The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระบบเปิด - ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wilanda Boonpama, 2020-03-03 03:34:21

ระบบเปิด - ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino

ระบบเปิด - ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino



ช่อื โครงการ ระบบเปิด - ปิดถงั ขยะอัตโนมัตดิ ว้ ยโปรแกรม Arduino
สาขาวิชา Automatic trash system by Arduino
ผูร้ ับผิดชอบโครงการ คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ
1. นางสาวกัลยากร กรุ ะสุนทร รหัสนกั เรียน 6022040069
อาจารยท์ ป่ี รึกษาโครงการ 2. นางสาวนทั ธมน สอนจันดา รหสั นักเรียน 6022040081
ปีการศึกษา 3. นางสาววิลนั ดา บุญพามา รหัสนกั เรียน 6022040104
นางสาวอจั ฉราภรณ์ เกลย้ี งพร้อม
นางสาวครองขวญั บัวยอม
2562

บทคัดยอ่

การจัดทำโครงการครั้งนี้มวี ัตถุประสงคเ์ พือ่ สรา้ งระบบเปดิ - ปิดถังขยะอตั โนมตั ิดว้ ยโปรแกรม
Arduino ศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อระบบเปิด - ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino และเผยแพร่
ระบบเปิด – ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino สำหรับการประเมินความพึงพอใจของผู้ที่
ทดลองใช้ระบบเปดิ - ปดิ ถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino โดยมีกลุ่มตวั อย่างท่ีใช้ในการเก็บผล
คือ นักเรยี นระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง จำนวน
52 คน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล คือ ระบบเปิด – ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino
และแบบสอบถามความพึงพอใจความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชา
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อระบบเปิด – ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม
Arduino สถติ ทิ ใี่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู คอื ร้อยละ ค่าเฉลยี่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน

ผลที่ได้จากแบบสอบถามความพึงพอใจพบว่าเป็นเพศชาย จำนวน 9 คน ร้อยละ 17.3
เพศหญิงจำนวน 43 คน ร้อยละ 82.7 ความพึงพอใจต่อระบบเปิด - ปิดถังขยะอัตโนมัติอยู่ในระดับ
มาก (x̄ =4.31, SD=5.67) แบ่งเป็นทั้งหมด 3 ด้านดังนี้ ด้านการออกแบบชิ้นงานอยู่ในระดับมาก
(x̄ =4.23, SD=1.96) ความพึงพอใจด้านความสามารถในการทำงานอยู่ในระดับมาก (x̄ =4.49,
SD=1.71) และความพึงพอใจในด้านประสิทธิภาพและความปลอดภัยอยู่ในระดับมาก(x̄ =4.20,
SD=1.99) ตามลำดบั

คำจำกัดความ : เซนเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว/ บอร์ดอาดูโน่/ โปรแกรมอาดูโน่/ แผ่น
อะคริลิคใส/ มอเตอร์

กิตตกิ รรมประกาศ

โครงการระบบเปิด - ปิดถังขยะอัตโนมัติสำเรจ็ ได้ด้วยดี เนื่องจากได้ความกรุณาของอาจารยท์ ี่
ปรกึ ษาโครงการ นางสาวอจั ฉราภรณ์ เกลยี้ งพร้อม และนางสาวครองขวัญ บัวยอม ทีไ่ ด้ใหค้ ำปรึกษา
คำแนะนำ ข้ีแนะแนวทางในการศึกษาค้นคว้าขั้นตอนวิธีการจัดทำโครงการจนสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
คณะผจู้ ัดทำจงึ ขอกราบขอบพระคุณอย่างสงู ไว้ ณ โอกาสนี้

คณะผูจ้ ดั ทำ

1

บทท่ี 1
บทนำ

1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ
สังคมในปัจจุบันน้ีไม่ว่าจะเป็น ห้างสรรพสินค้า สวนสาธารณะ รวมไปถึงโรงเรียน ล้วนไม่มี

ระเบียบวินยั ในการท้ิงขยะ จึงทำให้ปริมาณของขยะเพ่ิมมากขึ้น ถ้าหากไม่มีการกำจัดขยะอย่างถกู วิธี
และเหมาะสม ปัญหาความสกปรกต่าง ๆ ท่ีเกิดจากขยะจะต้องเกิดข้ึน หากมองและสังเกตุแล้วขยะ
ก่อให้เกิดผลกระทบต่อมนุษย์เป็นอย่างมาก เช่น เกิดมลพิษในอากาศและเป็นแหล่งเพาะพันธ์เช้ือโรค
ต่าง ๆ ปัญหาดังกล่าวเกิดจากการกระทำของมนุษย์ท้ังสิ้น แต่ยังอยู่ในข้ันที่ไม่รุนแรงมากนักสิ่งที่
เกิดข้ึนจึงไมช่ ัดเจนเท่าไร แต่ในหลักความเป็นจริงแล้ว ขยะจะก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาพแวดล้อมเป็น
อย่างมาก และจะมีผลกระทบต่อสุขภ าพอนามัยของมนุษย์ ทั้งทางตรง และทางอ้อม
(http://www.thaihealth.or.yh.com)

จากปัญหาดังกล่าวทางผู้จัดทำได้ไปศึกษาข้อมูลและพบว่า สาเหตุของการท้ิงขยะไม่เป็นที่
เกิดจากการขาดจติ สำนึกไม่ท้ิงขยะให้ลงถัง รวมไปถึงถังขยะในยุคสมัยนี้ไม่ได้มีความโดดเด่นและเป็น
ท่ีสนใจ (http://www.pvHd36.com) ทางคณะผู้จัดทำจึงศึกษาวิธีแก้ไขปัญหา และพบว่าการสร้าง
ระบบเปิด-ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino ข้ึนมาจะช่วยลดการท้ิงขยะไม่เป็นท่ีรวมไปถึง
การสร้างจิตสำนึกในการท้ิงขยะให้ลงถังมากขึ้นเพราะมนุษย์ในยุคสมัยน้ีมักจะให้ความสนใจกับส่ิงที่
แปลกใหม่ (http://www.pcd.qo.thlpublic.com)

ผู้จัดทำจึงได้คิดค้น ระบบเปิด-ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino เป็นถังขยะท่ีมี
ลกั ษณะเด่น คือ มีระบบเปิด-ปิดอัตโนมัติโดยควบคุมด้วยเซนเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหวเพื่อท่ีจะ
ดึงดูดความสนใจให้ผู้ท่ีเห็นท้ิงขยะให้ลงถัง รวมไปถึงการพัฒนาถังขยะรูปแบบใหม่ให้มีความ
สะดวกสบายและทันสมัยมากย่งิ ข้ึน

1.2 วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ
1.2.1 เพอื่ สรา้ งระบบเปิด – ปดิ ถงั ขยะอัตโนมัติดว้ ยโปรแกรม Arduino
1.2.2 เพอื่ ศกึ ษาความพึงพอใจของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์

ธรุ กจิ วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง ทีม่ ตี ่อระบบเปิด-ปดิ ถังขยะอตั โนมัติดว้ ยโปรแกรม Arduino
1.2.3 เพือ่ เผยแพรร่ ะบบเปิด-ปิดถังขยะอัตโนมตั ิดว้ ยโปรแกรม Arduino ผ่านโครงการประกวด

โครงการวิชาชพี ชมรมวิชาชพี คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ

2

1.3 ขอบเขตของโครงการ
1.3.1 ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง
1.3.1.1 ประชากร คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

ธรุ กิจ วทิ ยาลยั เทคนิคระอง จำนวน 60 คน
1.3.1.2 กลุ่มตัวอยา่ ง คอื นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

ธรุ กจิ วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง จำนวน 52 คน
1.3.2 ขอบเขตช้นิ งาน
1.3.2.1 ด้านฮาร์ดแวร์
1) เซนเซอรว์ ัดระยะ: GP2YOA21 lnfrared Sensor 10-80 cm
2) บอรด์ ทดลอง Esp8266
3) บอรด์ Arduino: Package Arduino
4) สายจมั เปอรเ์ ช่อื มต่อวงจร: Female 20 cm
5) มอเตอร์ Servo
6) แผน่ อะครลิ คิ แบบใส
1.3.2.2 ด้านซอฟต์แวร์ คอื โปรแกรม Arduino IDE เวอร์ช่ัน 1.8.10
1.3.3 เคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมินผล คือ ระบบเปิด - ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม

