The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการจัดทำรูปแบบแนวทางการจัดการศึกษาเพื่ออาชีพจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by orranoi, 2020-04-12 05:51:18

Report Suphanburi Model

รายงานการจัดทำรูปแบบแนวทางการจัดการศึกษาเพื่ออาชีพจังหวัดสุพรรณบุรี

๔๕
จากตารางที่ ๒๑ พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรอาชีพ
ระยะสั้น ด้านลงมือปฏิบัติ อยู่ในระดับ “มากที่สุด” (X = ๔.๕๔ , S.D. = ๐.๔๘) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน
พบว่า สามารถนำไปปฏิบัติ ได้จริง อยู่ในระดับ “มากที่สุด” ( X = ๔.๗๑ , S.D. = ๐.๕๕) รองลงมาคือ
มีการให้คำแนะนำตลอดของภาคปฏิบัติ อยู่ในระดับ “มากที่สุด” ( X = ๔.๖๗ , S.D. = ๐.๖๐) และ
เครือ่ งมืออุปกรณ์ทันสมัย อยใู่ นระดับ “มาก” ( X = ๔.๔๕ , S.D. = ๐.๗๗) ตามลำดับ

การเรยี นการสอนงานไฟฟา้ งานอิเลก็ ทรอนกิ ส์ และงานคอมพิวเตอร์

๔๖

๒.๒ วิทยาลยั การอาชพี สองพี่น้อง จัดหลักสตู รฝึกอบรมวชิ าช่างเชื่อมโลหะ ณ โรงเรียน
บ้านละวา้ วงั ควาย และโรงเรยี นบ้านพนุ ำ้ รอ้ น อำเภอดา่ นช้าง จงั หวดั สพุ รรณบุรี ระหวา่ งเดือน พฤษภาคม
- กนั ยายน ๒๕๖๒ (เฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์) มีผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรมและผา่ นการฝึกอบรม รวมทัง้ สิ้น ๒๙ คน

จากการสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรช่างเชื่อมโลหะ
มผี ตู้ อบแบบสอบถาม จำนวน ๒๘ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๖.๕๕ ปรากฏผล ดงั น้ี

ตารางท่ี ๒๒ ขอ้ มูลทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม

ข้อมูลทั่วไป จำนวน รอ้ ยละ

เพศ ๑๐๐.๐๐

ชาย ๒๘
๑๐๐.๐๐
หญงิ ๐
57.14
รวม ๒๘ 14.29
10.71
อายุ 14.29
3.57
16 ปี 16 100

17 ปี 4

18 ปี 3

19 ปี 4

20 ปี 1

28

จากตารางที่ ๒๒ พบว่า มีผู้เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน ๒๘ คน เพศชาย ๒๘ คน คิดเป็น
รอ้ ยละ ๑๐๐ มอี ายรุ ะหว่าง ๑๖ - ๒๐ ปี โดยอายุ ๑๖ ปี มากทีส่ ุด คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕๗.๑๔

ตารางที่ ๒๓ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้เข้ารับการฝกึ อบรมวิชาชา่ งเชื่อมโลหะ

รายการ X S.D. ระดับ

ด้านวทิ ยากร

1. การถา่ ยทอดความรูข้ องวิทยากรมีความชัดเจน ๔.๔๓ 0.๖๓ มากท่ีสดุ

2. ความสามารถในการอธิบายเน้อื หา 4.๔๓ 0.๖๙ มากท่สี ดุ

3. การเชือ่ มโยงเนื้อหาในการฝกึ อบรม 4.3๖ 0.๗๘ มากทส่ี ดุ

4. มีความครบถ้วนของเนื้อหาในการฝึกอบรม 4.๓๖ 0.๖๘ มากที่สุด

๕. การตอบข้อซกั ถามในการฝึกอบรม 4.๓๖ 0.๕๖ มากทส่ี ดุ

เฉล่ีย 4.๓๙ 0.5๕ มากที่สดุ

ดา้ นสถานที่ / ระยะเวลา / อาหาร

๑. สถานทส่ี ะอาดและมีความเหมาะสม ๓.๙๖ ๐.๙๒ มาก

๒. ความพร้อมของอปุ กรณ์โสตทัศนปู กรณ์ ๓.๘๙ ๐.๖๓ มาก

๓. ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม ๓.๘๒ ๐.๖๑ มาก

๔. อาหารมคี วามเหมาะสม ๓.๙๖ ๐.๕๘ มาก

เฉลย่ี ๓.๙๑ ๐.๔๖ มาก

๔๗

รายการ X S.D. ระดับ

ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ ๒.๔๓ ๐.๕๗ นอ้ ย
1. ความรู้ ความเขา้ ใจในเร่ืองน้ีกอ่ นการอบรม ๓.๗๙ ๐.๔๒ มาก
2. ความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองนี้หลังการอบรม
๓.๓๐ ๐.๓๖ ปานกลาง
เฉล่ยี
3.95 0.51 มาก
ดา้ นการนำความรู้ไปใช้ 3.80 0.62 มาก
1. สามารถนำความรทู้ ี่ไดร้ บั ไปประยกุ ต์ใช้ในการปฏบิ ตั ิงานได้ 3.65 0.59 มาก
2. มคี วามม่ันใจและสามารถนำความรทู้ ไ่ี ดร้ ับไปใช้ได้
3. สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถา่ ยทอดได้ 3.80 0.50 มาก

