–
0|P a g e
สนับสนนุ โดย คณุ พลรตั น์ เพชรพูล
จดหมายเหตุจากผแู้ ต่ง–
ผมชื่อว่า สุธิพงษ์ สงกรานต์ (อาจารย์
ป้อม) ปัจจุบันทาหน้าที่แอดมินเพจ
บ้าน SketchUp และwww.3DeeD.com
ผมเป็นคนที่รักและหลงใหลการใช้งาน
โปรแกรมสามมิติ โดยเฉพาะอย่างย่ิง
การสร้างโมเดลสามมิติท่ีละเอียดและ
สวยงาม เพ่อื นามาเปน็ ทางเลือกใหม่ๆ ให้กบั งานก่อสร้างของผมและทีมงาน
หนังสือเล่มนี้จัดทาข้ึน เพ่ือรวบรวม วีดีโอการสอนท้ังหมดของผมตลอด 5 ปีที่ผ่านมา
โดยเฉพาะ VDO ที่กระจัดกระจายอยู่ตาม Social Network ต่างๆ และเรียบเรียงออกมาเปน็
ตอนๆ อย่างมีระเบียบ โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือให้ทุกคนสามารถเข้าถึงความรู้และVDO
ทั้งหมดได้อยา่ งง่ายดายและสะดวกย่งิ ข้นึ โดยหนงั สือจะประกอบด้วยคาอธิบายภาพรวมของ
วีดีโอทั้งหมดและ QR-CODE สาหรับดผู ่านแอพพลิเคชั่นไลน์ ย่ิงกว่านั้น เพ่ือความสะดวกใน
การเรียนรู้ของผู้อ่านทีไ่ ม่นิยมการรบั ชมแบบออนไลน์ เราจะจดั ส่งไฟล์ VDO ที่เรียบเรียงเป็น
หมวดหมอู่ ยา่ งละเอียดหลายร้อยตอน ให้ทกุ คนนาไป Download เก็บไวใ้ นคอมพวิ เตอร์ ซึ่งจะ
ช่วยให้การเรียนรู้สามารถทาได้สะดวกมากข้นึ ในกรณีที่ไม่มี Internet
สุดท้าย ผมขอขอบคณุ ทกุ ๆ ท่านทีค่ อยสนบั สนุนผลงานของเรามาตลอด 5 ปี โดยเราสัญญา
ว่า จะไม่หยุดค้นคว้า ศึกษา และพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ มาฝากผู้อ่านทุกท่านในทุกๆ เช้า
ตลอดไป ขอขอบคุณทุกท่านจากใจจริงครับผม
1|P a g e
สนับสนุนโดย คุณ พลรัตน์ เพชรพลู
สารบัญ 7
9
CHAPTER 1 – BASIC SKETCHUP สาหรบั งานกอ่ สรา้ ง 10
12
ตอนที่ 1 – การ Download และติดตั้งโปรแกรม SketchUp 15
ตอนที่ 2 – ทาความรู้จักโปรแกรม SketchUp 17
ตอนที่ 3 – การเลือก Template และการเคลื่อนที่บนโปรแกรม SketchUp 19
ตอนที่ 4 – หลักการพนื้ ฐานในการสร้างโมเดลสามมิติบน SketchUp 21
ตอนที่ 5 – การกาหนดระยะที่แน่นอนให้กบั ชิ้นงาน 23
ตอนที่ 6 – การกาหนดระยะที่แน่นอนให้กับชิน้ งาน 25
ตอนที่ 7 – การ Select ชิน้ งานแบบมืออาชีพ 26
ตอนที่ 8 – เรียนรู้การล๊อคแกน การสร้าง Group และการหมุนชิน้ งานทีเ่ ป็น Group 28
ตอนที่ 9 – เทคนิคการใช้คาสั่ง Paint Bucket Tool สาหรับงานทาสีวัสดุ 29
ตอนที่ 10 – พืน้ ฐานการสร้างโมเดลสามมิติบ้านแบบแยกชิ้นงานเป็น Group ย่อย 30
ตอนที่ 11 – สร้างชิน้ งานทีเ่ ปน็ Component และการใช้คาส่งั Follow Me 31
ตอนที่ 12 – การใช้คาสงั่ Outliner ในการแจกแจงชือ่ Group/Component ในโมเดล 32
ตอนที่ 13 – การใช้คาสงั่ Outliner สาหรบั มืออาชีพ 33
ตอนที่ 14 – การใช้คาส่ัง Layer เพือ่ แบ่งหมวดงานของโมเดลอย่างรวดเร็ว 34
ตอนที่ 15 – การใช้ชดุ คาสง่ั Sandbox สาหรบั งาน Landscape
ตอนที่ 16 – Geo-Location และ 3Dwarehouse 2|P a g e
ตอนที่ 17 – การปรบั เงา (Shadow) และหมอก (Fog)
ตอนที่ 18 – การนาเสนอผลงานแบบ Animation และการสร้าง VDO
สนับสนุนโดย คุณ พลรัตน์ เพชรพูล
ตอนที่ 19 – การสร้างโมเดลเก้าอ้ีแบบง่ายและแบบมืออาชีพ 35
ตอนที่ 20 – พื้นฐานการสร้างโมเดลสามมิติแบบ Assembly ตอนที่ 1 36
ตอนที่ 21 – พนื้ ฐานการสร้างโมเดลสามมิติแบบ Assembly ตอนที่ 2 37
ตอนที่ 22 – พนื้ ฐานการสร้างโมเดลสามมิติแบบ Assembly ตอนที่ 3 38
ตอนที่ 23 – พนื้ ฐานการสร้างโมเดลสามมิติแบบ Assembly ตอนที่ 4 39
ตอนที่ 24 – การถอดปริมาณวัสดุด้วยคาสัง่ Generate Report
40
CHAPTER 2 – ADVANCE SKETCHUP สาหรับงานกอ่ สร้าง
42
ตอนที่ 1 – การสร้าง Grid Line ฐานราก และเสาตอม่อ 43
ตอนที่ 2 – การสร้าง คานคอดิน เสาชั้น 1 และพื้น 44
ตอนที่ 3 – การบจัดการ Model ด้วย Outliner และ Dynamic Component 45
ตอนที่ 4 – การสร้างโครงหลังคาและการวางเหล็กอะเส/ขื่อ 46
ตอนที่ 5 – การสร้างโมเดลหลงั คาในส่วนของตะเฆ่ 47
ตอนที่ 6 – การสร้างโครงหลงั คาและการวางเหล็กอะเส/ขื่อ 48
ตอนที่ 7 – การใช้คาสงั่ Solid Tool เพื่อตัดจันทนั เหล็ก 49
ตอนที่ 8 – การสร้างโมเดลแป 50
ตอนที่ 9 – การสร้างโมเดลกระเบอื้ งมุงหลงั คาแบบมีความหนา 51
ตอนที่ 10 – การติดตั้งครอบหลังคาที่นามาจาก 3Dware house
53
CHAPTER 3 – พืน้ ฐานการเขียนแบบสองมิตดิ ว้ ย LayOut 54
ตอนที่ 1 – ทาความรู้โปรแกรม LayOut 3|P a g e
ตอนที่ 2 – การติดต้ังและเตรียมพร้อมใช้งาน LayOut
สนับสนุนโดย คณุ พลรตั น์ เพชรพูล
ตอนที่ 3 – เริม่ ต้น LayOut โดยศึกษาจากมืออาชีพ 55
ตอนที่ 4 – คาสั่ง Line และ Shape Style 56
ตอนที่ 5 – การสร้างและแก้ไข Shape 57