Arduino และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชา
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ท่ีมีต่อระบบเปิด-ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม
Arduino

1.4 ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
1.4.1 ได้ระบบเปิด – ปดิ ถังขยะอตั โนมตั ดิ ว้ ยโปรแกรม Arduino
1.4.2 ได้รับความพึงพอใจจากนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ท่ีมีต่อระบบเปิด-ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino อยู่ใน
ระดับมาก

1.4.3 ได้เผยแพร่ระบบเปิด-ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino ผ่านการประกวด
โครงการวชิ าชีพ ชมรมวชิ าชีพคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

3

1.5 คำจำกัดความ
1.5.1 บอร์ดอาดูโน่ Arduino หมายถึง บอรด์ ไมโครคอนโทรลเลอรต์ ระกูล AVR ท่ีมีการพัฒนา

แบบ Open Source
1.5.2 เซนเซอร์ตรวจจับความเคล่ือนไหว หมายถึง เซนเซอร์โมดูลสำหรับตรวจจับวัตถุและวัด

ระยะแบบไมส่ มั ผัส โดยใชค้ ลื่นอัลตราโซนิคซง่ึ เปน็ คลนื่ ความถสี่ ูงเกนิ กว่าการไดย้ นิ ของมนุษย์
1.5.3 มอเตอร์ หมายถึง เคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ีเปล่ียนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล ประกอบด้วย

ขดลวดท่ีพันรอบแกนโลหะท่วี างอยู่ระหว่างข้วั แมเ่ หล็ก
1.5.4 แผ่นอะคริลิคใส (Clear Acrylic) หมายถึง ผลิตภัณฑ์ของอะคริลิคของแข็งท่ีถูกข้ึนรูปให้

มีลกั ษณะเปน็ แผน่ อาจเปน็ แผ่นใสหรือแผ่นมีสีต่าง ๆ นิยมใชง้ านมากในครวั เรอื น
1.5.5 โปรแกรมอาดูโน่ (Arduino) หมายถึง ชิปไอซีไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูลต่าง ๆ มาใช้

ร่วมกนั ในภาษา C

บทท่ี 2
เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

เพื่อเป็นแนวทางในการจัดทำโครงการครั้งน้ี คณะผู้จัดทำได้ศึกษาเอกสารและทฤษฎีที่
เกี่ยวขอ้ งตา่ ง ๆ ดงั น้ี

2.1 บอรด์ อาดูโน่ (Arduino)
2.2 เซนเซอรต์ รวจจับความเคลือ่ นไหว (Sensor)
2.3 มอเตอร์ (Servo)
2.4 สายจ้ัมเปอร์ (Jumper)
2.5 ถา่ น Panasonicขนาด (AA/1.5 V)
2.6 แผ่นอะคริลิคใส
2.7 โปรแกรมอาดโู น่ (Arduino)

2.1 บอร์ดอาดโู น่ Arduino
Arduino อ่านว่า (อา-ดู-อ-ิ โน่ หรอื อา-ด-ู โน่) เปน็ บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอรต์ ระกูล AVR ท่ี

มีการพัฒนาแบบ Open Source คือมีการเปิดเผยข้อมูลทั้ง+ด้าน Hardware และ Software ตัว
บอร์ด Arduino ถูกออกแบบมาให้ใช้งานได้งา่ ย ดังนั้นจึงเหมาะสำหรับผ้เู ร่มิ ต้นศึกษา ทง้ั นีผ้ ู้ใช้งานยัง
สามารถดดั แปลงเพ่ิมเตมิ พัฒนาตอ่ ยอดทัง้ ตวั บอรด์ หรอื โปรแกรมต่อไปอีกด้วย

ความง่ายของบอร์ด Arduino ในการต่ออุปกรณ์เสริมต่าง ๆ คือผู้ใช้งานสามารถต่อวงจร
อิเล็กทรอนิกส์แล้วเชื่อต่อเข้ามาที่ขา I/O ของบอร์ด หรือเพ่ือความสะดวกสามารถเลือกต่อกับบอร์ด
เสริม (Arduino Shield) ประเภทต่าง ๆ เช่น Arduino XBee Shield, Arduino music Shield,
Arduino Relay Shield, Arduino wireless Shield, Arduino GPRS Shield เป็นต้น มาเสียบบน
บอรด์ Arduino และเขยี นโปรแกรมพัฒนาต่อไดเ้ ลย (https://en.wikipedia.org/)

ภาพที่ 2.1 แสดงบอรด์ Arduino Esp8266

5

2.1.1 จดุ เด่นท่ที ำให้บอรด์ Arduino เปน็ ท่ีนยิ ม
2.1.1.1 มีรูปแบบคำสั่งพน้ื ฐานไมซ่ บั ซ้อนเหมาะสำหรบั ผู้เริ่มต้นใช้งาน
2.1.1.2 มี Arduino Community กลุ่มคนทร่ี ว่ มกันพฒั นาที่แขง็ แรง
2.1.1.3 Open Hardware ทำใหผ้ ู้ใชส้ ามารถนำบอรด์ ไปตอ่ ยอดใช้งานได้หลายด้าน
2.1.1.4 Cross Platform สามารถพัฒนาโปรแกรมบน OS ใดก็ได้
2.1.1.5 ราคาไม่แพง (https://embeddedbblog.wordpress.com)

2.1.2 รูปแบบการเขยี นโปรแกรม Arduino

ภาพที่ 2.2 แสดงรปู แบบการเขยี นโปรแกรม Arduino
2.1.2.1 เขียนโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์ผ่านทางโปรแกรม ArduinoIDE ซึ่ง สามารถ
ดาวนโ์ หลดได้ จาก Arduino.cc/en/main/software
2.1.2.2 หลังจากท่ีเขียนโค้ดโปรแกรมเรียบร้อยแล้วให้ผู้ใช้งานเลือกรุ่นบอร์ด Arduino
ทใี่ ช้และหมายเลข Com port

6

ภาพที่ 2.3 แสดงรุ่นบอรด์ Arduino ที่ตอ้ งการ Upload

ภาพท่ี 2.4 แสดงหมายเลข Comport ของบอรด์
2.1.2.3 กดปุ่ม Verify เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและ Compile โค้ดโปรแกรมจากน้ัน
กดปุ่ม Upload โค้ดโปรแกรมไปยังบอร์ด Arduino ผ่านทางสาย USB เมื่ออับโหลดโค้ดเรียบร้อย
แล้วจะแสดงขอ้ ความแถบดา้ นล้าง “Doneuploading” และบอรด์ เริ่มทำงานตามที่เขียนโปรแกรมไว้
ไดท้ นั ที (https://embeddedbblog.wordpress.com)

7

ภาพท่ี 2.5 แสดงการตรวจโคด้ และอบั โหลดโคด้ ลงบอร์ด Arduino
2.1.3 Layout & pin out Arduino Board (Model: Arduino UNO R3)

ภาพท่ี 2.6 แสดงLayout & pin out Arduino Board (Model: Arduino UNO R3)
2.1.3.1 หมายเลข 1 USBPort: ใช้สำหรับต่อกับ Computer เพ่ืออับโหลดโปรแกรมเข้า
MCU และ จา่ ยไฟให้กับบอร์ด
2.1.3.2 หมายเลข 2 Reset Button: เปน็ ป่มุ Reset ใช้กดเมอ่ื ต้องการให้ MCU เร่มิ การ
ทำงานใหม่
2.1.3.3 หมายเลข 3 ICSP Port: Atmega 16U2 เป็นพอร์ตที่ใช้โปรแกรม Visual
Comport บน Atmega 16U2

8

2.1.3.4 หมายเลข 4 I/Oport: Digital I/O ตั้งแตข่ า D0 ถึง D13 นอกจากนี้บาง Pin จะ
ทำหน้าท่ีอ่นื เพมิ่ เตมิ อีกดว้ ยเช่น Pin0,1 เป็นขา Tx,Rx Serial, Pin3,5,6,9,10 และ 11 เป็นขา PWM