เฉลย่ี ๔.๐๖ ๐.๔๑ มาก

รวมเฉลยี่

จากตารางที่ ๒๓ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ระดับ “มาก”
( X = ๔.๐๖ , S.D. = ๐.๔๑) โดยในด้านวิทยากร ในภาพรวมอยู่ในระดับ “มากที่สุด” ( X = ๔.๓๙ ,
S.D. = ๐.๕๕) ด้านสถานที่/ระยะเวลา/อาหาร ในภาพรวมอยู่ในระดับ “มาก” ( X = ๓.๙๑ , S.D. =
๐.๔๖) ด้านความรู้ ความเข้าใจในภาพรวม อยู่ในระดับ “ปานกลาง” ( X = ๓.๓๐ , S.D. = ๐.๓๖) และด้าน
การนำความร้ไู ปใช้ในภาพรวม อยู่ในระดบั “มาก” ( X = ๓.๘๐ , S.D. = ๐.๕๐) ตามลำดับ

การฝึกอบรมวชิ าชา่ งเชื่อมโลหะ

๔๘

๒.๓ โรงเรียนอู่ทอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๙ สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดหลักสูตรฝึกอบรมเสริมอาชีพ ได้แก่ การทำพวงกุญแจตุ๊กตา
ไหมพรม กระเป๋าจากเส้นพลาสติก พวงกุญแจนกฮูก ผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา และช่อบูเก้ด อกรวงผึ้ง
ให้แก่นกั เรยี นระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย และระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระหวา่ งวันที่ ๒๔ และ
๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๒ รวมท้งั สน้ิ ๙๒๐ คน

จากการสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมดังกล่าว มีผู้ตอบแบบสอบถาม
จำนวน ๙๒๐ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ ปรากฎผลดังน้ี

ตารางที่ ๒๔ ข้อมูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

ขอ้ มูลทั่วไป จำนวน รอ้ ยละ

เพศ ๔๑.๒๐
๕๘.๘๐
ชาย ๓๗๙ ๑๐๐.๐๐

หญิง ๕๔๑

รวม ๙๒๐

จากตารางที่ ๒๔ พบว่า มีผู้เรียนเข้ารับการฝึกอบรม จำนวน ๙๒๐ คน เพศชาย ๓๗๙ คน
คิดเปน็ ร้อยละ ๔๑.๒๐ เพศหญิง ๕๔๑ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๕๘.๘๐

ตารางที่ ๒๕ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมเสริมอาชีพ

รายการ X S.D. ระดบั

ด้านวทิ ยากร มากที่สุด
มากท่ีสดุ
1. การถ่ายทอดความรขู้ องวิทยากรมีความชดั เจน ๔.๗๙ 0.๔๘ มากที่สุด
มากที่สดุ
2. ความสามารถในการอธิบายเนือ้ หา 4.๗๑ 0.๖๗ มากทส่ี ุด
มากทส่ี ุด
3. การเชื่อมโยงเนอื้ หาในการฝกึ อบรม 4.๘๕ 0.๓๗
มากทส่ี ุด
4. มคี วามครบถว้ นของเน้ือหาในการฝกึ อบรม 4.๕๙ 0.๗๖ มากทส่ี ุด
มากทส่ี ุด
๕. การตอบข้อซักถามในการฝึกอบรม 4.๘๕ 0.๔๑ มากที่สุด
มากที่สุด
เฉลี่ย 4.๗๖ 0.๒๕
มาก
ด้านสถานที่ / ระยะเวลา / อาหาร มากทีส่ ดุ

๑. สถานที่สะอาดและมีความเหมาะสม ๔.๙๒ ๐.๒๗ มาก

๒. ความพรอ้ มของอุปกรณโ์ สตทศั นูปกรณ์ ๔.๗๙ ๐.๕๑

๓. ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม ๔.๖๔ ๐.๗๕

๔. อาหารมคี วามเหมาะสม ๔.๘๑ ๐.๔๙

เฉลี่ย ๔.๗๙ ๐.๒๘

ด้านความรู้ ความเขา้ ใจ

1. ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนี้ก่อนการอบรม ๓.๕๖ ๑.๑๔

2. ความรู้ ความเขา้ ใจในเรื่องน้ีหลังการอบรม ๔.๘๔ ๐.๔๐

เฉล่ีย ๔.๒๐ ๐.๖๒

๔๙

รายการ X S.D. ระดับ

ดา้ นการนำความร้ไู ปใช้ ๔.๘๐ 0.5๒ มากทีส่ ุด
1. สามารถนำความร้ทู ี่ไดร้ บั ไปประยุกต์ใชใ้ นการปฏบิ ัติงานได้ ๔.๘๐ 0.๔๕ มากทีส่ ุด
2. มีความมนั่ ใจและสามารถนำความรทู้ ี่ไดร้ ับไปใช้ได้ ๔.๗๓ 0.๔๖ มากท่ีสดุ
3. สามารถนำความร้ไู ปเผยแพร/่ ถา่ ยทอดได้ ๔.๘๖ ๐.๓๖ มากทส่ี ุด
๔. นักเรยี นมคี วามพงึ พอใจในการเข้ารบั การอบรมครงั้ นี้
๔.80 0.๑๙ มากทส่ี ุด
เฉลี่ย
๔.๖๔ ๐.๒๐ มากทส่ี ุด
รวมเฉลีย่

จากตารางที่ ๒๕ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ระดับ “มากที่สุด”
(X = ๔.๖๔ , S.D. = ๐.๒๐)โดย ด้านวิทยากร ในภาพรวมอยใู่ นระดบั “มากท่สี ุด” ( X = ๔.๗๖ , S.D. = ๐.๒๕)
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านสถานที่/ระยะเวลา/อาหาร ในภาพรวมอยู่ในระดับ “มากที่สุด”
(X = ๔.๗๙ , S.D. = ๐.๒๘) ด้านความรู้ ความเข้าใจในภาพรวม อยู่ในระดับ “มาก” ( X = ๔.๒๐ , S.D. = ๐.๖๒)
และดา้ นการนำความรไู้ ปใช้ ในภาพรวมอยใู่ นระดับ “มากทีส่ ุด” ( X = ๔.๘๐ , S.D. = ๐.๑๙) ตามลำดบั

