กลุ่มบริหารงานวิชาการ แผนงานพัฒนากระบวนการเรียนการสอน โครงการเครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัย ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวจงอร ศรีสวัสดิ์ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน) สังกัดกองการศึกษา เทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
สรุปผลสำเร็จของโครงการ/กิจกรรม เครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัย ปีการศึกษา ๒๕๖๕ เป้าหมาย/ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ 1. เด็กปฐมวัยอายุระหว่าง 3-๕ ปี ในระดับชั้นอนุบาลปีที่ ๑ – ๓ มีพัฒนาการด้านร่างกายที่ เหมาะสมตามวัย มีร่างกายที่แข็งแรง กล้าแสดงออก มีความสุขจากการเรียนรู้โดยผ่านประสบการณ์ตรงและทำ กิจกรรมที่หลากหลายแบบเล่นปนเรียนในห้องบอลและเล่นเครื่องเล่นสนาม 2. เด็กปฐมวัยอายุระหว่าง 3-๕ ปี ในระดับชั้นอนุบาลปีที่ ๑ – ๓ มีคุณลักษณะตามวัยที่เหมาะสม สามารถดูแลความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้ เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินจากการเล่นอิสระร่วมกับเพื่อนๆ ผลสำเร็จของโครงการเครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัย ร้อยละ : ๙2.18 ลงชื่อ ผู้รับผิดชอบโครงการ (นางสาวจงอร ศรีสวัสดิ์) ครู ลงชื่อ (นางไพเราะ ใจชื่น) รองผู้อำนวยการโรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน) ลงชื่อ (นายเดชาพัชร การกิ่งไพร) ผู้อำนวยการโรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน)
คำนำ รายงานสรุปผลการจัดโครงการเล่มนี้ เสนอผลการปฏิบัติโครงการเครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความ แข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัยในแผนงานกลุ่มบริหารงานวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ซึ่งภายในรายงานเล่มนี้ได้ สรุปผลโครงการเครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัย ผู้รับผิดชอบได้จัดทำขึ้น เพื่อให้ผู้อ่าน ทราบรายละเอียดของโครงการ วัตถุประสงค์ของกิจกรรม งบประมาณที่ใช้ในกิจกรรม ผลของการจัดกิจกรรม แบบประเมินการจัดกิจกรรม รูปภาพประกอบการจัดกิจกรรม ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานสรุปผลการจัดโครงการเครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของ ร่างกายเด็กปฐมวัยเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจ นำปัญหาไปแก้ไขในโครงการครั้งต่อไป ขอขอบพระคุณผู้บริหารคณะครู บุคลากรโรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน) ทุกท่านที่ได้ส่งเสริมสนับสนุนให้จัดทำ รายงานสรุปผลการจัดทำโครงการเล่มนี้ขึ้นมาจนสำเร็จลุล่วงไปด้วยนี้ ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง นางสาวจงอร ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ
สารบัญ เรื่อง หน้า ๑. สรุปความสำเร็จของโครงการเครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัย ๑ ๒. คำนำ ๒ ๓. สารบัญ ๓ ๔. บันทึกข้อความการรายงานผลโครงการเครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัย ๔ ๕. สรุปแบบรายงานผลประเมินโครงการ/กิจกรรม ๕ ๖. รูปภาพประกอบโครงการเครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัย ๗ ๗. แบบประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความพึงพอใจ ๘
บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่ พช. ๕๒๐๐๔.๒/............................. ลงวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๖ เรื่อง รายงานผลการดำเนินงานโครงการเครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัย เรียน ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน) ตามที่ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบโครงการเครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัย ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ซึ่งเป็นโครงการหนึ่งในแผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๖๕ ข้าพเจ้าได้ดำเนินการตามขั้นตอน อย่างเป็นระบบ บัดนี้ได้ดำเนินการตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้แล้ว จึงขอรายงานผลการดำเนิน โครงการ ตามเอกสารที่แนบพร้อมนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ลงชื่อ (นางสาวจงอร ศรีสวัสดิ์) ผู้รับผิดชอบโครงการ เครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัย
แบบรายงานผลและประเมินโครงการ/กิจกรรม เครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัย ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ๑. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวจงอร ศรีสวัสดิ์ หน่วยงาน โรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน) ๒. วัตถุประสงค์โครงการ ๒.1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการด้านร่างกายที่แข็งแรงจากประสบการณ์การแบบเล่นปนเรียน ๒.2 เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะตามวัยที่เหมาะสม สามารถดูแลความปลอดภัยของตนเอง และผู้อื่นได้ ๒.3 เพื่อให้เด็ก ๆ เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินจากการเล่นอิสระร่วมกับเพื่อน ๆ ๓. เป้าหมาย ๓.๑ เชิงปริมาณ นักเรียนซึ่งเป็นเด็กปฐมวัยอายุระหว่าง 3-๕ ปี ในระดับชั้นอนุบาลปีที่ ๑ – ๓ ร้อยละ 90 มีพัฒนาการ เหมาะสมตามวัย มีร่างกายที่แข็งแรง กล้าแสดงออก มีความสุขจากการเรียนรู้โดยผ่านประสบการณ์ตรงและทำ กิจกรรมที่หลากหลายแบบเล่นปนเรียนในห้องบอลและเล่นเครื่องเล่นสนาม ๓.๒ เชิงคุณภาพ นักเรียนซึ่งเป็นเด็กปฐมวัยอายุระหว่าง 3-๕ ปี ในระดับชั้นอนุบาลปีที่ ๑ – ๓ มีพัฒนาการด้านร่างกาย ที่เหมาะสมตามวัย มีร่างกายที่แข็งแรง กล้าแสดงออก มีความสุขจากการเรียนรู้โดยผ่านประสบการณ์ตรงและทำ กิจกรรมที่หลากหลายแบบเล่นปนเรียน เล่นประกอบอุปกรณ์ เล่นในห้องบอลและเล่นเครื่องเล่นสนาม ๔. งบประมาณที่ได้รับอนุมัติและงบประมาณรายจ่าย ๔.๑ งบประมาณที่ได้รับอนุมัติ จำนวน ๑๐,๐๐๐ บาท ๔.๒ งบประมาณรายจ่ายจริง จำนวน ๑๐,๐๐๐ บาท ๕. ความสำเร็จของการดำเนินงาน ๕.๑ ประสิทธิภาพการดำเนินกิจกรรมเป็นไปตามกระบวนการ PDCA อยู่ในระดับ มากที่สุด ค่าเฉลี่ย ๔.60 คิดเป็นร้อยละ ๙2.11 ๕.๒ ประสิทธิผลของการดำเนินกิจกรรมเป็นไปตามเป้าหมาย อยู่ในระดับ มากที่สุด ค่าเฉลี่ย ๔.๖๑ คิดเป็นร้อยละ ๙1.88 ๕.๓ ความพึงพอใจที่มีต่อโครงการ/กิจกรรมของผู้เกี่ยวข้อง อยู่ในระดับ มากที่สุด ค่าเฉลี่ย ๔.62 คิดเป็นร้อยละ ๙2.57
