หนว่ ยท่ี 5 เอกสารเผยแพร่ 51
วชิ า การประยุกตใ์ ช้คอมพวิ เตอรใ์ นงานอาชพี
เอกสารประกอบการเรียน E-BOOK
หน่วยท่ี 5 เอกสารเผยแพร่ จุลสาร
รหัสวชิ า 2501-2010
หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) พทุ ธศักราช 2556
นางสาวอรพนิ จอมแปง
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชียงใหม่ รหัสวชิ า 2501-2010 5
หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชา (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2556
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
หนว่ ยท่ี 5 เอกสารเผยแพร่ 51
วชิ า การประยุกตใ์ ชค้ อมพวิ เตอร์ในงานอาชีพ
4. จลุ สาร
จุลสาร (Pamphlet) เป็นสิ่งพิมพ์ขนาดเล็ก ส่วนมากแล้วเนื้อหาจะเป็นเรื่องท่ีน่าสนใจใน
ช่วงระยะเวลาหน่ึงและจบสมบูรณ์ภายในเล่ม ลักษณะของจุลสาร คือ มีความหนาอย่างน้อย 5 หน้า
แต่ไม่เกิน 48 หน้า อาจพิมพ์ด้วยกระดาษกลับหน้าแล้วเย็บเล่ม ใช้ปกอ่อนเป็นเล่มบางๆ จุลสารและ
อนสุ ารเป็นการจัดทาโดยหน่วยงานราชการ องค์กร สถาบนั ตา่ งๆ เพอ่ื เผยแพร่เรือ่ งราวท่เี กยี่ วขอ้ งกับ
การดาเนินงานของหน่วยงานนั้นๆ พิมพ์แจกแก่บุคคลท่ีสนใจ ส่ิงพิมพ์ลักษณะน้ีออกมาเป็นคราวๆ
ไม่มกี าหนดเวลาท่ีแนน่ อน (สรุ สิทธิ์ วทิ ยารฐั , 2549 หน้า 75)
4.1 ความหมายของจุลสาร
จุลสาร คอื น. สิ่งตพี ิมพท์ ่ีบอกเร่ืองตา่ งๆ ที่นา่ สนใจ ออกมาเป็นคราวๆ ไมม่ ีกาหนดเวลา
แน่นอน (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2542 หน้า 319)
จลุ สาร คือ น. สิ่งพิมพท์ ่ีออกเปน็ คราวๆ ไม่มีกาหนดเวลาออกแนน่ อน (ฝ่ายวชิ าการ, 2552
หน้า 729)
จุลสาร หรือ อนุสาร หมายถึง ส่ิงพิมพ์ขนาดเล็กที่มีเนื้อหากล่าวถึงเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งเพียง
เรอ่ื งเดยี วและจบบริบูรณภ์ ายในเล่ม ความยาวไม่มากนกั เขียนเร่อื งง่ายๆ สว่ นมากแลว้ เนื้อหาจะเป็น
เร่ืองที่น่าสนใจในช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยจะให้ข้อมูลที่ทันสมัย ลกั ษณะของจุลสาร คือ มีความหนา
อย่างน้อย 5 หน้า แต่ไม่เกิน 48 หน้า รูปเล่มไม่แข็งแรง อาจเป็นกระดาษพับไปมาเพื่อสะดวกในการ
ถือ หรอื อาจเป็นสง่ิ พมิ พ์ทีเ่ ย็บเล่มใช้ปกอ่อน เปน็ เล่มบางๆ (สุรสิทธ์ิ วิทยารฐั , 2549 หนา้ 75)
จากความหมายท่ีกล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า จุลสาร หมายถึง ส่ิงพิมพ์ท่ีมีขนาดเล็กนาเสนอ