ตอนที่ 6 – การใช้ Default Tray และ Pattern Fill 58
ตอนที่ 7 – การเชื่อมต่อ LayOut เข้ากับ SketchUp 59
ตอนที่ 8 – การปรบั แต่ง Styles 60
ตอนที่ 9 – การใช้คาสัง่ Dimension 61
ตอนที่ 10 – การใช้คาสั่ง Label 62
ตอนที่ 11 – การใช้งาน Scrapbook 63
ตอนที่ 12 – สรุปพื้นฐานการใช้โปรแกรม LayOut 64
ชุด VDO สอนการใช้งาน LayOut 2018 13 ตอน
65
CHAPTER 4 – การใชง้ าน LayOut สาหรบั มืออาชีพ
68
ตอนที่ 1 – 8 นาทที่จะทาให้คนเขียนแบบมีชิวิตดีด๊ ีด้วยโปรแกรม LayOut 70
ตอนที่ 2 – การสร้างภาพตัดในโปรแกรม LayOut ด้วย Super Section 71
ตอนที่ 3 – การสร้าง Grid Line ด้วย Dynamic Component แบบเทพๆ 72
ตอนที่ 4 – เทคนิคการการใช้งาน LayOut แบบมืออาชีพ 73
ตอนที่ 5 – สอนการสร้าง Scrapbook อย่างละเอยี ดใน LayOut 2018
4|P a g e
สนบั สนนุ โดย คุณ พลรัตน์ เพชรพลู
CHAPTER 5 – พื้นฐาน Dynamic Component 75
76
ตอนที่ 1 – ทาความรู้จกั Entities และ Attributes 77
ตอนที่ 2 – พืน้ ฐานการสร้าง Dynamic Component 79
ตอนที่ 3 – เทคนิคการใช้งานโปรแกรม SketchUp คล้ายโปรแกรมขั้นสงู 80
ตอนที่ 4 – การใช้ Dynamic Component เพื่อถอดปริมาณวัสดุ 81
ตอนที่ 5 – การใช้คาสงั่ onClick เพือ่ เปิด/ปิด ประตูแบบ Auto 82
ตอนที่ 6 – การใช้คาสง่ั onClick เพื่อเลื่อนลิน้ ชกั แบบ Auto 83
ตอนที่ 7 – การใช้คาส่ัง onClick เพื่อเลือ่ นลิ้นชกั แบบ Auto
ตอนที่ 8 – การสร้าง Dynamic Component มีไอคอนคลิกเปลี่ยนรปู ร่าง 84
86
CHAPTER 6 – Extension เสริมเพื่อช่วยเพิ่มประสทิ ธิภาพในการทางาน 89
92
ตอนที่ 1 - การติดตั้ง Extension 95
ตอนที่ 2 - สอนการใช้งาน Dibac 98
ตอนที่ 3 - สอนการใช้งาน Profile builder 2 101
ตอนที่ 4 - สอนการใช้งาน Profile builder 3 104
ตอนที่ 5 - สอนการใช้งาน Quantifier Pro 107
ตอนที่ 6 - สอนการใช้งาน T2HBuilding Structure Tool (BST)
ตอนที่ 7 - สอนการใช้งาน 3Skeng
ตอนที่ 8 - สอนการใช้งาน MSPhysics
ตอนที่ 9 – Trimbleconnect
5|P a g e
สนบั สนนุ โดย คุณ พลรตั น์ เพชรพูล
CHAPTER 1
BASIC SKETCHUP สำหรับงำนก่อสร้ำง
6|P a g e
สนบั สนุนโดย คณุ พลรตั น์ เพชรพูล
พนื ้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนที่ 01 - กำร Download และติดตงั ้ โปรแกรม SketchUp
ในบทนี้จะเริ่มต้นสอนใช้งานโปรแกรม SketchUp โดยเริ่มจากวิธีการ Download
และติดตั้งโปรแกรม SketchUp ลงในคอมพิวเตอร์ของทุกๆ คน โดยให้เข้าไปที่
https://www.sketchup.com/download/all ทุกคนสามารถดูวิธีการ Download และ
ติดตั้งท้ังหมด ตาม VDO ใน QR CODE นะครับ
7|P a g e
สนบั สนุนโดย คณุ พลรัตน์ เพชรพลู
เมื่อเข้ามาถึงหน้าเว็บไซต์แล้วให้เรา Login จากน้ัน กดไปที่ Sign In to Trimble ID เมื่อกดเขา้
ไปแล้วจะต้องเลือกวธิ ีการ Login ในกรณีที่มี Gmail Account ให้เลือกไปที่ Sign In With Google (Login
Gmail) หลังจากที่ทาการ Login เรียบร้อยแล้ว ก็จะสามารถเลือกดาวน์โหลดได้ต้ังแต่เวอร์ช่ัน 2017
ถึง 2019 โดยตรวจสอบระบบปฏิบตั ิการของเราให้ดีว่าเป็น ระบบ Windows 64 Bit หรือ Mac OSX
8|P a g e
สนบั สนนุ โดย คุณ พลรัตน์ เพชรพลู
พนื ้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนที่ 02 – ทำควำมรู้จกั โปรแกรม SketchUp
หลังจากติดต้ังโปรแกรม SketchUp เรียบร้อยแล้ว ผมเล่าเรื่องราวของ
โปรแกรม SketchUp ในประเทศไทย ร่วมถึงบอกแหล่งความรู้ต่าง ๆ ทีท่ ุกคนจะสามารถ
เข้าไปเรียนรู้ เพ่ือนามาต่อยอดในการทางานได้ โดยทุกคนสามารถ เข้าไปดูเรื่องราว
ท้ังหมดตามลิงค์ VDO QR-CODE ได้เลยครบั
ผลงำนกำรสร้ำงโมเดลสำมมิติของตำ่ งประเทศ
9|P a g e
สนบั สนนุ โดย คณุ พลรัตน์ เพชรพลู
พนื ้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนท่ี 03 – กำรเลอื ก Template และกำรเคลอื่ นท่ีบนโปรแกรม SketchUp
หลงั จากที่เล่าถึงทีม่ าที่ไปของโปรแกรม SketchUp แล้วในตอนผ่านมา ในตอนที่ 3
นี้ผมจะเริ่มต้นสอนวิธีการเลือก Template และการใช้คาส่ังพ้ืนฐานในโปรแกรม
SketchUp (รูปภาพอ้างอิงจาก 2018)
ขนั้ ตอนแรก ให้เปิดโปรแกรม SketchUp ข้นึ มา จากนั้น เลือก Template โดยให้คลิกไปที่
คาว่า Choose Template โดย Template มีจะมีให้เลือกหลายรูปแบบ ในที่นี้สาหรับ
มือใหม่แนะนาให้เลือกเป็น Simple Template Meters (เป็น Template เบื้องต้นเหมาะ
สาหรับมือใหม่เพราะมีพืน้ ดินและท้องฟา้ ให้เราเหน็ และมีหน่วยการทางานเปน็ เมตร)
เนือ่ งจากต้องการให้ทุกคนเริม่ ต้นแบบงา่ ย ๆ ผมจะสอนการเรียกเครือ่ งมือพ้ืนฐาน