๖. ประโยชน์ที่ได้รับจากกิจกรรม/โครงการ 1. เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการด้านร่างกายที่แข็งแรงจากประสบการณ์การแบบเล่นปนเรียน 2. นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์เป็นไปตามวัยที่เหมาะสม ดูแลความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้ 3. เด็ก ๆ เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินจากการเล่นอิสระร่วมกับเพื่อน ๆ ๗. ข้อเสนอแนะ และแนวทางการพัฒนาในการดำเนินงานครั้งต่อไปของผู้ดำเนินโครงการ จัดหาและดูแลเครื่องเล่นต่าง ๆ ให้มีความปลอดภัย เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัย (นางสาวจงอร ศรีสวัสดิ์) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ผู้รับผิดชอบ/ผู้รายงาน ลงชื่อ (นางมณัฐนันท์ สิงห์เส) หัวหน้างานวิชาการ ลงชื่อ (นางไพเราะ ใจชื่น) รองผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน) ลงชื่อ (นายเดชาพัชร การกิ่งไพร) ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน)
ภาพกิจกรรมหรือหลักฐานร่องรอยการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการเครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัย
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลกิจกรรม/โครงการ เครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัย คำชี้แจง แบบประเมินนี้เป็นแบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดำเนินกิจกรรมและโครงการ โดย การประเมินผลเป็นรายข้อแบบการประเมินค่า ๕ ระดับ ดังนี้ ๕ หมายถึง ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือความพึงพอใจของกกิจกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด ๔ หมายถึง ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือความพึงพอใจของกกิจกรรมอยู่ในระดับมาก ๓ หมายถึง ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือความพึงพอใจของกกิจกรรมอยู่ในระดับปานกลาง ๒ หมายถึง ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือความพึงพอใจของกกิจกรรมอยู่ในระดับน้อย ๑ หมายถึง ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือความพึงพอใจของกกิจกรรมอยู่ในระดับน้อยที่สุด สรุปความคิดเห็นของคณะครูเกี่ยวกับโครงการ เครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัย โรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน) (N = ๓5 ) ลำดับ ที่ รายการ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. ประสิทธิภาพของการดำเนินกิจกรรม/โครงการ ๑.๑ มีการวางแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน (Plan) ๒๓ ๑๐ ๒ - - ๑.๒ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน (Do) ๒๑ ๑๐ 4 - - ๑.๓ การดำเนินงานตรงตามระยะเวลาที่กำหนด (Do) ๒๕ 5 5 - - ๑.๔ มีการประเมินผลและติดตามการปฏิบัติทุกขั้นตอน (Check) 21 ๑๔ - - - ๑.๕ มีการนำผลการประเมินมาปรับปรุงการดำเนินงานให้เกิดประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น (Action) ๒๙ ๔ 2 - - รวม 119 43 13 - - รวมเป็น 595 172 39 - - ค่าเฉลี่ย ๘06 = ๔.60 คิดเป็นร้อยละ 92.11 ๒. ประสิทธิผลของการดำเนินกิจกรรม/โครงการ ๒.๑ เป็นโครงการที่เกิดประโยชน์โดยตรงกับผู้เรียน ๒๐ ๑๐ 5 - - ๒.๒ ผู้เข้าร่วมโครงการตรงตามเป้าหมายด้านปริมาณ ๒๘ 7 - - - ๒.๓ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับประโยชน์ตามเป้าหมายด้านคุณภาพ ๒7 8 - - - ๒.๔ เป็นโครงการที่เกิดประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม ๒1 ๑4 - - - ๒.๕ ผลที่ได้จากโครงการสามารถนำไปพัฒนางานด้านอื่นๆ ได้ ๒3 ๑๒ - - - รวม 119 51 5 - - รวมเป็น 595 204 15 - - ค่าเฉลี่ย 804 = ๔.๖๑ คิดเป็นร้อยละ ๙๑.๘๘
