The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 6 การนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by muk_love456, 2022-12-26 03:02:22

หน่วยที่ 6 การนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์

หน่วยที่ 6 การนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์

หน่วยที่ 6

การนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์

การแจ้งและหารือผลการปฏิบัติงาน

การประเมินผลการปฎิบัติงานจะต้องมีการแจ้งให้พนักงานผู้ปฏิบัติงานทราบ
ถึงผลการปฎิบัติงานของตนว่ามีจุดแข็งและจุดออนตรงไหนเพื่อจะได้ปรับปรุง
แก้ไขหรือพัฒนาพฤติกรรมการปฎิบัติงานของตนให้มีประสิทธิภาพและมี
ประสิทธิผลยิ่งขึ้นเพื่อบรรลุตามเป้าหมายหรือมาตรฐานการปฎิบัติงานที่กำหนด

นอกจากนี้ผู้บังคับบัญชาคนจะสื่อสารให้พนักงานทราบเมื่อพนักงานมีผล
การปฏิบัติที่ดีด้วยการแจ้งและหารือผลการปฎิบัติงานจะต้องดำเนินการอย่าง
เหมาะสมและเพียงพอจะส่งผลกระทบในทางบวก (เสริมสร้าง) ต่อการจูงใจในการ
ทำงานการใช้ความมานะในการทำงานการกำหนดเป้าหมายการปรับเปลี่ยนและการ
ปรับปรุงพฤติกรรมการปฎิบัติงานรวมทั้งยังมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจใน
อาชีพและลดอัตราการเข้าออกของพนักงานด้วย

การปฎิบัติงานที่เหมาะสมควรมีลักษณะดังนี้

1. มีความชัดเจนไม่กำกวม
2. สองระบุระดับผลการปฎิบัติงานที่คาดหวังไว้อย่างชัดเจน
3. กำหนดรายละเอียดของพฤติกรรมการปฎิบัติงาน
4. ตั้งเป้าหมายด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานแก่พนักงานที่ได้รับการประเมิน
5. ใช้วิธีการแก้ปัญหาในการกำหนดแผนเพื่อดำเนินการปรับปรุงพฤติกรรมการ

ทำงานของพนักงาน

การฝึกอบรมและพัฒนา

การฝึกอบรมเป็นการพัฒนาพนักงานให้มีทักษะ
(skill) อย่างเหมาะสมกับงานที่รับผิดชอบอยู่ในปัจจุบัน
ส่วนการพัฒนาจะมุ่งเน้นการฝึกอบรมทักษะและความ
สามารถให้เหมาะสมกับตำแหน่งงานในภายภาคหน้า
ซึ่งต้องการทักษะและความสามารถเพิ่มมากขึ้น

การฝึกอบรมและพัฒนาเป็นสิ่งสำคัญหากผู้บังคับ
บัญชาหรือหน่วยงานไม่ได้ให้ความสำคัญที่จะปรึกษา
หารือกับพนักงานแต่ละคน พนักงานจะมีความรู้สึกว่า
หน่วยงานไม่ได้ให้ความสนใจหรือมีความรู้สึกผูกพันกับ
ตัวพนักงาน จะส่งผลในทางบั่นทอนแรงจูงใจในการ
ทำงานรวมทั้งการทำให้พนักงานขาดความมุ่งมั่นในการ
ทำงานให้มันรู้ผลสำเร็จอีกด้วย

การพิจารณาที่เฉพาะเจาะจงควรพิจารณาตามที่ระบุรายละเอียดไว้ในใบ
กำหนดหน้าที่ของตำแหน่งนั้นนั้นด้วยการโดยควรดำเนินการตามกระบวนการดัง
ต่อไปนี้

1.พิจารณาจำแนกทักษะ (Skill) ที่ต้องการสำหรับการปฎิบัติงานในแต่ละ
องค์ประกอบย่อยของงาน

2.พิจารณาตามความถนัด (Aptitude)
3.ใช้คำถาม 2 ประเภทในการตรวจสอบผลการปฎิบัติงานของพนักงาน คือ

3.1 พนักงานได้...(กระทำ)...หรือไม่
3.2 ท่าน (ผู้ประเมิน) ไว้ใจพนักงานในการ...(กระทำ)...หรือไม่เพื่อให้
เกิดความเข้าใจต่อกระบวนการที่กล่าวมาจึง