เรื่องใดเร่ืองหน่ึงที่ทันสมัยมีเนื้อหาจบสมบูรณ์ภายในเล่ม โดยออกมาเป็นคร้ังคราว ไม่มีกาหนดเวลา
แนน่ อน
4.2 องคป์ ระกอบของจุลสาร
องคป์ ระกอบของจุลสารไมไ่ ด้กาหนดไว้แนน่ อนวา่ ต้องมีอะไรบา้ ง ขึ้นอยู่กับเจ้าของ หรือ
ผู้ออกแบบว่าตอ้ งการใหจ้ ุลสารมีองค์ประกอบอะไร แต่ท่ีพบเหน็ โดยท่ัวไปจลุ สารจะประกอบดว้ ย
สิง่ ต่อไปนี้
4.2.1 ปกจุลสาร หมายถงึ ส่วนทบี่ ง่ บอกใหท้ ราบวา่ เนื้อหาสาระภายในเล่มเป็นเกยี่ วกับ
เรอื่ งใด ปกจลุ สารประกอบดว้ ย
(1) ปกหน้า คือ เปน็ สว่ นท่ีบ่งช้ใี หผ้ อู้ า่ นทราบวา่ เน้ือหาในจุลสารน้ีเป็นเร่อื งใด
การออกแบบหน้าปกต้องออกแบบให้สะดุดตาดงึ ดดู ความสนใจ การจดั ภาพประกอบลงบน
หน้าปกและตัวอกั ษรควรมคี วามสมั พันธก์ ัน ซ่ึงการออกแบบจัดวางต้องคานึงถงึ ความ
เหมาะสมและความสวยงาม
(2) ปกหลัง โดยท่ัวไปไม่ได้กาหนดวา่ ตอ้ งมีรายละเอียดอะไรบ้าง บางครั้งอาจจะ
ปลอ่ ยวา่ งไว้ หรือมีรปู ภาพประกอบ หรอื อาจจะเป็นการโฆษณาได้
4.2.2 คานา คือ ขอ้ ความทีเ่ ขยี นข้ึนเพ่ืออธิบายให้ผู้อา่ นทราบก่อนท่ีจะเริม่ อ่านจุลสาร
4.2.3 สารบัญ คอื หนา้ ท่ีแสดงหัวขอ้ เรื่องต่างๆ ของจุลสาร จุดประสงคเ์ พื่อให้ผอู้ ่าน
เปิดคน้ หาไดโ้ ดยสะดวก
รหสั วชิ า 2501-2010 5
หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชา (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2556
หนว่ ยที่ 5 เอกสารเผยแพร่ 51
วิชา การประยกุ ต์ใช้คอมพวิ เตอรใ์ นงานอาชีพ
4.2.4 เนอ้ื เร่ือง คือ สว่ นทเี่ ป็นเนอ้ื หาของหนงั สือ ผู้อา่ นจะได้รบั ประโยชนจ์ ากสว่ นน้ี
มากทส่ี ดุ ในสว่ นเน้อื เรื่องควรมภี าพประกอบทส่ี อดคล้องกับเนื้อหา
4.2.5 บรรณานุกรมหรืออ้างอิง คือ ส่วนที่แสดงรายชื่อหนังสือหรอื เอกสารท่ีใช้ใน
การคน้ คว้าหรืออา้ งอิงในการจัดทาจุลสาร
4.3 การออกแบบจุลสาร
การออกแบบจุลสารเป็นสิ่งสาคัญเพราะเป็นการกาหนดขนาด และวางโครงร่างเน้ือหา
รวมถึงภาพประกอบ การออกแบบท่ีดีจะทาให้จุลสารมีเนื้อหาสอดคล้อง ต่อเนื่อง สมบูรณ์ และ
ลดความผิดพลาดระหว่างการจัดทาจุลสาร ข้อสาคัญคือต้องทราบว่าเนื้อหาที่จะจัดพิมพ์บนจุลสารมี
มากน้อยเพียงใด ตัวอย่างในบทเรียนนข้ี อนาเสนอการทาจุลสารด้วยกระดาษ A4 จานวน 3 แผน่ รวม
จานวน 12 หน้า ซง่ึ แบ่งการออกแบบเป็น 2 ส่วน คือ สว่ นโครงสร้าง และสว่ นเน้ือหา
4.3.1 การออกแบบโครงสรา้ งของจุลสาร
การออกแบบโครงสร้างของจลุ สาร เป็นการกาหนดการวางแนวกระดาษ ขนาดและ
จานวนหนา้ เอกสารทจี่ ะใช้ทาจุลสาร มขี ั้นตอนดงั นี้