ฝกึ อบรมเสริมอาชีพการทำพวงกุญแจต๊กุ ตาไหมพรม กระเปา๋ จากเสน้ พลาสติก พวงกญุ แจนกฮูก
ผลติ ภัณฑจ์ ากผักตบชวา และช่อบูเกด้ อกรวงผึ้ง

๕๐

๒.๔ โรงเรยี นธรรมโชติศึกษาลัย สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๙
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดหลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับ
อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา รูปแบบกิจกรรมเสริมหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อการเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
ในสายอาชพี เพ่ือเป็นการเพิ่มศักยภาพทางด้านอาชีพให้แก่ผู้เรียน ประกอบดว้ ย การทำอิฐบล็อก การทำ
เฟอร์นิเจอร์ เครื่องใช้ในบ้าน และการสานตะกร้าจากเส้นพลาสติกและเปลญวน ระหว่างวันที่ ๒๗ - ๒๘
สิงหาคม ๒๕๖๒ กลุ่มเป้าหมายนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ จำนวน ๗๙ คน และนักเรียนชั้น ปวช.๑ - ๒
จำนวน ๑๐๓ คน รวมทัง้ สิน้ ๑๘๒ คน

จากการสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมการทำอิฐบล็อก และการทำ
เฟอร์นิเจอร์ เครอ่ื งใช้ในบา้ น นักเรียนในระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕ จำนวน ๗๙ คน ปรากฏ ดงั น้ี

ตารางที่ ๒๖ ข้อมูลทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

ขอ้ มูลทั่วไป จำนวน ร้อยละ

เพศ ๑๐๐.๐๐

ชาย ๗๙
๑๐๐.๐๐
หญงิ ๐

รวม ๗๙

จากตารางที่ ๒๖ พบว่า มีผู้เรียนเข้ารับการฝึกอบรม จำนวน ๗๙ คน เพศชาย ๗๙ คน คิดเป็น
ร้อยละ ๑๐๐

ตารางที่ ๒๗ ความพึงพอใจการเข้าร่วมกจิ กรรมการทำอิฐบล็อก X S.D. ระดับ

รายการ 3.94 0.25 มาก
3.84 0.37 มาก
ดา้ นการจดั กิจกรรม 3.97 0.16 มาก
1. ความพอใจในรูปแบบการจัดกจิ กรรม 3.96 0.19 มาก
2. ความพอใจในด้านสถานท่ีจัดกิจกรรม 3.87 0.33 มาก
3. ความพอใจต่อครูผู้สอน 3.92 0.16 มาก
4. ความพอใจในการบริการและการอำนวยความสะดวก
5. ความพอใจในการมสี ่วนร่วมของนักเรียนทเ่ี ขา้ ร่วมกจิ กรรม 3.99 0.11 มาก
3.94 0.29 มาก
เฉลี่ย 3.97 0.16 มาก

ด้านกระบวนการ 3.99 0.11 มาก
6. นักเรียนมคี วามร้/ู ทกั ษะมากขนึ้ จากเดมิ 3.97 0.10 มาก
7. นักเรยี นมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมการเรียนรู้ 3.94 0.12 มาก
8. การจดั กิจกรรมเนื้อหา สาระ ตรงกบั ความต้องการ

ของนักเรยี น
9. นกั เรยี นนำความรทู้ ีไ่ ด้รบั ไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้

เฉลย่ี

เฉล่ียรวม

๕๑
จากตารางที่ ๒๗ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ระดับ “มาก”
( X = ๓.๙๔ , S.D. = ๐.๑๒) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ “มาก”
( X = ๓.๙๒ , S.D. = ๐.๑๖) โดยนักเรียนพึงพอใจต่อครูผู้สอน ( X = ๓.๙๗ , S.D. = ๐.๑๖) การบริการ
และการอำนวยความสะดวก ( X = ๓.๙๖ , S.D. = ๐.๑๙) และรูปแบบการจัดกิจกรรม ( X = ๓.๙๔ ,
S.D. = ๐.๒๕) ตามลำดับ ด้านกระบวนการ อยู่ในระดับ “มาก” ( X = ๓.๙๗ , S.D. = ๐.๑๐) โดย นักเรียน
มีความรู้/ทักษะมากขึ้นจากเดิม ( X = ๓.๙๙ , S.D. = ๐.๑๑) นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้
ในชีวติ ประจำวันได้ ( X = ๓.๙๙ , S.D. = ๐.๑๑) และการจัดกจิ กรรมเนื้อหา สาระ ตรงกับความต้องการ
ของนกั เรียน ( X = ๓.๙๗ , S.D. = ๐.๑๖) ตามลำดบั

การทำอฐิ บลอ๊ ก

๕๒

จากการสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝกึ อบรมทำเฟอรน์ เิ จอร์ เคร่ืองใช้ในบา้ น
ปรากฏผล ดงั น้ี

ตารางที่ ๒๘ ขอ้ มูลทว่ั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม

ขอ้ มูลท่ัวไป จำนวน รอ้ ยละ

เพศ ๑๐๐.๐๐
๐.๐๐
ชาย ๗๙ ๑๐๐.๐๐

หญงิ ๐

รวม ๗๙

จากตารางที่ ๒๘ พบว่า มีผู้เรียนเข้ารับการฝึกอบรม จำนวน ๗๙ คน เพศชาย ๗๙ คน คิดเป็น
รอ้ ยละ ๑๐๐