2.1.3.5 หมายเลข 5 ICSP Port: Atmega328 เป็นพอร์ตท่ใี ช้โปรแกรม Bootloader
2.1.3.6 หมายเลข 6 MCU: Atmega328 เป็น MCU ทใี่ ชบ้ นบอรด์ Arduino
2.1.3.7 หมายเลข 7 I/OPort: นอกจากจะเป็น Digital I/O แล้ว ยังเปล่ียนเป็นช่องรับ
สัญญาณอนาล็อกต้งั แต่ขา A0-A5
2.1.3.8 หมายเลข 8 Power Port: ไฟเลี้ยงของบอร์ดเมื่อต้องการจ่ายไฟให้กับวงจร
ภายนอก ประกอบด้วยขาไฟเลี้ยง +3.3 V, +5V, GND, Vin
2.1.3.9 หมายเลข 9 Power Jack:รับไฟจาก Adapter โดยทแี่ รงดนั อยรู่ ะหวา่ ง 7-12 V
2.1.3.10 หมายเลข 10 MCU ของ Atmega16U2 เป็น MCU ที่ทำหน้าที่เป็น USB to
Serial โดย Atmega328

2.2 เซนเซอรต์ รวจจับความเคลื่อนไหว (Sensor)
เซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว เป็นอุปกรณ์ท่ีแปลงการตรวจจับความเคลื่อนไหวเป็น

สัญญาณไฟฟา้
2.2.1 หลักการทำงานของเซนเซอรต์ รวจจับความเคล่ือนไหว
HC-SR04 เป็นเซนเซอร์โมดูลสำหรับตรวจจับวัตถุและวัดระยะแบบไม่สัมผัส โดยใช้

คลื่นอัลตราโซนิค ซ่ึงเป็นคล่ืนความถ่ีสูงเกินกว่าการได้ยินของมนุษย์ วัดระยะได้ตั้งแต่ 2 – 400
เซนติเมตรหรือ 1 – 156 นิ้ว สามารถต่อใช้งานกับไมโครคอนโทรลเลอร์ได้ง่ายใช้พลังงานต่ำ เหมาะ
สำหรับการนำไปประยุกต์ใช้งานด้านระบบควบคุมอัตโนมัติ หรืองานด้านหุ่นยนต์ หลักการทำงานจะ
เหมือนกับการตรวจจับวัตถดุ ้วยเสียงค้างคาว โดยจะประกอบไปด้วยตัว รับ-ส่ง อัลตราโซนิคตัวส่งจะ
ส่งคล่ืนความถ่ี 40 kHz ออกไปในอากาศด้วยความเร็วประมาณ 346 เมตรต่อวินาที และตัวรับจะ
คอยรับสัญญาณที่สะท้อนกลับจากวัตถุ เมื่อทราบความเร็วในการเคลื่อนท่ีของคลื่น เวลาที่ใช้ในการ
เดินทางไป-กลับ (t) ก็สามารถคำนวณหาระยะห่างของวัตถุ (s) (http://application-with-
embedded- linux.blogot.)

9

ภาพท่ี 2.7 แสดงหลักการตรวจจับและวัดระยะห่างระหว่างวัตถุดว้ ยคลื่นเสยี ง
2.2.2 การต่อใช้งานโมดลู

โมดูลนี้มีจุดต่อใช้งานท้ังหมด 4 จุด การใช้งานบอร์ด STM32F4DISCOVERY การ
ทดลองในเบื้องต้นสามารถต่อวงจรอย่างง่ายโด้โดยใช้โพโตบอร์ดและสายไฟต่อวงจร ทั้งน้ีต้อง
ตรวจสอบคุณสมบัติของพอร์ตของไมโครคอนโทรลเลอร์จากดาต้าชีท ว่าสามารถทนระดับแรงดัน
ลอจกิ High (5V) ได้

2.2.2.1 ขา VCC สำหรบั ต่อแรงดนั ไฟเล้ียงไม่เกิน 5V
2.2.2.2 ขา Trig เป็นขาอินพุตรับสัญญาณพัลส์ความกว้าง 10 ไมโครวินาทีเพ่ือกระตุ้น
การสรา้ งคลืน่ อัลตราโซนิคความถ่ี 40KHz ออกสูอ่ ากาศจากตวั ส่ง
2.2.2.3 ขา Echo เป็นขาเอาต์พุตสำหรับส่งสัญญาณพัลส์ออกจากโมดูลไปยัง
ไมโครคอนโทรลเลอร์ เพ่อื ตรวจจบั ความกว้างของสัญญาณพัลส์และคำนวณเปน็ ระยะทาง
2.2.2.4 ขา GND สำหรับต่อจดุ กราวดร์ ว่ มแรงดนั และสญั ญาณ

ภาพท่ี 2.8 แสดงการต่อใชง้ านโมดูลอลั ตราโซนิค HC-SR04

10
ตามคุณลักษณะของเซนเซอร์ จะต้องสร้างสัญญาณพัลส์ความกว้างไม่น้อยกว่า 10
msec ป้อนเข้าที่ขา Trig หลังจากนั้นอีกประมาณ 1.4 msec จึงจะเร่ิมมีสัญญาณพัลส์เกิดขึ้นที่ขา
Echo มีความกว้างของสัญญาณต้ังแต่ 150 usec – 25 msec ซ่ึงถ้าหากกว้างกว่านี้จะถือว่าตรวจไม่
พบวัตถหุ ลงั จากนน้ั ควรหน่วงเวลาออกไปอกี 10 mS จึงจะสง่ สญั ญาณ Trig ออกไปอกี รอบ

ภาพท่ี 2.9 แสดงสัญญาณท่ีขา Trig และขา Echo ของโมดลู เซนเซอร์อัลตราโซนิค HC-SR04
การตรวจจับความกวา้ งของสัญญาณใช้โมดูล PWM Capture ซ่ึงให้เอาต์พุตออกมาเป็น

เวลาในหน่วยวินาที และใช้สมการ (2) หรือ (3) เพ่ือคำนวณหาระยะทางระหว่างวัตถุที่ตรวจพบ
(https://medium.com)
2.3 มอเตอร์ (Servo Tower pro SG90)

ภาพที่ 2.10 แสดงมอเตอร์ Servo Tower pro SG90
Servo เป็นคำศัพท์ท่ีใช้กันท่ัวไปในระบบควบคุมอัตโนมัติ มาจากภาษาละตินคำว่า Servus
หมายถึง “ทาส” (Slave) ในเชิงความหมายของ Servo Motor ก็คือ Motor ท่ีเราสามารถส่ังงาน
หรือต้ังค่า แล้วตัว Motor จะหมุนไปยังตำแหน่งองศาท่ีเราสั่งได้เองอย่างถูกต้อง โดยใช้การควบคุม

11

แบบป้อนกลับ (Feedback control) ซ่ึงนิยมนำมาใช้กับเคร่ืองเล่นที่บังคับด้วยวิทยุ เช่น เรือบังคับ
วทิ ยุ รถบังคบั วิทยุ เฮลิคอปเตอรบ์ ังคบั วิทยุ เปน็ ต้น

Feedback Control คือ ระบบควบคุมที่มีการวัดค่าเอาต์พุตของระบบนำมาเปรียบเทียบกับค่า
อินพตุ เพื่อควบคมุ และปรบั แตง่ ใหค้ ่าเอาต์พตุ ของระบบให้มีค่า เทา่ กับ หรือใกลเ้ คียงกับค่าอินพตุ

2.3.1 สว่ นประกอบภายนอก Servo Tower pro SG90
2.3.1.1 Case ตวั ถัง หรอื กรอบของตวั Servo Motor
2.3.1.2 Mounting Tab สว่ นจับยึดตวั Servo กับชิน้ งาน
2.3.1.3 Output shaft เพลาสง่ กำลงั ไฟ
2.3.1.4 Servo Horns สว่ นเชื่อมต่อกับ Output Shaft เพื่อสร้างกลไก
2.3.1.5 Cable สายเชื่อมต่อเพ่ือจ่ายไฟฟ้าและควบคุม Servo Motor จะประกอบด้วย

สายไฟ 3 เส้น และใน Servo Tower pro SG90 จะมีสายแตกต่างกันไปดงั น้ี
1) สายสีแดง คือ ไฟเลี้ยง (4.8-6V)
2) สายสีดำ หรือน้ำตาล คอื กราวด์
3) สายสเี หลอื ง(ส้ม ขาว หรอื ฟ้า) คอื สายส่งสญั ญาณพลั ส์ควบคมุ (3-5V)
4) Connector จดุ เชื่อมตอ่ สายไฟ

