The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nosalie12, 2022-12-07 10:54:35

Individual, Society and Marlene Dietrich

Thesis project

Individual, Society
& Marlene Dietrich



Individual, Society
& Marlene Dietrich

Author Biography

Thanaporn Wongsopa “ The
idea you
Born: 22 January 2001 had of me,
Age: 21 years old who was
Nationality: Thai she? ”
Education:
Surasakmontree School (Sci-Maths-English)
Studying for bachlor ‘s degree in Fashion Design
at Bangkok University
Interest: Culture, fashion, philosophy and writing
Contact
Address: 2031/6 Phracha Songkhro rd.,
Din Daeng, Bangkok 10400
Thailand
Phone: 083-071-2636
Email: [email protected]
Instagram: flaemm.chen

I

Acknowledgements

การสร้างสรรค์โครงการ “ออกแบบเครอื่ งแต่งกายโดยไดร้ ับแรงบนั ดาลใจมาจากมาร์เลเน่อ ดที รชิ ”
เปน็ โครงการหน่ึงทีส่ ะท้อนสังคมและการเป็นปจั เจกชนของผ้คู นตั้งแตอ่ ดีตกระท่งั ถึงปจั จุบัน ท้งั ในดา้ นวถิ ี
ชีวติ แนวคิด และเคร่ืองแตง่ กาย โครงการวิจยั ฉบับนี้มอิ าจส�ำ เร็จลุลว่ งตามเปา้ หมายได้โดยลำ�พัง ต้องอาศยั
แรงผลกั ดันและการสนับสนนุ จึงปรากฏเปน็ ประจกั ษโ์ ดยสมบรู ณ์ได้
การจัดทำ�โครงการวิจัยฉบับน้ีสำ�เร็จลุล่วงด้วยความอนุเคราะห์จากอาจารย์ท่ีปรึกษาประจำ�รายวิชา
อาจารย์ดาลิตา เกตศุ ักด์ิ ท่กี รุณาเมตตาใหค้ �ำ ปรกึ ษาทั้งในดา้ นเนอ้ื หาและรูปฉบับ รวมถึงบดิ ามารดาท่คี อย
สนบั สนนุ ด้านทนุ ทรพั ยใ์ นการศกึ ษาเลา่ เรยี นเสมอมาตัง้ แต่เยาวว์ ยั จนเติบใหญ่ บุคคลผู้ท่ีคอยอยเู่ คียงขา้ ง
และเป็นขวัญก�ำ ลงั ใจ เชน่ เดียวกบั มติ รสหายท่คี อยรบั ฟงั และใหค้ ำ�แนะนำ�ดว้ ยความเข้าอกเขา้ ใจจริง
ขอขอบคุณนกั ปรชั ญาผู้ลว่ งลับ คณุ จิดดู กฤษณมูรติ ที่ได้ต้งั ค�ำ ถามจดุ ประเดน็ ทางสังคมและแนะนำ�
แนวทางปลดปล่อยอสิ รภาพใหแ้ ก่มนุษยชนทงั้ หลายผซู้ ึ่งอาศยั อยบู่ นโลก ณ ปัจจุบนั นี้ ซง่ึ เปน็ ขอ้ มลู และแนว
ความคิดสำ�คัญหน่ึงของโครงการวิจัยท่ีทำ�ให้ตระหนักถึงปัญหาและความเป็นไปซ่ึงกลับกลายเป็นเร่ืองปกติ
ของสงั คม
สดุ ท้ายน้ี ขอขอบคณุ นักแสดงหญิงผู้เปน็ หวั ใจของโครงการ คณุ มาร์เลเน่อ ดที รชิ ผู้ซึง่ เป็นแรง
บันดาลใจสำ�คัญในการศึกษาและรังสรรค์ผลงานใหอ้ อกมาเป็นรูปธรรม ด้วยความใครร่ ู้ ความรกั และความ
ใส่ใจ

II

Contents
Author Biography I ชวี ิตส่วนตัว 14
Acknowledgements II รวบรวมคำ�กล่าวถงึ ดที ริช 15
Introduction 2 โจเซฟ ฟอน สเตริ ์นเบริ ก์ 15
ความเป็นมาและความสำ�คญั ของปัญหา 2 เออรเ์ นสต์ เฮมงิ เวย์ 15
วตั ถปุ ระสงคข์ องการศึกษา 3 เคนเนธ็ ไทแนน 16
ขอบเขตของการศึกษา 3 ความคดิ เหน็ ของดที ริช 19
ประโยชนท์ ่จี ะได้รับจากการศึกษา 3 หนา้ ท่ีและชีวิต 19
นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 3 แฟช่ัน 20
Literature Review 4 มารเ์ ลเน่อ ดที ริชและการเป็นปัจเจกชน 21
ความเป็นมาของการล่มสลายของสงั คมและมนุษย์ 4 Target Group 22
ปัจเจกชนและสงั คมคืออะไร 5 Muse 23
ความสำ�คัญของปจั เจกชน 5 Demographic 27
ความกลวั และอิสระ 6 Paper Doll Dataset 29
ความรกั และอาชวี ะแหง่ ตน 6 Methodology 35
ชวี ประวัตมิ ารเ์ ลเน่อ ดที รชิ 7 Balloon Idea & Concept 35
ชว่ งชวี ิตวยั เยาว์ 7 Moodboard & Inspiration 36
เบอรล์ นิ 8 Materials 37
ความโดง่ ดัง 9 Techniques and Details 38
สงครามโลกครั้งท่ี 2 10 Sketch Design 39
เวทีและคาบาเรต์ 12 Conclusion 41
ชวี ิตบนั้ ปลาย 13 Bibliography 43



กำ�หนดขึ้นและเพื่อให้ทุกสิ่งในชีวิตของตนผ่านพ้นไปอย่าง
เรียบล่ืนโดยไร้ซ่ึงปัญหาที่ต้องเผชิญและพึงเกิดข้ึนแก่ตน
มนุษย์เป็นสัตว์สังคมและมนุษย์ต่างเกิดมามีเอกลักษณ์เป็น
ของตนเอง หากมนุษยแ์ ต่ละบคุ คลสามารถดึงศักยภาพอนั
โดดเดน่ ของตนออกมาและค้นพบอาชวี ะแห่งตนได้ ด�ำ เนิน
ชวี ิตด้วยความรกั รกั ในตนเอง รักในหนา้ ที่การงาน รกั และ
เคารพในมนุษย์แต่ละบคุ คลเช่นเดียวกัน เพราะในความ
รักนั้นไร้ซึ่งความทะเยอทะยานความละโมบโลภมากใน
Intro- อ�ำ นาจและสิ่งนอกกาย หากสังคมดำ�เนินไปเชน่ นน้ั มนุษยค์ ง
สามารถสรา้ งสรรค์สง่ิ งดงามและเป็นประโยชน์ไดม้ ากมาย

duction ข้าพเจ้าในฐานะผู้วิจัยเล็งเห็นถึงความสำ�คัญย่ิงของ
จิตใจมนษุ ย์และการเป็นปัจเจกชนอย่างแท้จริง เนอื่ งจาก
ในปัจจุบันมนุษย์ดำ�เนินอยู่ภายใต้ความกลัวในกรอบกฎ
เกณฑ์ท่ีสังคมกำ�หนดข้ึนจนไม่สามารถปลดปล่อยตนเอง
ความเป็นมาและความ ให้เป็นอิสระกระท่ังไร้ซึ่งความสามารถในการสรรสร้างส่ิง

สำ�คัญของปัญหา ท่ีสรา้ งสรรคใ์ ห้เปน็ ประจักษแ์ ก่มนุษย์ดว้ ยกนั โดยบคุ คลที่

ในปัจจบุ ัน โลกใหค้ วามสำ�คัญกบั สภาวะตกต่ำ�ทาง ข้าพเจ้านำ�มาถ่ายทอดและเป็นตัวแทนแห่งการเป็นปัจเจก
วัตถุทรัพย์สินและความมั่งค่ังในเรื่องการเงินและตำ�แหน่ง ชน ไดแ้ ก่ มารเ์ ลเนอ่ ดที ริช เธอคอื นกั แสดงหญงิ ทา่ นหนงึ่ ใน
หน้าท่ีการงานมากกว่าสภาวะตกต่ำ�ที่เกิดข้ึนภายในจิตใจ ยุคฮอลลีวูดเรืองรองที่กลายเป็นตำ�นานและเป็นท่ีจดจำ�ของ
มนุษย์ โลกด�ำ เนนิ ไปตามกฎเกณฑว์ ัดมาตรฐานที่สร้างขึ้น โลก เธอถูกขนานนามว่าเปน็ หญงิ รา้ ย (femme fatale) ที่
ด้วยเหตุผลเพื่อจัดระเบียบและพัฒนาสังคมให้ดียิ่งข้ึนแต่ไร้ ต่อสู้กบั การกดขี่ทางสังคมและทางเพศ แต่ “การปลดปล่อย
ซึ่งการไตร่ตรองถึงการพัฒนามนุษย์คนหน่ึงอย่างแท้จริงโดย ในรปู แบบทั้งหมดต้องใช้ความกลา้ หาญ และมารเ์ ลเน่อ ดี
ดึงศักยภาพอันโดดเด่นของมนุษย์คนน้ันออกมาให้ปรากฏ ทริชได้ใหค้ วามหมายแก่ค�ำ น้ี เธอคอื ผู้บกุ เบิกด้งั เดมิ ที่แท้
เป็นประจักษ์ชัดเพ่ือการพัฒนาท่ีสมบูรณ์แบบในอาชีวะแห่ง จรงิ ซง่ึ ไมเ่ พียงเปลีย่ นทัศนคตผิ ่านความเป็นปจั เจกนยิ มที่
ตน หากมนุษย์คนหน่งึ มคี วามคดิ เห็นท่แี ตกต่างออกไปจาก กล้าหาญของเธอเทา่ นั้น แต่ยงั ทำ�ใหเ้ หน็ ถงึ ความจ�ำ เปน็ และ
กฎเกณฑร์ ะเบียบสังคม มนษุ ย์คนน้ันมกั ถกู กล่าวหาว่าเปน็ ความหมายที่ลึกซ้ึงเบื้องหลังแนวคิดแบบลัทธิหัวก้าวหน้า
ขบถ เนือ่ งดว้ ยขอบเขตและกรอบความคิดท่มี นษุ ย์สรา้ ง ของเธอด้วย การแสดงและการร้องเพลงของเธออาจท�ำ ให้
ข้ึนมาครอบงำ�ฝังอยู่ในสมองและจิตใจจนปิดก้ันความรู้สึก เธอเปน็ ดารา แต่ความตง้ั ใจของเธอจะไม่ใช่อย่างอื่นนอกจาก
นึกคิดบางอย่างท่ีเป็นสัจจะความจริงและเป็นตนเองอย่าง ตวั เธอเอง” ทอม เทเลอร์ นกั เขยี นนิตยสารฟารเ์ อาท์ ผวู้ ิจัย
แท้จริงให้สูญหายไปจนกว่าจะตระหนักรู้และตั้งคำ�ถามขึ้น จึงมีความประสงค์ที่จะศึกษาการเป็นปัจเจกชนของเธอและ
แกต่ นเอง เรยี นรู้ตนเอง และปลดปลอ่ ยตนเองให้เปน็ อสิ ระ นำ�เสนอออกมาในรูปแบบของเคร่ืองแต่งกายโดยได้รับแรง
จากกรอบสงั คม แต่การปลดปล่อยตนเองใหเ้ ปน็ อสิ ระได้น้ัน บนั ดาลใจมาจากตัวตนและผลงานของเธอเอง
ต้องใช้ความ กล้าหาญอยา่ งมากล้นเพือ่ กำ�จดั ความกลัวที่
เกิดขึน้ ภายในจิตใจ กลวั วา่ จะถกู ตำ�หนลิ งโทษ กลัววา่ จะถูก โครงการออกแบบเคร่ืองแต่งกายสตรีโดยได้รับแรง
ตตี รา กลวั วา่ จะไร้ซงึ่ อนาคตท่ถี ูกให้คา่ วา่ ส�ำ คญั ย่ิง เพราะ บนั ดาลใจมาจากมารเ์ ลเน่อ ดีทรชิ มวี ัตถุประสงค์เพอ่ื ศึกษา
พฤติกรรมท่ีตนดำ�เนินอย่างไม่ถูกต้องตามกฎเกณฑ์และ การเปน็ ปจั เจกชนและการรังสรรค์ผลงานของมารเ์ ลเน่อ ดี
มาตรฐานท่สี งั คมก�ำ หนด กฎเกณฑค์ ือความกลัว และความ ทริช เพ่อื ใชใ้ นการออกแบบเครื่องกายทถี่ ่ายทอดตวั ตนของ
กลวั ทำ�ใหไ้ รซ้ ่งึ อิสรภาพ จนตอ้ งยอมลดศกั ยภาพอันแทจ้ รงิ เธอและสร้างความตระหนักถึงการปลดปล่อยตนเองให้เป็น
ในการท�ำ งานของตนเองลงเพอื่ ด�ำ เนินชีวติ ตามกฎที่สงั คม อิสระและการเรียนร้ทู ีจ่ ะเป็นตวั เองอยา่ งแทจ้ ริง

2

วัตถุประสงค์ในการวิจัย
การวิจัยโครงการออกแบบเครอ่ื งแต่งกายสตรโี ดยไดร้ ับแรงบนั ดาลใจมาจากมาร์เลเน่อ
ดที ริช มีวัตถุประสงค์ ได้แก่
1. เพ่ือศกึ ษาชวี ประวัติ ผลงาน ลกั ษณะนิสัย และตวั ตนของมารเ์ ลเนอ่ ดที รชิ
2. เพ่อื ศกึ ษาความเป็นปจั เจกชนและสังคมของมนุษย์
3. เพื่อสรา้ งความตระหนกั ถึงอสิ ระและการรูจ้ ักตนเองอย่างแทจ้ ริง
ขอบเขตการวิจัย
เนอื้ หาและเอกสารทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา ไดแ้ ก่ ข้อมลู จากเวบ็ ไซต์ทางอินเทอร์เนต็ , หนงั สอื
ปัจเจกชนและสังคมเลม่ ท่ี 1 และ 2, หนังสือ Marlene Dietrich Photographs and Memories,
หนงั สือ Marlene โดย มาร์เลเน่อ ดที รชิ , หนังสอื Marlene Dietrich: The Life และหนังสือ
Marlene Dietrich’s ABC
กลุ่มประชากรที่ศึกษา คือ กลุ่มบคุ คล 3 ชว่ งวัย ได้แก่ เจเนอเรชน่ั X, เจเนอเรช่นั Y และ
เจเนอเรช่ัน Z โดยใชว้ ธิ ีการกรอกแบบสอบถาม
ระยะเวลาทท่ี ำ�การศึกษา คอื เดอื นตุลาคม-ธันวาคม ปี 2565
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ไดท้ ราบถึงชีวประวัติ ผลงาน ลักษณะนสิ ัย และตัวตนของมารเ์ ลเน่อ ดที รชิ
2. ได้ทราบข้อมลู เกย่ี วกับปจั เจกชนและสังคมของมนุษย์
3. ได้สรา้ งความตระหนกั ถงึ อิสระและการรจู้ กั ตนเองอยา่ งแท้จริง
คำ�จำ�กัดความที่ใช้ในการวิจัยหรือนิยามศัพท์เฉพาะ
ปจั เจกชน หมายถึง เฉพาะคน หรอื แตล่ ะบคุ คล ซงึ่ หมายถึงการตระหนกั หย่ังร้ถู ึงการ
เป็นตนเองอย่างแท้จริงโดยไร้ซ่ึงกรอบสังคมมาจำ�กัดก้ันอิสรภาพในการเรียนรู้และพัฒนาความ
สามารถในอาชวี ะแหง่ ตน
อาชีวะแหง่ ตน หมายถึง เสน้ ทางอาชีพของตนเอง หรือ ส่ิงทต่ี นรกั ทีจ่ ะทำ�อยา่ งแท้จริง
โดยไร้ซง่ึ ความทะเยอทะยานละโมบโลภมากในฐานะและอำ�นาจ เพราะในความรักนั้นไร้ซึง่ ความ
ทะเยอทะยาน
เฟ็ม ฟาเทล (Femme Fatale) หมายถึง ผู้หญงิ ท่นี า่ ดงึ ดูดและเยา้ ยวนใจ โดยเฉพาะอย่าง
ยงิ่ บคุ คลท่ีมแี นวโน้มทจี่ ะสร้างความทุกขห์ รอื หายนะให้กับผ้ชู ายทเ่ี ขา้ มาเก่ียวข้องกับเธอ