ตารางท่ี ๒๙ ความพึงพอใจการเขา้ ร่วมกจิ กรรมการทำเฟอรน์ ิเจอร์ เคร่อื งใช้ในบา้ น

รายการ X S.D. ระดบั

ด้านการจดั กจิ กรรม มาก
มาก
1. ความพอใจในรูปแบบการจัดกิจกรรม 3.95 0.22 มาก
มาก
2. ความพอใจในด้านสถานท่ีจดั กิจกรรม 3.81 0.39 มาก
มาก
3. ความพอใจต่อครูผู้สอน 3.99 0.11
มาก
4. ความพอใจในการบริการและการอำนวยความสะดวก 3.94 0.25 มาก
มาก
5. ความพอใจในการมสี ว่ นรว่ มของนักเรียนทเี่ ข้ารว่ มกิจกรรม 3.89 0.32 มาก
มาก
เฉล่ยี 3.91 0.13 มาก

ด้านกระบวนการ

6. นักเรียนมีความรู้/ทกั ษะมากขึ้นจากเดมิ 4.00 0.00

7. นกั เรียนมีส่วนร่วมในกจิ กรรมการเรยี นรู้ 3.86 0.35

8.การจดั กิจกรรมเน้ือหา สาระ ตรงกับความต้องการของนักเรยี น 3.95 0.22

9. นกั เรียนนำความรูท้ ี่ไดร้ ับไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวันได้ 3.97 0.16

เฉลย่ี 3.95 0.10

เฉลีย่ รวม 3.93 0.09

จากตารางที่ ๒๙ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ระดับ “มาก”
( X = ๓.๙๓ , S.D. = ๐.๐๙) เมื่อพิจารณาเป็นรายดา้ น พบว่า ด้านการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ “มาก”
( X = ๓.๙๑ , S.D. = ๐.๑๓) โดย นักเรียนพึงพอใจต่อครูผู้สอน ( X = ๓.๙๙ , S.D. = ๐.๑๑) รูปแบบ
การจดั กิจกรรม (X = ๓.๙๕ , S.D. = ๐.๒๒) และ การบรกิ ารและการอำนวยความสะดวก ( X = ๓.๙๔ , S.D.
= ๐.๒๕) ตามลำดับ ด้านกระบวนการ อยใู่ นระดบั “มาก” ( X = ๓.๙๕ , S.D. = ๐.๑๐) โดย นกั เรียนมี
ความรู้/ทักษะมากขึ้นจากเดิม ( X = ๔.๐๐ , S.D. = ๐.๐๐) นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ใน
ชีวิตประจำวันได้ ( X = ๓.๙๗ , S.D. = ๐.๑๖) และการจัดกิจกรรมเนื้อหา สาระ ตรงกับความต้องการ
ของนกั เรยี น ( X = ๓.๙๕ , S.D. = ๐.๒๒) ตามลำดบั

๕๓
การทำเฟอร์นิเจอร์ เคร่อื งใช้ในบา้ น

๕๔

จากการสอบถามความพึงพอใจของผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรมการสานตะกรา้ เส้นพลาสตกิ และ

เปลญวน ปรากฏผล ดงั นี้

ตารางท่ี ๓๐ ขอ้ มูลท่ัวไปของผูต้ อบแบบสอบถาม

ขอ้ มูลท่ัวไป จำนวน รอ้ ยละ

เพศ

ชาย ๒๕ ๒๔.๒๗

หญิง ๗๘ ๗๕.๗๓

รวม ๑๐๓ ๑๐๐.๐๐

จากตารางที่ ๓๐ พบว่า มีผู้เรียนเข้ารับการฝึกอบรม จำนวน ๑๐๓ คน แบ่งเป็น เพศชาย
๒๕ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๔.๒๗ เพศหญิง ๗๘ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๗๕.๗๓

ตารางที่ ๓๑ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรมเสริมอาชพี สานตะกรา้ เสน้ พลาสตกิ และเปลญวน

รายการ X S.D. ระดบั

ดา้ นวทิ ยากร

1. การถา่ ยทอดความรูข้ องวิทยากรมีความชดั เจน ๓.๙๕ 0.๒๒ มาก

2. ความสามารถในการอธิบายเนื้อหา ๓.๙๔ 0.๒๔ มาก

3. การเชอื่ มโยงเน้อื หาในการฝึกอบรม ๓.๙๐ 0.๓๐ มาก

4. มคี วามครบถ้วนของเนื้อหาในการฝกึ อบรม ๓.๙๖ 0.๑๙ มาก

๕. การตอบข้อซกั ถามในการฝกึ อบรม ๓.๙๑ 0.๒๘ มาก

เฉลย่ี ๓.๙๓ 0.๑๐ มาก

ด้านสถานที่ / ระยะเวลา / อาหาร

๑. สถานทส่ี ะอาดและมีความเหมาะสม ๓.๙๓ ๐.๒๕ มาก

๒. ความพร้อมของอปุ กรณโ์ สตทัศนูปกรณ์ ๓.๙๕ ๐.๒๒ มาก

๓. ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม ๓.๙๖ ๐.๑๙ มาก

๔. อาหารมคี วามเหมาะสม ๓.๙๒ ๐.๓๐ มาก

เฉล่ีย ๓.๙๔ ๐.๑๓ มาก

ด้านความรู้ ความเข้าใจ

1. ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องน้ีก่อนการอบรม ๒.๖๒ ๐.๖๐ ปานกลาง

2. ความรู้ ความเขา้ ใจในเรื่องน้ีหลังการอบรม ๓.๘๔ ๐.๓๖ มาก

เฉลี่ย ๓.๒๓ ๐.๓๘ ปานกลาง

ด้านการนำความรู้ไปใช้

1. สามารถนำความรู้ท่ีได้รับไปประยกุ ต์ใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านได้ 3.95 0.๒๖ มาก