ตัวอย่างการใช้เทคนิคคำถาม

หน้าที่ความรับผิดชอบ
ก. ช่วยในการพิจารณาและกลั่นกรองการวางแผนการขายและการทำให้เกิดผลกำไร

การจัดทำและการพิมพ์รายการสินค้า.....................................................
ทักษะการรวบรวม/จัดระบบข้อมูล (Organizing Skills)

พนังงานสามารถจัดทำรายการสินค้าอย่างถูกต้องตรงตามเวลาที่กำหนดไหม ?
ข. ช่วยเสนอแนะและกำหนดราคาสินค้า การให้ส่วนลดสำหรับสินค้าที่มีอยู่และสินค้าใหม่

ทักษะในการกำหนดราคา (Pricing Skills)
พนังงาน

มีความรู้เพียงพอว่า คู่แข่งของบริษัทกำลังรุกในเรื่องอะไร ?
เข้าใจพื้นฐานของต้นทุน การอุดหนุน/บริจาก และจุดรายได้ต่ำสุดที่จะมีกำไร (Marin)
เข้าใจความยืดหยุ่นเกี่ยวกับราคาหรือ ?

ตัวอย่างการใช้เทคนิคคำถาม (ต่อ)

ค. วิเคราะห์สถิติต่าง ๆ ของบริษัทเป็นประจำ โดยเฉพาะในการจัดทำรายงานการตลาดรายเดือน
ทักษะด้านตัวเลขและการวิเคราะห์ (Numerical/Analytical Skills)
พนังงาน

เสนอข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ โดยปราศจากการวิเคราะห์
ใช้แผนภูมิต่าง ๆ ในการเสนอข้อมูลรายละเอียดในแง่มุมที่เหมาะสม
จำแนกได้ว่า มาตรการอะไรบ้างในการวัดผลการปฏิบัติงาน
ใช้วิธีการเปรียบเทียบข้อมูลอย่างเหมาะสม
จัดทำรายงานได้กะทัดรัด รัดกุม และตรงประเด็นหรือ ?

ฯลฯ

การขึ้นค่าจ้างเงินเดือนประจำปี

การขึ้นค่าจ้างเงินเดือนหรือการปูนบำเหน็จความดีความชอบประจำปีเป็นผลตอบแทนหรือรางวัลที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม
มากที่สุดที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับตอบแทนจากการปฎิบัติงานของตนรวมทั้งเป็นสิ่งที่ผู้ปฏิบัติงานในระดับต่างๆตั้งแต่ระดับ
ผู้จัดการลงมาถึงพนักงานรายวันต่างให้ความสำคัญเป็นอันดับแรกเป็นส่วนใหญ่

อันดับ ผู้ จั ด ก า ร พ นั ก ง า น ใ น ส า ย วิ ช า ชี พ เสมียน พ นั ก ง า น ร า ย ชั่ ว โ ม ง
(Manager) (Professional) (Clerical) (Hourly)

1 ค่ า ต อ บ แ ท น แ ล ะ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ค่ า ต อ บ แ ท น แ ล ะ ค่ า ต อ บ แ ท น แ ล ะ
ส วั ส ดิ ก า ร ส วั ส ดิ ก า ร ส วั ส ดิ ก า ร

2 ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ค่ า ต อ บ แ ท น แ ล ะ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ค ว า ม มั่ น ค ง
ส วั ส ดิ ก า ร

3 อำ น า จ ใ น ตำ แ ห น่ ง ง า น ค ว า ม ท้ า ท า ย ข อ ง ง า น ก า ร บั ง คั บ บั ญ ช า ก า ร เ ป็ น ที่ ย อ ม รั บ

4 ค ว า ม สำ เ ร็ จ ทั ก ษ ะ ใ ห ม่ ๆ ก า ร เ ป็ น ที่ ย อ ม รั บ ก า ร บั ง คั บ บั ญ ช า

5 ค ว า ม ท้ า ท า ย ข อ ง ง า น ก า ร บั ง คั บ บั ญ ช า ค ว า ม มั่ น ค ง ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า

การจูงใจปัจเจกบุคคล เป็นการกระทำ (Function) ของ

1.การคาดหวังในการใช้ความพยายามต่อผลการปฏิบัติงาน
2.ความคาดหวังว่าผลการปฎิบัติงานจะนำไปสู่รางวัลตอบแทน
3.การได้รับรู้ถึงความมีเสน่ห์มีแรงดึงดูดของรางวัลตอบแทน