3

LRietveireawture
ความเป็นมาของการล่มสลายของสังคมและมนุษย์

ไมม่ ีใครในโลกนีเ้ หมอื นกนั สักคน ลองมองดูผ้คู นรอบตัวคุณ พระโคตมพุทธเจา้ หากย้อนกลบั ไปกล่าวถึงสตปิ ัญญาและ
แม้แตต่ ัวคณุ เอง ทกุ คนมีเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั การตนื่ รู้ คงไมพ่ ้นจากการนึกถึงศาสดาของพระพทุ ธศาสนาผู้
ปฏิเสธไม่ได้ว่าปัจจุบันโลกเรากำ�ลังดำ�เนินไปด้วย ซึ่งตรัสรู้ได้ด้วยตนเองโดยมิต้องมีผู้ใดมายืนยันในความหย่ังรู้
ความทะเยอทะยาน ความรษิ ยา ความละโมบโลภมากใน ของตน ซงึ่ น่นั หมายความว่า ปัญหาการถกู ครอบงำ�ของมนุษย์
ต�ำ แหน่งฐานะ ทรพั ย์สนิ เงนิ ทอง และการแสวงหาอ�ำ นาจ ซ่ึงทำ�ให้มนุษย์สูญเสียความสามารถพิเศษอันเฉพาะเจาะจง
ท้ังหมดที่กล่าวมาคือปัจจัยภายนอกของมนุษย์ที่สังคมให้ ของตนไปนัน้ ก�ำ เนิดขึน้ มาราว 2500 กวา่ ปแี ลว้ และยังคง
ความสำ�คญั มากกว่าปัจจยั ภายในของมนษุ ยท์ เ่ี รียกวา่ จติ ใจ ดำ�เนินอยู่ในปัจจุบันซ่ึงสามารถเห็นได้จากนักปรัชญาหลาย
หรอื ตัวตนของตนเอง ทกี่ �ำ ลังเส่อื มสลายไปกับการหลอ่ คนที่ตัง้ คำ�ถามและพยายามค้นหาค�ำ ตอบหรือแมแ้ ตต่ นเอง
หลอมของสังคมรอบกายจนลืมตัวตนท่ีแท้จริงของตนเองและ
กลายเปน็ พลเมอื งทด่ี ีของสังคมอยา่ งไร้ขอ้ กงั ขา มีเพียงสว่ น “สภาพทค่ี ณุ เป็นอยคู่ ือสภาพที่โลกเปน็ ดังนั้น ปญั หาของคุณ
น้อยเท่านั้นที่จะฉงนสงสัยและตั้งคำ�ถามต่อตนเองและสังคม จงึ เปน็ ปญั หาของโลกแน่นอน”
แต่กว่าจะเกิดความหยั่งรู้ได้นั้นจำ�เป็นต้องมีสติปัญญาและ
ความตื่นร้อู นั มหันต์ ปจั เจกชนและสังคม 1 หน้า 35

“โลกทีค่ ุณและผมอาศัยอยนู่ ้ี มกี ารอยู่ร่วมกนั ฉนั ต้ังแตว่ ยั เยาวจ์ นเติบใหญ่ มนุษย์ถกู หลอ่ หลอม
เพอ่ื น มคี วามสมั พันธ์กัน มกี ารงาน แนวคิด มคี วามเชอื่ และ มาดว้ ยกรอบความคิดของสังคม เรม่ิ ต้นขน้ึ ทแ่ี รกคือสงั คม
ลทั ธฝิ ังหัวทั้งหลายทเ่ี รายึดถือไว้ สิ่งทั้งหมดน้ันไดส้ รา้ งโลกอัน ครอบครวั ท่านเกิดมา ทา่ นมีศาสนาและความเชื่อ ท่าน
โหดอ�ำ มหิตนข้ี ้ึนมา อันเป็นโลกของความขดั แยง้ ความทกุ ข์ ปฏิบัติตามคำ�สั่งสอนและความต้องการของบิดามารดาของ
ระทมและความเศร้าอาดูรมาชัว่ กาลนาน … แมว้ า่ เราทกุ คน ท่าน เมอื่ เริม่ เขา้ โรงเรียน ทา่ นด้รบั การอบรมสงั่ สอน ถกู ปอ้ น
ต่างตระหนักถึงสภาพการณ์อันผิดธรรมดาท่ีร้ายแรงท้ังหลาย ตำ�รับตำ�ราวิชาการและแนวคิดต่างๆถูกวัดมาตรฐานด้วย
เหล่านใ้ี นโลก แตเ่ รากลับยอมรับวา่ เปน็ สภาพปกติธรรมดาๆ” ตัวเลขวา่ เรยี นเก่งหรือไม่ ซ่งึ ทำ�ให้เกิดการเปรียบเทยี บและ
โดย จ. กฤษณมรู ติ จากหนงั สือ ปัจเจกชนและสังคมเลม่ ที่ 1 ลดทอนคุณคา่ ในตนเอง รวมถึงการตกเป็นทาสถ้อยคำ�ของ
ทา่ นไดก้ ล่าวไว้เมื่อวันท่ี 21 กุมภาพันธ์ 1962 จะเห็นได้วา่ สังคมจนเกิดกรอบความคิดครอบงำ�สมองและจิตใจท่านจึงไม่
ปัญหานี้ได้เกดิ ขน้ึ มานานและสืบเนื่องมาถงึ ปัจจุบัน สามารถมีอสิ รภาพทางความคดิ ซงึ่ ผลลพั ธเ์ หลา่ นัน้ คือ สงั คม
มนุษย์จะเร่ิมต้ังคำ�ถามเมื่อเกิดความทุกข์และ ของมนุษย์ที่ด�ำ เนินอยู่ในปัจจบุ ัน
พยายามหาทางออกซ่ึงตรงตามหลกั อรยิ สัจ 4 ตามค�ำ สอนของ

4

“โครงสร้างของสังคมเรานั้น ต้งั อยบู่ นพื้นฐานของการใหค้ า่ กวา่ จะตรัสรู้ได้ จ�ำ เปน็ ต้องมสี ตปิ ญั ญาและการตน่ื รอู้ ันมหนั ต์
ใหค้ วามหมาย ทเ่ี กินความเป็นปรกตธิ รรมดา ตง้ั อยู่บนความ นั่นหมายถึง การเปน็ อสิ ระจากกรอบความคิดทั้งปวง
ทะยานอยาก ความละโมบ ความรษิ ยา” ดังน้นั ปัจเจกชน จงึ หมายถงึ การเปน็ ตวั ของตัวเอง
ปัจเจกชนและสังคม 1 หน้า 15 อย่างแท้จริงโดยเป็นอิสระจากกรอบความคิดครอบงำ�ท้ังปวง
ซึ่งกว่าจะเป็นอิสระได้นั้นจำ�เป็นต้องใช้ความกล้าหาญและ
เห็นได้จากสงครามท่ีทำ�ให้มนุษย์สูญส้ินชีวิตนั้นเกิดข้ึนมาแล้ว พลังงานอย่างมากล้นในการปลดปล่อยตนเองให้เป็นอิสระ
นับคร้ังไมถ่ ้วน ผู้คนไมเ่ คยเรียนรูเ้ พราะความต้องการที่จะให้ สละทงิ้ กรอบความคิดและความเชื่อท้งั ปวง เรม่ิ ต้นใหม่ด้วย
ชาตขิ องตนหรอื ส่งิ ท่ตี นยึดมั่นถอื มัน่ นนั้ เปน็ ใหญ่ เน่อื งจากเรา จติ ใจอันบรสิ ทุ ธิ์ ค้นหาการเป็นตัวเองอยา่ งแท้จริงและอาชวี ะ
ถูกแบง่ แยกชาตพิ ันธุ์ ความเช่อื แนวคิด และศาสนามาตงั้ แต่ ทีเ่ ป็นของตน
ตน้ หล่อหลอมครอบง�ำ สมองและจิตใจ จนเกิดการเหยียด
หยามแกม่ นษุ ย์ด้วยกัน ทำ�ให้โลกเกิดความสับสนอลหมา่ น
ซึ่งในความจริงแล้วเราทุกคนก็เป็นมนุษย์ด้วยกันทั้งหมดทั้ง
สน้ิ มนุษย์จงึ ไรอ้ สิ ระและตกอย่ภู ายใต้อ�ำ นาจการครอบง�ำ ทาง Immanuel Kant

ความคดิ นอ้ ยคนนกั ที่จะเห็นคุณคา่ ของการเปน็ มนุษย์ท่แี ท้
จริง

ปัจเจกชนและสังคมคืออะไร
ปัจเจกชน หมายถงึ เฉพาะคน หรือ แต่ละบุคคล
ผู้คนส่วนใหญ่มักเห็นคำ�นี้แล้วนึกถึงการยึดมั่นถือม่ันในการ
เป็นตัวเองท่ีแสดงออกถึงการเป็นตัวเองอย่างสุดโต่งโดยไม่
สนใจสังคม แตห่ ารู้ไม่วา่ ปัจเจกชนหลายคนมาอยรู่ ่วมกันกอ่
Krishnamurti

ใหเ้ กดิ เป็นสังคมข้ึน หากแตล่ ะบุคคลทีม่ ีความสดุ โต่งทางดา้ น
ความคิดโดยไม่สนใจผอู้ ื่นมาอย่รู ่วมกนั โลกเราคงเกิดความขัด ความสำ�คัญของปัจเจกชน
แยง้ มากขึ้นกวา่ เดิมเพราะอัตตาและความเห็นแก่ตวั จะเห็น
ได้วา่ มนุษย์และสังคมนน้ั มคี วามสมั พันธก์ นั
“ลทั ธปิ ัจเจกชนนิยม เปน็ แนวคิดแบบมนษุ ย์นิยม “มนษุ ย์ผู้มีปญั ญาจะก่อให้เกดิ สงั คมท่ีดี แต่พลเมอื งท่ดี ีจะไม่
ก่อให้เกดิ สังคมทีด่ ”ี
แบบหนึ่งทมี่ องว่า ตวั บุคคลหนึ่งส�ำ คัญเทา่ ๆ กนั อย่างเสมอ ปจั เจกชนและสังคม 1 หน้า 31

ภาค ไม่มใี ครสูง ตำ่� ดี เลวไปกวา่ กัน ลัทธปิ จั เจกชนนยิ ม
เป็นลัทธิทางสังคมท่ีเกิดขึ้นในยุคกลางท่ีเช่ือมั่นในศักยภาพ เป็นเร่ืองง่ายท่ีมนุษย์จะเป็นพลเมืองที่ดีโดยการ
ของความเป็นมนุษย์ที่อยู่เหนือชะตาชีวิตและยังเคารพเพ่ือน ปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์แบบแผนท่ีสังคมกำ�หนดอย่าง
มนุษย์ดว้ ยกนั เอง” รองศาสตราจารย์ ดร. โกวทิ วงศส์ รุ ครบถว้ นสมบูรณ์ ทา่ นจะได้รบั ยกยอ่ งวา่ เป็นพลเมืองท่ีดี และ
วัฒน์ ภาคสี มาชกิ ราชบัณฑิตยสภาส�ำ นกั ธรรมศาสตรแ์ ละ ด�ำ เนนิ ไปตามกรอบของสังคมอยา่ งนน้ั เพราะสงั คมตอ้ งการ
การเมืองไดใ้ ห้ความหมายของลทั ธปิ ัจเจกชนนิยมไว้ และท่าน ผู้ท่ีว่านอนสอนง่ายท่ีจะสามารถทำ�ตามแบบแผนของสังคมท่ี
ยงั ให้ความหมายของปจั เจกชนไว้อกี ว่า “ความเปน็ ปจั เจกชน วางไว้ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ หากยกตวั อย่างงา่ ยๆ ในรว้ั การ
หมายถงึ การยอมรบั ความมอี ัตลกั ษณ์และความเป็นเอกเทศ ศกึ ษา แนน่ อนว่าบคุ คลท่ปี ฏิบัติตามกฎของสถานศกึ ษาจะ
ของบคุ คลหนึ่ง” เปน็ ท่ีนา่ ชนื่ ชม แต่เม่ือมีบคุ คลหน่ึงไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกฎของสถาน
อมิ มานเู อล คานต์ นกั ปรัชญาชาวปรสั เซีย ได้เขยี น ศึกษา ซ่งึ นั่นมิไดเ้ ป็นส่ิงร้ายแรง แตเ่ มื่อมนั เกิดขึ้น บุคคลนนั้
คำ�ตอบท่ีมีชื่อเสียงของเขาสำ�หรับคำ�ถามที่ต้ังขึ้นโดยวารสาร จะถกู กลา่ วหาวา่ เปน็ กบฏ ถกู ตีตราว่าเปน็ คนไม่ดีไม่ปฏบิ ตั ิ
เบอรล์ ินว่า การตรสั ร้คู อื อะไร เขาตอบว่า “Sapere aude! มี ตามกฎทถ่ี กู กำ�หนดข้นึ หากไมป่ ฏิบัติตามกฎกถ็ ูกขม่ ขวู่ า่ หัก
ความกลา้ ทจ่ี ะใชค้ วามเข้าใจของตนเอง” ดังท่กี ล่าวไปขา้ งต้น คะแนนทำ�ให้หวาดกลวั นำ�ไปส่กู ารไมเ่ ล่อื นระดับชนั้ ของการ

5

ศกึ ษา กลายเป็นการตัดอนาคตของบุคคลนนั้ ไป แนใ่ จหรือวา่ ตัวเอง เรียนรตู้ นเอง
นน่ั คือสง่ิ ท่ีสังคมควรกระท�ำ พลเมืองทดี่ ีแต่มิใช่มนุษยชนท่ดี ี “ดงั น้นั ความยากลำ�บากอย่างหนึง่ ของเราคอื การ
เพราะพลเมืองที่ดีเหล่าน้ันขาดความเข้าใจในความเป็นมนุษย์ กอ่ ให้เกดิ การปฏวิ ตั เิ ปล่ียนแปลงในตนเอง อนั ตอ้ งการ
ยึดถือกฎเกณฑ์ของสังคมเป็นหลักและความถูกต้องในการ พลังงานมากมายมหาศาล ซึง่ พวกเราน้อยคนนักทจี่ ะมี
ด�ำ เนนิ ชวี ติ เพราะพลเมืองทด่ี ีเหลา่ น้ันถกู แบบแผนของสังคม พลงั งานเช่นนี้ เพราะเป็นพลงั งานในความหมายท่ีหมายถึง
กลนื กินจนหมดสนิ้ การหยั่งเห็น หยง่ั รู้ เพื่อท่ีจะมองเหน็ ส่ิงใดๆ อยา่ งกระจ่าง
ชัดนัน้ คุณตอ้ งใหค้ วามใสใ่ จท้ังหมดของคุณแกม่ ัน และคุณ
“ทว่าการเปน็ พลเมืองทด่ี ใี ช่จะเปน็ มนษุ ยชนทีด่ ี แต่มนุษยชน ไม่สามารถให้ความใส่ใจทั้งหมดได้หากว่ามีร่องรอยของความ
ท่ดี นี ้ันย่อมเปน็ ประชาชนทด่ี ีไปด้วยอยา่ งแยกกนั ไม่ได้” กลวั อยู่ กลวั ในเร่ืองเศรษฐกจิ หรอื กลัวสงั คม ซึ่งเป็นความ
ปจั เจกชนและสังคม 1 หนา้ 31 กลัวต่อความคิดเห็นของประชาชน เมอ่ื ตกอยใู่ นสภาวะที่
กลัว เรากจ็ ะคดิ ถงึ สัจจะหรือพระเจา้ ว่าเปน็ อะไรบางอย่าง
เห็นเชน่ นี้ ลองพิจารณาดูเถิด วา่ เราก�ำ ลังตกอยใู่ น ท่อี ยไู่ กลโพ้น เหนอื ธรรมชาตไิ มเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั โลกมนุษย์ เป็น
กรอบกฎเกณฑ์ท่ีถูกต้ังข้ึนโดยสังคมเพ่ือครอบงำ�ให้ประพฤติ อะไรบางอยา่ งท่เี ราตอ้ งด้นิ รนเพอ่ื ไปให้ถงึ หรอื ควานหา คุณรู้
ปฏิบัตติ ามหรอื ไม่ เมือ่ ทา่ นเกดิ คำ�ถามในใจทต่ี อ่ ตา้ นสังคม เรอื่ งเกมกลทง้ั หลายเหล่านั้น ทีเ่ ราใช้เพอื่ หนจี ากความขดั แย้ง
ท่านรสู้ กึ หวาดกลวั หรอื ไม่ ท่านหวาดกลวั จนต้องยอมด�ำ เนิน ในชีวติ แตล่ ะวนั ของเรา หนไี ปหาอะไรบางอยา่ งที่เราเรยี กว่า
การไปตามแบบแผนเช่นเดิมหรือไม่ สนั ตภิ าพ หาคุณธรรมความดีหรือพระเจา้ เหลา่ น้เี ปน็ สภาพ
เราตอ้ งยอมรับวา่ มนษุ ยเ์ ปน็ สัตวส์ งั คม เราทั้งหมดมี ท่แี ทจ้ รงิ ของเราไมใ่ ชห่ รอื ” (จ. กฤษณมรู ติ จากหนงั สือปจั เจก
ความสัมพนั ธ์กัน และนน่ั กอ่ ใหเ้ กดิ สังคม ฉะนน้ั หากมนษุ ย์ ชนและสงั คมเลม่ 1 หนา้ 87)
เป็นปจั เจกชนแล้ว ปัจเจกชนทง้ั หลายจะสร้างสังคมข้ึนใหม่
ที่เคารพปจั เจกชนด้วยกนั เพราะปจั เจกชนตา่ งรู้ดวี ่ามนษุ ย์
แตล่ ะบุคคลมีความสามารถและมอี าชวี ะท่เี ปน็ ของตน สงั คม ความรักและอาชีวะแห่งตน
จะไรซ้ ่งึ ความละโมบโลภมากในยศ อำ�นาจ และทรพั ย์สิน ซง่ึ
เปน็ ของนอกกาย แต่จะใหค้ วามส�ำ คัญกับจิตใจและตัวตนของ “เธอรไู้ หมว่า ‘อาชวี ะ’ หมายถึงอะไร มนั หมายถงึ
มนุษยอ์ ยา่ งแท้จริง ส่ิงท่เี ธอรักทจี่ ะทำ� ซึง่ เป็นธรรมชาตสิ �ำ หรบั เธอ ทส่ี ดุ แล้วนน่ั
คอื บทบาทของการศึกษา ที่จะชว่ ยให้เธอเจริญเติบโตอย่าง
เป็นอสิ ระ เพื่อที่เธอจะเป็นอสิ ระจากความทะเยอทะยาน
อยาก และสามารถคน้ หาอาชีวะทแี่ ทข้ องตัวเธอเองได้ บคุ คล
ความกลัวและอิสระ ผู้ทะเยอทะยานจะไม่เคยคน้ พบอาชวี ะท่ีแทจ้ ริงของเขา หาก
เมอ่ื กล่าวถึงความกลวั ทา่ นกฤษณมูรติไดก้ ล่าวไวว้ ่า เขาได้พบแล้ว เขาจะไม่ทะเยอทะยาน ... หากเธอรักทีจ่ ะทำ�
“ท่ใี ดมีกฎเกณฑ์วนิ ยั ทน่ี น่ั ย่อมมคี วามกลัว” เมื่อมกี ฎเกณฑ์ ส่ิงใดจริงๆ เธอจะไมท่ ะเยอทะยาน เพราะในความรัก ไม่มี
เขา้ ครอบง�ำ ทางความคิดของเรา ทำ�ใหเ้ ราไมก่ ลา้ ท�ำ ส่งิ ใดที่ ความทะเยอทะยาน”
ผดิ ไปจากกฎเกณฑ์ หากทำ�ผิดพลาดไปจากกฎเกณฑ์ เราจะ ปจั เจกชนและสังคม 2 หนา้ 115
ถูกลงโทษหรือเกิดผลตามมาท่ีไม่น่าอภิรมย์ตามที่สมองและ
ความคดิ ถกู ครอบง�ำ น่ันก่อใหเ้ กิดความกลวั ทา่ นไดก้ ล่าว
เสรมิ อกี ว่า “ความกลัวทำ�ใหจ้ ิตเราทื่อทึบ โง่ ความกลวั ทำ�ให้
ความคดิ ของเราพิกลพิการ ความกลวั กอ่ ใหเ้ กิดความมดื มน
และตราบใดท่ีเรายังหวาดกลวั อยู่ เราจะไมอ่ าจสรรค์สรา้ งโลก
ได้” นั่นเปน็ ความจริงอยา่ งปฏเิ สธไมไ่ ด้ ความกลวั ท�ำ ให้เรา
ดำ�เนินไปตามแบบแผนและคำ�กล่าวของสังคมจนกระทั่งตนไร้
ซ่งึ ส่งิ ท่เี ป็นความคดิ หรอื ตัวตนทแี่ ทจ้ ริงของตนเอง เราจึงต้อง
ปลดปลอ่ ยตนเองออกจากกรอบความคดิ ทีต่ นสร้างขน้ึ ความ
คดิ ของตนที่ถกู หลอ่ หลอมข้ึนโดยสังคม พึงร้สู กึ ตัว เริ่มค้นหา