2. มคี วามมน่ั ใจและสามารถนำความรูท้ ไ่ี ดร้ บั ไปใชไ้ ด้ 3.8๒ 0.๓๙ มาก

3. สามารถนำความรไู้ ปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ 3.๘๘ 0.๓๒ มาก

๔. นกั เรียนมคี วามพึงพอใจในการเข้ารับการอบรมครง้ั นี้ ๔.๐๐ ๐.๐๐ มาก

เฉลย่ี 3.๙๑ 0.๑๓ มาก

รวมเฉลยี่ ๓.๗๖ ๐.๑๐ มาก

๕๕
จากตารางที่ ๓๑ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ระดับ “มาก”
โดย ด้านวิทยากร ในภาพรวมอยู่ในระดับ “มาก” ( X = ๓.๙๓ , S.D. = ๐.๑๐) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน
พบว่า ด้านสถานที่/ระยะเวลา/อาหาร ในภาพรวมอยู่ในระดับ “มาก” ( X = ๓.๙๔ , S.D. = ๐.๑๓)
ด้านความรู้ ความเข้าใจ ในภาพรวม อยู่ในระดับ “ปานกลาง” ( X = ๓.๒๓ , S.D. = ๐.๓๘) และ
ด้านการนำความรไู้ ปใช้ ในภาพรวมอยู่ในระดับ “มาก” ( X = ๓.๙๑ , S.D. = ๐.๑๓) ตามลำดับ

การฝกึ อบรมสานตะกร้าเส้นพลาสติกและเปลญวน

๕๖

๒.๕ โรงเรียนวัดบางสะแก (วิทยารังสรรค์) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต ๒ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ร่วมกับวิทยาลัยการอาชีพ
สองพี่น้อง จัดการเรียนการสอนหลักสูตรอาชีพระยะสั้นที่เชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษา
รายวิชาการเดินสายไฟฟ้าในบ้าน และรายวิชาพิมพ์ดีดไฟฟ้า ให้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน้
ระหว่างเดือน พฤษภาคม - กันยายน ๒๕๖๒ และจัดหลักสูตรฝึกอบรมทักษะพื้นฐานอาชีพ การปลูก
มะเขือเทศเชอรี่ การแปรรูปอาหาร (ขนมกล้วย เผือกฉาบ ถั่วลิสงเคลือบน้ำตาล) ให้แก่นักเรียนระดับ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – มัธยมศึกษาปีที่ ๓ รวมทั้งสิ้น ๙๑ คน ระหว่างวันที่ ๓๑ สิงหาคม , ๑ -๘
กันยายน ๒๕๖๒ โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่กระบวนการปลูก
กระบวนการแปรรูป การวางแผนรูปแบบการจัดจำหน่าย โดยให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง เพื่อให้เกิดทักษะ
สามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถพัฒนาต่อยอดไปสู่
อาชีพเสริมหรือเป็นอาชพี หลกั ได้

จากการสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมการฝึกอบรมทักษะพื้นฐาน
อาชีพดังกลา่ ว ปรากฏผล ดังนี้

ตารางท่ี ๓๒ ผลการวเิ คราะห์ความพงึ พอใจของนกั เรียนทเี่ ข้าร่วมกิจกรรมฝกึ อบรมทักษะพ้นื ฐานอาชีพ

รายการ X S.D. ระดบั
มากที่สดุ
1. เน้ือหาความรทู้ ไี่ ดร้ บั 4.33 0.70 มากทสี่ ุด

2. กจิ กรรมสร้างบรรยากาศในการเรยี นรู้ทีแ่ ปลกใหม่ 4.42 0.60 มากท่ีสุด
มากท่ีสุด
น่าสนใจ มากที่สดุ
มากทีส่ ุด
3. ชว่ ยทำใหน้ ักเรยี นสนุกสนานกับการเรียนรู้ 4.37 0.66 มากท่ีสุด
มากท่ีสุด
4. ทำให้นักเรยี นมีทักษะพื้นฐานอาชีพ 4.66 0.72
มาก
5. นักเรียนมีความกระตอื รือร้นในการเรียนมากข้ึน 4.49 0.68 มากทส่ี ุด

6. อุปกรณ์ / สอ่ื การเรียนการสอน 4.25 0.67

7. สถานท่ใี นการเรียนรู้ทักษะพนื้ ฐานอาชพี 4.15 0.92

8. การถา่ ยทอดความรู้จากวิทยากร 4.58 0.60

9. ความรู้ทไ่ี ด้รบั สามารถนำไปถ่ายทอดให้ผอู้ ่ืนปฏบิ ตั ิตามได้ 4.01 0.79

10. สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจำวันได้ 4.31 0.72

รวมเฉลี่ย 4.36 0.49 มากทีส่ ุด

จากตารางที่ ๓๒ พบว่า นักเรียนท่ีเข้าร่วมกิจกรรมฝึกอบรมทักษะพื้นฐานอาชีพ มีความพึงพอใจ

ในภาพรวมอยู่ในระดับ “มากที่สุด” ( X = 4.36 , S.D. = 0.49) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทำให้
นักเรียนมีทักษะพื้นฐานอาชีพ อยู่ในระดับ “มากที่สุด” ( X = 4.66 , S.D. = 0.72) การถ่ายทอดความรู้

จากวิทยากร อยู่ในระดับ “มากที่สุด” (X = 4.58 , S.D. = 0.60) นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน

มากขึน้ อยู่ในระดับ “มากทสี่ ดุ ” (X = 4.49 , S.D. = 0.68) ตามลำดบั

๕๗
การเรียนการสอนการเดนิ สายไฟฟ้าในบ้าน

การเรยี นการสอนวิชาพมิ พ์ดีดไฟฟ้า

๕๘
การปลูกมะเขือเทศเชอรร์ ี่

๕๙

การแปรรูปอาหาร (ขนมกล้วย เผือกฉาบ)