1) ให้นากระดาษ A4 จานวน 3 แผ่น มาพบั ครึ่ง ในลักษณะแนวนอน
ดงั ภาพที่ 5.48
ภาพท่ี 5.48 การพบั กระดาษ แนวนอน
2) หลงั จากน้ันใหน้ ากระดาษที่พบั ทั้ง 3 แผ่นมาวางซ้อนกัน ซง่ึ จะไดจ้ ุลสาร
ท้งั หมดจานวน 12 หน้า โดยการพิมพ์จะเปน็ ในลกั ษณะการพิมพ์กระดาษกลบั หนา้ หลงั
ดงั ภาพท่ี 5.49
ปกหนา้ ปกหลงั
ภาพที่ 5.49 การนากระดาษท่พี บั เรยี งมาซ้อนกัน
รหัสวิชา 2501-2010 5
หลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ า (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2556
หนว่ ยท่ี 5 เอกสารเผยแพร่ 51
วชิ า การประยุกต์ใชค้ อมพวิ เตอร์ในงานอาชีพ
4.3.2 การออกแบบการจดั วางเน้ือความจลุ สาร
เม่อื ทราบจานวนหนา้ และเน้อื ความทีจ่ ะจดั พมิ พบ์ นจุลสารแล้ว จากนั้นใหจ้ ัดเรยี ง
เนื้อความและกาหนดเลขหน้า ในตัวอยา่ งน้ี ไดอ้ อกแบบให้จุลสารมีองค์ประกอบ ดงั น้ี
ปกหนา้ คานา สารบัญ เน้อื ความ เอกสารอา้ งองิ และปกหลัง เรียงตามลาดบั หลงั จาก
จดั เรยี งเนอื้ ความและกาหนดเลขหนา้ เรยี บร้อยแลว้ หากนากระดาษมาคลีอ่ อกจะได้
เอกสารดงั ภาพท่ี 5.50
ด้านหน้า ด้านหลงั
คานา อา้ งอิง ปกหลัง ปกหนา้
16 7 สารบญั
34 5 2
ภาพที่ 5.50 การออกแบบการจดั วางเน้อื ความจุลสาร
การจัดทาจุลสารฉบบั รา่ ง เป็นการออกแบบการพิมพแ์ ละจัดวางภาพประกอบจุลสาร
ใหม้ คี วามสมบรู ณแ์ ละมเี น้ือหาต่อเน่ือง เม่อื จัดทาฉบับร่างเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ มาถึงขน้ั ตอน
การจัดทาจุลสารในโปรแกรมคอมพิวเตอร์
4.4 การสรา้ งจุลสาร
การสร้างจลุ สารดว้ ยโปรแกรม Microsoft Word มขี น้ั ตอนดังน้ี
4.4.1 การวางโครงสรา้ งของจลุ สาร
การวางโครงสรา้ งของจุลสาร เป็นข้นั ตอนในการกาหนดการวางแนวกระดาษ ขนาด
ระยะห่างระหว่างคอลัมน์ และจานวนหนา้ เอกสารที่จะใช้ทาจุลสาร ซง่ึ มีขัน้ ตอนดังนี้
รหัสวิชา 2501-2010 5
หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชา (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2556
หนว่ ยท่ี 5 เอกสารเผยแพร่ 51
วชิ า การประยุกต์ใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นงานอาชีพ
1) ปรบั การวางแนวของหน้ากระดาษ
เม่อื เปิดโปรแกรม Microsoft Word จะพบหนา้ เอกสารท่ใี ช้สาหรับ
พิมพข์ ้อความ ให้ปรับหน้ากระดาษเป็นลักษณะแนวนอน มีขน้ั ตอนดังนี้ ดงั ภาพท่ี 5.51
(1) คลิกเมาสท์ ี่แท็บ Page Layout (เค้าโครงหน้ากระดาษ)