6

ชีวประวัติ
มาร์เลเน่อ ดีทริช

“ความแนน่ อนของการไดส้ ญู เสียอิสรภาพอันมี
คา่ ยิง่ ของฉนั ความหวาดกลวั คุณครแู ละการ
ลงโทษของพวกเขา ความหวาดกลัวความเหงา”

จากหนงั สอื Marlene โดย มารเ์ ลเนอ่ ดีทริช หนา้ 3

ช่วงชีวิตวัยเยาว์
มารี มักดาเลเน่อ ดที ริช (Ma- ภาษาฝร่ังเศสที่เข้ามาสนทนากับเธอโดยไม่ รู้สกึ ขาดความรัก เธอเขยี น เมอื่ เธอรู้สกึ เปน็
rie Magdalene Dietrich) ก�ำ เนิดเมอ่ื วนั ได้ตัดสนิ เธอท่ีอายุ เธอเปน็ ความสบายใจ ทร่ี กั เธอเขียน แถมเธอยงั เขียนและตั้งค�ำ ถาม
ท่ี 27 ธันวาคม 1901 ณ เบอร์ลนิ จักรวรรดิ ของมาร์เลเน่อและนั่นทำ�ให้เธออยากมาเรียน เกีย่ วกับสงครามโลกครงั้ ที่ 1 ไว้เชน่ กนั
เยอรมนั เธอมพี ีส่ าว 1 คนนามวา่ เอลซิ าเบธ ในทุกๆ วนั เมอ่ื เธอมอี ายไุ ด้ 11 ปี เธอขีด ต้ังแตเ่ ดก็ เธอไมม่ ีเวลาว่างมากนัก
มารีเติบโตมาในครอบครัวชาวเยอรมันท่ีค่อน เขียนชื่อของเธอลงในสมุดราวหาช่ือใหม่ที่ เพราะแม่ของเธอได้จัดตารางการทำ�การบ้าน
ขา้ งมีฐานะ คุณพอ่ ของเธอเป็นผ้หู มวดต�ำ รวจ เหมาะสมกบั เธอจริงๆ จนได้มาซงึ่ มาร์เลเน่อ การเรียนภาษาและดนตรีไว้อย่างครบครัน
แและได้ถ่ายทอดการเป็นคนท่ีมีระเบียบวินัย ชื่อของนักแสดงหญิงที่เป็นตำ�นานจวบจน แตเ่ ม่อื เธอมีเวลาวา่ ง เธอมกั จะอา่ นหนงั สือ
และหนา้ ทขี่ องทหารใหแ้ ก่เธอ เธออ่านออก ปัจจุบัน เพราะคุณแม่ของเธอไม่สามารถทนเห็นลูกอยู่
และเขียนได้ต้ังแต่ก่อนเข้าโรงเรียนโดยมีคุณ เม่ือเธอเริม่ เติบโตเข้าส่วู ยั ร่นุ คุณแม่ นงิ่ เฉยได้ คุณแม่มักจะบอกเธอวา่ “ทำ�อะไร
แม่เป็นผู้สอนรวมถึงภาษาท่ีสองและสามของ ของเธอรับรู้ได้ถึงความเป็นขบถที่อยู่ภายใน สกั อยา่ งสิ” และประโยคน้นั ก็ตดิ อยู่ในหัวของ
เธอ คือ ภาษาองั กฤษและภาษาฝร่ังเศส แต่ ตัวของลกู สาวคนสดุ ท้อง พี่สาวจงึ รบั หน้าที่ เธอตลอดเวลา เธอเกรงกลัวคณุ แม่ เธอจงึ เปน็
เธอชอบภาษาฝร่ังเศสมากกว่าในขณะที่แม่ สอดส่องดูแลพฤติกรรมของน้องสาวอย่าง เดก็ ดใี ห้แมเ่ หน็ เธอมคี วามสามารถทางดา้ น
ของเธอชอบภาษาอังกฤษ หลีกเลย่ี งไม่ได้ ถงึ แม้วา่ ภายนอกเธอจะดเู ปน็ ดนตรีและแม่ของเธอก็สนับสนุนอย่างจริงจัง
เมอ่ื เริม่ เขา้ โรงเรียน เธอกลายเป็น เด็กดี แตภ่ ายในใจลกึ ๆ เหตกุ ารณ์ ความคิด เธอเรียนไวโอลินด้วยความใฝ่ฝันว่าจะเป็นนัก
นักเรียนข้ามชั้นต้องไปเรียนกับเด็กท่ีโตก และความรู้สึกของเธอน้ันได้ถูกบันทึกลงใน ไวโอลนิ คอนเสริ ต์ แตเ่ ธอประสบอุบัติเหตทุ าง
วา่ เพราะเธออา่ น เขียน และนับเลขได้ เธอ ไดอาร่ีเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างตรงไปตรง ข้อมือทำ�ให้เธอไม่สามารถไล่ล่าตามความฝัน
เองกย็ ังเดก็ กวา่ นกั เรียนชนั้ แรกดว้ ยซำ้� น่ัน มาไม่มีการดดั แปลงใดๆ ทงั้ ความรู้สึกรักใคร่ ทจ่ี ะเปน็ นักไวโอลินคอนเสริ ์ตได้ คุณแม่จึง
ทำ�ให้เธอรู้สึกแตกแยกจากเพ่ือนร่วมชั้นของ ทมี่ มี ากล้นเหลอื เธอเปน็ ผู้หญงิ ท่โี รแมนตกิ สนบั สนนุ ใหเ้ รยี นและฝกึ ซอ้ มเปียโนต่อ เธอ
เธอ ท�ำ ใหเ้ ธอไม่ค่อยมีเพ่อื น เป็นการเรียนท่ี และมักจะใส่ใจดูแลผู้อื่นเป็นอย่างดีเมื่อเธอรัก เรยี นตอ่ ไดส้ ักพกั ฝกึ ฝนอยา่ งหนัก แตส่ ดุ ท้าย
เตม็ ไปด้วยความทุกขร์ ะทม เหงา โศกเศร้า โดยเฉพาะสตรีท่ีเขา้ มาในชีวิตของเธอ เธอจะ เธอก็ตัดความฝันที่จะเป็นนักดนตรีคอนเสิร์ต
หวาดกลัวครูและการลงโทษของพวกเขา แต่ ดแู ลมากพเิ ศษ ส่วนคณุ ผชู้ าย เธอให้ความรัก น้นั ทงิ้ ลงไป และเลอื กเดนิ เส้นทางใหม่ สู่
เธอก็ได้พบครูผู้หญิงชาวฝรั่งเศสผู้สอนวิชา และใหค้ วามดแู ลเปน็ อยา่ งดเี ช่นกัน เมอ่ื เธอ วงการการแสดง

7

มารเ์ ลเน่อ ดีทรชิ ในหนังเรอ่ื ง The Blue Angel ปี 1930

เบอร์ลิน
เบอร์ลินในช่วงยุคไวมาร์เป็นช่วง เลือกนักแสดงของสตูดิโอภาพยนตร์อูฟา เธอเทา่ นนั้ เขาต้องไปสู้กับคนมากมายจน
ยุคที่เปิดกวา้ งเสรที างเพศมากที่สุด ความ รดู อลฟ์ ซีเบอร์ และมลี ูกสาวด้วยกนั 1 คน เธอไดแ้ สดงบท โลล่า สมตามความต้องการ
บันเทิงในเบอร์ลินน้ันมีเสียงดังรุนแรงและ นามวา่ มาเรีย เอลิซาเบธ ซีเบอร์ หรือ มา ของเขา และหนังเรือ่ ง The Blue Angel ก็
ไมม่ ีการปดิ บงั เบอร์ลินจึงเป็นจดุ มุ่งหมาย เรีย ริวา ในปจั จุบัน หลงั จากมีลกู เธอก็กลับ ประสบความส�ำ เร็จในเยอรมนี และมอบ
สำ�คัญของผ้ทู รี่ ักการทอ่ งเทีย่ วราตรี เธอ มาทำ�งานต่อทั้งบนเวทีและในภาพยนตร์ ความส�ำ เรจ็ ใหแ้ กเ่ ธอ เธอไม่คิดว่าเธอจะ
ตัดสินใจนำ�พาตัวเองเข้าสู่วงการการแสดง ในขณะเดยี วกนั เธอก็ทำ�หน้าท่ภี รรยา แม่ ประสบความสำ�เรจ็ เธอผเู้ ลน่ บทรองก็กลาย
นางแบบ และคาบาเรตถ์ ึงแมว้ า่ แม่ของเธอ และแมบ่ ้านด้วยเชน่ กนั จนกระทั่งวันหนึ่ง เป็นดาราของหนังเรื่องนีใ้ นภายหลงั และ
จะไม่ชอบใจก็ตามแต่มไิ ดห้ ้ามอะไร ในปี 1929 เธอกลายเป็นทถี่ ูกตาตอ้ งใจของ ภายในคนื ปฐมทัศนน์ ั้นเอง เธอเริม่ การเดิน
“1920s เบอร์ลนิ ผ้วู ิจารณ์กล่าว ผูก้ �ำ กบั ผสู้ น้ิ หวงั โจเซฟ ฟอน สเตริ ์นเบิรก์ ทางบทใหม่สู่อเมรกิ า
วา่ ‘มาร์เลเนอ่ ดที ริช ขา ขา ขา!’ … ใน ที่เดินทางมาจากอเมริกาเพ่ือมาผลิตหนัง
ความทะเยอทะยานของเธอ บางครั้งเธอ ที่เบอรล์ นิ ผู้ก�ำ กับท่ีก�ำ ลงั ตามหานักแสดง
กล็ มื สวมใสช่ ุดชัน้ ในเวลาเธอข้ึนเวที ส่ิง หญงิ ชาวเยอรมันทพ่ี ูดภาษาอังกฤษได้ และ
นี้ทำ�ให้ผู้ชมละครบางกลุ่มในเบอร์ลินมี คืนนน้ั ในโรงละครเบอรล์ นิ เนอร์ เธอแสดง
เหตุผลให้มาชมการแสดงของเธอครั้งแล้ว และพูดภาษาอังกฤษเพียงประโยคเดียว
ครงั้ เลา่ ” (สตเี วน บาค, 1996) เธอถูกเรียกตวั ไปคดั เลอื กในเชา้ วันรุง่ ข้นึ
“เธอสวมกางเกงขายาวซึ่งใน เธอไปคัดเลือกนักแสดงตาม
เบอร์ลินเป็นส่ิงท่ียอมรับได้อย่างแน่นอน ความประสงคแ์ ตเ่ ธอมิได้เตรียมตัวไป เธอ
ไบเซก็ ชัวล์เปน็ ส่ิงท่ียอมรบั ได้ มันไมเ่ คยถูก ไปด้วยความคิดท่ีว่ายังไงเธอก็ไม่ได้บท
อภิปรายหรอื พิจารณาวา่ แปลก ทน่ี ่ันมเี กย์ อยา่ งแน่นอน เธอจึงไปแสดงตนในสถาน
บาร์ ไบเซ็กชัวลบ์ าร์ ทกุ ๆ ส่งิ ทีค่ ุณต้องการ ทคี่ ดั เลอื กนกั แสดง และทำ�การทดสอบ
อยกู่ ันอย่างเปดิ เผย เธอมาจากเบ้ืองหลงั หน้ากลอ้ งตามความต้องการของเขา เธอ
แบบนัน้ ” (มาเรีย รวิ า, 1996) ไม่ได้เป็นท่ีถูกใจของนักแสดงหลักและคน
เธอแต่งงานกับผู้กำ�กับการคัด อื่นๆ แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม บทนก้ี จ็ ะต้องเปน็

8

ความโด่งดัง

“คุณ แค่คุณเทา่ นั้น อาจารย์ ผ้ใู ห้
เหตุผลสำ�หรับการมีอย่ขู องฉัน

ครู ความรัก หัวใจ และสมองของฉนั
ทต่ี ้องตดิ ตาม”

จากหนงั สอื Marlene Dietrich: The Life
โดย มาเรีย รวิ า

“ฉันยังคิดว่านั่นเป็นการแนะนำ�ดาราท่ีน่าตกใจท่ีสุดใน ลกึ ลบั ของเรื่องเพศ และหากใครสามารถเปลง่ ประกายได้ สามารถรวม
ประวัตศิ าสตรภ์ าพยนตร ์ มาร์เลเนอ่ เปน็ ดาราทย่ี งิ่ ใหญ่คนแรกทถ่ี กู ปรศิ นาเหล่าน้ไี ว้ได้ทัง้ หมด นนั่ คือเธอ” (มอลล่ี ฮาสเคล นกั วิจารณ์
สรา้ งข้ึนในยคุ ของภาพยนตรเ์ สียงและเขาท�ำ ได้อย่างไรนะ่ เหรอ เธอ หนัง, 1996)
รอ้ งเพลงฝร่ังเศสจากชว่ งเปลย่ี นศตวรรษ แตง่ กายดว้ ยเส้อื ผ้าผชู้ าย ดที ริชได้รบั ตำ�แหน่ง จกั รพรรดินีแห่งความปรารถนา อย่าง
หันมามอบจบู เลสเบีย้ นท่ีเหน็ ได้ชัดมากกับผ้หู ญิงอีกคนหนึ่ง และนี่คือ ไม่มีข้อโต้แย้งของฮอลลีวูดเม่ือพวกเขาสร้างภาพยนตร์เรื่องที่ส่ีร่วมกัน
การแนะนำ�ตวั เพราะฟอน สเตริ ์นเบิร์กท�ำ ให้แนใ่ จว่ายกเว้นปารสี และ ในปี 1932 มีช่อื เร่ืองว่า Shanghai Express เปน็ หนงั ทปี่ ระสบความ
เบอรล์ นิ Morocco ถูกมองเหน็ ได้ท่วั โลกก่อน The Blue Angel นี่ ส�ำ เรจ็ มากทสี่ ดุ ของพวกเขาท้ังหมด ฟอน สเติร์นเบิรก์ ทำ�ให้ดีทริชมี
คือ มารเ์ ลเน่อ ดที รชิ ทเี่ ขาต้องการให้เราเห็นและจดจำ�” (สตีเวน บาค, วสิ ัยทศั น์เก่ียวกับความยากทีจ่ ะเขา้ ถึง เบือ่ โลก ความซบั ซอ้ น ภาพ
1996) ลักษณ์ และการจัดแสง บทเรียนที่ดที ริชจะจดจำ�ตลอดไป
เมื่อเธอเดินทางมาอเมรกิ า เธอยังไมเ่ ป็นทีร่ จู้ กั ท่ัวโลกยกเว้น ในท่ีสุด การท�ำ งานรว่ มกนั ของทัง้ สองกส็ ้ินสุดลงกับหนังเรอื่ ง
เบอรล์ นิ และปารสี เมื่อมาถงึ เธอท�ำ สญั ญา 7 ปีกบั สตดู ิโอพาราเมาท์ สุดท้ายที่หลายคนกล่าวว่าเป็นหนังที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
อยภู่ ายใตก้ ารดแู ลของฟอน สเติรน์ เบิรก์ ถา้ ไมช่ อบ สามารถเดินทาง เขาท้ังสองมชี ่อื เรื่องว่า The Devil is a Woman ปี 1935 เปน็ หนงั
กลับได้ เธอเริม่ ตน้ ถ่ายภาพยนตรเ์ รือ่ งแรกในอเมริกา Morocco ปี ที่ไมป่ ระสบความสำ�เรจ็ แต่ดที ริชชอบหนงั เรอื่ งน้มี ากทสี่ ดุ ตงั้ แต่นั้น
1930 เคยี งค่กู ับดาราดัง แกรี่ คเู ปอร์ และภาพยนตร์เร่อื งนก้ี เ็ ปน็ การ เปน็ ต้นมา ไม่มหี นังเรื่องใดทท่ี �ำ เงินไดม้ ากเหมอื นก่อนจนได้ขนึ้ ชื่อเปน็
แนะน�ำ ดาราทน่ี ่าตกตะลึงท่ีสดุ ในอเมรกิ า หนึ่งในดาราท่ีมบี อ็ กซ์ออฟฟศิ เปน็ พิษร่วมกับ โจน ครอว์ฟอรด์ เกรทา
ฟอน สเติรน์ เบิรก์ มคี วามตงั้ ใจทจี่ ะท�ำ ใหม้ ารเ์ ลเน่อ ดีทริช การ์โบ และ แคทเธอรนี เฮปเบิร์น
เปน็ ดาราดังอย่างเกรทา การโ์ บของคา่ ยเอ็มจีเอ็ม และเธอก็เป็น เธอไม่รบั งานใดๆ อีกจึงเดินทางไปพกั ผอ่ นในยโุ รปกบั
นักเรยี นทีด่ ี เรยี นรู้ เช่ือฟัง และท�ำ ตามความต้องการของฟอน สเติรน์ ครอบครัว คนรัก และเพอ่ื นๆ ของเธอ จนกระทง่ั คนจากสตดู โิ อโทรมา
เบิรก์ ทุกอยา่ งโดยไมบ่ ่น ไมข่ ้นึ เสียง ไม่โอดครวญใดๆ จนบคุ ลากรใน เสนอบทท่ีเหมาะสมและคะยน้ั คะยอให้เธอกลับมาส่จู อเงนิ อกี ครง้ั เธอ
กองถ่ายต้งั ฉายาให้เธอว่าเปน็ นางฟา้ สีชมพู เธอเป็นคนทต่ี งั้ ใจท�ำ งาน เตือนเขา เขาบอกให้เช่ือใจ เธอเชือ่ ใจเขา และด้วยการสนบั สนนุ จาก
และท�ำ งานอย่างหนกั ฟอน สเติรน์ เบิรก์ เธอจงึ ยอมกลบั ไป