ออกมาใช้งาน เพียงไม่กี่ตวั เท่านั้น การเรียกเครือ่ งมือมาใช้งาน สามารถทาได้ง่ายมาก
เพียงคลิกขวาที่แถบเครื่องมือด้านบนของหน้าจอ ก็จะสามารถเรียกใช้เครือ่ งมือทีเ่ รา
ต้องการใช้งานได้ทันที โดยทุกคนสามารถ เข้าไปดูวิธีการท้ังหมดตามลิงค์ VDO QR-
CODE ได้เลยครับ
10 | P a g e
สนบั สนนุ โดย คณุ พลรัตน์ เพชรพูล
หลงั จากที่เราเรียนรู้วิธกี ารเลือกเครื่องมือมาใช้งานให้เหมาะสมกับมือใหม่แล้ว ขน้ั ตอน
ต่อไปคือการเรียนรู้หลักการพ้ืนฐานในการ Zoom In/Zoom Out , การเลือกชิ้นงาน, การ
ยา้ ยตาแหน่ง และการหมุนมุมมองการทางาน โดยประกอบด้วยสามคาส่งั ที่สาคัญคอื การ
เลื่อนล้อตรงกลางของ Mouse ไปมา เพ่ือ Zoom In/ Zoom out, คาส่ัง Select, คาส่ังPan
(เลือ่ นภาพหน้าจอ) และ คาส่ัง Orbit (การหมนุ มมุ มองหน้าจอ)
คาส่งั /เครื่องมือ Select ใช้สาหรบั การคลิกเลือกชนิ้ งานทีต่ ้องการ
คาส่ัง Pan ใช้สาหรับการเลือ่ นหน้าจอเพ่ือเปลี่ยนไปยงั ตาแหน่ง
ทีเ่ ราต้องการ
คาสั่ง Orbit ใช้สาหรับการหมุนหรือเปลีย่ นมุมมองในโปรแกรม
SketchUp
11 | P a g e
สนบั สนนุ โดย คณุ พลรัตน์ เพชรพลู
พนื ้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนที่ 04 – หลกั กำรพนื ้ ฐำนในกำรสร้ำงโมเดลสำมมติ ิบน SketchUp
หลังจากที่ทุกคนได้เรียนรู้คาส่ัง Select คาสั่ง Pan และ คาส่ัง Orbit รวมถึงการ
Zoom In/Zoom Out ไปเรียบร้อยแล้ว ในตอนนี้ ผมจะสอนทุกคน ให้เข้าใจหลักการ,
วธิ ีการเคลือ่ นยา้ ย และปรบั เปลี่ยนมุมมองบน SketchUp เพ่อื ที่จะเตรียมความพร้อมใน
การเรียนรู้ในข้ันต่อไป
ดังนั้นในตอนที่ 4 นี้ ผมจะเริ่มต้นจากหลักการและวิธีการพ้ืนฐานในการสร้าง
โมเดลสามมิติแบบ Surface Modeling โดยเริ่มต้นทาความเข้าใจหลักการของแกน
(Axes) ในโปรแกรม SketchUp ซึ่งต่อไปนี้เราจะเรียก แกนแดง ว่าแกน X เรียกแกน
เขียวว่าแกน Y และแกนน้าเงินว่าแกน Z ทุกคนสามารถลากเส้นไปตามแกนต่าง ๆ
เหล่านีไ้ ด้โดยสงั เกตจากสีของเส้นที่เปลีย่ นไปตามสีของแกน
12 | P a g e
สนับสนนุ โดย คุณ พลรัตน์ เพชรพูล
ถ้าทุกคนดูตาม VDO QR-CODE จะเห็นว่า เมื่อเราลากเส้นดินสอที่อยู่บนระนาบ
เดียวกันมาต่อกันเป็นรูปปิด ยกตัวอย่างเช่น รูปทรงสี่เหลี่ยม หรือสามเหลี่ยม โปรแกรม
SketchUp จะสร้างพ้ืนผิวสีเทาหรือขาวข้ึนมาแบบ Auto โดยต่อไปนี้จะเรียกพ้ืนผิวที่สร้าง
ข้นึ มาวา่ “ Face “ และเส้นดินสอที่อยรู่ อบ ๆ วา่ “ ขอบ (Edge)”
ใน VDO ทุกคนก็จะเหน็ วา่ Face ถูกสร้างข้นึ มาจากขอบหรือ Edge ดงั นั้นเม่อื ขอบถกู
ลบออกไป ด้วยคาสั่งยางลบ (Eraser) Face ทีต่ ิดอยกู่ ับขอบน้ันกจ็ ะหายไปด้วยเช่นกัน
พืน้ ฐำนของโมเดลสำมมิตปิ ระกอบด้วย Edge และ Face
Edge และ Face มีควำมสมั พนั ธ์กนั ถ้ำลบ Edge จะพบวำ่ Face จะหำยไปด้วย
13 | P a g e
สนับสนนุ โดย คณุ พลรัตน์ เพชรพลู
เราสามารถใช้คาสั่ง Move เคลื่อนย้าย Edge หรือ Face เพ่ือให้เกิดรูปทรงแปลก ๆ
รวมถึง สามารถใช้คาสั่ง Push/Pull ดึง Face ให้กลายเป็นรูปทรงสามมิติอยา่ งง่ายดาย โดย
จาหลักการง่าย ๆ ไวน้ ะครบั
1. สร้างเส้นให้กลายเป็น Face
2. จากนั้นสร้าง Face ให้กลายเป็นรปู ทรงสามมิติด้วยคาส่ัง Push/Pull
เรำสำมำรถย้ำยขอบของชนิ ้ งำนหรือ Face ได้อย่ำง
อิสระด้วยคำสงั่ Move
กำรสร้ำงโมเดลสำมมิติในโปรแกรม SketchUp ทำได้
ง่ำยมำก ๆ เพียงแค่ใช้คำสง่ั Push/Pull ดงึ Face ให้ยืด
ขนึ ้ ไปตำมทิศทำงที่ต้องกำร
14 | P a g e
สนับสนนุ โดย คณุ พลรตั น์ เพชรพลู
พนื ้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนท่ี 05 – กำรสร้ำงโมเดลสำมมติ ิบ้ำนอยำ่ งงำ่ ยด้วยคำสงั่
พนื ้ ฐำน
ในตอนที่ 5 ผมจะสอนวิธีการสร้างหลงั คา ทางเขา้ บ้าน ประตแู ละหน้าต่าง โดยสิ่ง
สาคัญในตอนนคี้ ือจุด Inference Point หรือจุดอ้างอิงในการคลิกชิ้นงาน จุดเหล่านจี้ ะมี
อยใู่ นตาแหน่งต่าง ๆ ดังในแสดงในภาพ
คลกิ ท่ี Face จะเห็นจดุ สนี ำ้ เงิน คลกิ ที่ขอบ จะเหน็ จดุ สแี ดง
คลกิ ที่มมุ จะเห็นจดุ สเี ขยี ว คลกิ ท่ีกง่ึ กลำงขอบ จะเห็นจดุ สี
ฟ้ ำ
ด้วยการใช้คาส่งั เพยี งไม่กี่ตัว เช่น Move, ดินสอ และสีเ่ หลีย่ ม ผมกส็ ามารถสร้างบ้าน
ในส่วนทีเ่ ป็นหลงั คา ทางเขา้ บ้าน ประตู หน้าต่าง และปล่องควนั ได้อยา่ งง่ายดาย
15 | P a g e
สนบั สนุนโดย คณุ พลรัตน์ เพชรพลู
ก็จะได้หลงั คำจว่ั อย่ำงรวดเร็ว
ย้ำยเส้นกง่ึ กลำงขนึ ้
ด้วยคำสงั่ ไมก่ ี่ตัว เรำจะสำมำรถ
สร้ำงบ้ำนได้อยำ่ งรวดเร็ว
16 | P a g e
สนบั สนุนโดย คุณ พลรตั น์ เพชรพลู
