The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นิเทศ ติดตามพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3-21 กรกฏาคม 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phuree.th, 2023-08-20 04:13:27

รายงานนิเทศ

นิเทศ ติดตามพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3-21 กรกฏาคม 2566

Keywords: นิเทศ

รายงานการนิเทศ ติดตาม พัฒนาคุณภาพการศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต โดย นางอุมาวรรณ ตะวัน ศึกษานิเทศก์ชำ นาญการพิเศษ นางภูรี ทองย่น ศึกษานิเทศก์ชำ นาญการ ระหว่างวันที่ 3 - 21 กรกฎาคม 2566 เครือข่ายภักดีภูธร


ก ค ำน ำ การนิเทศการศึกษา เปนกระบวนการหนึ่งที่ใชเป็นแนวทางในการปรับปรุงการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนใหบรรลุวัตถุประสงค หลักการสําคัญของการนิเทศคือ ความทั่วถึงความ ต่อเนื่องและนิเทศอยางมีคุณภาพ โดยคาดหวังวาโรงเรียนทุกโรงเรียนไดรับการพัฒนาเต็มศักยภาพ ครูและบุคลากรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนจากการสอนเนื้อหาเปนการสอน ใหเกิดการเรียนรู ให้นักเรียนมีคุณภาพ ดังนั้น การนิเทศ ติดตาม เป็นกระบวนการ ที่สําคัญที่ช่วยให้การจัดการศึกษา ของโรงเรียน การจัดการเรียนการสอนของครู พัฒนาสู่ผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จึงจัดทําโครงการนิเทศบูรณาการ โดยใช้พื้นที่เป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และหน่วยศึกษานิเทศก์ สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ดําเนินการนิเทศการศึกษา ตามแนวทางการนิเทศวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ ใช้พื้นที่เป็นฐาน ใช้นวัตกรรมในการขับเคลื่อน โดยนิเทศ กํากับ ติดตามในประเด็นการนิเทศเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของการนิเทศภายในสถานศึกษา การนิเทศในชั้นเรียน การนิเทศการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การนิเทศเพื่อบูรณาการ แหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์การนิเทศกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา และ การนิเทศตามนโยบายและจุดเน้น ได้กําหนดให้ออกนิเทศ ติดตาม ติดตามพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระหว่างวันที่ 3 – 21 กรกฎาคม ๒๕๖๖ เพื่อให้คําปรึกษา แนะนํา ช่วยเหลือ ส่งเสริม การจัดการเรียน ตามประเด็นการนิเทศอย่างมีคุณภาพ โดยมอบหมายคณะศึกษานิเทศก์ ดําเนินการ นิเทศ ติดตามเครือข่ายสถานศึกษา 8 กลุ่มเครือข่าย ซึ่งรวมถึงเครือข่ายภักดีภูธร คณะนิเทศ ติดตาม หวังว่าการนิเทศ ติดตามในครั้งนี้ จะได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์และ นําข้อมูลจากการนิเทศไปพัฒนาต่อยอดการจัดการเรียนการสอนต่อไป กลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต


ข สารบัญ หน้า ค าน า.......................................................……………………………………………………………………………. ก สารบัญ…………………………………………………………………………………………………………………………... ข ส่วนที่ 1 ความเป็นมาและความส าคัญ.................................................................................... 1 ความเป็นมาและความส าคัญ……………………………………….......................................... 1 วัตถุประสงค์................................................................................................................ 2 เป้าหมาย..................................................................................................................... 2 ประเด็นการนิเทศ........................................................................................................ 2 ระยะเวลาการด าเนินการ............................................................................................ 2 ส่วนที่ 2 วิธีด าเนินงานการ……………………………………………………………………..…………………… 3 การด าเนินงาน………………………………………………………………………............................. 3 เครื่องมือนิเทศ............................................................................................................ 3 ก าหนดการนิเทศ........................................................................................................ 4 คณะผู้นิเทศ………………………………………………………………………………….……………….. 4 ส่วนที่ 3 ผลการนิเทศ………………………………………………………………………………………………….. 5 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของการนิเทศภายในสถานศึกษา…….……………………….. 5 ผลการด าเนินการจัดการเรียนรู้เชิงรุก....................…………………………………………….. 6 การนิเทศเพื่อบูรณาการแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ประเด็นประวัติศาสตร์ 8 ผลการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง คุณธรรมจริยธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566................................................................………….. 10 ผลการนิเทศชั้นเรียนโรงเรียนหงษ์หยกบ ารุง........……………………………………..……….. 13 ผลการนิเทศชั้นเรียนโรงเรียนท่าฉัตรไชย...……….……………………………………………….. 15 ผลการนิเทศชั้นเรียนโรงเรียนวัดมงคลวราราม........……….……….………………………….. 18 ผลการนิเทศชั้นเรียนโรงเรียนบ้านคอเอน..……….……………………………………………….. 20 ผลการนิเทศชั้นเรียนโรงเรียนบ้านหมากปรก…….……………………………………………….. 22 ผลการนิเทศชั้นเรียนโรงเรียนบ้านไม้ขาว..…….….……………………………………………….. 24 ผลการนิเทศชั้นเรียนโรงเรียนบ้านสาคู......……….……………………………………………….. 28 ผลการนิเทศชั้นเรียนโรงเรียนบ้านในทอน.……….……………………………………………….. 30 จุดเด่นในภาพรวมจากการนิเทศ ติดตาม.………………………………………………………….. 32 ข้อเสนอแนะ...........................................................…………………………………………….. 32 การน าผลการนิเทศ ติดตามไปใช้พัฒนา.................…………………………………………….. 32 ภาคผนวก ภาพการนิเทศ สมุดนิเทศ ส าเนาหนังสือราชการ ค าสั่ง โครงการ ปฏิทินการนิเทศ เครื่องมือการนิเทศ


ส่วนที่ 1 ความเป็นมาและความส าคัญของการนิเทศ การศึกษาเป็นเครื่องมือส าคัญในการสร้างคน สร้างสังคม และสร้างชาติ เป็นกลไกหลัก ในการพัฒนาก าลังคนให้มีคุณภาพ สามารถด ารงชีวิตอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข และในกระแสการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกศตวรรษที่ 21 การศึกษามีบทบาทส าคัญ ในการ สร้างความได้เปรียบของประเทศเพื่อการแข่งขันและยืนหยัดในเวทีโลกภายใต้ระบบเศรษฐกิจและ สังคมที่เป็นพลวัต ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกจึงให้ความส าคัญและทุ่มเทกับการพัฒนาการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของตนให้สามารถ ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ และสังคม ของประเทศ ภูมิภาค และของโลก ควบคู่กับการธ ารงรักษาอัตลักษณ์ของประเทศ ในส่วนของ ประเทศไทยได้ให้ความส าคัญกับการจัดการศึกษา การพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของคน ไทยให้มีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒน าประเทศ ภายใต้แรงกดดันภายนอกจากกระแสโลกาภิวัตน์ และแรงกดดัน ภายในประเทศที่เป็นปัญหาวิกฤตที่ประเทศต้องเผชิญ เพื่อให้คนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีสังคมไทย เป็นสังคมคุณธรรม จริยธรรม และประเทศสามารถก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ ประเทศที่พัฒนาแล้ว รองรับการเปลี่ยนแปลงของโลกทั้งในปัจจุบันและอนาคต โดยการเปลี่ยนแปลง ที่ส าคัญและส่งผลกระทบต่อระบบการศึกษา ระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย เพื่อให้การศึกษามีคุณภาพอย่างแท้จริง การนิเทศการศึกษา เปนกระบวนการหนึ่งใชเป็น แนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอนใหบรรลุวัตถุประสงค หลักการส าคัญของการนิเทศ คือ ความทั่วถึงความต่อเนื่องและนิเทศอยางมีคุณภาพโดยคาดหวังวาโรงเรียนทุกโรงเรียนไดรับ การพัฒนาเต็มศักยภาพ ครูและบุคลากรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอน จากการสอนเนื้อหาเปน การสอน ใหเกิดการเรียนรูและนักเรียนมีคุณภาพ การนิเทศการศึกษา หมายถึง การให้ค าปรึกษา แนะน า ส่งเสริม สนับสนุนเพื่อปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการศึกษา ดังนั้น การนิเทศ ติดตาม เป็นกระบวนการที่ส าคัญที่ช่วยให้การจัดการศึกษาของโรงเรียน การจัดการเรียนการสอนของครู พัฒนาสู่ผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จึงจัดท าโครงการนิเทศบูรณาการ โดยใช้พื้นที่เป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และหน่วยศึกษานิเทศก์ ส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ด าเนินการนิเทศการศึกษา ตามแนวทางการนิเทศวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ ใช้พื้นที่เป็นฐาน ใช้นวัตกรรมในการขับเคลื่อน โดยนิเทศ ก ากับ ติดตามในประเด็นการนิเทศเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของการนิเทศภายในสถานศึกษา การนิเทศในชั้นเรียน การนิเทศการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การนิเทศเพื่อบูรณาการ แหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์การนิเทศกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา และการ นิเทศตามนโยบายและจุดเน้น