“การใชแ้ สงและเงาของฟอน สเตริ น์ เบิรก์ บางคนกลา่ วว่า
เขาเป็นลโี อนารโ์ ดของวงการภาพยนตร์ และเธอเป็นโมนาลิซ่าของเขา
ความหลงใหลของเขาคือผู้หญิง การเมอื งแหง่ ความปรารถนา ความ

9

สงครามโลกครั้งที่ 2

ในปี 1937 มาร์เลเนอ่ ดีทรชิ ขณะนัน้ ยังมสี ญั ชาติเยอรมัน

เธอได้รับการยื่นข้อเสนอจากทางนาซีให้กลับไปทำ�ภาพยนตร์
โฆษณาชวนเชอ่ื ให้กบั ไรชท์ สี่ าม ดีทริชผู้ตอ่ ตา้ นนาซี เธอปฏเิ สธ สอง
ปีตอ่ มาเธอสละสัญชาติเยอรมันและยนื่ ขอสญั ชาตอิ เมริกัน เหลา่ นาซี
ตตี ราเธอวา่ ทรยศชาติ ในการออกอากาศทางวทิ ยสุ งครามของบริตชิ
ทส่ี ง่ ผ่านคล่นื วิทยขุ องเยอรมัน ดที รชิ พดู กบั อดีตเพื่อนร่วมชาตขิ อง
เธอโดยตรงวา่ “ฮติ เลอร์เปน็ คนโง่” (Hitler is an idiot.)
เมื่ออเมรกิ าเข้าร่วมสงคราม เธอคือหนงึ่ ในผมู้ ีชอ่ื เสียง
คนแรกๆ ที่เข้าร่วมสงครามของอเมริกา เธอรบี ออกทัวรไ์ ปทั่ว
สหรัฐอเมริกาเพ่ือขายพันธบัตรสงครามและรณรงค์ให้สนับสนุนกอง
ทหารในหมคู่ นที่อยู่ทบี่ า้ น เธอมงุ่ มัน่ ทจ่ี ะสนบั สนนุ กองก�ำ ลงั อเมรกิ า
และเขา้ ร่วมทวั ร์ของ USO อย่างไรกต็ าม มาร์ เลเน่อกลา่ วไปไกลกวา่
คนรอบขา้ งเพอื่ หนุ่มๆ ของเธอ โดยเดินทางไปยังแนวหนา้ เพ่ือท�ำ การ
แสดงให้หน่มุ ๆ เพอื่ นนักแสดงของเธอพดู ติดตลกวา่ “เธอพยายามที่
จะใหเ้ ราถูกฆ่าเสมอ”

10

“มาร์เลเน่อใช้เวลาสามปีเต็มในสงครามเพื่อสร้าง ครง้ั หนึ่งเธอไดเ้ จอกับนอ้ งชายของรติ า้ เฮยเ์ วิรธ์ เขา
ความบนั เทงิ ให้กองทหารของเรา เธออย่กู ับพวกเขาในฤดู บาดเจ็บและมีอาการวอกแวกเพราะเขาไม่สามารถส่งข่าวสาร
หนาวท่ีมีชลธีแขง็ และภายใตแ้ สงแดดท่รี อ้ ยจดั เธอไมเ่ คยขอ ไปทางบ้านเพื่อท่ีจะบอกครอบครัวของเขาว่าเขากำ�ลังฟื้นตัวดี
ความชว่ ยเหลอื เตม็ ใจท�ำ ทกุ อย่างท่ีทำ�ใหห้ น่มุ ๆ สนุกสนาน ขนึ้ ดที รชิ สาวเทา้ เขา้ ไปยงั ออฟฟศิ ของผู้บงั คับบัญชาการโรง
เธอเล่นเลื่อยดนตรีใหเ้ ขาฟัง สวมปลอกอญั มณีทบั ชุดช้ันใน พยาบาล และออกค�ำ ส่ังให้โทรศัพทโ์ ทรจากเนเปิลสไ์ ปยงั ฮอล
แบบยาวของหน่วย GI เธอชำ�ระลา้ งร่างกายจากหมวกเหมือน ลวี ูด เธอสามารถเชอื่ มสัมพนั ธ์แมก่ บั ลกู ข้ามมหาสมทุ รได้
ทหารราบ นอนบนพื้นดนิ ปฏิเสธท่ีจะอพยพเมอ่ื มปี นื ใหญ่ ขณะน้นั เธออยูใ่ นวยั กลางคน เธอเป็นคุณแม่ จรงิ ๆ
ลอ้ มรอบเธอ ในช่วงสามปีที่ผา่ นมาเธอไม่ไดส้ รา้ งภาพยนตร์ เธอเป็นคุณยายแลว้ ละ่ แตไ่ มเ่ หมอื นกับคุณยายทว่ั ไปทีฉ่ ัน
สกั เรือ่ งและไมส่ นใจ ฉันคดิ วา่ เหมาะสมอยา่ งยงิ่ ทกี่ รมสงคราม เคยพบ เธอใจดี ดแู ลเอาใจใส่ และสนุกที่ไดอ้ ยู่ด้วย เธอเซ็น
จะมอบเหรยี ญแหง่ อิสรภาพใหเ้ ธอ” รูปภาพให้ฉันและเซ็นตัวการ์ตูนเหมือนภาพวาดที่แฟนของฉัน
โจ ปาสเตอร์นาค จาก Marlene Dietrich ในตอนนั้นสง่ ให้ ปจั จบุ นั เปน็ ภรรยาทอี่ ยดู่ ้วยกันมาหลายปี
Photographs and Memories น่าเสียดายที่การ์ตูนน้ันสูญหายไปจากจดหมายที่ฉันส่งให้เจน
ฉนั ยงั คงข้องใจตลอดว่ามันมกี ารตรวจสอบทีไ่ มซ่ ่ือสัตย์ ฉัน
“เชา้ วนั หน่งึ ฉันยนื อยูท่ ่ีทางเข้าหลักและต้อนรับกอง พยายามตดิ ตามมัน แตก่ ็ไมม่ ปี ระโยชน์
ทหาร เพอ่ื ความสขุ ของฉัน พาดหัวเปน็ หนึง่ เดียว Marlene สดุ ทา้ ย สัปดาหน์ ้นั กส็ น้ิ สุดลง มารเ์ ลน่าและคณะ
Dietrich! เธอมาถึงด้วยความเรง่ รีบ เธอกลบั มาทุกวนั ตลอด ต้องเดนิ ทางตอ่ มนั เปน็ การอำ�ลาท่ตี อ้ งเสยี ธาราจากดวงตา
ทั้งสปั ดาห์ เธอรอนแรมและรบี กลบั ออกไป มันเป็นสไตล์ของ มนี ักแสดงเพียงไม่กี่คนท่จี ะเทยี บเทา่ The Blue Angel กับ
เธอ เสียงแหบหา้ วของเธอ ความเย้ายวนใจของเธอ และการอทุ ศิ
คำ�ส่ังแรกของงานคือการแสดงให้ผู้ป่วยที่สามารถ ตนอยา่ งแทจ้ ริงให้กบั กองทัพ เม่ือเธอจากไป ฉันตอ้ งกลบั
มาอยูร่ วมกนั ในโรงอาหารใหญไ่ ด้ มารเ์ ลน่ารอ้ งเพลง แสดง ไปพักร่างกายบนเตียงเป็นเวลาสองวันเพ่ือฟื้นฟูตัวจากการ
มายากล และเล่าเรื่องตลกลามก รา่ งกายของเธอหอ่ ห้มุ ดว้ ย พยายามตามเธอใหท้ ัน
ชุดกระโปรงโปรง่ แสงปักเล่อื มสฟี า้ กระโปรงยาวถูกแหวกเผย คุณสามารถม่ันใจได้ว่าฉันกลายเป็นแฟนตัวยงและ
เรยี วขาราคาล้านดอลล่าห์ของเธอ เม่ือพดู ถงึ ขาสวยๆ ขาของ ภักดตี ่อความทรงจ�ำ ของมารล์ นี ดีทริช — ผหู้ ญงิ ท่หี วั เราะ
ฉนั เปน็ และยังคงเปน็ ‘ขาผู้ชาย’ เยาะฮติ เลอร์ ปฏเิ สธคำ�สง่ั การของเขา เธอทมุ่ เทกายและจติ
ก่อนที่เธอจะส่งไม้ต่อให้นักดนตรีและนักแสดง วญิ ญาณใหก้ บั ความมานะในสงครามโลกครัง้ ทส่ี อง”
สนบั สนนุ เธอยกกระโปรงยาวของเธอขึน้ และเดนิ ไปท่วั เวที ด็อกเตอร์ รสั เซล อาร์. ไวส์เคอรเ์ ชอร์
แล้วเธอก็เริ่มโยนสายตรึงถุงน่องสีฟ้าพร้อมลายเซ็นให้กับผู้ชม นายพลจัตวาเกษียณของกองทพั สหรัฐ (2005)
โรงอาหารเกดิ เสียงเอะอะวนุ่ วายโกลาหลด่งั โรงพยาบาลบา้ ผู้
ปว่ ยถ่อรถเข็นชนกัน ไม้ยนั รกั แรแ้ ละไม้เทา้ กก็ ลับกลายเปน็ เห็นได้ชัดว่าเธอกระตือรือร้นในการตอบแทนใน
อาวธุ ในขณะที่พวกเขาผู้ซึ่งเปน็ ผู้ป่วยก�ำ ลงั ต่อสูเ้ พอ่ื แยง่ ชงิ สงครามโลกครั้งที่ 2 เธออาสาที่จะทำ�การบรกิ ารอื่นๆ อีก
รางวลั ชิน้ นนั้ ผูม้ อี �ำ นาจตอ้ งมาหยดุ การแสดงเพ่ือปอ้ งกนั การ เชน่ การเสิรฟ์ อาหารทโี่ รงอาหารฮอลลีวดู เป็นสโมสรทม่ี อบ
เพมิ่ รายช่ือลงในรายการผู้เสยี ชวี ติ อาหารและการแสดงฟรี จดั ต้งั ข้ึนโดยนักแสดง เบต็ ตี้ เดวิส
มารล์ นี เร่มิ ตน้ อย่างไม่หยดุ ยัง้ เจ็ดวัน รงุ่ เช้าจน และ จอห์น การฟ์ ิลด์ ดีทริชยงั คงใชเ้ วลาเยย่ี มเยอื นทหารบาด
พลบค�ำ่ ทวั รท์ ่ัวสถานพยาบาล เธอเยีย่ มทกุ หอ้ งยกเว้นแผนก เจ็บท่โี รงพยาบาลในอเมริกาและในตา่ งประเทศ เธอมคี วาม
กกั กนั เธอรอ้ งเพลง เธอพดู ตลก เธอให้ลายเซ็น เธอเกย้ี ว เธอ กระตือรือร้นเป็นพิเศษในการสนับสนุนชาวยิวและผู้เห็นต่าง
วิง่ จากเตยี งไปอีกเตยี งและห้องไปอกี ห้อง ฉนั ตอ้ งกระเสอื ก ทตี่ อ้ งเผชญิ กับการเลอื กปฏบิ ตั ิในเยอรมนี เธอต้งั กองทุนรว่ ม
กระสนติดตามเธอ เธอไม่เคยหยุดเลย เธออยู่กับบหุ รี่ กาแฟ กบั ผู้สรา้ งภาพยนตร์ บิลล่ี ไวลเ์ ดอร์ เพื่อช่วยชาวยิวและศตั รู
และมารต์ นิ ี่ ทำ�งาน 16 ช่ัวโมงตอ่ วันทุกวัน เธอเป็น Hell of a ของไรช์ทส่ี ามให้หนีออกจากเยอรมนี และสนับสนนุ ผู้ลีภ้ ัย
Trooper เหลา่ นเ้ี มื่อพวกเขาออกจากประเทศ

11

เวทีและคาบาเรต์ Marlene Dietrich ร้องเพลงบน
ในช่วงปี 1950s ถงึ ชว่ งกลางปี 1970s ดที ริชทำ�งานในสว่ น เวทรี ะหวา่ งคอนเสริ ต์ คร้งั สุดท้าย
ของเธอในปารีส พฤศจิกายน 1959
ของศิลปินคาบาเรตม์ ากเป็นพิเศษ เธอทำ�การแสดงสดในโรงละคร
ขนาดใหญใ่ นเมอื งใหญ่ท่ัวโลก “คณุ คิดว่านคี่ ือความ
เธอเรม่ิ ตน้ เข้าส่งู านสายอาชพี น้ีจากการรอ้ งขอทางลาสเวกสั เย้ายวนใจหรอื ? วา่ นี่
เธอปฏเิ สธในคร้ังแรกแตส่ ุดทา้ ยเธอกย็ อมไปแสดงทน่ี ้ันตามคำ�ร้องขอ คอื ชวี ติ ท่ีดีและฉนั ทำ�
ปรากฏวา่ เธอชอบมนั และทำ�การแสดงต่อไปเรอื่ ยๆ เธอกล่าวว่า มนั เพื่อสุขภาพของ
“แตต่ อนนัน้ ฉันไมไ่ ดร้ ้องเพลงอยา่ งเอาจรงิ เอาจงั ฉนั แค่สรา้ ง ฉนั ? มนั เปน็ งานหนกั
ความบนั เทงิ ใหก้ บั ทุกคนและเป็นความสวยงาม อะไรอย่าง และใครจะทำ�งานถา้
นั้น” เธอปรากฏใน ชุดเดรสเปลอื ย ที่ดโู ฉบเฉีย่ วซึ่งเป็นชุด
ราตรผี ้าชีฟองซูฟเฟลประดับดว้ ยลกู ปดั เลื่อม และพลอย ไม่จำ�เปน็ ?”
เทียมหนาทบึ สร้างภาพลวงตาของความโปรง่ แสง ออกแบบโดย
ฌ็อง หลยุ ส์ ซึง่ สร้างความสนใจให้กับสาธารณชนมากมาย เธอตอบไคลฟ์ เฮริ ์ชฮอรน์ นกั
ตอ่ มาเธอไดจ้ า้ ง เบิร์ต บาคารคั เพอื่ มา วจิ ารณ์ภาพยนตรแ์ ละละคร
เป็นผ้จู ดั เรยี งและผู้ควบคมุ วง ท้ังสองได้ สำ�หรบั หนังสอื พมิ พ์ British
รว่ มกันขดั เกลาการแสดงในไนต์คลบั
ของเธอให้เป็นการ Sunday Express
แสดงหญิงเดยี่ วทม่ี
ความทะยานหรหู รามากข้ึนพร้อมรายการแสดงทมี่ ากข้ึนดว้ ย
เช่นกัน เธอเรียนรู้การใชเ้ สียงและการร้องเพลงจากเขา และได้
บนั ทึกเพลงรว่ มกนั 4 อลั บม้ั และอกี หลายเพลงเดยี่ ว พวกเขา
เดินทางแสดงไปทว่ั โลกจนกระทั่งบาคารคั มีความต้องการที่จะ
อทุ ศิ ตนใหก้ ับการประพันธเ์ พลง เขาจงึ ขอออกจากวงไป
เธอยงั คงทำ�การแสดงตอ่ และนกึ ถงึ เขาเสมอ บาคารคั ผทู้ ่เี ปน็
ผูก้ ำ�กับ ผ้สู นบั สนุน ครู และศาสตราจารย์ทางดนตรีของเธอ
เธอเรม่ิ ต้นการแสดงดว้ ยชุดท่โี อบรัดร่างกายของเธอ
และคลุมด้วยชุด swansdown และเปลี่ยนมาเปน็ top hat
and tails ซงึ่ ทำ�ให้เธอสามารถรอ้ งเพลงทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั นักร้อง
ผู้ชายได้ เช่น One for My Baby และ I’ve Grown Accus-
tomed to Her Face
เธอใช้ชุดชัน้ ในส�ำ หรบั การป้นั ร่างกาย ดงึ หน้าโดยใช้เทป
ใช้การแตง่ หน้าและวิกผมโดยผเู้ ช่ยี วชาญ ร่วมกับการจดั แสงบน
เวทีอย่างระมดั ระวัง ซึ่งสามารถชว่ ยรกั ษาภาพลกั ษณอ์ ันเย้ายวนใจ
ของดีทริชไว้เมอื่ เธอเริม่ มีอายุมากขึน้
เธอทำ�การแสดงตอ่ ไปเรอื่ ยๆ ในขณะทสี่ ขุ ภาพของเธอ
กเ็ ริ่มแยล่ ง เธอรอดจากการเป็นมะเร็งปากมดลกู ในปี 1965 และ
ยงั ทรมานกับการไหลเวยี นท่ีขาไมด่ ี เธอต้องพง่ึ ยาแก้ปวดและ
แอลกอฮอล์มากขึน้ เรื่อยๆ และการแสดงของเธอสนิ้ สุดในปี 1975
เพราะตกจากเวทีจนกระดกู ต้นขาหกั ระหวา่ งการแสดงในซดิ น่ีย์