พนื ้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนท่ี 06 – กำรกำหนดระยะทแี่ นน่ อนให้กบั ชนิ ้ งำน
ในตอนที่ 6 ผมจะสอนให้ทกุ คนสร้างโมเดลสามมิติทีเ่ ป็นแบบมืออาชีพมากข้นึ โดย
ผมจะสอนวิธีการสร้างโมเดลสามมิติรูปทรงต่าง ๆ ที่มีขนาดที่แน่นอน โดยการพิมพ์
ระยะทาง ความกวา้ ง ความยาว ความสูง หรือรศั มขี องวงกลม
หลกั การทางานกไ็ ม่ยุ่งยาก เพยี งแค่ ในขณะที่เราเรียกใช้คาสงั่ ต่าง ๆ ข้นึ มาใช้งาน
ให้ทุกคนมองที่ด้านล่างขวาของหน้าจอ จะมีกล่องข้อความให้เรากรอกตัวเลขหรือระยะที่
ต้องการ (หรือบางครั้งอาจจะเป็นสัญลกั ษณ์หรือตวั หนงั สือ) ยกตวั อยา่ งเช่น ในขณะที่ผม
ลากเส้นไปตามแนวแกนแดง (เส้นจะเปลี่ยนเป็นสีแดง) ก็สามารถกาหนดความยาวของ
เส้นตรงได้ทนั ที โดยการพมิ พ์ 8 จากน้ันกด Enter ถ้าทาถกู ต้องจะได้เส้นตรงตามแนวแกน
แดงทีม่ ีระยะความยาวเทา่ กับ 8 เมตรพอดี
โดยปกติเราควรจะพิมพ์หน่วยไปพร้อม ๆ กับตัวเลขทุกครั้ง เช่น 1m = 1 เมตร,
1cm= 1 เซ็นติเมตร, 1mm = 1 มิลลิเมตร, 1” = 1 นิ้ว แต่เหตุที่คนส่วนใหญ่ไม่ต้องพิมพ์
หน่วย ก็เพราะว่า โปรแกรม SketchUp จะกาหนดหน่วยให้กับเราแบบอัตโนมัติตามหน่วย
ของ Template ทีเ่ ราเลือกไว้ เช่นถ้าเลือก template หน่วยเมตร ถ้าพมิ พร์ ะยะเท่ากบั 1 น่ัน
กห็ มายถึง 1 เมตรโดยอตั โนมตั ิน่นั เอง
ในขณะลำกเส้น พมิ พ์ค่ำควำมยำวแล้วกด Enter เรำสำมำรถกำหนดรัศมขี องวงกลมได้เช่นกนั
17 | P a g e
สนับสนนุ โดย คณุ พลรตั น์ เพชรพลู
การตรวจสอบระยะหรือขนาดของชิ้นงานที่เราสร้างข้ึนมา ทาได้โดยการใช้คาสัง่
หรือเครือ่ งมือสองตัว ตวั แรกเรียกกวา่ Dimension ส่วนตัวท่สี องเรียกวา่ เทปวดั หรือ Tape
Measure Tool โดยเทปวดั ไม่เพียงแต่สามารถใช้วัดระยะได้ แต่มนั ยงั ช่วยในการกาหนดเส้น
Guide ล่วงหน้า เพ่ือให้เราสามารถรู้ระยะที่แน่นอนของชิ้นงานที่เรากาลังจะสร้าง ใน
รปู แบบที่ซบั ซ้อนได้ด้วยครบั
คำสง่ั Dimension ใช้สำหรับวัดระยะในโมเดล คำสง่ั Tape Measure ใช้วดั ขนำด
ชนิ ้ งำนและสร้ำงเส้น Guide ได้ด้วย
18 | P a g e
สนับสนนุ โดย คณุ พลรตั น์ เพชรพลู
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนที่ 07 – กำร Select ชิน้ งำนแบบมอื อำชีพ
หลายคนอาจจะมองขา้ มคาส่ัง Select เพราะคดิ วา่ เปน็ คาสั่งพ้นื ฐานง่ายๆ เท่านนั้
จึงไม่ได้ศึกษาการทางานกันอย่างถ่องแท้ อย่างไรก็ตาม ผมกลับเชื่อว่าคาส่ัง Select
เป็นคาส่ังที่สาคัญมากที่สุด เพราะเราใช้มันอยตู่ ลอดเวลา ร่วมกับคาสั่งหรือเครือ่ งมือ
อื่นๆ ดังนั้นเพอ่ื ที่จะให้มือใหมท่ างานได้อยา่ งรวดเร็วแบบมืออาชีพ ในตอนที่ 7 นี้ ผมจะ
สอนวิธีการเลือกชิ้นงานด้วยคาสั่ง Select ซึ่งสามารถแยกย่อยได้หลากหลายวิธี
ดงั ต่อไปนี้
1. การเลือกชนิ้ งานหลายตัวพร้อมกนั ด้วยวธิ ีการคลิกซ้ายค้างไวแ้ ล้วลากครอบ
2. วิธีการเลือกชิ้นส่วนเดียวหรือหลายส่วนพร้อมกันโดยการคลิก 1 คร้ัง 2 คร้ัง
หรือ 3 ครั้งบนชิน้ งาน
3. วธิ ีการเลือกชิน้ งานหลายส่วนโดยการคลิกพร้อมกด Shift หรือ Control คา้ งไว้
ในขณะทาการ Select
คลกิ ครอบจำกซ้ำยมำขวำต้องครอบ 100% คลกิ ครอบจำกขวำมำซ้ำยไม่ต้อง 100% ก็ได้
19 | P a g e
สนับสนนุ โดย คณุ พลรตั น์ เพชรพูล
คลกิ 1 ครงั ้ คลกิ 2 ครงั ้ คลกิ 3 ครงั ้
เพอ่ื เลอื ก Face เดียว เพ่อื เลอื ก Face และขอบ เพือ่ เลอื กชนิ ้ งำนทงั ้ หมด
กด Control ค้ำงไว้ในขณะ Select กด Shift ค้ำงไว้ในขณะ Select
ปลำยลกู ศรสญั ลกั ษณ์ + ปลำยลกู ศรสญั ลกั ษณ์ +-
กำรเลอื กชนิ ้ งำนหลำยชนิ ้ พร้อมกนั สำมำรถคลิกได้ทีละตวั โดยขณะเลอื กชนิ ้ งำนให้กด
Shift หรือ Control ค้ำงไว้ กำรกด Control สำมำรถเลอื กได้อย่ำงเดียว คลกิ ซำ้ เพือ่ เลอื ก
ออกไมไ่ ด้เหมือนกำรกด Select พร้อมกบั Shift
20 | P a g e
สนับสนุนโดย คุณ พลรัตน์ เพชรพูล
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนท่ี 08 – เรียนรู้กำรลอ็ กแกน กำรสร้ำง Group และกำรหมนุ ชนิ ้ งำนท่ีเป็น Group
สาหรบั มือใหม่ท่เี ริ่มต้นสร้างโมเดลสามมิติ อาจจะกงั วลเกีย่ วกบั ทิศทางของแกน
แดง เขียว และน้าเงิน ยกตัวอย่าเช่น การลากเส้นตรงง่าย ๆ ไปตามแนวแกนแดง
อาจจะกลายเป็นเรื่องยาก ดังนั้น เพ่ือช่วยให้การลากเส้น หรือการย้ายชิ้นงานทาได้
ง่ายข้ึน โปรแกรม SketchUp จึงออกแบบให้มีล็มอกแกน แดง เขียว และน้าเงิน เพ่ือ
ช่วยให้การสร้างโมเดลสามารถทาได้ง่ายขนึ้
กด Shift ค้ำงไว้เม่ือเส้นเปลี่ยนเป็ นสแี ดง เขียว หรือนำ้ เงิน เพ่ือบงั คบั ให้เส้นนนั ้ วิ่งตำม
แนวแกนท่ีเรำเลอื กไว้ โดยไมต่ ้องกงั วลว่ำจะหลดุ หรือเลอื่ นออกไป