2.3.2 สว่ นประกอบภายใน Servo Tower pro SG90

ภาพท่ี 2.11 แสดงส่วนประกอบภายใน Servo Tower pro SG90
2.3.2.1 Motor เป็นส่วนของตวั มอเตอร์
2.3.2.2 Gear Train หรอื Gearbox เปน็ ชุดเกยี รท์ ดลอง
2.3.2.3 Position Sensor เปน็ เซนเซอรต์ รวจจับตำแหนง่ เพอ่ื หาค่าองศาในการหมุน
2.3.2.4 Electronic Control System เป็นสว่ นทค่ี วบคุมและประมวลผล
2.3.2.5 connection cable คอื สายเช่อื มต่อ

12

2.3.3 หลกั การทำงานของ Servo Tower pro SG90
เม่ือจ่ายสัญญาณพัลส์เข้ามายัง Servo Tower pro SG90 ส่วนวงจรควบคุมภายใน

Servo จะทำการอ่านประมวลค่าความกว้างของสัญญาณพัลส์ท่ีส่งเข้ามาเพื่อแปลค่าเป็นตำแหน่ง
องศาท่ีต้องการให้ Motor หมุนเคลื่อนท่ีไปยังตำแหน่งนั้น แล้วส่งคำสั่งไปทำการควบคุมให้ Motor
หมุนไปยังตำแหน่งท่ีต้องการโดยมี position Sensor เป็นตัวเซนเซอร์คอยวัดค่ามุมท่ี Motorกำลัง
หมุน Feedback กลับมาให้วงจรควบคุมเปรยี บเทียบกับค่าอินพุตเพ่อื ควบคุมให้ได้ตำแหนง่ ที่ต้องการ
อยา่ งถูกตอ้ งแม่นยำ

2.3.3.1 สญั ญาณ RC ในรูปแบบ PWM

ภาพที่ 2.12 แสดงสญั ญาณ RC Servo Motor
2.3.3.2 ตัว RC Servo Motor ออกแบบมาใช้สำหรับรับคำส่ังจาก Remote Control ท่ีใช้
ควบคมุ ของเล่นดว้ ยสัญญาณวิทยตุ ่าง ๆ เช่น เครื่องบินบังคับ รถบังคับ เรือบังคับ เปน็ ตน้ ซ่งึ Remote จำพวก
ทภี่ าครบั จะแปลงความถ่ีวิทยุออกมาในรูปแบบสัญญาณ PWM (Pulse Width Modulation)
2.3.3.3 มุมหรือองศาจะขึ้นอยู่กับความกว้างของสัญญาณพัลส์ ซึ่งโดยส่วนมากความ
กว้างของพัลส์ท่ีใช้ใน RC Servo Motor จะอยู่ในช่วง 1-2 ms หรือ 0.5-2.5 ms เช่น หากกำหนด
ความกว้างของสัญญาณพัลส์ไว้ท่ี 1 ms ตัว Servo Motor จะหมุนไปทางด้านซ้ายจนสุด ในทาง
กลับกันหากกำหนดความกว้างของสัญญาณพัลส์ไว้ท่ี 2 ms ตัว Servo Motor จะหมุนไปยังตำแหน่ง
ขวาสุด แต่หากกำหนดความกว้างของสัญญาณพัลส์ไว้ที่ 1.5 ms ตัว Servo Motor กจ็ ะหมุนมาอยู่ที่
ตำแหนง่ ตรงกลางพอดี
2.3.3.4 สามารถกำหนดองศาการหมุนของ RC Servo Motor ได้โดยการเทียบค่า เช่น
RC Servo Motor สามารถหมุนได้ 180 องศา โดยที่ 0 องศาใช้ความกว้างพัลส์เท่ากับ 1000 us ที่
180 องศาความกว้างพัลส์เท่ากับ 2000 us เพราะฉะน้ันค่าที่เปล่ียนไป 1 องศาจะใช้ความกว้างพัลส์
ตา่ งกัน (2000-1000)/180 เท่ากบั 5.55 us

13
2.3.3.5 การหาค่าความกว้างพัลส์ท่ีมุม 1 องศาข้างต้น หากต้องกำหนดให้ RC Servo
Motor หมุนไปท่ี 45 องศาจะหาค่าพัลส์ท่ีจะต้องได้จาก 5.55 x 45 เท่ากับ 249.75 us แต่ที่มุม 0
องศาเราเร่ิมท่ีความกว้างพัลส์ 1 ms หรือ 1000 us เพราะฉะน้ันความกว้างพัลส์ท่ีใช้กำหนดให้ RC
Servo Motor ห มุ น ไ ป ท่ี 45 อ ง ศ า คื อ 1000 + 249.75 เท่ า กั บ ป ร ะ ม า ณ 1250 us
(https://robotsiam.blogspot.com/2016/09/micro-servo-tower-pro-sg90-sensor.html)

ภาพท่ี 2.13 แสดงองศาการหมนุ ของ RC Servo Motor
2.4 สายจั้มเปอร์ (Jumper)

ภาพท่ี 2.14 แสดงสายจม้ั เปอร์ (Jumper)
สายไฟจั้มเปอร์แบบ ผู้-ผู้ เหมาะสำหรับใช้งานในวงจรท่ัวไป เช่น วงจรทดลองบน Protoboard
เพราะมีหัวเข็มหรือ Pin Header ที่ออกแบบมาใช้สำหรับเสียบลงบน Protoboard โดยเฉพาะ หรือ
ใช้งานกับบอร์ด Arduino รุ่น UNO หรือรุ่นอื่น ๆ ที่มี Socket ตัวเมียขนาด 26 AWG สามารถทน

14
กระแส สูงสุดได้ 2.2 A ถ้าต่อสายแบบ Chassis Wiring (ต่อแบบแยกสาย) สามารถทนกระแสได้
0.36 A ถา้ ตอ่ แบบ Power Transmission (รวมเปน็ กระจุก) (https://guru.sanook.com)
2.5 ถา่ นPanasonic ขนาด (AA/1.5 V)

ภาพท่ี 2.15 แสดงถ่านPanasonic ขนาด (AA/1.5 V)
ขนาด AA จะเป็น R6 ท้ังสีดำและสีเขียว แต่ ถา่ นอัลคาไลน์จะเป็น LR6 ตรงน้ีอธบิ ายได้ว่าท้ังสี
เขียวและสีดำ ใช้ Electrolyte เป็นแบบ Ammonium Chloride, Zin Chloride ส่วนอัลคาไลน์ ใช้
เป็น แบบ Alkali metal hydroxide แต่ทั้งหมดมีขนาดเดียวกันคือ R6 สีเขียว : เหมาะสำหรับ
อปุ กรณ์กินกำลงั ไฟนอ้ ย ๆ แต่ต่อเนื่อง คงจะป้องกัน Leak คือลดการเส่อื มได้
2.6 แผ่นอะคริลิคใส (Clear Acrylic)

ภาพที่ 2.16 แสดงแผน่ อะคริลิคใส (Clear Acrylic)
เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ของอะคริลคิ ของแข็งท่ีถูกข้ึนรูปให้มลี กั ษณะเปน็ แผ่น อาจเปน็ แผ่นใสหรอื แผน่ มสี ี
ตา่ ง ๆ นิยมใช้งานมากในครัวเรือน เช่น ทำปา้ ย ทำเคร่ืองตกแต่งบา้ น วสั ดตุ กแตง่ บา้ น ข้ึนโชว์ ตูเ้ ล้ียง
ปลา ถงั ขยะ ของเด็กเลน่ กรอบรูป กล่อง เป็นตน้

15

สำหรับภาคอุตสาหกรรมมีการใช้ปประโยชน์จากแผ่นอะคริลิค เช่นอุตสาหกรรมประกอบ
รถยนต์ อุตสาหกรรมขึ้นรูป และผลิตช้ินส่วนพลาสติก เป็นต้น การหาซื้อสามารถหาซ้ือได้ตามร้าน
เคร่ืองเขียน ร้านพลาสติกทั่วไปหรือส่ังซ้ือจากร้านค้าที่ปะกาศตามอินเทอร์เน็ต มีราคาตั้งแต่หลักสิบ
จนถึงหลักพนั ขน้ึ อยู่กบั ขนาดและสี ลกั ษณะเฉพาะของพลาสติกอะครลิ คิ แต่ละผลิตภัณฑ์