12

ชีวิตบั้นปลาย
หลังจากอุบตั ิเหตคุ รัง้ ล่าสุด เธอต้องเขา้ สารคดีเร่ืองนีส้ ำ�เร็จในปี 1984 และได้รับรางวัล
มากมายในยุโรปและได้รับการเสนอช่ือเข้าชิงรางวัล
เฝือกเป็นเวลานานถึง 8 เดือน เธอรสู้ กึ หดหู่เป็นอยา่ ง ออสการ์สาขาสารคดียอดเยีย่ ม

มากและไม่ตอ้ งการพบใครทงั้ นั้น เธอเดนิ ทางออก เธอปรากฏเพียงเสียงเป็นส่วนใหญ่ ใชช้ ีวติ
จากนิวยอรก์ กลบั ไปพักฟน้ื ทีป่ ารีส ผลปรากฏว่าเธอ อยู่กบั โทรศพั ท์ โทรทัว่ ราชอาณาจกั รของเธอ เธอเสยี
ไมส่ ามารถเดนิ ไดป้ กตอิ กี ตอ่ ไป เธอจงึ ไม่ตอ้ งการ ชวี ิตดว้ ยไตล้มเหลวเมือ่ วันท่ี 6 พฤษภาคม 1992 งาน
ให้ใครพบเหน็ เธอในสภาพนี้ เธอจึงกกั ขังตัวเอง ศพของเธอถกู จัดอยา่ งย่งิ ใหญ่ในปารีส โลงศพของ
อยใู่ นอพาร์ตเมนต์ อาศัยอยู่กบั การเขียนจดหมาย เธอถกู ปกคลุมด้วยธงชาติฝร่งั เศส มีเอกอัคราชทูต
กองหนังสือ และโทรศัพท์ เธออนุญาตให้แค่คนใน มากมายเขา้ มารว่ มงาน ผ้คู นมากมายร่วมกันไวอ้ าลัย
ครอบครวั และแม่บา้ นเทา่ น้นั และร่างของเธอก็ถูกเคลื่อนย้ายไปพักผ่อนเคียงข้าง
เธอปรากฏตัวบนหน้าจอเป็นครั้งสุดท้ายใน แมข่ องเธอ ณ บา้ นเกิดในเบอร์ลิน
หนังเรือ่ ง Just a Gigolo ปี 1979 เธอยังคงเผยเรยี ว
ขาอันโด่งดังสู่สายตาสาธารณชนแต่มิได้มีผลตอบ
“ในสารคดี Marlene ของมักซิมิเลียน
รับที่ดเี ทา่ ท่ีควร และในปเี ดยี วกนั เธอไดอ้ อกหนงั สอื เชลล์ ดวี าแห่งโลกภาพยนตร์กล่าววา่ เธอไม่เคยเชอ่ื
ชีวประวัติที่เขียนด้วยตัวของเธอเองแต่ผลตอบรับก็ ในเร่ืองชีวติ หลังความตาย ‘มันไร้สาระจรงิ ๆ จะให้
ไมด่ ีเทา่ ทค่ี วร เธอทำ�เพราะเธอต้องการรายไดเ้ พอ่ื เชื่อได้อยา่ งไรกัน ว่าพอตายแล้วทุกคนก็บนิ กนั ว่อน
เลีย้ งชพี และอยูอ่ าศยั อย่างนัน้ หรือ ไมม่ หี รอก’ เธอกลับเชื่อในเรอ่ื งตำ�นาน
ปี 1982 เธอยนิ ยอมทีจ่ ะมสี ว่ นร่วมในการ แม้ว่าร่างไร้วิญญาณของเธอจะถูกจัดการเหมือนขยะ
ทำ�หนังสารคดีเกี่ยวกับชีวิตของเธอแต่ปฏิเสธท่ีจะให้ แตค่ วามเป็นตำ�นานของเธอยงั คงเฉดิ ฉายอยู่”
บนั ทกึ ภาพ บันทกึ ได้แคเ่ สียงเพียงอย่างเดียว หนัง บุญโชค พานชิ ศิลป์ จาก The Momentum

13

ชีวิตส่วนตัว
“วันหน่งึ แมข่ องฉนั เขา้ ไปในห้องของเธอ บนเตียงของเธอมหี นงั สอื เกีย่ วกับการมเี พศ

สมั พนั ธข์ องเลสเบี้ยน เปดิ ไวใ้ นหน้าที่มภี าพโจ่งแจ้ง มิสดีทรชิ ถามวา่ คิดยังไงเบียงกา้ และแม่
ของฉันตอบวา่ ‘ขอบคุณ แตไ่ ม่ ขอบคณุ ’ เธอว่า ‘อยา่ ไรส้ าระสเิ บียงกา้ ในยุโรป คุณเจอคน
ทค่ี ุณชอบและคณุ กพ็ บวา่ พวกเขาน่าดึงดูด ดงั นั้นคณุ ก็ทำ�รักกบั เขาไม่วา่ จะเป็นชายหรือเป็น
หญงิ มันไมไ่ ดส้ ำ�คญั อะไร’” กลอเรีย สโตรค

มารเ์ ลเนอ่ ดีทริชพูดได้คล่องแคลว่ ในภาษาเยอรมัน องั กฤษ และฝรั่งเศส เธอไม่ไดร้ ะบรุ สนิยม
ทางเพศไวอ้ ยา่ งชดั เจนในเม่ือเธอเปิดกวา้ งทางเพศ เธอแตง่ งานเพยี งครง้ั เดยี วกบั รูดอลฟ์ ซี
เบอร์ ถึงแม้วา่ ต่างคนตา่ งมคี นรกั เป็นของตนแต่เลือกที่จะไม่หย่ากัน อยู่อาศยั กนั อยา่ งพนี่ อ้ ง
คอยสนับสนนุ กันเสมอมา เขารู้เร่ืองทงั้ หมดเกยี่ วกับเธอและคนรกั ท้งั หมด เธอยกยอ่ งให้เขา
เป็นสามีสุดท่รี ัก แต่รักทีย่ ่ิงใหญ่ส�ำ หรับเธอ คอื ฌ็อง กาแบง็ (Jean Gabin) นกั แสดงชายชาว
ฝร่ังเศส ในเมือ่ เธอชอบอะไรๆ ทเ่ี ปน็ ของฝรั่งเศส
เธอมีความสมั พันธ์กับผ้มู ชี ือ่ เสยี งมากมายท้งั ชายและหญิง ไม่ใชเ่ พียงแค่ความสมั พนั ธ์
ทางเพศ เธอยงั ดูแลเอาใจใส่ ให้ความรัก และสนบั สนนุ พวกเขาในหนา้ ที่การงานเปน็ อยา่ งดไี ม่
วา่ จะเปน็ คนรกั หรือเพือ่ นกต็ าม เธอชอบท�ำ อาหาร และไดร้ บั ฉายาวา่ เปน็ Queen of Ajax ใน
เมื่อเธอกลวั เช้ือโรคจากการเดนิ ทางด้วยเรือ เธอมักจะท�ำ ความสะอาดทกุ สิง่ ทกุ อย่างด้วยตัว
เอง
ดที ริชไดร้ ับการเล้ยี งดตู ามประเพณีของศาสนาคริสตน์ กิ ายลเู ทอแรนของเยอรมัน แต่
เธอละท้ิงสง่ิ นเี้ น่อื งจากประสบการณข์ องเธอในชว่ งวัยรนุ่ ระหวา่ งสงครามโลกคร้งั ท่ี 1 หลัง
จากไดย้ นิ นกั เทศน์จากทั้งสองฝา่ ยวิงวอนของพระเจ้าเป็นกำ�ลังใจ “ฉันหมดศรทั ธาระหวา่ ง
สงครามและไมอ่ ยากเชื่อเลยวา่ พวกเขาท้ังหมดอยู่บนนนั้ บินไปบินมาหรอื นั่งอยูท่ ่โี ตะ๊ ล้วน
แล้วแต่เป็นส่ิงทีฉ่ นั สูญเสีย” เธอเขยี นโดยอ้างถึงเกอเธ่ในอตั ชวี ประวตั ขิ องเธอ “ถ้าพระเจา้
สร้างโลกน้ี เขาควรทบทวนแผนของเขา”

14

รวบรวมคำ� เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์
กล่าวถึง
ดีทริช

“เธอกลา้ หาญ สวยงาม ซอื่ สัตย์ มเี สนห่ ์ และใจกวา้ ง
เธอไม่เคยนา่ เบอื่ ในตอนเชา้ ในเสือ้ เชิร์ต กางเกงขายาว และ
รองเท้าบทู ของทหารอเมรกิ นั เธอดูพเิ ศษเหมอื นส่งิ ที่เธอท�ำ
ในตอนเย็นหรือบนจอเงนิ ความซ่ือสตั ย์ของเธอ เช่นเดียว
กบั ความตลกขบขัน และโศกนาฏกรรมของชวี ติ ทำ�ใหเ้ ธอไม่
สามารถมีความสขุ ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ ยกเวน้ เมื่อเธอรกั เธอยัง
สามารถลอ้ เล่นรอื่ งความรักได้ แต่เปน็ เร่ืองตลกขบขัน ถงึ
แมว้ ่าเธอจะไม่มีอะไรเลยนอกจากเสียงของเธอ เธอสามารถ
ท�ำ ลายหัวใจของคณุ กับมันได้ นอกจากน้ี เธอมีรา่ งกายท่ี
สวยงามและความงามเหนือกาลเวลาของใบหนา้ ของเธอ ถ้า
มันทำ�ใหใ้ จคณุ สลาย ถ้าเธออยู่ตรงนั้นอีกครั้งเพือ่ รวมมนั เขา้
ด้วยกนั อีกละ่ ?”
“เธอไมเ่ คยโหดรา้ ย แตโ่ กรธ ใช่ ท่เี ธอเปน็ ได้ คนโง่
เขลากวนประสาทของเธอ และเธอก็ไมม่ คี วามลบั อะไรเก่ียว
โจเซฟ ฟอน สเติร์นเบิร์ก กบั มนั เว้นเสียแตว่ ่าคนโง่จะต้องการความช่วยเหลือ หรอื ใคร
“เป็นไปไม่ไดท้ ี่จะทำ�ใหเ้ ธอหมดแรง เธอเป็นคนท่ี ก็ตามทตี่ อ้ งการความชว่ ยเหลือในระดบั หนงึ่ สามารถวางใจ
ทำ�ใหค้ นอนื่ ๆ หมดแรง และด้วยความกระตอื รือร้นที่มนี อ้ ย ได้ในความเห็นอกเห็นใจของเธอ”
คนนักทจ่ี ะแบ่งปนั ได้ ในบางครั้งทเ่ี ธอถกู ย่วั ยเุ พราะความเชือ่ “มารเ์ ลเนอ่ ตง้ั กฎของเธอเอง แตม่ าตรฐานทีเ่ ธอต้งั
โชคลางทแ่ี ปลกประหลาด เธอจึงสรา้ งความสมดลุ ใหก้ บั ความ ไว้สำ�หรับมารยาทและความซ่ือสัตย์ของผู้อ่ืนน้ันไม่เคร่งครัด
รสู้ ึกดีๆ ทไ่ี ม่ธรรมดา ซ่ึงเขา้ หาทนุ การศกึ ษา โรงละครอยู่ใน ไปกว่าบัญญตั ิ 10 ประการดงั้ เดมิ นัน่ เปน็ หน่ึงในสิง่ ทที่ �ำ ให้
สายเลอื ดของเธอ และเธอกค็ นุ้ เคยกับปรสิตทุกตัวในนน้ั ” เธอลกึ ลับ ผู้หญิงสวยและมคี วามสามารถ ผทู้ ี่สามารถท�ำ ในสง่ิ
Marlene Dietrich Photographs and Memories หนา้ 9 ท่เี ธอพอใจ ท�ำ เฉพาะสง่ิ ที่เธอคิดว่าถูกตอ้ งท่สี ุด เธอฉลาดและ
กล้าหาญมากท่จี ะตั้งกฎของเธอเอง ซงึ่ เธอปฏิบัตติ าม”
“เธอเป็นผู้หญิงท่ีไม่ธรรมดาและเธอก็สวยและตอบรับง่าย “ฉันรู้ว่าตัวฉันเองจะไม่มีวันเห็นมาร์เลเน่อโดยที่เธอ
มาก เธอตอบรับได้อย่างสวยงามและให้ภาพลักษณ์กับฉัน ไม่ขับเคล่ือนฉันและทำ�ให้ฉันมีความสขุ ถ้านั่นคือสิง่ ท่ที ำ�ให้
บอ่ ยคร้งั มาก ซึง่ ไม่เพยี งตรงตามท่ฉี นั ตอ้ งการ แตม่ ักจะดกี ว่า เธอลึกลบั กเ็ ป็นความลกึ ลับทีส่ วยงาม มนั เป็นเร่อื งลึกลบั ที่
ทฉี่ นั ต้องการ และเธอกค็ อ่ นขา้ งเป็นสาว” เรารจู้ ักกันมานาน”
จากสารคดี No Angel: A Life of Marlene Dietrich 1996 จากหนงั สือ Marlene โดย มารเ์ ลเนอ่ ดีทริช