(2) คลิกเมาสท์ ี่ Orientation (การวางแนว)
(3) คลกิ เมาส์เลอื ก Landscape (แนวนอน) เพื่อตง้ั ค่าหนา้ กระดาษ
ใหเ้ ป็นแนวนอน
Page Layout
Orientation
Landscape
Landscape
Landscap
ภาพที่ 5.51 วิธeกี ารวางแนวหนา้ กระดาษ แนวนอน
2) การกาหนดระยะขอบกระดาษ มีขัน้ ตอนดังนี้ ดงั ภาพท่ี 5.52
(1) คลิกเมาส์ทีแ่ ท็บ Page Layout (เค้าโครงหน้ากระดาษ)
(2) คลิกเมาส์ทแี่ ท็บ Margins (ระยะขอบ) จะปรากฏคาส่งั ต้ังค่าใหเ้ ลอื ก
(3) คลกิ เมาส์ที่ Custom Margins (ระยะขอบกระดาษกาหนดเอง)
จะปรากฏหน้าต่าง Page Setup (ต้งั คา่ หน้ากระดาษ)
(4) ให้ต้งั ค่าหน้ากระดาษตามที่กาหนด
(5) คลิกเมาสท์ ป่ี ุ่ม OK (ตกลง)
Page Layout
Custom Margins... OK
ภาพท่ี 5.52 วิธกี ารกาหนดระยะขอบกระดาษ รหัสวชิ า 2501-2010 5
หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ า (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2556
หนว่ ยท่ี 5 เอกสารเผยแพร่ 51
วชิ า การประยกุ ตใ์ ชค้ อมพวิ เตอรใ์ นงานอาชีพ
3) การกาหนดจานวนคอลมั น์และระยะห่าง มขี ัน้ ตอนดังนี้ ดงั ภาพท่ี 5.53
(1) คลิกเมาส์ทแ่ี ทบ็ Page Layout (เคา้ โครงหนา้ กระดาษ)
(2) คลกิ เมาส์ที่ Columns (คอลมั น์)
(3) คลกิ เมาส์ที่ More Columns (คอลมั น์เพิม่ เติม)
จะปรากฏหนา้ ต่าง Columns (คอลมั น์) ให้ตัง้ ค่าคอลัมน์
(4) คลกิ เมาส์ท่ี Two (สอง) คอลัมน์
(5) Spacing (ระยะห่าง) คอลัมน์ ให้ต้งั ค่า 1 น้ิว ส่วน Width (ความกว้าง)
ให้คอมพวิ เตอร์ปรับให้
(6) คลิกเมาสท์ ปี่ ุ่ม OK (ตกลง)
Page Layout
5.1” Spacing:
1”
2.64”
More Columns… OK
ภาพท่ี 5.53 วิธีการกาหนดจานวนคอลมั น์และระยะห่าง
ภาพที่ 5.54 หน้าเอกสารท่กี าหนดระยะขอบและคอลัมน์ รหัสวชิ า 2501-2010 5
แลว้ (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2556
หลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ า
หนว่ ยที่ 5 เอกสารเผยแพร่ 51
วชิ า การประยุกต์ใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นงานอาชพี
4) การเพ่มิ จานวนหนา้ เอกสาร
การเพม่ิ จานวนหน้าเอกสาร ทาไดโ้ ดยการกดแป้น Enter เพ่ือให้เคอร์เซอร์
เลื่อนลง ซ่งึ จะทาให้ไดห้ นา้ เอกสารเพมิ่ ข้นึ ในตวั อย่างน้ีเพิ่มหน้าเอกสารให้ได้ 6 หนา้
รวมจานวน 12 คอลมั น์ และหากต้องการให้เห็นขอบเขตข้อความ ใหใ้ ส่เส้นขอบเขต
ข้อความเพื่อความสะดวกในการจัดวางรปู แบบดงั ภาพที่ 5.55 การใสข่ อบเขตข้อความ
สามารถศึกษาได้จากหัวข้อการทาแผน่ พบั