แตถ่ ้ำต้องกำรเลอื กแกนให้กบั เส้นตรงตงั ้ แต่ครัง้ แรก ให้กดลกู ศรท่ีแป้ นพมิ พ์
ต่อไป ให้ทุกคนทดลองสร้างชิน้ งานข้นึ มาสองชนิ้ จากน้ันย้ายชนิ้ งานทั้งสองให้มาติดกัน
จากน้ันเม่อื พยายามแยกชิน้ งานออกจากกัน จะพบวา่ เราไม่สามารถแยกชนิ้ งานทั้งสอง
ชิ้นที่ติดกันนีอ้ อกจากกันได้ สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะวา่ เมื่อ Face หรือ Edge ถูกยา้ ย
มาติดหรือชนกัน Face และ Edge ท้ังหมดที่ชนหรือติดกันน้ัน จะกลายเป็นชิ้นส่วน
21 | P a g e
สนับสนนุ โดย คุณ พลรตั น์ เพชรพลู
เดียวกันทันที และไม่สามารถที่จะแยกออกจากกันได้อีก เหตุการณ์แบบนี้เกิดข้ึนอยู่
เสมอ ไม่สามารถป้องกันได้ นอกจากจะออกคาส่ังให้ชิ้นงานแต่ละชิ้นแยกออกจากกนั
ด้วยการ Make Group
เพ่อื ป้องกนั ไม่ให้ชนิ้ งานสองชิน้ ตดิ กนั เราต้องเลือกชนิ้ งานแรกทงั้ หมดก่อน จากน้ันคลกิ
ขวา แล้วคลิกที่คาส่ัง Make Group เพ่ือออกคาส่ังสร้างชิ้นงานให้เป็น Group จากน้ัน
เลือกชิน้ งานทีส่ องแล้วออกคาส่งั Make Group เช่นเดียวกัน
ชิน้ งานใด ๆ กต็ ามเมื่อกลายเปน็ Group แล้ว เราจะสามารถคลิกเลือกท้ังหมดได้เพียง
การคลิกเพียงคร้ังเดียว และเมื่อลาก Group สอง Group เข้ามาติดกัน เราจะสามารถ
แยกออกจากกันได้ในภายหลัง ทุกคนสามารถเรียนรู้การสร้าง Group และการใช้งาน
ของ Group ในขน้ั พ้นื ฐานได้ตาม VDO-QR CODE ที่เราได้แนบไวไ้ ด้เลยครบั ผม
เมอ่ื ชนิ ้ งำนทีไ่ ม่ไช่ Group เลอ่ื นมำติดกนั เรำจะไม่สำมำรถแยกชนิ ้ งำนทงั ้ สองชนิ ้
ออกจำกกนั ได้อีกดงั แสดงในภำพ
22 | P a g e
สนบั สนุนโดย คุณ พลรัตน์ เพชรพูล
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนท่ี 09 – พืน้ ฐำนกำรสร้ำงโมเดลสำมมติ ิบ้ำนแบบแยกชิน้ งำนเป็น Group ย่อยๆ
ในตอนที่ 9 ผมจะอธิบายวธิ ีการและขน้ั ตอนสร้างโมเดลบ้านสามมิติแบบแบ่งส่วน
ต่าง ๆ ออกเป็น Group โดยเริ่มต้นจากการเขียนแปลนสองมิติด้วยคาสั่งสี่เหลี่ยมและ
Offset จากนั้นก็ใช้คาสง่ั Push/Pull สร้างผนงั ข้นึ มาเป็นรปู ทรงสามมิติ ในขน้ั ตอนนี้ อยา่
ลืมเลือกผนังทั้งหมดและสร้างให้เป็น Group
สร้ำงแปลนบ้ำนด้วยคำสงั่ สเี่ หลยี่ มและ Offset
กำร Make Group จะทำให้ผนงั แยกออกจำกพืน้
อำคำร ซง่ึ ในควำมเป็ นจริงเรำไม่ต้องกำรให้ติดกนั
ขั้นตอนต่อไป จะเป็นการสร้าง Group ของพ้ืนอาคาร และตามด้วยการเจาะผนังเพอ่ื ใส่
ประตูและหน้าต่างด้วยการใช้คาสั่ง Edit Group และสุดท้าย ก็เรียนรู้วิธีทาสีลงบนชิ้นงานด้วย
คาสง่ั Paint Bucket
23 | P a g e
สนับสนนุ โดย คณุ พลรตั น์ เพชรพลู
ตวั อยำ่ งกำรใช้ Tape Measure สร้ำงแนวของประตแู ละหน้ำต่ำง จำกนนั ้ ใช้คำสง่ั Edit
Group เข้ำไปด้ำนในผนังและเจำะรูด้วยคำสงั่ สเ่ี หลยี่ มและ Push/Pull
ถ้ำต้องกำรทำสใี ห้กบั ชนิ ้ งำน ให้ใช้คำสงั่
Paint Bucket Tool
24 | P a g e
สนบั สนุนโดย คุณ พลรัตน์ เพชรพูล
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนท่ี 10 – เทคนิคกำรใช้คำสงั่ Paint Bucket Tool สำหรับงำนทำสวี สั ดุ
หลังจากที่เราได้สร้างช่องเปิดของผนังไว้แล้ว ในตอนนี้ ผมจะสอนวิธีการสร้าง
ประตูและหน้าต่าง ๆ โดยท้ังประตูและหน้าต่างจะต้องเป็น Group แยกออกจากผนัง
อาคาร ไม่เช่นนั้นเราจะไม่สามารถแก้ไขหรือย้ายตาแหน่งของประตูและหน้าต่างได้อีก
ในภายหลัง การแบ่งชนิ้ งานออกเป็น Group คอื หวั ใจของสร้างโมเดลแบบมืออาชีพครับ
ประตแู ละหน้ำตำ่ งสร้ำงเป็ น Group ทำสไี ม้และกระจก
เมื่อหน้ำต่ำงให้เป็ น Group แล้วเรำจะได้ชนิ ้ งำนทส่ี ำมำรถ
แยกออกจำกกนั ได้ดงั ภำพ
25 | P a g e
สนบั สนุนโดย คุณ พลรัตน์ เพชรพลู
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนที่ 11 – สร้ำงชิน้ งำนที่เป็น Component และกำรใช้คำสงั่ Follow Me
ในตอนที่ 11 ผมจะสอนวิธีการสร้าง Component และจะสอนให้ทุกคนเข้าใจความ
แตกต่างระหว่าง Group กับ Component โดยข้อดีที่เห็นได้ชัดเจนของ Component ที่
เหนือกวา่ Group กค็ อื เมือ่ Component ตวั ใดตัวหนึง่ ถกู แก้ไข Component ทั้งหมดที่มีชื่อ
เดียวกันจะเปลี่ยนแปลงเหมอื นกนั ท้ังหมดทันที ซึ่งจะช่วยประหยดั เวลาทีใ่ ช้ในการทางาน
ลงอยา่ งมาก
คลกิ ขวำทีช่ นิ ้ งำน จำกนนั ้ เลอื ก Make Component
แทน Make Group จำกนนั ้ คลิก Create เรำกจ็ ะได้
Component ขนึ ้ มำทนั ที
ทดลองสร้ำงหน้ำต่ำงอกี สองตัว แต่ครำวนีใ้ ห้ทำเป็ น Component เพื่อ
เปรียบเทยี บควำมแตกต่ำงระหวำ่ งหน้ำตำ่ งสองตวั แรกทีเ่ ป็ น Group
26 | P a g e
สนับสนุนโดย คณุ พลรัตน์ เพชรพลู