2.6.1 สมบัตทิ วั่ ไปของแผน่ อะครลิ ิค
2.6.1.1 มคี วามโปร่งใสคล้ายกระจก
2.6.1.2 ทนทานตอ่ แรงการกระแทก แรงกด และสภาพแวดล้อมดินฟ้าอากาศ
2.6.1.3 ทนทานตอ่ สารเคมหี ลายชนิด ยกเว้นสารตวั ทำลาย
2.6.1.4 สามารถเตมิ แต่งดว้ ยสี ให้มีสสี นั ไดต้ ามความต้องการ
2.6.1.5 มจี ุดออ่ นตัวต่ำ ทนต่อความร้อน และมคี วามเหนยี ว
2.6.1.6 มสี ภาพคงรปู ท่ีดี และทนต่อการขดี ข่วน
2.6.1.7 สามารถป้องกันความร้อนท่ีดี
2.7.1.8 ไมด่ ดู ความช้นื

2.7 โปรแกรมอาดูโน่ (Arduino)
โปรแกรม Arduino แบ่งได้สองส่วน คือ ภาษาซีชอง Arduino จะจัดรูปแบบโครงสร้างของการ

เขียนโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อย ๆ หลาย ๆ ส่วน โดยเรียกแต่ละส่วนว่าฟังก์ชัน และเม่ือนำฟังก์ชัน
มารวมเข้าด้วยกัน ก็จะเรียกว่าโปรแกรมโดยโครงสร้างการเขียนโปรแกรมของ Arduino น้ันทุก ๆ
โปรแกรมจะต้องประกอบไปด้วยฟังก์ชันจำนวนเท่าใดก็ได้ แต่อย่างน้อยท่ีสุดต้องมีฟังก์ชัน จำนวน 2
ฟังกช์ นั คือ setup() และ loop()

ภาพที่ 2.17 แสดงโปรแกรม Arduino

16

2.7.1 Header
ในส่วนน้ีจะมีหรือไม่มีก็ได้ ถ้ามรต้องกำหนดไว้ในส่วนเริ่มต้นของโปรแกรม ซ่ึงส่วน

Header ได้แก่ ส่วนท่ีเป็น Compiler Directive ต่าง ๆ รวมไปถึงส่วนของประกาศตัวแปร และ
ค่าคงทต่ี า่ ง ๆ ท่จี ะใชใ้ นโปรแกรม

2.7.2 Setup()
ในส่วนนี้ฟังก์ชันบังคับที่ต้องกำหนดให้มีในทุก ๆ โปรแกรมถึงแม้ว่าในบางโปรแกรมจะ

ไม่ต้องการใช้งานก็ยังจำเป็นต้องประกาศไว้ด้วยเสมอ เพียงแต่ไม่ต้องเขียนคำส่ังใด ๆ ไว้ในระหว่าง
วงเล็บปีกกา {} ที่ใช้เป็นตัวกำหนดของเขตของฟังกช์ ัน โดยฟังก์ชนั น้ีจะใช้สำหรับบรรจคุ ำสัง่ ในส่วนท่ี
ต้องการให้โปรแกรมทำงานเพียงรอบเดียวตอนเร่ิมต้นทำงานของโปรแกรมคร้ังแรกเท่านั้น ซึ่งได้แก่
คำสงั่ เกยี่ วกบั การ Setup ค่าการทำงานต่าง ๆ เช่น การกำหนดหน้าท่ีการใชง้ านของ Pin Mode และ
การกำหนดคา่ Baudrate สำหรับใชง้ านพอร์ตสื่อสารอนกุ รม เป็นต้น

2.7.3 loop()
เป็นฟังก์ชันบังคับที่ต้องกำหนดให้มีในทุก ๆ โปรแกรมเช่นเดียวกันกับฟังก์ชัน Setup()

โดยฟังก์ชัน loop() นี้จะใช้บรรจุคำส่ังท่ีต้องการให้โปรแกรมทำงานเป็นวงล้อซ้ำ ๆ กันไปไม่รู้จบ ซึ่ง
ถา้ เปรียบเทียบกบั รปู แบบของ ANSI-C สว่ นนกี้ ็คอื ฟงั ก์ชัน main() นนั่ เอง

2.7.4 #include <header.h>
เม่ือพบคำสั่ง #include ตัวแปลภาษาของ Arduino จะไปค้นหาไฟล์ท่ีระบุไว้ใน

เครื่องหมาย <>หลังคำส่ัง #include จากตำแหน่ง Directory ที่เก็บไฟล์ Library ของโปรแกรม
Arduino ไว้ ซ่ึงแน่นอนว่าส่วนของ Header จะนับรวมไปถึงคำสั่งส่วนที่ใช้ประกาศสร้างตัวแปร
(Variable Declaration) และค่าคงท่ี (Constant Declaration) รวมท้ังฟังก์ชันต่าง ๆ (Function
Declaration) ด้วยซง่ึ จากตวั อย่างไดแ้ กส่ ว่ นทีเ่ ปน็ คำสั่ง

2.7.5 int Servo1=9; Servo myservo
สำหรับส่วนท่ีสำคัญที่สุดและขาดไม่ได้ คือ ฟังก์ชัน Setup() และฟังก์ชัน loop() ซ่ึง

ฟังก์ชันท้ัง 2 ส่วนน้ีมีรูปแบบโครงสร้างที่เหมือนกันแต่ถูกกำหนดด้วยช่ือฟังก์ชันเป็นการเฉพาะ คือ
Setup() และ loop() โดย Setup() จะเขียนไว้ก่อน loop() ซ่ึงท้ัง 2 ฟังก์ชันน้ีมีขอบเขต เริ่มต้นและ
สน้ิ สุด อยู่ภายใตเ้ ครอ่ื งหมาย {}

2.7.6 Void setup() คำส่ังตา่ ง ๆ ท่ตี ้องการเขียนไวภ้ ายใต้ฟงั ก์ชนั Setup()
หน้าที่ของฟังก์ชัน Setup() ใน Arduino คือ ใช้ทำหน้าท่ีเป็นส่วนของโปรแกรมย่อย

สำหรับใช้บรรจุคำส่ังต่าง ๆ ที่ใช้สำหรับกำหนด การทำงานของระบบ หรือ กำหนดคุณสมบัติการ
ทำงานให้กับอุปกรณ์ต่าง ๆ ซ่ึงคำสั่งทั้งหมดที่บรรจุไว้ภายใต้ฟังก์ชันของ setup() น้ีจะถูกเรียกขึ้นมา
ทำงานเพียงรอบเดียวคอื ตอนเริม่ ต้นการทำงานของโปรแกรม

17

2.7.7 Void loop() คำสัง่ ต่าง ๆ ทตี่ ้องการเขียนไว้ภายใต้ฟังก์ชัน loop()
หน้าที่ของฟังกช์ ัน loop() ใน Arduino คอื ใชท้ ำหนา้ ที่เป็นสว่ นโปรแกรมหลัก สำหรบั ใช้

บรรจุคำสั่งควบคุมการทำงานต่าง ๆ ของโปรแกรมท่ีต้องการใช้โปรแกรมทำงาน โดยคำส่ังท่ีบรรจุไว้
ใน ฟั งก์ ชั น นี้ จ ะ ถู ก เรี ย ก ขึ้ น ม าท ำงาน ซ้ ำ ๆ กั น ต าม ล ำดั บ แ ล ะ เงื่อ น ไข ที่ ก ำห น ด ไว้
(http://www.myarduino.com)

บทที่ 3
วธิ ีการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินโครงการระบบเปิด-ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino มีรายละเอียดใน
การดำเนินงานโครงการ ดงั นี้

3.1 การศึกษาขอ้ มลู เบื้องต้น
3.2 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
3.3 ขน้ั ตอนการดำเนินงาน
3.4 เคร่อื งมือท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
3.5 ข้นั ตอนการดำเนินการและเก็บรวบรวมขอ้ มูล
3.6 พจิ ารณาจากคะแนนตามเกณฑ์
3.7 สถติ ิท่ใี ช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู

3.1 การศึกษาขอ้ มลู เบอ้ื งตน้
3.1.1 ศึกษาการทำงานของแผงวงจร การใช้งานเซนเซอร์ รวมถึงระบบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ

การทำงานของถังขยะระบบเปดิ - ปดิ อตั โนมตั ิ
3.1.2 อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ทใี่ ช้ในการสรา้ งระบบเปิด – ปิดถังขยะอตั โนมตั ิ ประกอบดว้ ย บอร์ดอาดู