ภาพท่ี 5.55 คอลมั น์ที่แสดงขอบเขตขอ้ ความ
4.4.2 การพมิ พ์เนอื้ ความจลุ สาร
การพิมพ์เน้ือความจุลสารจะเป็นลักษณะการพิมพ์กระดาษ 2 หน้า คือ พิมพ์กลับ
ด้านหน้าและด้านหลังของกระดาษ ซ่ึงจะต้องพิมพ์ด้วยความระมัดระวัง เพ่ือให้เน้ือความ
เรยี งลาดับหน้าต่อเน่อื งกันเมื่อนามาเย็บเล่ม ในตวั อยา่ งนจ้ี ะขอนาเสนอการจดั ทาจลุ สารด้วย
กระดาษ A4 จานวน 3 แผ่น รวมจานวน 6 หน้ากระดาษ หรือ จานวน 6 หน้าเอกสารบน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จุลสารมสี ่วนประกอบ คือ ปกหน้า ปกหลัง คานา สารบัญ เนื้อความ
และเอกสารอา้ งองิ
รหสั วชิ า 2501-2010 5
หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ า (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2556
หนว่ ยท่ี 5 เอกสารเผยแพร่ 51
วชิ า การประยุกตใ์ ช้คอมพวิ เตอรใ์ นงานอาชพี
4.4.3 การออกแบบการจดั ทาจลุ สารด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ไดม้ กี ารออกแบบดงั น้ี
จุลสารหนา้ 1 พมิ พ์บนเอกสารหนา้ ที่ 4 คอลัมน์ท่ี 1
จลุ สารหน้า 2 พิมพ์บนเอกสารหน้าที่ 5 คอลมั น์ท่ี 2
จุลสารหน้า 3 พิมพ์บนเอกสารหนา้ ท่ี 6 คอลัมน์ท่ี 1
จลุ สารหนา้ 4 พมิ พ์บนเอกสารหน้าท่ี 6 คอลัมน์ที่ 2
จลุ สารหนา้ 5 พมิ พ์บนเอกสารหนา้ ท่ี 5 คอลมั น์ที่ 1
จลุ สารหนา้ 6 พิมพบ์ นเอกสารหนา้ ท่ี 4 คอลมั น์ท่ี 2
จลุ สารหนา้ 7 พมิ พบ์ นเอกสารหนา้ ที่ 3 คอลัมน์ที่ 1
จุลสารหน้า สารบัญ พิมพบ์ นเอกสารหนา้ ท่ี 3 คอลัมน์ท่ี 2
จลุ สารหน้า ปกหนา้ พมิ พบ์ นเอกสารหน้าที่ 1 คอลมั น์ที่ 2
จุลสารหนา้ ปกหลงั พมิ พบ์ นเอกสารหนา้ ท่ี 1 คอลมั น์ท่ี 1
จุลสารหนา้ คานา พมิ พบ์ นเอกสารหนา้ ท่ี 2 คอลัมน์ท่ี 1
จลุ สารหนา้ อ้างอิง พมิ พ์บนเอกสารหนา้ ท่ี 2 คอลัมน์ที่ 2
เอกสารหนา้ ท่ี 1 เอกสารหนา้ ที่ 3 เอกสารหนา้ ที่ 5
เอกสารหนา้ ที่ 2 เอกสารหนา้ ที่ 4 เอกสารหนา้ ที่ 6
ภาพที่ 5.56 การออกแบบการพมิ พเ์ นอ้ื ความของจุลสาร
ในการพิมพ์เน้ือความบนจุลสารนิยมพิมพ์บนกล่องข้อความ เน่ืองจากการพิมพ์แบบนี้จะทา
ให้สะดวกในการเคล่ือนย้ายและง่ายต่อการจัดแต่งรูปแบบให้สวยงาม ส่วนการแทรกรูปภาพและ
การจัดตกแต่งจุลสาร สามารถจัดตกแต่งได้ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของผู้จัดทา ซ่ึง
วิธีการจัดพิมพ์เนื้อความและการจัดตกแต่งได้นาเสนอไว้แล้วในหัวข้อการทาฉลากและแผ่นพับแล้ว
อน่ึง วิธีการสร้างจุลสารที่ได้กล่าวมาข้างต้นเป็นเพียงแนวทางหนึ่งเท่าน้ัน ยังมีวิธีการออกแบบและ
