั เทวดาและมนษุ ยอ์ ืน่

ทม่ี ีปัญญา จะหามนษุ ยเ์ สมอมิได้

๒.ความเพยี รพยายาม
เวตาลมักย่ัวยุใหพ้ ระวิกรมาทิตยแ์ สดงความคดิ เหน็ ออกมา
ทาํ ใหพ้ ระองค์ตอ้ งกลับไปปนี ต้นอโศกเพื่อจับเวตาลหลายคร้งั

๓.การใชส้ ติปัญญา
การแกป้ ัญหาต่าง ๆ จาํ เปน็ ตอ้ งใช้สตแิ ละปัญญาควบคู่
กนั ไป จากนทิ านเวตาลเรือ่ งน้ีชใี้ ห้เหน็ ว่าการใช้ปญั ญา
ของพระวิกรมาทิตยอ์ ยา่ งเดียวน้ันไม่สามารถแกป้ ัญหา
และเอาชนะเวตาลได้ แต่พระองคต์ ้องใชส้ ติประกอบกับ

ปญั ญาควบคู่กันไปจงึ เอาชนะเวตาลได้

๔.ความมีสติ
ความเปน็ ผมู้ ีทิฐมิ านะ ไมย่ อมในสิง่ ท่ีไมพ่ อใจ บางคร้งั อาจ
สง่ ผลเสียต่อผู้น้ันเอง ดงั น้นั การพยายามยับย้ังชง่ั ใจจึงเป็น

สง่ิ ที่จําเป็นมากเพราะการคิดก่อนพูดจําทําให้มสี ติ

๕.การเอาชนะขา้ ศกึ ศัตรู
ในการทาํ สงครามนั้นผู้ท่มี คี วามชาํ นาญ มีเลห่ ์เหลย่ี ม

ในกลศกึ มากกว่ายอ่ มได้ชัยชนะ

๖.ขอ้ คิดเตือนใจ
เครอื่ งประดบั เป็นส่ิงทีท่ าํ ใหไ้ ดร้ ับอันตรายจากโจรผูร้ ้าย
แมจ้ ะเปน็ ชายทม่ี ฝี ีมอื เช่นท้าวมหาพลกต็ าม เมื่อตกอยู่

ในหมโู่ จรเพียงคนเดยี ว ย่อมเสยี ทไี ด้

คณุ คา่ ด้านความรู้

การอ่านนิทานเวตาลทาํ ใหไ้ ดร้ ้ถู งึ วัฒธรรม
และค่านิยมของชาวอนิ เดยี ในยุคโบราณ เชน่
ค่านิยมทช่ี ายจะมีภรรยาไดห้ ลายคนโดยเฉพาะชายสูงศักด์ิ
เพราะถอื วา่ เรือนที่อบอุ่นจะต้องมแี ม่เรอื น


Click to View FlipBook Version