๒ ดังนั้น ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ออกนิเทศติดตามพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ระหว่างวันที่ 3 – 21 กรกฎาคม ๒๕๖๖ เพื่อให้ค าปรึกษา แนะน า ช่วยเหลือ ส่งเสริม การจัดการเรียน ตามประเด็นการนิเทศอย่างมีคุณภาพ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ค าปรึกษา แนะน า ช่วยเหลือ ส่งเสริม การจัดการเรียนการสอนในประเด็นการนิเทศ การนิเทศเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของการนิเทศภายในสถานศึกษา การนิเทศการจัดการเรียนรู้ เชิงรุก (Active Learning) การนิเทศเพื่อบูรณาการแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ประเด็น ประวัติศาสตร์การนิเทศการสอน โรงเรียนในเครือข่ายภักดีภูธร ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาภูเก็ต เป้าหมาย เชิงปริมาณ โรงเรียนในเครือข่ายภักดีภูธร ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จ านวน 8 โรงเรียนได้แก่ โรงเรียนหงษ์หยกบ ารุง โรงเรียนท่าฉัตรไชย โรงเรียนบ้านคอเอน โรงเรียน บ้านหมากปรก โรงเรียนวัดมงคลวราราม โรงเรียนบ้านไม้ขาว โรงเรียนบ้านในทอน และโรงเรียน บ้านสาคู เชิงคุณภาพ . โรงเรียนในเครือข่ายภักดีภูธร ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ด าเนินการ ในประเด็นการนิเทศ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของการนิเทศภายในสถานศึกษา การนิเทศการ จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การนิเทศเพื่อบูรณาการแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ ประเด็นประวัติศาสตร์การนิเทศการสอน อย่างมีคุณภาพ ประเด็นการนิเทศ การจัดการเรียนการสอนในประเด็นการนิเทศ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของการนิเทศ ภายในสถานศึกษา การนิเทศการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การนิเทศเพื่อบูรณาการ แหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ประเด็นประวัติศาสตร์การนิเทศการสอน ระยะเวลาด าเนินการ 3 – 21 กรกฎาคม ๒๕๖๖