การสร้างจุลสารอีกหลายวิธีท่ีสามารถทาได้ โดยนักเรียนสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ใน
การจดั ทาเอกสารลักษณะนี้ในงานอาชีพต่อไปได้
รหัสวิชา 2501-2010 5
หลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชา (ปวช.) พทุ ธศักราช 2556
หนว่ ยที่ 5 เอกสารเผยแพร่ 51
วิชา การประยุกตใ์ ชค้ อมพวิ เตอรใ์ นงานอาชพี
4.4.4 ตวั อยา่ งการจดั ทาจุลสาร ด้วยกระดาษ A4 จานวน 3 แผ่น พิมพ์กระดาษ
กลบั หน้าหลงั รวมจานวน 12 หน้า ดงั ภาพท่ี 5.57-5.62
ภาพที่ 5.57 การกาหนดหนา้ เอกสารและคอลัมน์ในการพมิ พจ์ ลุ สาร กระดาษ แผ่นท่ี 1 หนา้ 1
ภาพที่ 5.58 การกาหนดหน้าเอกสารและคอลมั น์ในการพิมพ์จลุ สาร กระดาษ แผน่ ท่ี 1 หนา้ 2
รหัสวชิ า 2501-2010 5
หลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ า (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2556
หนว่ ยที่ 5 เอกสารเผยแพร่ 51
วิชา การประยุกตใ์ ชค้ อมพวิ เตอร์ในงานอาชพี
ภาพที่ 5.59 การกาหนดหน้าเอกสารและคอลมั น์ในการพมิ พจ์ ลุ สาร กระดาษ แผน่ ท่ี 2 หน้า 1
ภาพท่ี 5.60 การกาหนดหนา้ เอกสารและคอลัมน์ในการพมิ พ์จลุ สาร กระดาษ แผน่ ท่ี 2 หน้า 2
รหสั วชิ า 2501-2010 5
หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ า (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2556
หนว่ ยที่ 5 เอกสารเผยแพร่ 51
วชิ า การประยุกตใ์ ชค้ อมพวิ เตอรใ์ นงานอาชพี
ภาพท่ี 5.61 การกาหนดหนา้ เอกสารและคอลัมนใ์ นการพิมพ์จลุ สาร กระดาษแผน่ ท่ี 3 หนา้ 1
ภาพที่ 5.62 การกาหนดหนา้ เอกสารและคอลัมนใ์ นการพิมพจ์ ลุ สาร กระดาษแผ่นท่ี 3 หนา้ 2
รหสั วิชา 2501-2010 5
หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ า (ปวช.) พทุ ธศักราช 2556
หนว่ ยที่ 5 เอกสารเผยแพร่ 51
วิชา การประยุกตใ์ ชค้ อมพวิ เตอร์ในงานอาชีพ
4.4.5 ตัวอยา่ งการจดั ทาจลุ สาร ดว้ ยกระดาษ A4 จานวน 2 แผน่ พิมพ์กระดาษ
กลับหนา้ หลัง รวมจานวน 8 หนา้ ดงั ภาพท่ี 5.63-5.66
ภาพที่ 5.63 การกาหนดหน้าเอกสารและคอลมั นใ์ นการพิมพจ์ ลุ สาร กระดาษแผน่ ที่ 1 หน้า 1
ภาพที่ 5.64 การกาหนดหน้าเอกสารและคอลัมน์ในการพมิ พจ์ ลุ สาร กระดาษแผน่ ที่ 1 หนา้ 2
รหสั วิชา 2501-2010 5
หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ า (ปวช.) พทุ ธศักราช 2556
หนว่ ยที่ 5 เอกสารเผยแพร่ 51
วชิ า การประยกุ ต์ใช้คอมพวิ เตอรใ์ นงานอาชพี