การแปรรปู อาหาร (ถ่ัวลสิ งเคลือบน้ำตาล)

บทท่ี 5
สรุปผล และข้อเสนอแนะ

กิจกรรมการจัดทำรูปแบบแนวทางการจัดการศึกษาเพื่ออาชีพจังหวัดสุพรรณบุรี
“Suphanburi Model” มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างรูปแบบแนวทางการจัดการศึกษาเพื่ออาชีพ จังหวัด
สุพรรณบรุ ี ทเ่ี นน้ อาชีพเปน็ ฐาน (Career-Based-Education) มีกิจกรรมการดำเนนิ งาน ดงั นี้

กิจกรรมที่ ๑ วิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ด้านทรัพยากรและศักยภาพของบุคลากรในพ้ืนท่ี เพื่อ
หาจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคด้านทรัพยากรและบุคลากร และแนวโน้มอาชีพใน ๕ กลุ่มอาชีพ
ประกอบด้วย กลมุ่ อาหาร เกษตร และเทคโนโลยี กลมุ่ สาธารณสุขและเทคโนโลยกี ารแพทย์ กลมุ่ หุน่ ยนต์อจั ฉรยิ ะ
และระบบเครื่องกล อิเล็กทรอนิกส์ควบคุม กลุ่มดิจิทัล เทคโนโลยีและอินเตอร์เน็ตเชื่อมต่อ และ
กลมุ่ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วฒั นธรรมและบริการทีม่ ีมลู คา่ สงู

กิจกรรมที่ ๒ แสวงหาความร่วมมอื ภาครัฐ ภาคเอกชน ท้องถิน่ และชมุ ชน เพ่ือสร้างการรบั รู้
ความเข้าใจในการดำเนินการรว่ มกบั หนว่ ยงานการศึกษา สถาบนั การศกึ ษา หนว่ ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
ในจังหวัดสพุ รรณบุรี

กิจกรรมที่ ๓ สรุปอาชีพที่สอดคล้องกับศักยภาพพื้นที่ และความต้องการของผู้เรียน
จากแนวโน้มด้านอาชพี ๕ กลุ่มอาชพี โดยการสอบถามความคิดเห็นจากผเู้ รียน ครู บคุ ลากรทางการศึกษา
และผูป้ กครอง เกยี่ วกบั กลุม่ อาชีพท่ีสนใจ ลักษณะการจัดการศึกษา/อบรม วนั เวลาในการจัดการศึกษา/
อบรม ความคิดเห็นตอ่ ประโยชน์ของหลักสูตรที่สนใจ และความต้องการหลังผา่ น/จบการศึกษาหรืออบรม
ซึ่งกลุ่มอาชีพที่ได้รับความสนใจมากที่สุด คือ กลุ่มดิจิทัล เทคโนโลยีและอินเตอร์เน็ตเชื่อมต่อ รองลงมา
ได้แก่ กลุ่มอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการที่มีมูลค่าสูง กลุ่มอาหาร เกษตร และ
เทคโนโลยี กลุ่มสาธารณสุขและเทคโนโลยีการแพทย์ และกลุ่มหุ่นยนต์อัจฉริยะและระบบเครื่องกล
อเิ ล็กทรอนกิ สค์ วบคุม ตามลำดับ

กจิ กรรมท่ี ๔ ประสานความรว่ มมือจากสถาบนั การศึกษาในพื้นท่ี เพื่อเข้ารว่ มพฒั นารูปแบบ
แนวทาง/หลักสูตรการจัดการศึกษาเพื่ออาชีพ มีสถาบันการศึกษาเข้าร่วมดำเนินการ จำนวน ๙ แห่ง
ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี
วิทยาลัยการอาชีพสองพี่น้อง วิทยาลัยการอาชีพอู่ทอง วิทยาลัยสารพัดช่างบรรหาร-แจ่มใส สุพรรณบุรี
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี โรงเรยี นอู่ทอง โรงเรียนธรรมโชติศึกษาลัย และโรงเรยี นวัดบางสะแก
(วทิ ยารังสรรค)์

กจิ กรรมที่ ๕ กำหนดรปู แบบแนวทาง/หลกั สตู รการจัดการศึกษาเพ่ืออาชีพ มีการดำเนนิ การ
๒ รูปแบบ คือ การพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมวิชาชีพ และการเสริมสร้างศักยภาพ
ผูเ้ รยี นด้านความรู้ ทกั ษะ และสมรรถนะ เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนรตู้ วั ตน รู้จักอาชพี และปพู น้ื ฐานด้านความรู้ ทกั ษะ
และสมรรถนะด้านอาชีพ และมีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพที่ตนเองถนัดและสนใจ และเป็นข้อมูลประกอบ
การตดั สนิ ใจศึกษาต่อในระดับทส่ี ูงข้ึน และ/หรือประกอบอาชพี

กจิ กรรมที่ ๖ จดั ทำรายละเอียดหลักสตู ร และนำหลักสูตรไปใช้ มกี ารดำเนนิ การ ดงั น้ี
๑. การพฒั นาบคุ ลากรใหม้ ีความร้คู วามสามารถในการพัฒนาหลกั สตู รฝึกอบรมวชิ าชพี

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี จัดทำหลักสูตร “การออกแบบฝึกอบรมวิชาชีพ
โดยประยุกตห์ ลัก Job Analysis” เพ่อื พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจในการ
พัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมวิชาชีพ สามารถพัฒนาหลักสูตรและนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้