๓ ส่วนที่ 2 วิธีด าเนินการ การนิเทศ ติดตาม พัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนเครือข่ายภักดีภูธร สังกัดส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ซึ่งออกนิเทศติดตาม ระหว่างวันที่ 3 – 21 กรกฎาคม ๒๕๖๖ เพื่อให้ค าปรึกษา แนะน า ช่วยเหลือ ส่งเสริม การด าเนินการตามประเด็นนิเทศ และการจัดการเรียน การสอนสอนอย่างมีคุณภาพ มีวิธีการด าเนินการดังนี้ การด าเนินงาน การนิเทศ ติดตาม พัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนเครือข่ายภักดีภูธร สังกัดส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ซึ่งออกนิเทศติดตาม ระหว่างวันที่ 3 – 21 กรกฎาคม ๒๕๖๖ มีการด าเนินงานต่อไปนี้ ๑. ประชุมวางแผนการด าเนินการ ในวันที่ 12 มิถุนายน 2566 เวลา 08.30 – 16.30 น. ณ ห้องประชุมพุดภูเก็ต ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต 2. ด าเนินการแต่งตั้งคณะนิเทศ ติดตาม ตามค าสั่ง ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาภูเก็ต ที่ 217 /256๖ เรื่องแต่งตั้งคณะนิเทศ ติดตามพัฒนาคุณภาพการศึกษา ลงวันที่ 26 มิถุนายน ๒๕๖๖ 3. จัดท าแบบนิเทศ ติดตามพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในประเด็นการนิเทศประเด็นการนิเทศ การนิเทศเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของการนิเทศภายในสถานศึกษา การนิเทศการจัดการเรียนรู้ เชิงรุก (Active Learning) การนิเทศเพื่อบูรณาการแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ประเด็น ประวัติศาสตร์การนิเทศการสอน 4. ออกนิเทศ ติดตามพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระหว่างวันที่ 3 – 21 กรกฎาคม ๒๕๖๖ ๕. รายงานผลเป็นรูปเล่ม ๖. น าผลการนิเทศติดตามไปพัฒนาต่อยอดการนิเทศติดตามครั้งต่อไป เครื่องมือนิเทศ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จัดท าแบบนิเทศแบบนิเทศติดตาม พัฒนาคุณภาพการศึกษาในประเด็นการนิเทศ การนิเทศประเด็นการนิเทศการนิเทศเพื่อเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของการนิเทศภายในสถานศึกษา การนิเทศการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การนิเทศเพื่อบูรณาการแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ประเด็นประวัติศาสตร์การนิเทศ การสอน เพื่อใช้ในการนิเทศติดตาม โรงเรียนในเครือข่ายภักดีภู ธร จ าน วน 8 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนหงษ์หยกบ ารุง โรงเรียนท่าฉัตรไชย โรงเรียนบ้านคอเอน โรงเรียนบ้านหมากปรก โรงเรียนบ้านไม้ขาว โรงเรียนวัดมงคลวราราม โรงเรียนบ้านในทอน และโรงเรียนบ้านสาคู


๔ ก าหนดการนิเทศ วันที่ 12 กรกฎาคม 2566 โรงเรียนหงษ์หยกบ ารุง 08.00 – 12.0๐ น. โรงเรียนท่าฉัตรไชย 10.00 - 12.00 น. โรงเรียนวัดมงคลวราราม 13.00 – 16.30 น. วันที่ 13 กรกฎาคม 2566 โรงเรียนบ้านคอเอน 08.00 – 12.0๐ น. โรงเรียนบ้านหมากปรก 10.00 - 12.00 น. โรงเรียนบ้านไม้ขาว 13.00 – 16.30 น. วันที่ 18 กรกฎาคม ๒๕๖๖ โรงเรียนบ้านในทอน 08.00 – 12.0๐ น. โรงเรียนบ้านสาคู 13.00 – 16.30 น. ผู้นิเทศ นางมาลัยพร รัตนดิลก ณ ภูเก็ต ผู้อ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล นางอุมาวรรณ ตะวัน ศึกษานิเทศก์ นางภูรี ทองย่น ศึกษานิเทศก์