15

งา่ ยมากสำ�หรับการพดู ถึงสิง่ ที่ซบั ซอ้ นมาก มาร์เลเนอ่ ก็เปน็
อกี คนหน่งึ สไตล์ของเธอดูเรียบงา่ ยไร้เหตผุ ล การฉายภาพ
ที่ไม่ยงุ่ ยาก บ่วงบาศคดเค้ยี วที่เสยี งของเธอล่องลอยไปตาม
จนิ ตนาการทเ่ี ปราะบางท่สี ุดของเรา แต่มนั ไมง่ ่ายเลย มันคอื
ส่ิงท่ียงั คงมอี ยเู่ ม่ือความเอาใจ ความดมื่ ดำ�่ และอุปกรณต์ า่ งๆ
มากมายท่ีทำ�ให้หัวใจอบอุ่นได้ถูกแยกออกไปอย่างไร้ความ
ปราณี เหลก็ และผา้ ไหมเหลอื ไว้ แวววาวและทนทาน”
“และนกั พงศาวดารท่ีไม่ร้จู กั เหนด็ เหนอื่ ย ในชว่ งครึง่
ช่ัวโมงแรกของงการพบกบั มาร์เลเน่อนี้ คุณจะรวู้ ่าเธอท�ำ ให้
พวกเขาประทบั ใจในวอร์ซอว์ ห่ำ�หนั พวกเขาในมอสโก ท�ำ ร้าย
พวกเขาในซดิ นย่ี ์ ถกู ปาดด้วยดอกปอ๊ ปปีใ้ นอสิ ปาฮาน ทั้งหมด
เป็นความจริงและอาจมีส่ิงใดกล่าวน้อยเกินไปกว่าความจริง
เธอทำ�ใหค้ ณุ อัปเดต จากน้นั เธอก็เคล่อื นไหวในประเดน็ ท่ี
วิพากษว์ ิจารณ์ ตรวจสอบ และละเว้นชวี ติ ของคุณเอง และ
ปญั หาตา่ งๆ ในตอนน้ี คณุ โอนภาระของคณุ สบู่ า่ ท่เี ต็มใจของ
เคราทผ์ ู้กล้าหาญน้ี”
เคนเน็ธ ไทแนน “อยา่ งทฉ่ี นั เขียนไว้กอ่ นหน้าทีจ่ ะพบเธอ เธอม ี
“ส่ิงเหล่านี้เป็นแง่มุมของผู้หญิงที่ปรากฏอยู่ในความ เซ็กสแ์ ตไ่ ม่มเี พศใดอยา่ งเฉพาะเจาะจง พวกเขาพดู (หรือ
ทรงจ�ำ ของฉัน ไม่ตอ้ งสงสยั เลย ตลอด 15 ปที ีร่ ้จู กั เธอและอกี อยา่ งน้อยฉันพูด) ว่าเธอเปน็ ผู้หญิงคนเดยี วที่ได้รบั อนญุ าต
30 ปีกว่าทช่ี ื่นชมอย่างกลัดมนั ในความเงยี บ” ให้เข้าร่วมงานบอลประจำ�ปีของสาวประเภทสองในสมัยก่อน
“อยา่ งแรกเลย มีพยาบาลเปน็ เพ่อื นของฉนั ผสู้ ่งยา ฮติ เลอร์ ในเบอร์ลิน เธอมักจะสวมหมวกทรงสงู ผูกเน็คไทสี
ท่ีเหมาะสม แหลง่ ท่ีมาของคำ�แนะนำ�ทางการแพทย์ที่แปลก ขาวและหาง เมือ่ เหน็ สง่ิ มชี ีวติ ท่สี วยงามสองตวั ลงมาจากข้นั
ประหลาด ยาครอบจักรวาลพเิ ศษ ส�ำ หรับมาร์เลเนอ่ ผนู้ ้ี ผู้ บันไดอันยิ่งใหญ่ สวมชุดเลือ่ มโอบรัดและวิกผม บลอนด์เรียง
รักษาบาดแผลของโลก ฉันมกั จะร้สู กึ ขอบคุณเสมอ เพลง ซอ้ น เธอจึงเบิกตากว้าง ‘คุณสองคนกำ�ลงั รักกันหรือเปลา่ ’
ของเธอกำ�ลงั เยยี วยา เสยี งของเธอบอกคุณว่า ไมว่ ่าคณุ จะอยู่ ‘คณุ ผู้หญงิ ’ หน่ึงในน้ันพูดอย่างเย็นชา ‘เราไม่ใชเ่ ลสเบ้ียน’
อาศยั อยูน่ รกใดก็ตาม เธอเคยไปทนี่ น่ั มาก่อน และรอดชวี ติ มาร์เลเน่อผู้น้ีอาศัยอยู่ในดินแดนที่ไร้ซึ่งเพศของผู้ชายและ
ร่องรอยของภมู ิปญั ญาพน้ื บา้ นเตม็ ตวั แบบโบราณ หลายคน ไมใ่ ชข่ องผ้หู ญิงด้วย เธอทมุ่ เทให้กบั การดเู ซก็ ซ่ีมากกว่าการ
เรียกมนั ว่าคาถา แต่มนั กย็ งั ยดึ ติดอยูก่ บั เธอ เชน่ เธอสามารถ เปน็ สิ่งทเี่ ซก็ ซี่ ศลิ ปะในการดคู ลับคลา้ ยคลับคลา ความคลาย
ทำ�นายเพศของเด็กกอ่ นก�ำ เนดิ แน่นอนว่าเร่อื งนี้ตอ้ งไดร้ ับ คลึงคือภาพลักษณ์ และภาพลกั ษณ์คือขอ้ ความ เธอเปน็ ที่รัก
แรงบันดาลใจจากการคาดเดาหรือประยุกต์ใช้จิตวิทยาอย่าง และมารดาของผู้ชายทุกคน และไม่มใี ครเปน็ สามียกว้นของรู
ชาญฉลาด เธอเรียกมนั ว่าวิทยาศาสตร์ อยา่ งท่แี มม่ ดทัว่ ไป ด้ี และเขาคอื สามีของเธอ หา่ งไกลอยใู่ นฟาร์มปศุสัตว์ของเขา
เรียก” ในแคลิฟอรเ์ นีย”
“จากน้นั กม็ ีคนงานที่ต้องโทษตวั เอง ลูกสาวของพ่อ “เธอเช่ือในดวงดาวแตส่ รา้ งโชคให้ตวั เอง การแสดง
ชาวเยอรมันผ้เู ครง่ ครดั ถูกเลย้ี งมาเพื่อใหไ้ ด้รบั ความสุขใน ละครทำ�ให้เธอไม่สบายใจ เธอไมม่ ตี ัวแทนหรือผู้จัดการธรุ กิจ
ฐานะรางวัลและสิทธพิ ิเศษ ไมใ่ ชส่ ิทธิโดยกำ�เนดิ นี่คอื มาร-์ นอกจากตัวเธอเอง ทีค่ ร้งั หนง่ึ ในชว่ ง high-noon ของวัย 30
เลเน่อ ผู้บูชาความเปน็ เลิศ นกั แสดงทีม่ คี วามคมชัดสงู ซง่ึ เธอพึง่ พาโจเซฟ ฟอน สเติรน์ เบริ ก์ ตอนน้ีเธอมองไปทเ่ี บิร์ต
ขัดเกลาทักษะท่ีไม่เป็นสนิมของเธอทกุ วัน เป็นคนกินน้อย บาคารัค ผู้จัดรายการและวาทยากรหนมุ่ ของเธอ ในชว่ งทเ่ี ขา
ตดิ สเต็กและผักเขียว แต่เป็นผยู้ ่งิ ใหญ่แหง่ การกลนื กินเสียง ไมอ่ ยู่ เธอกลุ้มใจกับขอ้ แก้ตัวของเขา เธอยกั ไหล่อยา่ งชัดเจน
ปรบมอื ส�ำ หรับบางคน (ฌอ็ ง คอ็ คโตกลา่ ว) สไตล์ เปน็ วิธีท่ี เบิรต์ คอื นายพลของเธอ ผ้เู ปน็ เจา้ เหนอื หัวทางดนตรที เ่ี ธอ
ซบั ซ้อนมากในการพดู ร่อื งง่ายๆ ส�ำ หรบั คนอื่นมนั เป็นวธิ ีที่ หลงใหลในทางชูส้ าว”

16

เคนเ ็นธ ีทแนน(1927 – 1980) ันก ิวจาร ์ณละคร ผู้เ ีขยนบท และโปรดิวเซอร์

“เธอหวั เราะมาก สง่ เสียงบีบแตรที่ไม่ได้ปราศจาก ราวกับเปน็ เจ้าภาพในการชุมนุม และสง่ ของศักดิส์ ิทธ์ิ เธอรวู้ ่า
ความเศร้าโศก โน้ตพิเศษแหง่ การท�ำ ร้ายจิตใจทโี่ ศกเศรา้ ดอกไมท้ ั้งหมดอยู่ทีไ่ หน ถูกฝงั อยู่ในโคลนของพาสเชนเดล ถูก
แทรกซึมเข้าไปในเสียงของเธอเม่ือบทสนทนาเปล่ียนเป็น ระเบดิ เปน็ เถ้าถา่ นทฮ่ี โิ รชิมา ถกู เผาจนเกรยี มในเวดี นาม และ
ดาราไต่เตา้ คนที่ต้องดงึ ลงมา (‘แล้วภาพนนั้ ละ่ ? เธอต้องเสีย เธอถ่ายทอดความรู้ไว้ในนำ�้ เสียงของเธอ เธอเคยบอกฉันวา่
สตแิ นๆ่ ท่ีรกั มันกำ�ลงั จะตาย’) มารเ์ ลเนอ่ มืออาชพี คนน้ไี ม่ใช่ เธอสามารถเลน่ Mother Courage ของ Bertolt Brecht ได้
สิ่งที่ใครๆ จะเรียกวา่ ผหู้ ญงิ ฉันไม่แปลกใจเลยทร่ี วู้ า่ เธอไมเ่ คย ส่วนฉัน ฉนั คิดว่าเธอพูดถกู ฉนั นกึ ภาพเธอลากเกวยี นไปทั่ว
พบกับเกรทา การโ์ บ คูแ่ ขง่ สำ�คัญของเธอในเดิมพันของโลก สนามรบ ร้องเพลง Brechtian ทม่ี ืดมนและเคร่งขรมึ เหลา่ นนั้
อีโรตกิ ในยุคกอ่ นสงคราม เธอนบั ถือผูช้ ายหลายประเภท และตง้ั รา้ นค้าทกุ ทีท่ ีเ่ หตกุ ารณค์ วามขดั แย้งปะทุ เหมอื นทเี่ ธอ
เช่น เซอร์อเลก็ ซานเดอร์ เฟลมมิง ผคู้ น้ พบยาเพนซิ ิลิน นัก ท�ำ ในฝรัง่ เศสในช่วงสงคราม ที่ Ardennes ก้าวรา้ วต่อราชนิ ี
แสดงผยู้ ง่ิ ใหญ่ทช่ี ่วยชวี ติ อย่างฌ็อง กาบังและออร์ลัน เวลล์ แหง่ สาวกคา่ ยผ้นู ี้ จกั รพรรดินลี ลิ ี่ มาร์ลีน”
นกั เขยี นผเู้ ปดิ เผยตนเองท่ยี อดเย่ียมอย่างเออร์เนสต์ เฮมงิ เวย์ “ส่ิงทเี่ รามใี นท่ีน้ี โดยสรปุ ก็คอื สตรที ีท่ า้ ทายและสงา่
และ คอนสแตนตนิ เปอสตอฟสกี ปรมาจารย์ดา้ นจังหวะเวลา งาม ไมม่ ีงานอดิเรกใดๆ ยกเวน้ ความสมบูรณ์แบบ ไมม่ ีความ
และความแตกต่างอย่างโนเอล โควอรด์ และบุรุษผู้มีอ�ำ นาจ ช่วั รา้ ยใดๆ ยกเว้นการเอารดั เอาเปรยี บตนเอง และไม่มีนสิ ยั ที่
ยิง่ ใหญอ่ ยา่ งนายพลพตั ตอน จอหน์ ฟติ ส์เจอราลด์ เคเน เป็นอันตรายใดๆ มารเ์ ลเน่อท�ำ ใหพ้ วกเราทุกคนเขียนขอ้ ความ
ด้ี และสมาชกิ คนล่าสดุ ในตระกลู มอสช์ ดายาน มาร์เลเนอ่ ส้ันๆ ได้ เธอคอื ค�ำ แนะน�ำ แกค่ ูร่ กั อทิ ธพิ ลในทส่ี งู ค�ำ พูดของ
เพลิดเพลินกบั ลมหายใจแห่งอ�ำ นาจ เธอคอื ผูต้ ่อตา้ นสงคราม นกั ปราชญแ์ ละความจ�ำ เป็นในดนิ แดน เธอยงั เปน็ Whisper-
อยา่ งบ้าคล่ัง แตก่ ็เหมอื นกับฝกั ใฝ่ชาวอิสราเอลอย่างบา้ คล่ัง ing Jack Schmidt, Wilhelmina the Moocher, สมี ่วงเขม้
ความมขัดแยง้ ในธรรมชาตขิ องเธอบางครงั้ ทำ�ให้ฉนั กังวล” ร่วงหล่น, ควนั ในดวงตาของคณุ , วธิ อี ยคู่ นเดียวและชอบมนั ,
“ห่างเหิน เจ้าอารมณ์ ไรค้ วามร้สู กึ เยือกเยน็ และ การอยู่รอดของผทู้ เ่ี หมาะสมทส่ี ุด, วยั แห่งความวติ กกงั วล,
การค�ำ นวณ: สงิ่ เหล่านีค้ ือสง่ิ ท่ีเธอไม่เป็น. ความภาคภูมิใจ จนิ ตนาการเสรี, ไม่เปน็ คนโง่ของใคร และแม่ม่ายของทหารที่
มีส่วนร่วม ทา้ ทาย แดกดัน และเปิดเผย: สิง่ เหลา่ น้ีเปน็ คำ� เสยี ชวี ิตทกุ คน ย่งิ ไปกว่านั้น เธอมขี อ้ จ�ำ กัดและรู้จักพวกเขา
เรยี กสั้นๆ. ในการแสดงเด่ียวที่เธออุทศิ ให้กบั การแสดงคร้งั ดี”
สดุ ท้าย เธอยนื ราวกบั ประหลาดใจท่ไี ด้อยู่ทน่ี นั่ เหมอื นรูปปนั้ จากหนงั สือ Marlene โดย มารเ์ ลเน่อ ดีทรชิ หนา้ 254-256

ทีเ่ ผยโฉมทุกคนื สู่ความอัศจรรยใ์ จไม่ร้จู บ เธอแสดงตวั ตอ่ ผู้ชม

17

Marlene Dietrich, New York City, 1959

“ฉนั ไม่มเี ปา้ หมาย เมือ่ มนั เกิดข้นึ
ฉนั เพยี งแค่อยู่ตรงน้นั และทำ�งาน

ของฉันใหด้ ที ี่สดุ เท่าที่ฉันทำ�ได้
นั่นคอื เหตผุ ลทฉี่ ันไม่สามารถมี
ความผิดหวงั ได้เพราะฉันไม่เคย

คาดหวังกับอะไร”