ในการขึ้นค่าจ้างเงินเดือนประจำปีองค์การหรือหน่วยงานควรจะมีระบบและกำหนดระเบียบปฏิบัติในเรื่องนี้ไว้
ให้ชัดเจนสาระสำคัญที่ควรกำหนดไว้มีดังนี้

1 . กำ ห น ด ช่ว ง ร ะ ย ะ เ ว ล า ใ น ก า ร ขึ้ น ค่ า จ้า ง เ งิ น เ ดื อ น ส่ว น ใ ห ญ่ มัก จ ะ กำ ห น ด ไ ว้เ ป็ น เ ว ล า ห นึ่ ง ปี
2.กำหนดช่วงระยะเวลาดำเนินการโดยอาจดำเนินการขึ้นค่าจ้างเงินเดือนพร้อมกันทั้งองค์การ
หรือเมื่ อพนักงานทำงานในตำแหน่งครบหนึ่ งปี
3.กำหนดปัจจัยหรือองค์ประกอบที่จะใช้เป็นพื้ นฐานในการพิจารณาขึ้นค่าจ้างเงินเดือนเช่นค่า
ผลการปฏิบัติงานประกอบกับตำแหน่งเงินเดือนในช่วงเงินเดือนของพนักงาน

แผนภูมิแสดงการกระจายแบบโค้งปกติ
ในการขึ้นค่าจ้างเงินเดือน

สูตรในการคำนวณการขึ้นค่าจ้างเงินเดือน

การเลื่ อนตำแหน่งหน้าที่
(PROMOTION)

การเลื่ อนตำแหน่งหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งของการบรรจุแต่งตั้งโดยหมายถึงการที่พนักงานผู้หนึ่ง
ได้รับการแต่งตั้งให้ไปดำรงตำแหน่งอื่ นซึ่งเป็นตำแหน่งที่สูงกว่าเดิมและมีผลทำให้เงินเดือนสูง
ขึ้ น ต า ม ร ะ ดั บ ห น้ า ที่ แ ล ะ ค ว า ม รับ ผิ ด ช อ บ ใ น ตำ แ ห น่ ง ใ ห ม่ ที่ สู ง ขึ้ น ด้ ว ย

สำหรับการเลื่อนตำแหน่งหน้าที่ในทางปฏิบัติแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1.การเลื่ อนตำแหน่งตามแนวอาชีพเดิม
2.การเลื่ อนตำแหน่งข้ามสายอาชีพ

3.การเลื่ อนตำแหน่งไปสู่ระดับผู้บังคับบัญชา

ปั จ จั ย ที่ ใ ช้ร ะ บุ ห รื อ กำ ห น ด ศั ก ย ภ า พ ใ น ก า ร เ ป ลี่ ย น ตำ แ ห น่ ง ข อ ง พ นั ก ง า น ไ ด้ แ ก่

1 . ข น า ด ห รือ มิ ติ ต่ า ง ๆ ข อ ง ง า น ใ น ตำ แ ห น่ ง
2 . ก า ร เ รีย ง ลำ ดั บ พ นั ก ง า น ที่ ไ ด้ รับ ก า ร ป ร ะ เ มิ น โ ด ย ก า ร เ ป รีย บ เ ที ย บ

3 . ก า ร วั ด ร ะ ดั บ ก า ร ใ ห้ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ก า ร ใ ห้ก า ร ส นั บ ส นุ น
4 . ก า ร พิ จ า ร ณ า ถึ ง ค ว า ม ป ร า ร ถ น า ใ น แ น ว อ า ชี พ

การวัดพฤติกรรมการปฏิบัติงานของพนักงานและเห็นว่ามีจำนวน 8 มิติ ที่สามารถสังเกตและวัดได้
โดยผู้บังคับบัญชาสำหรับใช้ในการพิจารณาเลื่อนตำแหน่งหน้าที่ ได้แก่
1.การสื่ อข้อความด้วยวาจา
2.การสื่ อข้อความด้วยลายลักษณ์อักษร
3.ความยืดหยุ่น
4.เสถียรภาพในการปฏิบัติงาน
5.การตัดสินใจและคุณภาพของการตัดสินใจ
6.ภาวะผู้นำ
7.การจัดองค์การและการวางแผน
8.มาตรฐานการทำงานของแต่ละบุคคล