โน่, เซนเซอรต์ รวจจบั ความเคลอื่ นไหว, มอเตอร์, สายจ้มั ปอร์, ถา่ น Panasonic, แผ่นอะครลิ ิคใส
3.1.3 การออกแบบและคำนวณชิ้นส่วนต่าง ๆ เพื่อนำไปออกแบบการสร้างถังขยะเปิด – ปิด

อัตโนมัติ ดังนั้นจึงรวบรวมเอกสารจากขั้นตอนต่าง ๆ เพื่อนำมาออกแบบระบบเปิด – ปิดถังขยะ
อัตโนมตั ิ

3.1.4 กำหนดวัตถุประสงค์การสร้าง วิเคราะห์วัสดุที่นำมาสร้างออกแบบโครงการ กำหนด
หลกั การทำงาน ดำเนินการสรา้ ง ทดลองใช้ และประเมนิ ผลการใช้งาน

3.2 ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง
3.2.1 ประชากร คอื นักเรยี นระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ

วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง จำนวน 60 คน

19
3.2.2 กลมุ่ ตวั อย่าง นักเรยี นระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ
วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง จำนวน 52 คน (https://sites.gppgle.com)

ภาพท่ี 3.1 แสดงตวั อย่างตารางทฤษฎีของเครจซแี่ ละมอร์แกน

20

3.3 ข้นั ตอนการดำเนินงาน
3.3.1 การออกแบบผงั งาน

ภาพท่ี 3.2 แสดง Flowchart การออกแบบผงั งาน

21
ภาพที่ 3.3 แสดง Flowchart การออกแบบผังงาน (ตอ่ )

22

ภาพท่ี 3.4 แสดง Flowchart การใช้งาน
ภาพที่ 3.5 แสดง Flowchart การใช้งาน (ต่อ)

23

3.3.2 ขน้ั ตอนการสรา้ งชนิ้ งาน
3.3.2.1 ลงมือสร้างโดยเร่มิ จากต่อแผงวงจรเขา้ กับบอร์ด Arduino

ภาพท่ี 3.6 แสดงการต่อแผงวงจรเขา้ กบั บอร์ด Arduino
3.3.2.2 ต่อเซนเซอร์วัดระยะเข้ากับบอรด์ Arduino

ภาพที่ 3.7 แสดงการต่อเซนเซอรว์ ดั ระยะเข้ากับบอร์ด Arduino

24

3.3.2.3 ตอ่ มอเตอร์ Servo เข้ากบั บอร์ด Arduino

ภาพท่ี 3.8 แสดงการต่อมอเตอร์ Servo เขา้ กับบอร์ด Arduino
3.3.2.4 Uploadโค้ดโปรแกรมเข้าไปยังคอนโทรลเลอร์บอร์ด Arduino

ภาพท่ี 3.9 แสดงโค้ดโปรแกรมที่จะอับโหลดเขา้ ไปยังบอร์ด Arduino

25

ภาพที่ 3.10 แสดงโค้ดโปรแกรมทจ่ี ะอับโหลดเขา้ ไปยังบอร์ด Arduino
3.3.2.5 ประกอบชน้ิ งานเข้ากับตวั ถังขยะ

ภาพที่ 3.11 แสดงการประกอบช้นิ งานเขา้ กับตวั ถังขยะ

26

3.3.2.6 ตอ่ มอเตอร์ Servo เขา้ กับตวั ถงั ขยะ

ภาพที่ 3.12 แสดงการต่อมอเตอร์ Servo เข้ากับตวั ถังขยะ

3.4 เคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
3.4.1 ระบบเปดิ - ปดิ ถงั ขยะอัตโนมตั ดิ ้วยโปรแกรม Arduino
3.4.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชา

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อระบบเปิด-ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม
Arduino โดยยึดตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละกรอบแนวคิดในการทำโครงการแบง่ ออกเปน็ 3 ส่วนคอื

สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถามได้แก่ เพศ อายขุ องผตู้ อบแบบสอบถาม
ส่วนท่ี 2 ข้อมูลความพึงพอใจของระบบเปิด-ปิดถังขยะอัตโนมัติดว้ ยโปรแกรม Arduino
มีลกั ษณะเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) แบ่งเป็น 5 ระดบั

5 หมายถึง ความพึงพอใจมากท่สี ุด
4 หมายถงึ ความพงึ พอใจมาก
3 หมายถงึ ความพึงพอใจปานกลาง
2 หมายถงึ ความพงึ พอใจน้อย
1 หมายถึง ความพึงพอใจนอ้ ยทีส่ ุด
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะปรบั ปรุงแกไ้ ข ระบบเปิด - ปิดถังขยะอตั โนมตั ิดว้ ยโปรแกรม

Arduino

27

3.4.3 การสร้างเครือ่ งมอื ที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู มีดงั น้ี
1) กำหนดโครงการสร้างและขอบเขตเนื้อหาสาระของแบบสอบถามโดยกำหนดเนื้อหา

สาระท่นี ำมาสร้างแบบสอบถามให้เห็นขอบเขตของคำถามทส่ี อดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์และครอบคลุม
เรื่องทจ่ี ะปรกึ ษาโดยคำแนะนำจากครูทป่ี รึกษาโครงร่างการจัดทำโครงการ

2) ศกึ ษาแนวทางทฤษฎีหลกั การสร้างแบบสอบถามจากเอกสารตำราทางวิชาการ
3) ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) สร้าง
แบบสอบถามฉบบั ร่างโดยเขยี นขอ้ ความทส่ี อดคล้องกับตัวแปรทศ่ี ึกษาให้ครบถ้วน
4) ดำเนินการสรา้ งแบบสอบถามและตรวจสอบคณุ ภาพแบบสอบถามเบื้องตน้ ให้ถูกต้อง
ในสำนวนภาษาเพอื่ ให้ครอบคลมุ และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5) จัดทำแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์เพื่อนำมาประเมินระดับความพึงพอใจเกี่ยวกับ
ระบบเปิด-ปดิ ถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino

3.5 ขน้ั ตอนการดำเนินการและเก็บรวบรวมข้อมูล
3.5.1**ศึกษาคน้ ควา้ ข้อมูลเพื่อคิดหัวข้อโครงการ
3.5.2 ศกึ ษาหาข้อมลู และวิธีการทำระบบเปิด – ปดิ ถังขยะอตั โนมัติดว้ ยโปรแกรม Arduino
3.5.3 นำเสนอหัวข้อใหก้ ับอาจารย์ในแผนก
3.5.4 เตรียมวัสดุอปุ กรณ์ในเพอ่ื สรา้ งระบบเปิด – ปิดถังขยะอตั โนมตั ดิ ว้ ยโปรแกรม Arduino
3.5.4.1 ลงมอื สรา้ งโดยเร่มิ จากต่อโพโตบอรด์ กับบอร์ด Arduino
3.5.4.2 ตอ่ เซนเซอร์วัดระยะเขา้ กับบอรด์ Arduino
3.5.4.3 ตอ่ มอเตอร์servoเข้ากบั บอรด์ Arduino
3.5.4.4 อบั โหลดโค้ดโปรแกรมเข้าไปยังไมโครคอนโทรลเลอร์บอร์ด Arduino
3.5.4.5 ประกอบชนิ้ งานเขา้ กบั ถงั ขยะและตอ่ บอรด์ เซนเซอร์ให้ติดกบั ตวั ถัง
3.5.4.6 ต่อมอเตอร์ Servo เข้ากบั ตัวถังขยะ
3.5.4.7 ตดิ ถ่าน 12 v เข้ากับตัวถังขยะ
3.5.4.8 ระบบเปดิ – ปิดถังขยะอัตโนมตั ิเสรจ็ สมบรู ณ์
3.5.5 ทดลองประสิทธภิ าพและการทำงานของถังขยะ
3.5.6 จัดทำรูปเล่มโครงการให้เสร็จสมบูรณ์
3.5.7 สรปุ ผลจากการแบบประเมนิ การทำโครงการ โดยสรปุ ความพงึ พอใจจากแบบประเมนิ

และคำนวณออกมาเปน็ ค่าเฉลยี่
3.5.8 จัดทำรายงานผลการดำเนนิ งานและนำเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ

28

3.6 พิจารณาจากคะแนนตามเกณฑ์
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม เพื่อสำรวจความพึงพอใจของนักเรียน

ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพ สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง
3.6.1 สรา้ งแบบสอบถามซงึ่ มีมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ดังนี้
5 หมายถงึ ความพงึ พอใจมากทสี่ ดุ
4 หมายถงึ ความพึงพอใจมาก
3 หมายถงึ ความพงึ พอใจปานกลาง
2 หมายถงึ ความพงึ พอใจนอ้ ย
1 หมายถึง ความพงึ พอใจนอ้ ยทสี่ ดุ
3.6.2 เกณฑ์การประเมินคา่ ความพึงพอใจ กำหนดคา่ คะแนนออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้
4.50 – 5.00 หมายถึงความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทส่ี ุด
3.50 – 4.49 หมายถึงความพงึ พอใจอยู่ในระดับมาก
2.50 – 3.49 หมายถึงความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
1.50 – 2.49 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยู่ในระดับนอ้ ย
0.00 – 1.49 หมายถึงความพงึ พอใจอยู่ในระดบั น้อยที่สุด
หมายเหตุ เกณฑ์อยู่ในระดบั 3.50 หรือเทา่ กับขน้ึ ไปถือว่าผา่ นเกณฑ์

3.7 สถิตทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู
ในการจัดทำโครงการ “ระบบเปิด-ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino”สถิติที่ใช้ในการ

วเิ คราะหข์ ้อมลู แบง่ ออกได้ ดังน้ี
3.7.1 สูตรการหาคา่ สถติ ริ ้อยละ (Percentage)

สตู ร p = f x 100
เมอ่ื p
n

แทน ค่าร้อยละ

f แทน จำนวนหรือความถ่ีท่ีต้องการ

แทน จำนวนข้อมลู ทัง้ หมด

3.7.2 สตู รการหาค่าเฉลย่ี (x̄ )

สูตร x̄ = ∑x
เมื่อ x̄

∑x
แทน คา่ เฉลี่ย
แทน ผลรวมของทงั้ หมด
แทน จำนวนขอ้ มลู

29

3.7.3 สตู รการหาคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D. Standard Deviation)

สูตร S.D. = √ ∑x2 ( ∑x2)
N(n−1)

เมอื่ S.D. แทน ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน

x แทน คะแนนแตล่ ะตัว

แทน จำนวนคะแนนในกลุ่ม

∑ แทน ผลรวม

28

บทที่ 4
ผลการดำเนนิ โครงการ

จากการดำเนินโครงการระบบเปิด - ปิดอัตโนมัติได้มีการติดตามประเมิน ผู้จัดทำมี
ผลดำเนนิ การวิเคราะห์ข้อมลู แปรความตามลำดบั ดงั นี้
4.1 ผลการดำเนนิ การ

ผลการดำเนินโครงการระบบเปิด – ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino จากการ
วิเคราะหข์ ้อมูลทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามทั้งหมด จำนวน 52 คน

ตารางที่ 4.1 แสดงจำนวนของผูต้ อบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ
เพศ จำนวน ร้อยละ
ชาย 9 17.3
หญิง 43 82.7
รวม 52 100

จากตารางที่ 4.1 พบว่าจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ ได้แก่ เพศชาย
จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 17.3 ของประชากรทั้งหมด เพศหญิง จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ
82.7

แผนภมู ิแสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม

ภาพ4.1 แผนภูมแิ สดงเพศของผตู้ อบแบบสอบถาม

29

ตารางที่ 4.2 แสดงจำนวนของผ้ตู อบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ

อายุ จำนวนคน ร้อยละ
15 - 16 ปี 43 82.7
17 - 18 ปี 9 17.3
19 - 20 ปี 0 0.00
52 100
รวม

จากตารางท่ี 4.2 พบว่าจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามอายุ ได้แก่ อายุ 15-16
ปี จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 82.7 ของประชากรท้ังหมด อายุ 17-18 ปี จำนวน 9 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 17.3 อายุ 19-20 ปี คิดเป็นรอ้ ยละ 0.00

แผนภูมแิ สดงอายุของผูต้ อบแบบสอบถาม

ภาพท่ี 4.2 แผนภูมิแสดงอายุของผตู้ อบแบบสอบถาม

30

ตารางท่ี 4.3 แสดงความพึงพอใจด้านการออกแบบชิ้นงาน

เรื่องการประเมิน สว่ นเบีย่ งเบน ระดบั ความพึง
คา่ เฉลี่ย มาตรฐาน พอใจ
มาก
1. ภาพรวมของชิน้ งานมีความสมบรู ณ์ 4.17 0.68 มาก
2. ชิน้ งานมีความสวยงามและนา่ สนใจ 4.33 0.68 มาก
3. การจัดวางสัดส่วนช้นิ งานมคี วามเหมาะสม 4.21 0.61
มาก
รวมทั้งสิ้น 4.23 1.97

จากตารางที่ 4.3 พบว่าความพึงพอใจด้านการออกแบบชิ้นงาน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก
(x̄ =4.23, SD=1.97) เม่ือพิจารณาพบว่าชิ้นงานมีความสวยงามและน่าสนใจอยู่ในระดับมาก
(x̄ =4.33, SD=0.68), การจัดวางสัดส่วนชิ้นงานมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (x̄ =4.21, SD=0.61)
และภาพรวมของชิ้นงานมีความสมบูรณ์อยู่ในระดบั มาก (x̄ =4.17, SD=0.68) ตามลำดบั

ภาพท่ี 4.3 แผนภูมิแสดงด้านการออกแบบชิน้ งาน

31

ตารางท่ี 4.4 แสดงความพึงพอใจดา้ นความสามารถในการทำงาน

เรือ่ งการประเมนิ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ระดบั ความพึงพอใจ
1. ความสามารถในการตรวจจับ 4.37 0.63 มาก
ความเคลอ่ื นไหว
2. ความสะดวกในการเคลื่อนย้าย 4.65 0.48 มากทส่ี ดุ
3. ความสามารถในการเปิด - ปิด 4.46 0.61 มาก
ถังขยะอตั โนมตั ิ
4.49 1.72 มาก
รวมทั้งส้นิ

จากตารางที่ 4.4 พบว่าความพึงพอใจด้านความสามารถในการทำงานในภาพรวมอยู่ใน
ระดับมาก (x̄ =4.49, SD=1.72) เม่ือพิจารณาพบว่าความสะดวกในการเคลื่อนย้ายอยู่ในระดับมาก
ท่ีสุด (x̄ =4.65, SD=0.48), ความสามารถในการเปิด – ปิดถังขยะอัตโนมัติอยู่ในระดับมาก
(x̄ =4.46, SD=0.61) และความสามารถในการตรวจจับความเคล่ือนไหวอยู่ในระดับมาก (x̄ =4.37,
SD=0.63) ตามลำดับ

ภาพที่ 4.4 แผนภูมแิ สดงด้านความสามารถในการทำงาน

32

ตารางท่ี 4.5 แสดงความพงึ พอใจด้านประสิทธิภาพและความปลอดภยั

เรอ่ื งการประเมิน ค่าเฉลีย่ สว่ นเบยี่ งเบน ระดบั ความพึงพอใจ
มาตรฐาน
1. ความคงทนของชน้ิ งาน 4.10 0.66 มาก
2. ความปลอดภยั ของแผงวงจร 4.23 0.61 มาก
3. ความแข็งแรงของอุปกรณ์ท่ีนำมาใช้ 4.27 0.72 มาก
4.20 1.99 มาก
รวมท้ังสนิ้

จากตารางที่ 4.5 พบวา่ ความพึงพอใจด้านประสิทธภิ าพและความปลอดภยั ในภาพรวมอยู่ใน
ระดับมาก (x̄ =4.20, SD=1.99), เมื่อพิจารณาพบว่าความแข็งแรงของอุปกรณ์ที่นำมาใช้อยู่ในระดับ
มาก (x̄ =4.27, SD=0.72), ความปลอดภัยของแผงวงจรอยู่ในระดับมาก (x̄ =4.23, SD=0.61) และ
ความคงทนของช้นิ งานอยใู่ นระดบั มาก (x̄ =4.10, SD=0.66) ตามลำดบั

ภาพท่ี 4.5 แผนภมู ิแสดงดา้ นประสิทธภิ าพและความปลอดภัย

33

ตารางท่ี 4.6 แสดงสถติ คิ วามพงึ พอใจของนกั เรียนระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพทมี่ ีต่อ