ในตอนท้ายของ VDO จะเป็นการสร้างหลังคา ด้วยการใช้คาส่ัง Follow Me คาสงั่
Follow Me ทางานคล้าย ๆ กับคาสั่ง Push/Pull ต่างกันเพียงแต่ Follow Me สามารถยืด
Face ให้ว่ิงไปตามแนวหักมมุ หรือโคง้ ได้ อย่างไรก็ตาม การใช้คาสง่ั Follow Me จะต้องมี
แนวอ้างอิง โดยแนวอ้างอิงอาจจะเป็น Edge หรือ Face ก็ได้ ซึ่งจะอธิบายหลักการทางาน
ท้ังหมดไวใ้ นตอนท้ายของ VDO
สร้ำงสำมเหลยี่ มขนึ ้ มำทข่ี อบหลงั คำ
เม่ือใช้คำสง่ั Follow Me กจ็ ะได้หลงั คำดงั รูป
27 | P a g e
สนบั สนุนโดย คณุ พลรัตน์ เพชรพูล
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนท่ี 12 – กำรใช้คำสงั่ Outliner ในกำรแจกแจงชื่อ Group/Component ในโมเดล
ในตอนที่ 12 ผมจะสอนการใช้งานคาสั่ง Outliner ซึ่งเป็นคาส่งั ทีส่ าคญั มากสาหรับ
คนที่ต้องการสร้างโมเดลทีม่ ีความละเอียดสูง เพราะ Outliner จะช่วยให้เรารู้ว่าชนิ้ งาน
ใดอยู่ตรงไหนของโมเดล ย่ิงกว่านั้นถ้าใช้งานร่วมกับคาสั่ง Entity Info ก็จะสามารถต้ัง
ชือ่ และแจกแจงชนิ้ งานต่าง ๆ ในโมเดลได้อยา่ งง่ายดายและสนุกมาก ๆ
Group สำมำรถแยกออกจำกกนั
ได้อยำ่ งอิสระ
Entity Info ตรวจสอบข้อมลู ของ
ชนิ ้ งำนและเปลย่ี นชือ่ ของ Group
Outliner ช่วยแจกแจกหมวด
งำนทงั ้ หมดในโมเดล
28 | P a g e
สนบั สนนุ โดย คุณ พลรัตน์ เพชรพูล
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนที่ 13 – กำรใช้คำสง่ั Outliner สำหรบั มืออำชีพ
ในตอนที่ 13 ผมจะสอนการใช้คาส่ัง Outliner เพ่ิมเติม เพ่ือให้ทุกคนสามารถ
นาไปใช้งานได้อยา่ งเป็นมืออาชีพ โดย Outliner สามารถช่วยให้เราเลือกชนิ้ งานในโมเดล
ได้อยา่ งรวดเรว็ ช่วยให้เราแบ่งหมวดงานต่าง ๆ ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ และยังมคี าสั่ง
Filter เพ่อื ช่วยให้เราหาชิน้ งานใด ๆ ก็ได้ ในโมเดลสามมิติได้อยา่ งรวดเรว็ อีกด้วย
Entity Info ใช้สำหรับตงั ้ ชอื่ /กำหนดข้อมลู ให้กบั โมเดล
Outliner ช่วยแยกแยกหมวดงำนแบบมือ 29 | P a g e
อำชพี
สนบั สนุนโดย คณุ พลรัตน์ เพชรพลู
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนท่ี 14 – กำรใช้คำสงั่ Layer เพ่ือแบง่ หมวดงำนของโมเดลอยำ่ งรวดเร็ว
ในตอนนีเ้ ราจะมาเรียนรู้อีกคาสงั่ Layer ที่ใช้ในการแจกแจงหมวดงานบนโปรแกรม
SketchUp หลายคนอาจจะสังเกตเห็นว่าหลาย ๆ โปรแกรมที่ทางานซับซ้อนน้ันจะมี
Layer แทบทกุ ตวั ลองมาดกู ันครบั วา่ Layer คอื อะไร? และมนั ทางานอยา่ งไร?
กำหนด Layer ให้กบั ชนิ ้ งำนทุกๆ ตวั
สำมำรถเปลยี่ นสชี นิ ้ งำนให้เป็ นสี Layer ได้
สขี อง Layer เปลย่ี นได้ตำมต้องกำร
30 | P a g e
สนับสนนุ โดย คณุ พลรตั น์ เพชรพูล
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
\
ตอนที่ 15 – กำรใช้ชดุ คำสงั่ Sandbox สำหรับงำน Landscape
ในตอนที่ 15 ผมจะสอนการใช้ชุดคาส่ังที่ชื่อว่า Sandbox สร้างโมเดลสามมิติของภูมิ
ประเทศสงู ๆ ต่า ๆ โดยเริ่มต้นจากการสร้างเส้น Contour ข้ึนมาก่อน จากนั้น ใช้คาส่ัง
From Contours สร้างเนินดินข้ึนมาเป็นรูปทรงสามมิติ ต่อจากนั้น ก็นาโมเดลบ้านและ
ถนนมาวางด้านบนของเนินดิน ด้วยคาสงั่ Stamp และ Drape
ชดุ คำสงั่ Sandbox สำหรบั งำนประเภท Landscape
เริ่มจำกกำรสร้ำงเส้น Contour ด้วยคำสงั่ Freehand
คำสง่ั Stamp เพื่อวำงบ้ำนบนเนนิ ดิน
คำสงั่ Drape เพื่อสร้ำงแนวของถนน
31 | P a g e
สนบั สนุนโดย คณุ พลรตั น์ เพชรพูล
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนที่ 16 – Geo-Location และ 3D warehouse
ในตอนที่ 16 ผมจะสอนวิธีการวางโมเดลสามมิติลงบนแผนที่โลกสามมิติ ด้วย
คาสั่ง GEO-LOCATION และ Sandbox หลังจากวางโมเดลบ้านเรียบร้อยแล้ว ผมก็จะสอน
วธิ ีการ Download โมเดลสามมิติต่าง ๆ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ รถยนต์ รั้วบ้าน หรือ ต้นไม้ เข้ามา
วางไวใ้ นโมเดลได้ด้วยครบั ผ่านคาสง่ั ทีช่ ือ่ วา่ 3D Warehouse
พมิ พ์ตำแหนง่ หรือชือ่ ของตำบลท่ีตงั ้
เลอื กตำแหนง่ ทเ่ี รำต้องกำร
ตวั อยำ่ งโมเดลท่เี สร็จเรียบร้อยแล้ว
32 | P a g e
สนับสนุนโดย คณุ พลรตั น์ เพชรพลู
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนที่ 17 – กำรปรับเงำ (Shadow) และหมอก (Fog)
ในตอนที่ 17 ผมจะสอนวิธีการปรบั แสงและเงาของโมเดล โดยอ้างอิงจากตาแหน่งพน้ื
โลกที่เราวางโมเดลไว้ เราสามารถกาหนด วัน และเวลา เพ่ือใช้ในการตรวจสอบทิศทาง
ของแสงแดดและเงาได้ ส่วนคาส่ังหมอก (Fog) เมื่อเปิดใช้งานแล้วก็จะช่วยเพ่ิมมิติในการ