สรุปผลการประเมินกิจกรรม/โครงการเครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัย ๑. ประสิทธิภาพการดำเนินกิจกรรมเป็นไปตามกระบวนการ PDCA อยู่ในระดับ มากที่สุด ค่าเฉลี่ย ๔.60 คิดเป็นร้อยละ ๙2.11 ๒. ประสิทธิผลของการดำเนินกิจกรรมเป็นไปตามเป้าหมาย อยู่ในระดับ มากที่สุด ค่าเฉลี่ย ๔.๖๑ คิดเป็นร้อยละ ๙1.88 ๓. ความพึงพอใจของการดำเนินกิจกรรม อยู่ในระดับ มากที่สุด ค่าเฉลี่ย ๔.62 คิดเป็นร้อยละ ๙2.57 คำชี้แจงและวิธีการคำนวณแบบประเมินผล อยู่ในระดับ...................... หมายถึง มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด โดยพิจารณาจากค่าเฉลี่ย ที่คำนวณได้ ดังนี้ ๔.๕๑ – ๕.๐๐ หมายถึง มีประสิทธิภาพหรือประสิทธิผลของกิจกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด ๓.๕๑ – ๔.๕๐ หมายถึง มีประสิทธิภาพหรือประสิทธิผลของกิจกรรมอยู่ในระดับมาก ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถึง มีประสิทธิภาพหรือประสิทธิผลของกิจกรรมอยู่ในระดับปานกลาง ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถึง มีประสิทธิภาพหรือประสิทธิผลของกิจกรรมอยู่ในระดับน้อย ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถึง มีประสิทธิภาพหรือประสิทธิผลของกิจกรรมอยู่ในระดับน้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย...................... คำนวณได้จาก ผลรวมในช่องรวมทั้งหมดของแต่ละระดับคะแนนหารด้วย 5 คิดเป็นร้อยละ .............. คำนวณได้จาก ค่าเฉลี่ย X 20 สรุปผลสำเร็จของโครงการ (รวมประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและประเมินความพึงพอใจ)หาร3 คิดเป็นร้อยละค่าเฉลี่ย x 20 ลำดับ ที่ รายการ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๓. ความพึงพอใจของการดำเนินกิจกรรม/โครงการ ๓.๑ เครื่องเล่นมีจำนวนมากพอกับจำนวนเด็ก ๒๐ ๑5 - - - ๓.๒ เครื่องเล่นมีความสะอาดและปลอดภัย ๒๓ ๑๒ - - - ๓.๓ เครื่องเล่นที่จัดหามีความเมาะสมกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ๒๘ ๗ - - - ๓.๔ เครื่องเล่นสามารถพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัยได้ดี ๒๐ ๑๕ - - - ๓.๕ เด็กๆทุกคนมีโอกาสได้มาเล่นเครื่องเล่นเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ๑๙ ๑๖ - - - รวม ๑10 ๖5 - - - รวมเป็น 550 ๒๖๐ - - - ค่าเฉลี่ย ๘10 = ๔.62 คิดเป็นร้อยละ ๙๒.๕๗
กลุ่มบริหารงานวิชาการ : แผนงานพัฒนากระบวนการเรียนการสอน ผู้รับผิดชอบโครงการ : นางสาวจงอร ศรีสวัสดิ์ วัตถุประสงค์ 1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการด้านร่างกายที่แข็งแรงจากประสบการณ์การแบบเล่นปนเรียน 2 เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะตามวัยที่เหมาะสม สามารถดูแลความปลอดภัยของตนเอง และผู้อื่นได้ 3 เพื่อให้เด็ก ๆ เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินจากการเล่นอิสระร่วมกับเพื่อน ๆ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการด้านร่างกายที่แข็งแรงเหมาะสมตามวัยจากประสบการณ์การแบบเล่นปนเรียน 2. นักเรียนมีคุณลักษณะตามวัยที่เหมาะสม ดูแลความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้ 3. เด็ก ๆ เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินจากการเล่นอิสระร่วมกับเพื่อน ๆ ข้อเสนอแนะ จัดหาให้เพียงพอต่อความต้องการในการทำกิจกรรมและดูแลเครื่องเล่นต่างๆ ให้สะอาด มีความ ปลอดภัย เหมาะสมและสอดคล้องกับวัยตลอดจนสอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัย โครงการเครื่องเล่นเพื่อพัฒนาความแข็งแรงของร่างกายเด็กปฐมวัย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ รูปภาพกิจกรรม/โครงการ