การโยกย้าย

เป็นการดำเนินการทางการบริหารทรัพยากรบุคคลเป็นผลมาจากการประเมินผลการ
ปฏิบัติงาน การโยกย้ายนี้โดยปกติ หมายถึง การโยกย้ายพนักงานให้ปฏิบัติงานอื่นที่มีความ
รับผิดชอบอยู่ในระดับเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน การประเมินผลการปฎิบัติงานและจะช่วยให้
สามารถพิจารณาและตัดสินได้ว่าพนักงานผู้ปฏิบัติงานมีความเหมาะสมกับตำแหน่งงานที่
ปฏิบัติอยู่หรือไม่ หากยังไม่เหมาะสมก็ดำเนินการให้โยกย้ายให้ไปปฏิบัติงานที่เห็นว่าเหมาะสม

การโยกย้ายส่วนใหญ่จะดำเนินการในกรณีต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1.เมื่อปฏิบัติงานในตำแหน่งปัจจุบันไม่ได้ผลตามที่ต้องการ
2.เมื่อพนักงานขาดคุณสมบัติในตำแหน่งเดิม
3.เมื่อต้องการหมุนเวียนงานสี่เมื่อตำแหน่งปัจจุบันเป็นตำแหน่งสูงสุดของอาชีพนั้น

ข้อดีและข้อจำกัดที่ควรคำนึง
ในการดูแลพนักงาน

1. การดูแลพนักงานโดยใช้วิธีการสรรหาพนักงานภายในมีข้อดีที่
องค์การทราบประวัติและรายละเอียดอื่ นๆที่เกี่ยวข้องกับตัวพนักงานเป็น
อย่างดี

2. การโยกย้ายหรือการโยกย้ายหรือการเป็นงานตามระยะเวลาที่
กำหนดจะช่วยให้พนักงานมีความรู้สึกท้าทายและยังช่วยสร้างความเชื่อ
มั่นแก่พนักงานมากยิ่งขึ้น

3. การโยกย้ายพื้นที่ในการปฏิบัติงาน

การลดตำแหน่งและการเลิกจ้าง เรื่องจำเป็นที่จะต้องดำเนินการอย่าง
(Demotion, Termination) รอบคอบโดยควรดำเนินการดังนี้

เป็นเรื่องปกติที่องค์การจะต้องธำรง 1. มีการประเมินผลการปฎิบัติงานและ
รักษาผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานที่ดีไว้และ มีเอกสารข้อมูลสนับสนุนการประเมิน
ดำเนินการโยกย้ายหรือปลดพนักงานที่มี อย่างชัดเจน
ผลการปฏิบัติงานที่ไม่ได้มาตรฐานเป็นที่
ยอมรับออกไปการลดตำแหน่งเกิดขึ้นได้ 2. จะต้องมีการจดบันทึกประวัติผลการ
สองกรณีคือหนึ่งว่าผลงานไม่ได้ตาม ปฎิบัติงาน
มาตรฐานที่ต้องการสองค่ะคุณสมบัติใน
การตำแหน่งเดิม 3. พนักงานจะต้องได้รับทราบถึงข้อ
บกพร่องในการปฏิบัติงานของตนและ
องค์กรจะต้องแสดงความตั้งใจที่จะ
ช่วยแก้ไขข้อบกพร่องในการปฏิบัติงาน
ของพนักงาน

การนำไปใช้ประโยชน์ด้านอื่น ๆ ได้แก่

1. การตรวจสอบจุดเด่น จุดด้อยของทีมงาน
2. การสื่อสารกลับให้ทราบถึงอีมีนาการบริหารงานของผู้บังคับบัญชา
3. การลดอัตราการเข้า - ออก จากงานของพนักงาน
4. การตรวจสอบกระบวนการสรรหาและคัดเลือกพนักงาน

สื่อการเรียน การสอนนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 30216-2106
การประเมินผลการปฏิบัติงาน 2-2-3






เสนอ
ครูปรียา ปันธิยะ




จัดทำโดย
นางสาวเกษสุดาภรณ์ บุญเกิด เลขที่ 2
นางสาวณัฐธิมล คำปัญญา เลขที่ 4

นางสาววริศรา จุ๊สมุทร เลขที่่ 16
ห้อง สบจ.64.1



สาขาวิชาการจัดการสำนักงาน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาลำปาง


Click to View FlipBook Version