มารเ์ ลเน่อ ดที รชิ บทสัมภาษณ์ทป่ี ารสี ปี 1959
18

ฉันสญู เสยี สามีของฉนั เป็นการสูญเสียทีเ่ จ็บปวดทส่ี ดุ ของฉนั
เพอ่ื นทกุ คนทค่ี วามตายได้แย่งชิงเพือ่ นไปจากฉันมากมาย เพื่อนรัก
ของฉันจากเราไป ทำ�ใหเ้ รารสู้ กึ เหงามากขึ้น เจบ็ หวั ใจทกุ คร้ังเมอ่ื หยบิ
โทรศพั ทแ์ ลว้ ไมไ่ ด้ยนิ เสียงผเู้ ป็นที่รัก ฉันสารภาพวา่ ฉนั เหนือ่ ยทกุ ข์
ฉันคิดถึงเฮมิงเวย์และเรื่องตลกท่ีเขามักจะตะโกนบอกฉัน
จากอกี ฟากหนงึ่ ของโลก คำ�แนะน�ำ ที่ตลกขบขันของเขา ซง่ึ เขาท้งิ ทา้ ย
ความคิดเห็นของดีทริช ดว้ ยข้อความวา่ “หลับให้สบาย” คำ�พดู เหลา่ นตี้ ามหลอกหลอนฉนั
และความเดอื ดดาลในตอนแรกของฉันก็พลงุ่ พล่านข้นึ มาอีกคร้ัง แต่
หน้าที่และชีวิต นัน่ ไมไ่ ด้ช่วยให้ฉนั ผ่านคนื น้ีไปได ้ แตม่ วี ิธีรกั ษาคนื นอนไม่หลับหรอื ?
“ฉนั ไมเ่ คยมคี วามทะเยอทะยานขนาดน้ัน ฉนั ไมเ่ คยรูจ้ กั ฉนั ไม่มใี ครรเู้ ลย และแม้วา่ “ศาสตราจารย”์ ดังท่ีเฮมงิ เวย์เรียกพวกเขา
ถูกเลย้ี งดมู าเพื่อทจ่ี ะทำ�หน้าทขี่ องตวั เอง หนา้ ท่ีต่อโรงเรียน หนา้ ทต่ี อ่ แต่ยงั คงเขยี นหนงั สอื ท่เี รียนรูเ้ กยี่ วกับเรอื่ งนี้อยา่ งหนาเตอะ แต่กไ็ ม่มี
ทุกคน หนา้ ที่ต่อโลก หลักการทค่ี ณุ ยึดมน่ั … อกี เชน่ กันไม่ควรสนใจตัว ทางแก้ไขใดๆ กบั ความทกุ ขร์ ะทมยามค�ำ่ คนื น ้ี น่นั คอื วิธที ีม่ นั เปน็
เองมาก เราถกู สอนวา่ เราไม่ส�ำ คญั เมื่อฉนั ต้องทำ�งานและฉนั ก็ท�ำ ถา้ ฉันใชเ้ วลาเกือบทัง้ ชวี ติ กบั ผูช้ ายทีเ่ ฉลียวฉลาด พวกเขา
ฉนั รบั งานนนั้ มาแล้ว ฉันตอ้ งท�ำ มันให้ด”ี ไมเ่ หมือนผชู้ ายคนอืน่ ๆ จิตวิญญาณของพวกเขายิง่ ใหญแ่ ละเร้าใจ
“ใช่แลว้ น่ันคอื หน่ึงในคุณภาพทดี่ ขี องฉนั (ความถ่อมตน) พวกเขาเกลยี ดการทะเลาะววิ าท แทจ้ รงิ แล้วพวกเขาปฏิเสธมัน
ฉันอดทน และมีวินัย และฉันเป็นคนที่ดี ฉันคิดว่าฉันเป็นคนดี ฉนั จะ จนิ ตนาการของพวกเขารับรถู้ ึงคนรอบข้าง ของขวญั การสรา้ งสรรค์
ไมอ่ ดทนกับความโง่เขลา ถา้ ผูค้ นไมร่ ูง้ านของตัวเอง ฉันจะไม่อดทน ของพวกเขานน้ั ไร้ขอบเขต พวกเขาตอ้ งการการอุทศิ ตนและการเช่อื ฟัง
แต่ฉันคดิ ว่ามันเปน็ สิ่งทีถ่ ูกตอ้ งท่จี ะไม่อดทน ฉนั คดิ ว่าถ้าใครบางคน และอารมณ์ขนั ท่ีฉันมอบให้ทัง้ หมดน้ีอยา่ งมคี วามสุข ฉนั โชคดีทไ่ี ดร้ บั
ต้องการท�ำ งานงานหนงึ่ เขาควรรู้เก่ยี วกับมัน หรอื เขาควรกลับบ้าน เลือกและฉลาดพอที่จะเข้าใจพวกเขา
แล้วไปท�ำ อย่างอื่น” …
มาร์เลเน่อ ดีทรชิ บทสัมภาษณ์สวีดิชทวี ี ปี 1971 เมื่อคนรุ่นฉันมองยอ้ นกลบั ไปในชวี ิตของพวกเขา หลายคน
รู้สกึ ว่าพวกเขาสูญเสยี วยั เยาว์ไป ฉนั คดิ วา่ ตอนนน้ั เราไมร่ ้หู รอกว่าเรา
“ฉันเหน็ ดว้ ยกับไทแนน ไมใ่ ช่ท้ังหมด แตด่ ว้ ยประโยค ก�ำ ลงั ใชเ้ วลาของเราอยา่ งสรุ ุ่ยสุร่าย เราใชช้ ีวติ จากวนั หน่งึ ไปยังอีก
สุดท้ายของเขา ไม่วา่ อยา่ งไรกต็ าม อันที่จริงฉันรขู้ ดี จ�ำ กดั ของฉันและ วัน นบั เฉพาะช่วงเวลา เชน่ เดยี วกับคนหนุ่มสาวทกุ คน และในตอนน้ี
ไม่เคยเกนิ เลยหรือแทบไมเ่ คยเลย “หลังจากฉนั น�ำ้ ทว่ มรุนแรง...” นั่นเป็นการแสดงออกท่ียอดเยี่ยมและ
ฉนั ทอ้ แท้งา่ ย การยกั ไหล่ก็เพียงพอทจี่ ะส่งฉนั กลับเขา้ ไป อาจไมใ่ ชท่ ัศนคตทิ ่แี ย่ท่ีสดุ นา่ จะเปน็ ชอ่ื ทีด่ สี �ำ หรับหนังสือเล่มนี้ แต่
ในเปลอื กของฉนั ในทางกลบั กัน ฉันปกปอ้ งหลกั การของฉนั เหมือน มนั ไม่ไดส้ ือ่ ถงึ ความรสู้ กึ ที่เราประสบในวัยเยาว์อย่างแทจ้ ริง เราไม่เคย
สิงโตตัวเมีย และฉนั ปกป้องเพ่ือน ไม่วา่ เขาจะต้องการความช่วยเหลือ นึกถึง “นำ�้ ท่วมรนุ แรง” ในทางกลับกนั เยาวชนในทุกวันนร้ี ้ดู วี า่ อาจ
หรือไมก่ ็ตาม ฉนั ตอ่ ส้เู พ่ือเพือ่ นๆ ทกุ ครัง้ ที่ฉันรู้สกึ ว่าพวกเขาถูกโจมตี เกดิ นำ้�ท่วมได้
แม้ว่าพวกเขาจะไม่สนใจเลยแมแ้ ต่นอ้ ย แม้กระท่งั เส่ียงอันตรายตอ่ ตวั ตอนนัน้ เราคดิ ว่าทุกอยา่ งงา่ ยขนึ้ ฉนั แน่ใจวา่ คนหนุม่ สาว
ฉันเอง ซงึ่ ไม่สำ�คัญกบั ฉนั เลย ไมว่ า่ ตอนน้ันหรอื ตอนน ้ี ฉันไม่คดิ ว่าฉนั ในปัจจุบันซึ่งไม่สนใจการเมืองและประกอบอาชีพประจำ�วันเช่นเดียว
จะเปลย่ี นไป กบั เราในตอนนัน้ ก็คงพูดเชน่ เดยี วกัน ทศั นคตทิ ี่ยอดเยยี่ มของเยาวชน
ฉนั ไม่เคยม่ันใจในตวั เองเลย ไม่วา่ จะในภาพยนตร์หรอื บน นี้ได้รับชัยชนะเหนือส่งิ อ่ืนใด ฉนั หวังวา่ มันจะไม่ลดลงและมนั จะ
เวที บนเวที ค�ำ ชมของเบิร์ต บาคารัคท�ำ ใหฉ้ นั รู้สกึ ถึงความปลอดภยั ท่ี สามารถเผชญิ หน้ากับเหตุการณ์อนั น่าสะพรงึ กลัวทคี่ กุ คามโลกได้ มนั
จำ�เปน็ มาก เป็นที่รู้กนั อย่แู ล้วว่าใครเป็นคนมอบความร้สู ึกนีใ้ ห้กบั ฉนั จะมีชวี ติ รอดและรกั ษาความสงบของจิตใจเอาไว้ได้
ในภาพยนตร ์ แต่นอกเหนอื ไปจากสองข้อนแี้ ลว้ ฉันไม่ไดแ้ ขง็ แกรง่ …
มาก ฉันมคี วามเชื่อมนั่ อยา่ งแนว่ แน่ แตส่ ำ�หรับวกิ ฤต ฉนั รสู้ กึ ไม่ม่นั ใจ เวลาไมไ่ ด้รกั ษาบาดแผลทงั้ หมด เหมอื นกับเมอื่ กอ่ น ฉัน
ฉนั กำ�ลงั พดู ถึงวกิ ฤตของตวั เอง ฉนั กล้าเผชิญหนา้ กับความโชคร้ายที่ รู้สึกทึ่งกับความโศกเศร้าที่คงอยู่ถาวรและพลังของมันเหนือมนุษย์
กระทบกระเทือนครอบครวั หรือเพือ่ นของฉนั เพราะฉันรสู้ กึ ว่ามันเป็น บางทเี วลาอาจรกั ษาบาดแผลต้นื ๆ ได้แตก่ ไ็ ม่มอี ำ�นาจเหนอื บาดแผล
ลึก หลายปผี ่านไป แผลเป็นก็เจ็บพอๆ กบั บาดแผล “Keep your
หนา้ ทข่ี องฉันทจี่ ะต้องชว่ ยเหลือ ความรสู้ ึกทีใ่ หพ้ ลงั แกฉ่ ัน head high,” “Chin up,” “ส่ิงนกี้ ็จะผ่านไปเชน่ กัน” ฯลฯ — ไมม่ ีคำ�
ฉันไมส่ ามารถใช้ ‘ปรัชญา’ น้กี ับตัวฉันเอง เมอื่ ความโชครา้ ย แนะนำ�ใดท่ีมีประโยชน์มากนัก สิง่ ส�ำ คญั คือตอ้ งหมุนรังไหมรอบหวั ใจ
เกิดขนึ้ ฉันจมด่ิงสูค่ วามสิน้ หวงั แม้แต่เพ่อื นสนทิ ของฉนั กไ็ มท่ ราบถงึ เพือ่ ระงบั การดงึ ของอดตี อยา่ ยึดเหนยี่ วในความเหน็ ใจของผอู้ ืน่ คณุ
ความอ่อนแอนซี้ ่ึงฉนั ไม่สามารถเอาชนะได ้ และเน่ืองจากฉันเรียนรมู้ า สามารถจดั การได้ดีโดยไมม่ ีพวกเขา ฉันรู้
นานแลว้ ว่าการสงสารตวั เองเป็นสง่ิ ต้องห้ามโดยเดด็ ขาด ฉนั จงึ ตอ้ งชนิ สง่ิ ทเี่ หลอื อยคู่ ือความโดดเดยี่ ว”
กับภยั พบิ ัตนิ ีแ้ ละไม่สามารถรบกวนผอู้ น่ื ดว้ ยปญั หาของฉัน
จากหนังสือ Marlene โดย มาร์เลเน่อ ดีทริช หนา้ 257-259

19

แฟชั่น

“แฟชัน่ อยา่ ติดตามมนั อย่างสุ่มส่ีสมุ่
หา้ เข้าไปในตรอกมดื ทุกหนทุกแหง่
จำ�ไว้เสมอว่าคณุ ไม่ใชน่ างแบบหรอื

หุ่นท่แี ฟชั่นถูกสร้างข้นึ ”

จากหนงั สือ Marlene Dietrich’s ABC หนา้ 63

มารเ์ ลเน่อ ดีทริชเป็นไอคอนของนักออกแบบแฟช่นั และ
ดาราหน้าจอ อดี ธิ เฮด นกั ออกแบบเครื่องแต่งกาย ต้งั ข้อสงั เกตว่า
ดที ริชรเู้ ร่อื งแฟช่นั มากกวา่ นักแสดงหญงิ คนอืน่ ๆ

“ฉันแต่งกายเพ่อื ภาพพจน์ ไมไ่ ด้แต่งเพ่ือตนเอง เพือ่

สาธารณะ เพือ่ แฟชั่น หรือเพื่อผชู้ าย ภาพพจน?์ กลุม่ บริษัททกุ ส่วน
ที่ฉันเคยเลน่ บนหนา้ จอ เมอื่ ฉันอยู่ใน The Blue Angel ผคู้ นคดิ ว่า
นัน่ คอื ฉนั พวกเขาคิดวา่ นั่นคือฉันจริงๆ”
“ถ้าฉันแตง่ ตวั เพือ่ ตัวเอง ฉนั จะไมเ่ ป็นทุกขเ์ ปน็ ร้อนอะไร
เลย เสอ้ื ผา้ ท�ำ ให้ฉนั เบอื่ ฉันจะใส่กางเกงยีนส์ ฉนั รกั กางเกงยนี ส์ ฉนั
ซื้อมันในร้านค้าสาธารณะ แน่นอนวา่ เปน็ ของผชู้ าย ฉันใสก่ างเกงผู้
หญงิ ไมไ่ ด้ ฉนั จ�ำ ไม่ไดว้ ่าฉันมีตัวใหมค่ รั้งสุดท้ายเมอ่ื ไหร่ พวกเขาอยู่
ได้นานและดขี ึน้ เรือ่ ยๆ แต่ฉันแต่งตวั เพ่อื อาชพี ฉันไดเ้ สอ้ื ผา้ ท่ีฮอลลี
วดู และปารีส และถา้ ฉันมาปารีสไม่ได้ ฉันกร็ อ”
“ฉนั ไม่เคยไปทีค่ อลเลกชนั ใช้เวลานานเกินท่กี ารแสดง
เสอื้ ผ้าจะผา่ นไป ตอนนพี้ วกเขารู้จกั ฉันและพวกเขาแสดงให้ฉนั เห็น
เฉพาะเสอ้ื ผ้าท่เี ป็นของฉนั เท่านน้ั ฉนั ไม่เคยค�ำ นึงถึงเงินเม่ือฉนั สง่ั
ซอ้ื เส้ือผ้า กอ่ นทฉ่ี นั จะมีเงนิ หรือ? ฉันจ�ำ ไมไ่ ด”้
“ใช่ ฉนั มีรสนยิ มที่ดี คงจะเป็นเพราะอิทธพิ ลจากแม่ของ
ฉัน เพราะมนั คอ่ นข้างเป็นธรรมชาติอยู่แล้ว ไม่มีใครเคยมผี ลกระ
ทบตอ่ เสอ้ื ผ้าของฉนั แน่นอน ถา้ ฉันอย่กู บั คนท่ฉี นั รู้จกั และพวก
เขาอยากอวดฉัน ฉันก็จะแตง่ ตวั เพื่อใหพ้ วกเขาไปอวดฉนั และฉัน
แตง่ ตัวตามสิง่ ท่ีฉนั ก�ำ ลงั ท�ำ นน่ั คือรสนยิ ม และประเทศท่ีฉนั อยู่
ในปารสี คุณสามารถบ้าคลั่งไดม้ ากกว่าน้ี นิวยอร์กเป็นสถานทท่ี ี่
เป็นการเป็นงาน”
“ฉนั ไมเ่ คยยุ่งเก่ยี วกบั เสื้อผ้าของลูกสาว ตราบใดท่ีเธอ
รู้สกึ สบายใจดว้ ยตัวของเธอเอง ถ้าเธอขอค�ำ แนะน�ำ ฉันจะบอกเธอ
วา่ ใหซ้ ื้ออะไรดๆี ”
“ผู้หญิงจำ�นวนมากกับเสื้อผ้าที่มีมากมายและพวกเขาไม่
เคยมอี ะไรที่จะใส่ ฉันอยากจะไปปารต์ ้ใี นชดุ กระโปรงสดี ำ�กับสเวต
เตอร์มากกวา่ ”
“ฉันรูอ้ ยู่เสมอว่าฉนั มมี ือที่นา่ กลัว พวกเขาถูกแชแ่ ขง็ ใน
Ardennes ในสงครามดว้ ย ตอนนั้นไมม่ ใี ครคิดเร่อื งแบบน้ี”

มาร์เลเน่อ ดีทรชิ จาก The Observer วนั ที่ 6 มีนาคม 1960

20

มาร์เลเน่อ ดีทริช
และการเป็น
ปัจเจกชน

จากข้อมลู ท่กี ล่าวไปขา้ งตน้ ทัง้ หมด แสดงให้เหน็ วา่

เธอร้จู ักตัวตนของตัวเธอเองเป็นอยา่ งดี และทราบว่าโลกดำ�เนิน
อยา่ งไร เธอทราบหนา้ ทีข่ องเธอ มกี ฎเกณฑ์และหลกั การทเี่ ปน็
ของเธอ ยดึ มนั่ ในสิง่ ที่ถกู ตอ้ ง รจู้ กั ข้อจำ�กดั ของเธอ ในขณะ
เดียวกันก็ใช้ความสามารถทั้งหมดท่ีเธอมีมารังสรรค์ส่ิงงดงาม
ประทับไว้บนโลกให้เป็นที่จดจำ�ต่อผู้คนมากมายท่ีได้สัมผัสเธอ
ไม่ว่าจะเป็นผู้คนท่ีมีโอกาสได้รู้จักเธอเป็นการส่วนตัวหรือคนรุ่น
หลงั อย่างขา้ พเจ้า เธอทำ�งานและทำ�หน้าท่ขี องเธอด้วยความรกั
จรงิ อย่างปฏิเสธไมไ่ ด้ เธอท้งั งดงาม กล้าหาญ เปดิ เผยอย่างตรง
ไปตรงมา และอบอุน่ ในขณะเดียวกันก็เปย่ี มไปดว้ ยความลึกลับ
ในตวั เธอ

“การปลดปล่อยในรูปแบบทั้งหมดต้องใช้ความกล้า
หาญ และมารเ์ ลเนอ่ ดที ริชได้ให้ความหมายแก่ค�ำ นี้ เธอคอื ผู้
บกุ เบกิ ด้ังเดิมที่แท้จริง ซ่ึงไมเ่ พียงเปลีย่ นทศั นคตผิ ่านความเป็น
ปจั เจกนยิ มทกี่ ล้าหาญของเธอเท่านั้น แตย่ ังทำ�ให้เหน็ ถึงความ
จำ�เป็นและความหมายท่ีลึกซึ้งเบ้ืองหลังแนวคิดแบบลัทธิหัว
ก้าวหนา้ ของเธอดว้ ย การแสดงและการร้องเพลงของเธออาจ
ท�ำ ให้เธอเปน็ ดารา แต่ดเู หมอื นว่าความตงั้ ใจของเธอจะไม่ใช่
อยา่ งอน่ื นอกจากตวั เธอเอง”

ทอม เทเลอร์ จากเวบ็ ไซต์นติ ยสารออนไลนฟ์ ารเ์ อาท์

“ดีทริชต่อต้านลัทธินาซีและลัทธิฟาสซิสต์อย่างแข็ง
ขนั และนกั ประวตั ิศาสตรบ์ างคนเสนอว่าความมุ่งมนั่ อันแรง
กล้าของเธอต่อการเคลื่อนไหวและสนับสนุนความพยายามทำ�
สงครามของอเมริกานั้นเน่ืองมาจากความเชื่ออันแรงกล้าของ
เธอในลัทธิปัจเจกนิยมและเสรีภาพ ซ่งึ เธอเหน็ วา่ ถูกคกุ คามใน
เยอรมนีภายใต้ระบอบการปกครองของนาซี
เธอยึดมั่นในอิสรภาพน้ใี นทกุ สง่ิ ทเ่ี ธอท�ำ ตง้ั แตก่ าร
ยืนหยัดอย่างแน่วแน่ของเธอในการเดินทางไปยังแนวหน้าเพื่อ
สนับสนนุ ทหารของประเทศเรา ไปจนถงึ การกลา้ สวมกางเกงใน
ปารสี ในขณะท่ียงั ผดิ กฎหมายสำ�หรับผูห้ ญงิ ไปจนถึงการแสดง
บทบาทที่กา้ วข้ามขอบเขตของฮอลลวี ดู ดที รชิ มุ่งม่นั ท่ีจะมี
เสรีภาพ – และอิสระในการเปน็ ตัวของตัวเอง อาจเป็นเพราะ
ความเชื่อเหล่าน้ีและอุดมคติแบบอเมริกันท่ีเธอใช้เวลาหลายปีใน
ชีวติ ของเธอตอ่ สู้กับพวกนาซแี ละสนับสนนุ กองทหารอเมรกิ ัน”
มารเ์ ลเนอ่ ผู้เป็นปัจเจกชน (Marlene the Individual)
จากเว็บไซต์ USO

21

Target Group

จากการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ ท�ำ ให้ผ้คู นต่างรุ่นมีทศั นคตแิ ละความต้องการ
ทแี่ ตกต่างกนั ออกไป ผู้วิจยั จึงศึกษากลมุ่ เป้าหมายเป็นบริเวณกว้างเพ่ือคน้ หาความเหมอื นและความ
แตกตา่ งของทั้ง 3 เจเนอเรช่นั ได้แก่ เจเนอเรชนั่ เอก็ ซ์ เจเนอเรชนั่ วาย และเจเนอเรช่นั แซด