ภาพท่ี 5.65 การกาหนดหนา้ เอกสารและคอลมั น์ในการพิมพ์จลุ สาร กระดาษแผน่ ที่ 2 หนา้ 1
ภาพท่ี 5.66 การกาหนดหน้าเอกสารและคอลัมน์ในการพิมพจ์ ลุ สาร กระดาษแผ่นท่ี 2 หน้า 2
รหสั วชิ า 2501-2010 5
หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ า (ปวช.) พทุ ธศักราช 2556
หนว่ ยที่ 5 เอกสารเผยแพร่ 51
วชิ า การประยุกต์ใช้คอมพวิ เตอรใ์ นงานอาชพี
5. บทสรปุ
ฉลากสินค้า คือ ป้ายบอกรายละเอียดเก่ียวกับตัวสินค้านั้นๆ อาจพิมพ์ลงบนวัสดุหรือพิมพ์
ลงบนภาชนะท่ีบรรจุสินค้าน้ันๆ ฉลากสินค้า หรือฉลากบนภาชนะบรรจุของผลิตภัณฑ์อาหาร เป็น
เคร่ืองมือที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลและโฆษณาผลิตภัณฑ์แก่ผู้บริโภค ผู้บริโภคสามารถใช้ฉลากสินค้า
เป็นข้อมูลประกอบการตดั สนิ ใจเลือกซ้ือ และสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั ผลติ ภัณฑ์ ฉลากสินค้า
ที่ดีจะต้องระบุข้อความ ได้แก่ ชื่อประเภทหรือชนิดของสินค้า ช่ือหรือเคร่ืองหมายการค้า ที่อยู่
สถานท่ีตั้ง ขนาด มิติ ปริมาณ ปริมาตร น้าหนัก หรือจานวนบรรจุ วิธีใช้ ข้อแนะนาในการใช้ หรือ
ห้ามใช้ วัน เดือน ปี ท่ีผลิต หรือวันหมดอายุ หรือวันที่ควรใช้ก่อน ราคาพร้อมระบุหน่วยบาท
การออกแบบฉลากสินค้าเป็นสิ่งที่สาคัญที่สามารถเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์และการแข่งขันทางการค้า
ทั้งนี้ ฉลากสินค้าควรจะเลือกใช้ตัวอักษรที่ชัดเจน อ่านง่าย ที่สาคัญควรระบุข้อความท่ีตรงกับ
ความเป็นจรงิ และถูกตอ้ ง
แผ่นพบั หมายถงึ สง่ิ พมิ พท์ ี่นาเสนอข้อมูลที่มีลกั ษณะพบั เขา้ หรือกางออก วตั ถุประสงค์เพือ่
โฆษณา ประชาสัมพันธ์ แนะนาสถานท่ี หรือเผยแพรค่ วามรดู้ ้านต่างๆ ให้เนื้อหาครบถ้วน สามารถใช้
อ้างอิงได้ และมีขนาดเล็ก พกพาได้สะดวก การจัดทาแผ่นพับควรมีการออกแบบเพื่อวางโครงสร้าง
และเนื้อหาของแผ่นพับให้มีความเหมาะสม การเพิ่มเน้ือความบนแผ่นพับเป็นส่ิงสาคัญจะต้องจัดวาง
ข้อความโดยเรียงลาดับเน้ือความให้สอดคล้อง ต่อเนื่อง และควรกาหนดให้เนื้อหาแต่ละส่วนให้จบ
ในหน้าเดียว โดยให้เร่ิมพิมพ์เน้ือความบนคอลัมน์ท่ี 1 คอลัมน์ท่ี 2 คอลัมน์ท่ี 3 ของเอกสารแผ่นท่ี 1
และพิมพ์เน้ือความบนคอลัมน์ท่ี 4 ของเอกสารแผ่นท่ี 2 ซ่ึงแต่ละคอลัมน์สามารถแทรกรูปภาพ
ประกอบได้ตามความเหมาะสม ท้ังน้ีควรคานึงถึงคุณภาพของรูปภาพที่นามาประกอบด้วย
ส่วนกระดาษแผ่นที่ 2 คอลัมน์ท่ี 5 พิมพ์ปกหลัง คอลัมน์ที่ 6 พิมพ์หน้าปกของแผ่นพับ ในการจัดทา