มองของโมเดลที่เราสร้าง โดยชิ้นส่วนที่อยู่ไกลจะดูจางลงเนื่องจากผลของหมอกนน่ั เอง
ครับ
หน้ำตำ่ ง Fog สำหรับปรับหมอก
หน้ำต่ำง Shadows ปรับแสงและเงำ
ตวั อยำ่ งโมเดลท่ีแสดงทศิ ทำงของแสงและเงำ
33 | P a g e
สนับสนนุ โดย คุณ พลรัตน์ เพชรพูล
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนท่ี 18 – กำรนำเสนอผลงำนแบบ Animation และกำรสร้ำง VDO
ในตอนที่ 18 ผมจะสอนให้ทุกคนสร้าง Animation เพ่ือนาเสนอผลงานของเราให้
ออกมาเป็น VDO ในรูปแบบ MP4 ทีส่ ามารถส่งต่อให้คนอื่นดไู ด้
คำสงั่ สร้ำง Scenes เป็ นฉำก ๆ คล้ำยกบั เรำเป็ นผ้กู ำกบั หนงั
เม่ือสร้ำง Scenes กส็ ำมำสง่ ออกเป็ น VDO ได้ครับ
ตวั อย่ำง VDO แบบ MP4 ที่สร้ำงขนึ ้ มำ
34 | P a g e
สนบั สนุนโดย คุณ พลรัตน์ เพชรพูล
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนที่ 19 – กำรสร้ำงโมเดลเก้ำอแี ้ บบง่ำยและแบบมืออำชีพ
ในตอนที่ 19 ผมจะเปรียบเทียบวิธีการสร้างโมเดลสามมิติเก้าอี้ ในหลากหลาย
รูปแบบ โดยจะเริ่มต้นจากการสร้างโมเดลแบบง่าย ๆ ไม่สนใจขนาด จนถึงการสร้างโมเดล
แบบแยกส่วนสมจริง รวมถึงการบริหารจัดการส่วนต่าง ๆ ของชนิ้ งานทั้งหมดด้วย Outliner
ตวั อยำ่ งโมเดลเก้ำอที ้ ี่สร้ำงขนึ ้ มำแบบง่ำย ๆ
สำหรบั มอื อำชพี ต้องสร้ำงโมเดลแบบแยก
สว่ นต่ำง ๆ สมจริง
35 | P a g e
สนับสนุนโดย คุณ พลรตั น์ เพชรพลู
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนที่ 20 – พืน้ ฐำนกำรสร้ำงโมเดลสำมมิตแิ บบ Assembly ตอนที่ 1
ในตอนที่ 20 ผมจะสอนวิธีการสร้างโมเดลสามมิติโครงเหล็กที่ประกอบด้วย
ชิ้นงานเสมือนจริง โดยเริ่มจนจากการสร้างเหล็กเพลทขนาด 250x250x6 มม. ข้ึนมา
จากนั้นกส็ ร้างเสาเหลก็ กล่องมาวางไวด้ า้ นบนและประกอบกนั กลายเปน็ โครงเหลก็ เพ่อื ใช้
รองรบั ท่อ (Pipe Support)
สร้ำงเหลก็ เพลทขนึ ้ มำเป็ น Component จำกนนั ้ สร้ำงเสำ Component วำงไว้ด้ำนบนของเหล็กเพลท
หมนุ ชนิ ้ งำนด้วยคำสง่ั Rotate
ยดื ชนิ ้ งำนให้ยำวขนึ ้ ด้วยคำสง่ั Scale
36 | P a g e
สนบั สนนุ โดย คุณ พลรตั น์ เพชรพูล
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนท่ี 21 – พืน้ ฐำนกำรสร้ำงโมเดลสำมมิตแิ บบ Assembly ตอนที่ 2
หลังจากสร้างโครงเหลก็ Pipe Support เรียบร้อยแล้ว ในตอนที่ 21 นี้ ผมจะสอนให้
ทุกคนสร้างโมเดลสามมิติของท่อและอุปกรณ์ยึดท่อ โดยเริ่มต้นจากการสร้างท่อข้ึนมา
ก่อน แล้วนาไปวางไว้บน Support เหล็ก จากนั้นสร้าง U Bolt ข้ึนมาล็อกท่อให้ติดกับ
Pipe Support
สร้ำงทอ่ HDPE ขนึ ้ มำวำงบน Support สร้ำง U Bolt ขนึ ้ มำให้พอดีกบั ขนำดของท่อ
ประกอบชนิ ้ งำนทงั ้ หมดเข้ำด้วยกนั
37 | P a g e
สนบั สนุนโดย คุณ พลรัตน์ เพชรพูล
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนท่ี 22 – พืน้ ฐำนกำรสร้ำงโมเดลสำมมติ ิแบบ Assembly ตอนที่ 3
ในตอนที่ 22 ผมจะสอนเทคนิคการยา้ ยท่อของ ด้วยการ Move และ Copy
แบบมืออาชีพ จากน้ันก็จะสอนการสร้าง Component ซ้อน Component เพ่ือสร้าง
โมเดลสามมิติที่ความซับซ้อนให้เป็นระเบียบมากข้ึน ต่อยอดไปสู่การทางานในข้ันที่
สูงข้นึ
โมเดลทงั ้ หมดแยกเป็ นสว่ น ๆ
ตวั อยำ่ งกำรแก้ไข Component ที่เหมอื นกนั
เมอื่ เปลย่ี นแปลง Component ตวั ใดตวั หน่ึง
ตวั ทเ่ี หมือนกนั ก็จะเปลย่ี นไปพร้อม ๆ กนั
38 | P a g e
สนับสนนุ โดย คุณ พลรัตน์ เพชรพูล
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนที่ 23 – พืน้ ฐำนกำรสร้ำงโมเดลสำมมิตแิ บบ Assembly ตอนท่ี 4
ในตอนที่ 23 ผมจะสอนเทคนิคในการบริหารและจัดการโมเดลด้วยคาสั่ง
Outliner โดยทุกคนจะสามารถนาไปต่อยอดในการสร้างโมเดลสามมิติต่าง ๆ ไม่ว่าจะ
เปน็ งานสถาปัตยกรรม วศิ วกรรม หรือ งานระบบ ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
โมเดระบบท่อที่สร้ำงแบบ Component ซ้อน Component
แบง่ หมวดงำนใหญ่ออกเป็ นงำน STEEL และ PIPE WORK
ตวั อยำ่ ง Outliner แสดงชนิ ้ สว่ นย่อย
ตวั อยำ่ ง Outliner แสดงภำพรวม
39 | P a g e
สนบั สนนุ โดย คณุ พลรัตน์ เพชรพูล
พืน้ ฐำนกำรใช้งำนโปรแกรม SketchUp
ตอนที่ 24 – กำรถอดปริมำณวสั ดดุ ้วยคำสง่ั Generate Report
ในตอนที่ 24 ซึ่งเป็นตอนสุดท้ายของชุดการสอนพ้ืนฐานโปรแกรม SketchUp
ผมจะสอนการใช้คาสั่ง Generate Report ถอดปริมาณวสั ดขุ องชนิ้ งานทั้งหมดที่เราสรา้ ง
ข้นึ มา และรายงานผลออกมาเปน็ ตาราง
ตวั อย่ำงหน้ำต่ำง Generate Report
เลอื กค่ำ Attribute ทีต่ ้องกำรรำยงำน
ตวั อย่ำงกำรรำยงำนจำนวนและควำมยำวของเหลก็
ลฌก
40 | P a g e