๖๑

อย่างมีประสิทธภิ าพ ผลจากการพฒั นาบคุ ลากรในครั้งนี้ ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมได้พฒั นาหลักสูตรฝึกอบรม
วชิ าชพี ที่เป็นการบูรณาการเนื้อหา รายวิชา ท้งั ในระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน อาชวี ศกึ ษา และอุดมศึกษา
จำนวน ๕ สาขาวิชา ประกอบด้วย สาขาช่างยนต์ สาขาช่างเชื่อมโลหะ สาขานักออกแบบป้ายโฆษณา
สาขาพนักงานขาย และสาขาธรุ กิจแปรรปู กล้วยน้ำว้าด้วยพลังงานแสงอาทติ ย์

ผลการประเมินความพงึ พอใจของผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรมหลักสูตร “การออกแบบฝึกอบรม
วิชาชีพ โดยการประยุกต์หลัก Job Analysis” พบว่า มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ “มาก”
(X = ๓.๗๘ , S.D. = ๐.๔๑)

๒. การเสริมสร้างศักยภาพผู้เรียนด้านความรู้ ทักษะ และสมรรถนะตามความสนใจและ
ความถนัดดา้ นอาชพี ดำเนินการ ดงั น้ี

๒.๑ วิทยาลัยสารพัดช่างบรรหาร-แจ่มใส สุพรรณบุรี จัดการเรียนการสอนหลักสูตร
อาชีพระยะสั้น สาขาวิชางานไฟฟ้า งานอิเล็กทรอนิกส์ งานยานยนต์ งานคอมพิวเตอร์ และงานช่างเชือ่ ม
เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนต่อสายอาชีพให้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนเทศบาล ๒
วดั ปราสาททอง โรงเรียนวัดพระธาตุ และโรงเรียนวดั ไผ่เกาะโพธ์ิงาม รวมท้งั สนิ้ ๔๘๐ คน

ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนหลักสูตรอาชีพระยะสั้น พบว่า ผู้เรียน
มีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรอาชีพระยะสั้นในภาพรวม อยู่ในระดับ “มากที่สุด”
(X = ๔.๓๑ , S.D. = ๐.๖๔)

๒.๓ วิทยาลัยการอาชีพสองพี่น้อง จัดหลักสูตรฝึกอบรมวิชาช่างเชื่อมโลหะให้แก่นกั เรียน
ณ โรงเรียนบ้านละว้าวังควาย และโรงเรียนบ้านพุน้ำร้อน อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี มีจำนวน
๒๙ คน

ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมวิชาช่างเชื่อมโลหะ พบว่า ผู้เข้ารับ
การฝึกอบรมมีความพึงพอใจในการเข้ารับการฝึกอบรมวิชาช่างเชื่อมโลหะในภาพรวมอยู่ในระดับ “มาก”
( X = ๔.๐๖ , S.D. = ๐.๔๑)

๒.๔ โรงเรียนอู่ทอง จัดหลักสูตรฝึกอบรมเสริมอาชีพ การทำพวงกุญแจตุ๊กตาไหมพรม
กระเปา๋ จากเส้นพลาสติก พวงกุญแจนกฮูก ผลติ ภณั ฑ์จากผกั ตบชวา และชอ่ บูเก้ดอกรวงผึ้ง ใหแ้ ก่นักเรยี น
ในระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย และระดบั ชน้ั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ รวมทง้ั ส้นิ ๙๒๐ คน

ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรเสริมอาชีพ พบว่า ผู้เข้ารับ
การฝึกอบรมมีความพึงพอใจในการเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรเสริมอาชีพ ในภาพรวม อยู่ในระดับ
“มากทสี่ ุด” ( X = ๔.๖๔ , S.D. = ๐.๒๐)

๒.๕ โรงเรียนธรรมโชติศึกษาลัย จัดกิจกรรมเสริมอาชีพหลักสูตรสถานศึกษา การทำ
อิฐบล็อก การทำเฟอร์นิเจอร์ เครื่องใช้ในบ้าน การสานตะกร้าเส้นพลาสติก และเปลญวน ให้แก่นักเรียน
ระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย และระดับช้ันประกาศนียบัตรวชิ าชีพ รวมทั้งสิน้ ๑๘๒ คน

ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมเสริมอาชีพ พบว่า ผู้เข้ารับ
การฝึกอบรมมคี วามพึงพอใจในภาพรวม อยใู่ นระดับ “มาก” (X = ๓.๙๔ , S.D. = ๐.๑๒)

๒.๖ โรงเรียนวัดบางสะแก (วิทยารังสรรค์) จัดหลักสูตรฝึกอบรมทักษะพื้นฐานอาชีพ
การปลูกมะเขือเทศเชอรี่ การแปรรูปอาหาร (ขนมกล้วย เผือกฉาบ ถั่วลิสงเคลือบน้ำตาล) เพื่อเพิ่มทักษะ
พื้นฐานด้านอาชีพให้แก่นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - มัธยมศึกษาปีที่ ๓ รวมทั้งสิ้น ๙๑ คน และ
ร่วมกับวิทยาลัยการอาชีพสองพี่น้อง จัดการเรียนการสอนหลักสูตรอาชีพระยะสั้นที่เชื่อมโยงการศึกษา
ขน้ั พ้นื ฐานกับอาชีวศึกษา ในรายวิชาการเดินสายไฟฟา้ ในบ้าน และรายวชิ าพิมพ์ดดี ไฟฟ้า

๖๒

ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเ้ ข้ารับการอบรม พบว่า ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมพึงพอใจ
อยใู่ นระดับ “มากทสี่ ดุ ” (X = ๔.๓๖ , S.D. = ๐.๔๙)

ข้อคน้ พบ
จากการติดตามการจัดกิจกรรมของสถานศึกษาที่ร่วมกิจกรรมการจัดทำรูปแบบแนวทาง