ปกหน้าของแผ่นพับ ควรใส่หัวข้อเรื่อง วางภาพประกอบ และจัดตกแต่งให้สวยงามเพ่ือดึงดูด
ความสนใจแก่ผู้พบเห็น ส่วนปกหลังอาจใช้พิมพ์เนื้อความได้หากพ้ืนท่ีจัดพิมพ์ไม่เพียงพอ และหากมี
พื้นที่ว่างควรจัดตกแต่งให้ดูสวยงาม อาจแสดงช่ือองค์กร สถานท่ีตั้งองค์กร ช่ือผู้จัดทา และข้อมูลอ่ืน
ตามความเหมาะสม
จุลสาร หมายถึง ส่ิงพิมพ์ท่ีมีขนาดเล็ก นาเสนอเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงท่ีทันสมัย มีเน้ือหา
จบสมบูรณ์ภายในเล่ม โดยออกเป็นคร้ังคราว ไม่มีกาหนดเวลาท่ีแน่นอน องค์ประกอบของจุลสาร
ส่วนมากประกอบด้วยส่ิงต่อไปน้ี ปกจุลสาร คานา สารบัญ เนื้อเร่ือง บรรณานุกรมหรืออ้างอิง
การออกแบบจุลสาร คือ การจัดทาฉบับร่างจุลสาร เป็นการวางแผนในการพิมพ์และจัดวาง
ภาพประกอบจุลสารให้มีความสมบูรณ์และมีเนื้อหาต่อเนื่อง ซึ่งการออกแบบและจัดทาจุลสารต้อง
อาศัยจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรคข์ องผู้จัดทาเชน่ เดียวกบั การทาฉลากสนิ ค้าและแผน่ พับ
การสร้างฉลากสินค้า แผ่นพับ จุลสาร ท่ีกล่าวมาข้างต้น เป็นการจัดทาและการออกแบบ
เอกสารท่ีไม่มีแบบแผนท่ีกาหนดไว้ชัดเจน สามารถเรียนรู้และสังเกตจากเอกสารท่ีพบเห็นทั่วไป ซึ่งมี
รูปแบบสวยงามและแปลกใหม่ให้พบเห็นอยู่เสมอ รวมท้ังต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์และ
จินตนาการของแตล่ ะบุคคลดว้ ย
รหสั วิชา 2501-2010 5
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชา (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2556
หนว่ ยที่ 5 เอกสารเผยแพร่ 51
วชิ า การประยกุ ต์ใชค้ อมพวิ เตอร์ในงานอาชพี
เอกสารอา้ งองิ
ฝา่ ยวิชาการภาษาไทย. พจนานุกรมไทย ฉบบั ทนั สมยั และสมบรู ณ์. กรุงเทพ : ซเี อ็ดยเู คช่นั ,
2552.
ส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม,กรม. วารสารอตุ สาหกรรมสาร (กรกฎาคม – สิงหาคม, 2546).
กรงุ เทพ : เทวา ครีเอชัน่ , 2546.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพ : นานมบี ๊คุ ส,์
2546.
สุนี เลิศแสวงกิจ และมาลัย ม่วงเทศ. การโฆษณา. กรงุ เทพฯ : อกั ษร, 2557.
สรุ สิทธ์ิ วิทยารฐั . เรยี นรวู้ ธิ กี ารและงานบรรณาธกิ ารสอ่ื ส่ิงพมิ พ.์ กรุงเทพฯ : ศนู ย์สือ่ และสิง่ พมิ พ์
แก้วเจ้าจอม, 2549
รหัสวิชา 2501-2010 5
หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชา (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2556