ระบบเปดิ - ปดิ ถงั ขยะอัตโนมัติ

เร่อื งประเมิน ค่าเฉลย่ี สว่ นเบยี่ งเบน ระดบั ความพึง

มาตรฐาน พอใจ

ดา้ นการออกแบชนิ้ งาน

1. ภาพรวมของช้นิ งานมคี วามสมบรู ณ์ 4.17 0.68 มาก

2. ชน้ิ งานมคี วามสวยงามและน่าสนใจ 4.33 0.68 มาก

3. การจดั วางสัดส่วนช้นิ งานมีความเหมาะสม 4.21 0.61 มาก

ด้านความสามารถในการทำงาน

1. ความสามารถในการตรวจจบั ความเคล่อื นไหว 4.37 0.63 มาก

2. ความสะดวกในการเคลื่อนย้าย 4.65 0.48 มากทสี่ ดุ

3. ความสามารถในการเปดิ - ปิดถังขยะอัตโนมัติ 4.46 0.61 มาก

ด้านประสทิ ธิภาพและความปลอดภยั

1. ความคงทนของช้นิ งาน 4.10 0.66 มาก

2. ความปลอดภยั ของแผงวงจร 4.23 0.61 มาก

3. ความแขง็ แรงของอปุ กรณ์ทนี่ ำมาใช้ 4.27 0.72 มาก

รวมท้ังส้ิน 4.31 5.68 มาก

จากตารางท่ี 4.6 พบว่าระดับความพึงพอใจของนักเรียนความพึงพอใจของนักเรียนระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพที่มีต่อระบบเปิด – ปิดถังขยะอัตโนมัติมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
(x̄ =4.31, SD=5.68), ด้านประสิทธภิ าพและความปลอดภัย (x̄ =4.20, SD=1.99), ดา้ นการออกแบบ
ชนิ้ งาน (x̄ =4.23, SD=1.97) และดา้ นความสามารถในการทำงาน (x̄ =4.49, SD=1.72) ตามลำดับ

34

ภาพท่ี 4.6 แผนภมู ิแสดงสถิติความพึงพอใจของนักเรยี นระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ที่มีตอ่ ระบบ
เปิด - ปิดถงั ขยะอตั โนมัติ

35

บทท่ี 5
สรปุ อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ

การดำเนินโครงการคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างระบบเปิด – ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วย
โปรแกรม Arduino คณะผู้จัดทำได้แบบสอบถามความพึงพอใจขึ้นมาเพ่ือศึกษาความพึงพอใจของ
นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคระยอง ท่ีมีต่อ
ระบบเปดิ – ปิดอัตโนมัติ

ในการประเมินผลคร้ังน้ีให้กลุ่มตัวอย่างประเมินจากการใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ เพ่ือใช้
ในการเก็บผลประเมิน ระบบเปิด – ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino และให้กลุ่มตัวอย่าง
ประเมินผลทำการประเมินผลการดำเนินโครงการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจเพ่ือใช้ในการ
ประเมินโครงการระบบเปิด – ปิดอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino และนำแบบประเมินที่ได้ไปหา
ประสทิ ธิภาพ โดยใช้ สูตร STDEV และหาค่าเฉลี่ย

5.1 สรปุ อภปิ รายผล
5.1.1 สถานภาพทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
จากการประเมิน โครงการ ได้สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจเพ่ือใช้งานในการ

ประเมินผลโครงการระบบเปิด – ปิดถังขยะอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino ผลท่ีได้คือ จำนวนร้อย
ละของผู้ตอบแบบประเมินจำแนกตามเพศ เพศชาย คิดเป็นร้อยละ 17.3 เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ
82.7 ของประชากรท้ังหมดจำนวนร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินจำแนกตามอายุ อายุ 15-16 ปี
คดิ เป็นร้อยละ 82.7 อายุ 17-18 ปี คดิ เปน็ ร้อยละ 17.3 อายุ 19-20 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.00

5.1.2 ความพงึ พอใจในดา้ นต่างๆ
จากการประเมินความพึงพอใจต่อการประเมินแบบสอบถามความพึงพอใจแบบเพ่ือใช้ในการ
เก็บผลโครงการระบบเปิด – ปิดอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Arduino พบว่าความคิดเห็นของผู้ประเมิน
กลุ่มตัวอย่างท่ีให้นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จำนวน 52 คน ผลที่ได้
คะแนนสูงสุดได้แก่

36

ดา้ นการออกแบบช้ินงาน ลำดับท่ี 1 ชิ้นงานมีความสวยงามและน่าสนใจ พบว่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ
4.33ลำดับที่ 2 การจัดวางสัดส่วนของชิ้นงานมีความเหมาะสม พบว่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.21 ลำดับที่ 3
ภาพรวมของชิ้นงานมีความสมบูรณ์ พบว่าค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.17 ด้านความสามารถในการทำงาน
ลำดับที่ 1 ความสะดวกในการเคล่ือนยา้ ย พบว่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.65 ลำดบั ที่ 2 ความสามารถในการ
เปิด – ปิดถังขยะอัตโนมัติ พบว่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.46 ลำดับที่ 3 ความสามารถในการตรวจจับความ
เคล่ือนไหว พบว่าค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.37 ด้านประสิทธิภาพและความปลอดภัย ลำดับท่ี 1 ความ
แข็งแรงของอุปกรณ์ท่ีนำมาใช้ พบว่าค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.27 ลำดับที่ 2 ความปลอดภัยของแผงวงจร
พบว่าคา่ เฉล่ียเทา่ กับ 4.23 ลำดบั ท่ี 3 ความคงทนของช้ินงาน พบว่าคา่ เฉลยี่ เทา่ กับ 4.10 รวมคะแนน
เฉลย่ี ท้ังหมดเท่ากบั 4.31 อยู่ในเกณฑม์ าก

5.2 ขอ้ เสนอแนะ
5.2.1 ข้อเสนอแนะจากการทำโครงการ
คณะผจู้ ัดทำควรจัดทำตารางทดลองบอกระยะการตรวจจับความเคล่ือนไหวและเพ่ิม
ขนาดของถงั ขยะรวมถึงประสิทธภิ าพการใช้งาน
5.2.2 ขอ้ เสนอแนะเพอื่ ทำโครงการตอ่ ไป
ทางคณะผู้จดั ทำมคี วามเหน็ ว่าควรจะใชอ้ ุปกรณท์ ี่มีประสิทธิภาพมากกว่านีเ้ พราะจะ
ทำให้ชน้ิ งานสามารถใชง้ านได้ระยะยาวข้ึน

บรรณานุกรม

การตอ่ ใช่งานโมดลู . URL : https://medium.com. [18 ธนั วาคม 2562].

ขยะอันตรายกวา่ ทีค่ ดิ . URL : http://www.pvHd36.com. [6 พฤศจกิ ายน 2562].

จดุ เด่นของบอร์ด Arduino เปน็ ทนี่ ิยม. URL : https://embeddedbblog.wordpress.com. [18
ธันวาคม 2562].

ตารางอ้างอิงประมาณคา่ สดั สว่ นของประชากร. URL : https://sites.gppgle.com.
[6 พฤศจิกายน 2562].

บอร์ดอาดูโน่. URL : https://en.wikipedia.org/ [18ธนั วาคม 2562].

รายงานประจำปกี รมควบคุมมลพิษ. URL : http://www.pcd.qo.thlpublic.com.
[8 พฤศจกิ ายน 2562].

รปู แบบการเขียนโปรแกรม Arduino. URL : https://embeddedbblog.wordpress.com.
[18 ธันวาคม 2562].

สถานการณม์ ลพิษไทยตลอดปี มีขยะมากข้นึ . URL :http://www.thaihealth.or.yh.com. [6
พฤศจิกายน 2562].

สายจมั้ เปอร์. URL : https://guru.sanook.com. [19 ธันวาคม 2562].

หลกั การทำงานของ Servo Tower. URL : https://robotsiam.blogspot.com/2016/09
/micro-servo-tower-pro- sg90-sensor.html. [19 ธนั วาคม 2562].

เซนเซอร์ตรวจจบั ความเคลื่อนไหว. URL : http://application-with-embedded-
linux.blogot./2010/12/motion-sensor.html. [18 ธนั วาคม 2562].

โปรแกรมอาดโู น่(Arduino). URL : http://www.myarduino.com. [9 ธนั วาคม 2562].

ภาคผนวก ก
แบบเสนอขออนมุ ัติโครงการ













37

ภาคผนวก ข
คูม่ อื การใช้งาน

38

ภาพที่ ข.1 แสดงคมู่ ือประกอบการใชง้ าน


Click to View FlipBook Version