การจัดการศึกษาเพื่ออาชีพจังหวัดสุพรรณบุรี “Suphanburi Model” ซึ่งกิจกรรมที่สถานศึกษาจัด
มีหลายรูปแบบ เช่น การจัดหลักสูตรระยะสั้น หลักสูตรเสริมอาชีพ และผู้เรียนมีทั้งประถมศึกษา
มัธยมศึกษา และระดับอาซีวศึกษา ซึ่งพบว่า กิจกรรมที่จัดในระดับประถมศึกษา เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้
ผู้เรียนรู้จักอาชีพ และวัดความสนใจในอาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นกิจกรรมที่ทำให้ผู้เรียน
ร้ตู วั ตน รู้ข้อมูลด้านอาชีพ เปน็ การเปิดโลกทัศน์อาชีพใหก้ ับผู้เรียนและผู้ปกครอง ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
และอาชีวศึกษา เป็นกิจกรรมพฒั นาทักษะความสามารถดา้ นอาชพี และเตรียมสู่การประกอบอาชีพ หรือ
ประกอบการตัดสนิ ใจในการศึกษาตอ่

อาจกล่าวได้ว่า กิจกรรมตามโครงการจัดทำรูปแบบแนวทางการจัดการศึกษาเพื่ออาชีพ
จังหวัดสุพรรณบุรี “Suphanburi Model” เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักอาชีพ รู้ตัวตน ความถนัด
และความต้องการของตนเอง เป็นการปูพื้นฐานความรู้ ทักษะเพื่อการศึกษาต่อสายอาชีพ และเป็น
แนวทางในการเสริมสร้างศกั ยภาพผเู้ รยี นเพ่ือมุ่งส่กู ารมีงานทำ/ประกอบอาชีพในอนาคต

ขอ้ เสนอแนะ
๑. ควรส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมทักษะอาชีพให้แก่

ผู้เรียน และ/หรือให้ผู้เรียนได้เข้าฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการ โดยดำเนินการในรูปแบบ
ห้องเรียนอาชีพ หลักสูตรฝึกอาชีพระยะสั้น ทวิศึกษา ทวิภาคี ไตรภาคี Work Experience โครงงานฝึก
อาชพี การเป็นผปู้ ระกอบการ เปน็ ต้น

๒. ควรส่งเสริมสถานศึกษาทุกสังกัดได้มีการพัฒนาหลักสูตรที่มีความต่อเนื่องเชื่อมโยง
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา เพื่อปูพื้นฐานด้านความรู้และทักษะด้าน
อาชพี ให้แกผ่ ู้เรยี น และเพ่ิมโอกาสใหผ้ เู้ รียนได้มที างเลอื กในการตัดสนิ ใจศึกษาต่อในสายอาชีพเพ่ิมมากขึ้น

๓. ควรส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดการศึกษารูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ โดย
ความร่วมมอื ของสถานศึกษากับสถานประกอบการ

๔. สถานศึกษาควรทำความร่วมมือกับสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ในการประเมิน ทดสอบ
มาตรฐานฝีมือแรงงาน เพอ่ื เปน็ การเตรียมความพร้อมในการประกอบอาชีพแกผ่ เู้ รยี น

๕. ควรมีการขยายผลการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพไปยังสถานศึกษาระดับ
การศึกษาขั้นพืน้ ฐานในพื้นทีห่ ่างไกล เพื่อเป็นการเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนทีไ่ ม่ได้เรียนต่อในระดับที่สูงขึ้นไดม้ ี
ทักษะเพื่อการประกอบอาชพี

บรรณานกุ รม

สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรฐั มนตรี. (๒๕๕๙).
กกกกกกกกกกแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ีสิบสอง พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔.
กกกกกกกกกกราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนท่ี ๑๑๕ ก (๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๗).
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๖๐). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐

- ๒๕๗๙. บริษทั พริกหวานกราฟฟิค จำกดั : กรงุ เทพมหานคร.
สำนกั งานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและ
กกกกกกกกกกสงั คมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตร.ี (พ.ศ. ๒๕๖๒). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐.
กกกกกกกกกกเล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๘๒ ก (๑๓ ตลุ าคม ๒๕๖๑).
สำนกั บริหารงานการมัธยมศกึ ษาตอนปลาย สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
กกกกกกกกกก(๒๕๖๐). การขับเคลอ่ื นการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาไทย ๔.๐ เพือ่ การมีงานทำแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑.
กกกกกกกกกกโรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั : กรงุ เทพมหานคร.

ภาคผนวก

๖๕

๖๖

๖๗

๖๘

๖๙

๗๐

๗๑

๗๒

๗๓

๗๔

๗๕

๗๖

คณะผ้จู ดั ทำ

ที่ปรกึ ษา

นายวีระ ทวสี ขุ ศึกษาธิการจงั หวัดสุพรรณบรุ ี

วา่ ที่ ร.ต.นันตช์ ัย แกว้ สุวรรณ์ รองศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี

ผูจ้ ัดทำ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
นางสาวอรวรรณ คำมาก ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ
นางสาวปวณี า ธิติวรนนั ท์ ศกึ ษานเิ ทศก์ชำนาญการพเิ ศษ
นางธันชนกย์ พลศารทลู นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ
นางสาวภูษณิศา หงษ์โต นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนปฏิบัตกิ าร
นางศรีวดี ขนุ สะอาดศรี นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร
นายสุภวจั น์ อบุ ลทศั นีย์ เจา้ พนักงานธุรการชำนาญงาน
นางรสสคุ นธ์ ชมเจริญ

บรรณาธิการกิจ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพเิ ศษ
นางสาวอรวรรณ คำมาก ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการพเิ ศษ
นางสาวปวณี า ธิติวรนันท์

ออกแบบปก นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการพเิ ศษ
นางสาวอรวรรณ คำมาก


Click to View FlipBook Version