22

Character MUSE

23

MUSE

Taste of Life

24

MUSE

Taste of Housing

25

MUSE

Taste of Activity

26

Demographic

27

Demographic

กล่มุ เจเนอเรชนั่ เอก็ ซ์ (Generation X) กลุ่มเจเนอเรชัน่ วาย (Generation Y)
กลมุ่ เจเนอเรช่ันวาย คือกลุ่มคนท่เี กดิ ในช่วงปี
กลุ่มเจเนอเรชน่ั เอก็ ซ์ คือกลุ่มคนทเ่ี กิดในชว่ งปี พ.ศ. 2508-2522 พ.ศ. 2523-2540 คนกลุ่มนเี้ ติบโตขึ้นมาท่ามกลางความ
เป็นกล่มุ คนทเี่ กดิ มาในชว่ งทสี่ งั คมมีความสดใส เศรษฐกิจดี และ เปลี่ยนแปลงและค่านิยมทแี่ ตกตา่ งระหว่าง รุ่นปยู่ ่าตายาย
เป็นกล่มุ คนทไี่ ด้สัมผัสกบั เทคโนโลยีกลมุ่ แรกๆ เชน่ วดี โี อเกมสต์ ่างๆ กบั รุน่ พอ่ แม่ เจริญรุดหนา้ ของเทคโนโลยี และอินเทอรเ์ น็ต
และนยิ มเพลงตะวนั ตก เป็นผู้ผา่ นเหตกุ ารณส์ ำ�คญั ๆ ในชวี ิตการ เข้ามาแทรกอย่ใู นการด�ำ รงชีวติ ประจำ�วันด้วย ยคุ นี้จะเป็น
ทำ�งานมาอย่างหนกั หนว่ ง เจอมาแลว้ ทัง้ วกิ ฤตติ ม้ ย�ำ ก้งุ และวกิ ฤติ ยคุ ทีเ่ ศรษฐกิจกำ�ลังเตบิ โตเป็นอย่างมาก ทำ�ใหพ้ ่อแมท่ คี่ ่อน
แฮมเบอร์เกอร์ ตอ่ ดว้ ยโควดิ -19 และทันเหน็ การท�ำ งานแบบทุ่มเทท้ัง ข้างจะประสบความสำ�เร็จในชีวิตแล้วจะดูแลเอาใจใส่ลูกเป็น
ชวี ิตของพอ่ แมท่ ี่เป็นรนุ่ “บมู เมอร์” จึงใหค้ วามส�ำ คญั กบั การท�ำ งาน อยา่ งดี เดก็ ยุคนจ้ี ึงมกั จะถกู ตามใจตงั้ แตเ่ ดก็ ได้ในสิ่งทีค่ น
แบบ Work-Life Balance แต่ก็ยงั เนน้ เรอื่ งความรับผดิ ชอบตาม รนุ่ พอ่ แม่ไม่ค่อยได้ มีการศึกษาดี มลี ักษณะนิสยั ชอบการ
หนา้ ทอ่ี ยา่ งเตม็ ที่ รวมทง้ั เรมิ่ เปิดกว้างทางความคิด หรอื ไอเดยี ใหม่ๆ แสดงออก มีความเป็นตัวของตัวเองสูง ไมช่ อบถกู บังคับให้
และเน้นเปา้ หมายของทมี เป็นหลัก อยูก่ รอบ ไมช่ อบอยใู่ นเงือ่ นไข ชอบเสพข่าวสารผา่ นชอ่ ง
ทางทหี่ ลากหลาย มอี สิ ระในความคดิ กลา้ ซักกล้าถามในทุก
กลุม่ เจเนอเรชน่ั แซด (Generation Z) เร่ืองท่ีตัวเองสนใจไม่หวั่นกับคำ�วิจารณ์มีความเป็นสากลมาก
กลุม่ เจเนอเรชนั่ ซี คอื กลุ่มคนทเี่ กดิ ในชว่ งปี พ.ศ. มองว่าการนิยมชมชอบวัฒนธรรมหรือศิลปินต่างชาติเป็น
2540-2555 เป็นเดก็ ทเ่ี กิดในยุคทีพ่ อ่ แม่ออกไปทำ�งานทั้ง เรอื่ งธรรมดา ปัจจุบันคนกลุม่ น้ีอยูใ่ นทง้ั ช่วงวยั เรียน และ
คู่ เติบโตมากับเทคโนโลยี เรียนรสู้ ่งิ ใหม่ๆ ได้เร็ว เป็นกลมุ่ วยั ทำ�งาน และจากการทย่ี ุคนเ้ี ป็นยคุ ท่มี ีเทคโนโลยเี ข้ามา
คนรุ่นใหมท่ ี่กำ�ลังจะก้าวเขา้ สโู่ ลกการทำ�งาน คนวัยน้ีมอง เก่ยี วขอ้ ง มีความสามารถในการทำ�งานท่เี กย่ี วกับการตดิ ต่อ
โลกในแง่ดี มีความมน่ั ใจสูง การท�ำ งานกับ Gen Z จงึ ตอ้ ง ส่อื สารชอบงานด้านไอทใี ชค้ วามคิดสร้างสรรคส์ ิง่ ใหม่ รวม
เข้าใจว่าพวกเขาม่ันใจในตวั เองคอ่ นขา้ งสูง เรียนรู้ได้เรว็ และ ทั้งสามารถทำ�อะไรหลายอย่างไดใ้ นเวลาเดียวกนั เรยี กไดว้ า่
รับอทิ ธิพลจากเทคโนโลยีใหมอ่ ย่างรวดเร็ว ส่วนใหญค่ นใน สามารถใช้เคร่อื งมอื เครอื่ งไม้ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคล่ว การทำ�งาน
Gen Z มกั จะไมน่ ่ังรอคำ�สั่ง แต่จะคดิ แล้วเสนอออกมาเอง คนกลุ่มน้ีต้องการความชัดเจนในการทำ�งานว่าสิ่งท่ีทำ�มีผล
ฉะนน้ั หวั หน้างานจงึ ควรเน้นสั่งให้น้อย ฟังให้เยอะ พรอ้ มรับ ตอ่ ตนเองและตอ่ หน่วยงานอย่างไร และชอบทำ�งานเป็นทมี
ฟงั พวกเขาอยา่ งไมต่ ดั สนิ ไปก่อน ไมค่ อ่ ยอดทนเหมือนร่นุ พอ่ รนุ่ แมน่ ัก หวังทจ่ี ะท�ำ งานได้เงิน
เดอื นสูง แตไ่ มอ่ ยากไตเ่ ต้าจากการทำ�งานข้างลา่ งข้นึ ไป คาด
หวังในการท�ำ งานสูงต้องการค�ำ ชม มักจะจดั สรรเวลาใหง้ าน
และชวี ติ ส่วนตัวในจุดทสี่ มดลุ กัน พอหลงั เลิกงานอาจไปทำ�
กจิ กรรมเพื่อสร้างความสุขใหก้ ับตวั เองเช่น ไปเลน่ ฟิตเนส
ไปพบปะสงั สรรค์กับเพอื่ นฝงู จะไม่ค่อยหมกมุน่ อยู่กบั งาน
เหมอื นกบั คนรุน่ ก่อน

28

Paper Doll
Dataset

ในส่วนนเี้ ป็นการเก็บรวบรวมขอ้ มูลการแต่งกายของ 3
เจเนอเรชน่ั โดยเป็นการแตง่ กายของผู้มีชอ่ื เสยี งท่เี ป็น

muse ใหแ้ กง่ านออกนี้ ซ่ึงแบง่ ไดเ้ ป็น
เจเนอเรชัน่ เอ็กซ์ 1-33, เจเนอเรช่ันวาย 34-67 และ

เจเนอเรชน่ั แซด 68-100 ดงั นี้

29

Paper Doll Dataset

30

Paper Doll Dataset

31

Paper Doll Dataset

32

Paper Doll Dataset

33

สรุป

ไมว่ ่าจะเป็นเจเนอเรช่นั ใด ทงั้ หมดมีความเหมือนและความแตกต่างรวมถงึ มีความเป็นตัวของ
ตัวเองด้วยกนั ท้งั หมด จากการวิเคราะห์ กลุ่มเป้าหมายมกั จะใส่สีด�ำ เป็นสีพนื้ ฐานตามด้วยสีขาวและสีสนั
ลวดลายอน่ื มาแตง่ เติม มักจะสวมแจค็ เกต็ และเบลเซอร์ วสั ดเุ ป็นผา้ คอตตอน เดนมิ ซาติน หนัง และขน
ความยาวเริ่มต้งั แตส่ น้ั บรเิ วณกลางต้นขาไปจนถงึ ยาวคลุมข้อเท้า

34

Methodology

Balloon Idea

Concept

ออกแบบเคร่ืองแต่งกายท่ีส่ือถึงตัว
ตนของ มาร์เลเนอ่ ดที ริช โดยการนำ�เอา
ลักษณะเดน่ ของตวั ตนของเธอ ผลงาน ความ
ชอบ และความคิดเห็นของเธอในแตล่ ะดา้ น
มาออกแบบ เพอ่ื สร้างความตระหนกั ถึงการ
เปน็ ปัจเจกชน อิสระ และการเรียนรู้ท่ีจะเป็น
ตัวเองอย่างแทจ้ รงิ

35

Methodology

Moodboard & Inspiration

Femme Fatale | Sexy & Mysterious
Masculine

Passionate | Queen of Heart;
สตรีผทู้ รงพลงั ท่มี ักจะสง่างาม ออกค�ำ สั่ง และมกี ารแสดงตนท่แี ข็งแกร่ง

เธอยังสามารถเห็นอกเห็นใจ หว่ งใย และปกป้องคนทีเ่ ธอรกั
Loyal | Direct | Tough

36

Methodology

Materials

Denim Lace

Satin

Velvet Mesh

Polyester Cotton

37

Methodology

Techniques and Details

Embroidery Digital Printing

Stitching Patchwork

Draping

38

Methodology

Sketch Design

39

40

Conclusion

วิจยั ฉบบั นีเ้ ป็นวิจยั ท่สี ะท้อนใหเ้ หน็ สังคมตั้งแตอ่ ดตี กระท่ังถึงปจั จุบนั ซ่งึ
สรา้ งกรอบครอบคลุมมนษุ ยเ์ ราใหอ้ าศัยอยูภ่ ายใต้กฎเกณฑ์ จนมอิ าจทราบถึงการ
เป็นอสิ ระและเปน็ ตนเองอยา่ งแท้จรงิ และวิจัยฉบบั น้ยี ังให้ความหมายกับคำ�ว่า
“ปจั เจกชน” ซ่งึ หมายถงึ “แตล่ ะบคุ คล” รวมถึง “อาชวี ะแหง่ ตน” ซ่ึงมีความหมาย
ว่า “เส้นทางอาชพี ท่ีเปน็ ของตน” หรือการประกอบอาชพี หรอื ทำ�งานของตนด้วย
ความรัก เพราะความรักนนั้ ไรซ้ ง่ึ ความทะเยอทะยานอยากในส่ิงนอกกาย ผวู้ จิ ยั จึง
ยกย่องบคุ คลท่เี ปน็ แรงบนั ดาลใจใหแ้ กผ่ ้วู ิจยั ในการรังสรรคง์ านศลิ ป์ในดา้ นต่างๆ เชน่
งานทศั นศิลป์ และงานเขยี น ถงึ แม้ว่าผวู้ จิ ัยจะมไิ ด้มผี ู้ชแี้ นะในการทำ�งานดา้ นนั้นๆ
แต่เป็นการรังสรรค์งานออกมาด้วยใจจริงรวมถึงการฝึกฝนและสร้างความเข้าใจด้วย
ตนเอง ดงั นนั้ โครงการวิจยั และออกแบบเสอื้ ผา้ ฉบับนอ้ี าจสือ่ ถงึ ความเปน็ ตนเองของ
ผวู้ จิ ยั ไมม่ ากก็นอ้ ย แตเ่ นอ้ื หาบางส่วนอาจสะท้อนใหเ้ ห็นความเป็นไปของสังคมทเี่ รา
ร่วมอยอู่ าศัย หากบุคคลผนู้ น้ั เห็นถงึ ความส�ำ คัญกับการผลิตและพฒั นามนษุ ย์ให้พบ
ศักยภาพอันโดดเดน่ ท่เี ปน็ ของตนเอง ดว้ ยความเขา้ ใจ ใสใ่ จ และดว้ ยความรักจรงิ

41

42

Bibliography

Dietrich, Marlene. (1962). Marlene Dietrich’s dietrich-dressed-for-the-image/index. World War II. Search from https://
A B C. New York: Doubleday & Compa- html?fbclid=IwAR2XzHi9m2LF www.uso.org/stories/2414-mar
ny, inc. wrjpY5mpNqQdXfqO4hUyPj2jpjju lene-dietrich-most-patriotic-wom
Dietrich, Marlene. (1987). Marlene by Mar- 0vtQd6tV_4msiiFGSSY en-in-world-war-ii?fbclid=IwAR
lene Dietrich (Salvator Attanasio). New Marlene Dietrich. Search from https:// 3Badr7hMH4BUGSkqy7uAr_TaXnJ
York, NY: Grove Press, (1989) en.wikipedia.org/wiki/Marlene_Dietrich droa-rdg53IaNCcrNnii-OPCNyHc
Naudet, Jean-Jacques, Riva, Maria and Su- Marlene Dietrich gives an interview for 6Q#:~:text=Marlene%20the%20
dendorf, Werner. (2001). Marlene Diet- Swedish TV on August 4, 1971. Search USO%20Entertainer&text=Dietrich%20
rich Photographs and Memories. New from https://www.youtube.com/ went%20on%20two%20USO,the%20
York: Alfred A. Knopf watch?v=l99b0rz1RgM&t=793s heels%20of%20D%2DDay
Riva, Maria. (2017). Marlene Dietrich the Life. Marlene Dietrich: No Angel - A Life of กรงุ เทพธรุ กจิ ออนไลน์. (2565). 3 เจเนอเรชนั่
New York: Pegasus Books Marlene Dietrich. Search from https:// Gen X, Gen Y และ Gen Z สไตลก์ าร
จ. กฤษณมรู ติ. (ม.ป.ป.). ปัจเจกชนและสงั คม เล่ม 1 www.youtube.com/watch?v=ON7aBQ ท�ำ งานไม่เหมอื นกนั องคก์ รตอ้ งเขา้ ใจ!. สบื ค้น
(จำ�รัส บำ�รุงรัตน)์ . กรุงเทพ: อมรนิ ทรพ์ ร้นิ ตงิ้ jEEjk จาก https://www.bangkokbiznews.com/
แอนด์พบั บลชิ ชิ่ง จ�ำ กัด, (2547) Open Book Publishers. (2016). Immanuel health/labour/1035959
จ. กฤษณมรู ต.ิ (ม.ป.ป.). ปจั เจกชนและสงั คม เลม่ Kant (1724-1804), ‘Dare to Know’, กรงุ เทพธุรกจิ ออนไลน.์ (2565). ท�ำ อยา่ งไร ? เมื่อ
2 (จำ�รสั บำ�รุงรัตน)์ . นนทบุรี: โรงพมิ พ์ ภาพ from What is Enlightenment?, 1784. ต้องท�ำ งานกบั “คนต่าง Gen” ท่ี “คิดตา่ ง
พิมพ,์ (2547) Search from https://books.openedition. กนั ”. สบื ค้นจาก https://www.bangkokbi
org/obp/2962?lang=en&fbclid=I znews.com/business/business/1024513
Anna. (2019). Transparent dresses of wAR3HLzansRoWJeUlLH5vjHlaxrdydh เกยี รติพงษ์ อดุ มธนะธีระ. (2565). Generation
Marlene Dietrich. Search from https:// vsFDGoBCnVNXPjWKRqyzhkQck / ยคุ สมัยของกลุม่ คนตามชว่ งอาย.ุ สบื ค้นจาก
stylezator.com/fashion/132-transpar 3Co0#:~:text=Sapere%20aude!,the%20 https://www.iok2u.com/article/market
ent-dresses-of-marlene-dietrich?fbclid= motto%20of%20the%20Enlightenment ing/generation
IwAR05qN92lweEfFlLHkx3dWzmMka-Pb Taylor, Tom. (2021). Marlene Dietrich: The โกวทิ วงศส์ ุรวัฒน์. (2562). ปัจเจกชนนยิ ม. สบื ค้น
tyBIVq6KJrMDJJ3kX9NKg-TkuLZ28 iconic bisexual leader of the liberat- จาก https://www.matichon.co.th/col
Dietrich’s War. Search from http:// ing Hollywood ‘Sewing Club’. Search umnists/news_1721548
marlenedietrich.org.uk.websitebuilder. from https://faroutmagazine.co.uk/mar ถนดั กิจ จนั กเิ สน. (2022). ผลวิจยั ใหม่ Gen Z และ
prositehosting.co.uk/dietrichs-war?fb lene-dietrich-bisexual-holly Millennials ยอม ‘ลาออก’ หรือ ‘วา่ งงาน’
clid=IwAR0I15LB6GddYlnEwiMhaBzILu wood-icon/?fbclid=IwAR00rFK ถา้ ตอ้ งท�ำ งานในบริษทั ท่ี ‘ไมม่ ีความสขุ ’.
mIXa283RffB4M8C2JEVSFZbVCIr4t4FHU 9TL68htSC7GnGZ8t6Dv2Fnpyev5AJEJ สบื คน้ จาก https://thestandard.co/gen-
Emma. (2022). Gloria Stroock talks about fAFev5Nyd27Xnw6xl6Tfs z-millennials-rather-quit-jobs-unem
Marlene Dietrich. Search from https:// Thorpe, Vanessa. (2017). Still modern ployed-than-unhappy-study-data-
www.instagram.com/reel/Cg6jRQO after all these years … Marlene Diet- trends/
JPq0/?igshid=YmMyMTA2M2Y%3D&f rich’s ageless charisma. Search from บญุ โชค พานชิ ศิลป์. (2018). ชว่ งสดุ ทา้ ยในชีวิต
bclid=IwAR2Kf1dV1blP9gkfDR3QMQON https://www.theguardian.com/ ของเทพธดิ าบนแผน่ ฟลิ ์ม ‘มาร์เลเน ดที ริช’.
WIJqhUENn-JjIfJmeRjFwX0SZfZIM film/2017/nov/26/marlene-dietrich-an สบื ค้นจาก https://themomentum.co/
kQRtPs drogyny-sexuality-exhibitions?fb marlene-dietrich/?fbclid=IwAR1zTd
Heing, Bridey. (2017). Marlene Dietrich: The clid=IwAR0Fiwu7bh_92AJSVzUopTdvx f5JukW_aYLHxNuV-nuTVeDZcM
femme fatale who fought social and b9rfoCBIgOjQdnD1pbqk5t1yIMIGIE-Fpc JMh5MzY9TvUwGfxW293pea8spqOY
sexual oppression. Search from https:// USO. (2020). Why Marlene Dietrich Was
edition.cnn.com/style/article/marlene- One of the Most Patriotic Women in

43


Click to View FlipBook Version