สนับสนนุ โดย คณุ พลรัตน์ เพชรพลู
CHAPTER 2
ADVANCE SKETCHUP สำหรับงำนกอ่ สร้ำง
41 | P a g e
สนับสนุนโดย คณุ พลรตั น์ เพชรพูล
SketchUp ขนั้ สงู สำหรบั งำนกอ่ สร้ำง
ตอนท่ี 1 – กำรสร้ำง Grid Line ฐำนรำก และเสำตอมอ่
ในตอนที่ 1 ผมจะเริม่ ต้นสอน จากการสร้าง Grid Line ด้วยคาสั่ง Sandbox จากนน้ั
ก็จะสอนวธิ ีการสร้าง Component ฐานรากและเสาตอม่อ ที่กาหนดแกน (Axes) ให้อยตู่ รง
กลางของชิน้ งานพอดี หวั ใจของการเรียนรู้ในตอนนี้ กค็ อื การปรับ Style ให้ดูเปน็ มืออาชีพ
และการใช้คาส่ัง Component ใน Default Tray เพ่ือเลือก Component ที่เคยสร้างไว้แล้ว
กลบั มาใช้งานในโมเดลอยา่ งรวดเรว็
ตวั อยำ่ งกำรสร้ำงโมเดลแบบ Object-Based Model (OBM) เหมอื นตวั ตอ่ เลโก้
ตำแหนง่ แกนของเสำตอมอ่ วำงอย่ตู รงกลำงพอดี
42 | P a g e
สนบั สนนุ โดย คุณ พลรตั น์ เพชรพูล
SketchUp ขนั้ สงู สำหรบั งำนกอ่ สร้ำง
ตอนท่ี 2 – กำรสร้ำง คำนคอดนิ เสำชนั้ 1 และพืน้
ในตอนที่ 2 ผมจะสอนเทคนิคการสร้างคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่สามารถหมุนและยึด
ติดกับเสาได้แบบ Auto ด้วยคาส่ังที่เรียกกว่า Glue to Any จากน้ันจะสอนการสร้างเสาช้ัน 1
และพ้ืนอาคารท้ังแบบทีเ่ ป็นพ้นื หล่อในทีแ่ ละพ้นื สาเร็จรปู
ตวั อย่ำงโมเดลคำนคอนกรีต
ตวั อย่ำงงำนพนื ้ และเสำชนั ้ 1
43 | P a g e
สนับสนุนโดย คณุ พลรตั น์ เพชรพูล
SketchUp ขนั้ สงู สำหรับงำนก่อสร้ำง
ตอนที่ 3 – กำรบจดั กำร Model ด้วย Outliner และ Dynamic Component
ในตอนที่ 3 ผมจะสอนวิธีการแบ่งหมวดหมู่ของ Component ใน Outliner และสอน
การสร้างฐานรากให้เป็น Dynamic Component โดย Dynamic Component จะช่วยให้เรา
สามารถกาหนดและบอกขนาดของชิ้นงานนั้น ๆ ได้แบบ Auto อีกท้ังยังสามารถบันทึกขอ้ มลู
ต่าง ๆ ทีเ่ ราต้องการส่งต่อให้คนอื่นดูลงไปได้ด้วยครบั
คำสง่ั Dynamic Component
หน้ำตำ่ ง Component Attributes
หน้ำตำ่ ง Component Options
ตวั อยำ่ งฐำนรำกทถ่ี ูกสร้ำงแบบ Dynamic Component
44 | P a g e
สนับสนุนโดย คุณ พลรตั น์ เพชรพลู
SketchUp ขนั้ สงู สำหรบั งำนกอ่ สร้ำง
ตอนที่ 4 – กำรสร้ำงโครงหลงั คำและกำรวำงเหลก็ อะเส/ข่อื
ในตอนที่ 4 ผมจะสอนวธิ ีการลากเส้นแนวโครงหลังคาด้วยคาสั่ง Follow Me จากนั้น
จะสอนการสร้าง Component โครงเหลก็ หลงั คาในส่วนทีเ่ ปน็ อะเสและข่อื
แนวเส้นโครงหลงั คำ ที่สร้ำงด้วยคำสงั่ Follow Me
Component อะเส
ตวั อย่ำงกำรวำงโครงเหลก็ บนเส้นที่เรำสร้ำงไว้
45 | P a g e
สนบั สนุนโดย คณุ พลรตั น์ เพชรพลู
SketchUp ขนั้ สงู สำหรับงำนกอ่ สร้ำง
ตอนที่ 5 – กำรสร้ำงโมเดลหลงั คำในสว่ นของตะเฆ่
ในตอนที่ 5 ผมจะสอนวิธีการสร้างตะเฆ่ ซึ่งเป็นโครงเหล็กที่วางอยู่ที่มุมของหลัง
ปกติจะทาคอ่ นขา้ งยาก เพราะจะต้องหมนุ เหลก็ หลายครบั เทคนิคที่ผมสอนกค็ อื เทคนิคการ
แกน (Axes) ซึ่งด้วยวิธีแบบนี้ จะช่วยให้การสร้างตะเฆ่ที่มุมของหลังคาทาได้ง่ายข้ึนกว่าเดิม
มากครับ
ตวั อย่ำงกำรสร้ำงเหลก็ โครงหลงั คำในสว่ นตะเฆ่
กำรย้ำยแกนของตะเฆ่เพ่ือช่วยให้งำ่ ยตอ่ กำรทำงำน
46 | P a g e
สนับสนุนโดย คณุ พลรัตน์ เพชรพูล
SketchUp ขนั้ สงู สำหรับงำนกอ่ สร้ำง
ตอนที่ 6 – กำรสร้ำงโครงหลงั คำและกำรวำงเหลก็ อกไก่ ดงั้ และจนั ทนั
ในตอนที่ 6 ผมจะสอนการสร้างโครงหแลังคาเพ่ิมเติมในส่วนที่เปน็ ด้ัง อกไก่ และ
จันทนั โดยใช้เทคนิคพ้นื ฐานต่าง ๆ ที่เราได้เรียนรู้มาทั้งหมด
สว่ นประกอบของโครงหลงั คำทงั ้ หมด
ตวั อย่ำงกำรจดั เรียงจนั ทนั ด้วยคำสง่ั Copy
47 | P a g e
สนบั สนนุ โดย คณุ พลรตั น์ เพชรพลู
SketchUp ขนั้ สงู สำหรบั งำนก่อสร้ำง
ตอนที่ 7 – กำรใช้คำสงั่ Solid Tool เพื่อตดั จนั ทนั เหลก็
ในตอนที่ 7 ผมจะสอนการตัดเหล็กโดยเฉพาะส่วนของจันทัน ด้วยคาส่ังหรือ
เครื่องมือทีเ่ รียกวา่ Solid Tools คาสัง่ Solid Tools เปน็ คาส่ังทีใ่ ช้สาหรบั การตดั ต่อ และ
เชื่อมชิน้ งานที่เป็น Solid Group/Component เขา้ ด้วยกนั
กำรใช้ Solid Tools ตดั เหลก็ จนั ทนั ให้เข้ำพอดกี บั ตะเฆ่
ตวั อย่ำงจนั ทนั ท่ถี กู ตดั เรียบร้อยแล้ว
48 | P a g e
สนบั สนุนโดย คณุ พลรตั น์ เพชรพลู
SketchUp ขนั้ สงู สำหรบั งำนกอ่ สร้ำง
ตอนท่ี 8 – กำรสร้ำงโมเดลแป
ในตอนที่ 8 ผมจะสอนการสร้างโมเดลสามมิติของแปที่วางด้านบนของจนั ทันพอดี
จากนั้นจะสอนวธิ ีการตัดแปให้เขา้ ตามแนวมมุ ของตะเฆ่ด้วยคาส่ังหรือเครือ่ งมือ Solid
Tools
ตวั ยำ่ งกำรวำงแปลงบนจนั ทนั ด้วยคำสงั่ Copy
แปทงั ้ หมดถูกวำงและตดั ให้พอดกี บั แนวหลงั คำ
49 | P a g e