๕ ส่วนที่ 3 ผลการนิเทศ การนิเทศติดตาม พัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามแนวทาง การนิเทศวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ ใช้พื้นที่เป็นฐานใช้นวัตกรรมในการขับเคลื่อน โรงเรียนเครือข่ายภักดีภูธร สังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ซึ่งออกนิเทศติดตามในระหว่างวันที่ ระหว่างวันที่ 13 – 20 กรกฎาคม ๒๕๖๖ ปรากฏผลการนิเทศดังนี้ปรากฏผลการนิเทศดังนี้ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของการนิเทศภายในสถานศึกษา ผลการนิเทศเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของการนิเทศภายในสถานศึกษา สามารถแสดง ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ผลการนิเทศเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของการนิเทศภายในสถานศึกษา โรงเรียนในเครือข่ายภักดีภูธร ข้อ การด าเนินงาน การนิเทศภายใน สถานศึกษา ผลการด าเนินงาน ร.ร.หงษ์หยกบ ารุง ร.ร.ท่าฉัตรไชย ร.ร.วัดมงคลวราราม ร.ร.บ้านคอเอน ร.ร.บ้านหมากปรก ร.ร.บ้านไม้ขาว ร.ร.บ้านในทอน ร.ร.บ้านสาคู รวม ร้อยละ 1 โรงเรียนมีการประชุมวางแผนการ ด าเนินงาน มี มี มี มี มี มี มี มี 8 100 2 โรงเรียนมีแผนงาน/โครงการนิเทศภายใน มี มี มี มี มี มี มี มี 8 100 3 โรงเรียนด าเนินงานเป็นตามล าดับขั้นตอน มี มี มี มี มี มี มี มี 8 100 4 โรงเรียนมีค าสั่งนิเทศภายใน มี มี มี มี มี มี มี มี 8 100 5 โรงเรียนมีแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best Practice) ในการพัฒนางาน มี มี มี มี มี มี มี มี 8 100 6 โรงเรียนมีหลักฐานชัดเจนในการปฏิบัติงาน มี มี มี มี มี มี มี มี 8 100 7 ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วม ในการพัฒนางาน มี มี มี มี มี มี มี มี 8 100 8 คณะครู มีการท า PLC เพื่อยกระดับคุณภาพ ของงาน มี มี มี มี มี มี มี มี 8 100 9 นักเรียนมีคุณภาพปรากฏผลชัดเจน มี มี มี มี มี มี มี มี 8 100 10 โรงเรียนมีการสรุปผลการนิเทศเพื่อปรับปรุง มี มี มี มี มี มี มี มี 8 100


๖ ข้อ การด าเนินงาน การนิเทศภายใน สถานศึกษา ผลการด าเนินงาน ร.ร.หงษ์หยกบ ารุง ร.ร.ท่าฉัตรไชย ร.ร.วัดมงคลวราราม ร.ร.บ้านคอเอน ร.ร.บ้านหมากปรก ร.ร.บ้านไม้ขาว ร.ร.บ้านในทอน ร.ร.บ้านสาคู รวม ร้อยละ พัฒนาต่อยอดในภาคเรียนต่อไป รวม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ 80 100 ร้อยละ 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 จากตารางที่ ๑ พบว่า ผลการด าเนินงานการนิเทศภายในสถานศึกษา โรงเรียนในเครือข่าย ภักดีภูธร ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำภูเก็ต โดยภาพรวมอยู่ในระดับร้อยละ 100 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า โรงเรียนมีการประชุมวางแผนการด าเนินงานโรงเรียน มีแผนงาน/โครงการนิเทศภายใน โรงเรียนด าเนินงานเป็นตามล าดับขั้นตอนโรงเรียนมีค าสั่งนิเทศ ภายใน โรงเรียนมีแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best Practice)ในการพัฒนางาน โรงเรียนมีหลักฐานชัดเจน ในการปฏิบัติงาน ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วม ในการพัฒนางาน คณะครู มีการท า PLC เพื่อยกระดับคุณภาพของงานนักเรียนมีคุณภาพปรากฏผลชัดเจนโรงเรียนมีการสรุปผลการนิเทศ เพื่อปรับปรุงพัฒนาต่อยอดในภาคเรียนต่อไป มีการด าเนินการทุกโรงเรียน ร้อยละ 100 ผลการด าเนินการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลการด าเนินการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โรงเรียน ในเครือข่ายภักดีภูธร ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต สามารถแสดงได้ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ผลการด าเนินการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โรงเรียนในเครือข่าย ภักดีภูธร ส านักงานเขตพืนนที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ข้อ รายการ ผลการด าเนินงาน ร.ร.หงษ์หยกบ ารุง ร.ร.ท่าฉัตรไชย ร.ร.วัดมงคลวราราม ร.ร.บ้านคอเอน ร.ร.บ้านหมากปรก ร.ร.บ้านไม้ขาว ร.ร.บ้านในทอน ร.ร.บ้านสาคู เฉลี่ย 1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับ แผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก 5 5 5 5 5 5 5 5 5


๗ ข้อ รายการ ผลการด าเนินงาน ร.ร.หงษ์หยกบ ารุง ร.ร.ท่าฉัตรไชย ร.ร.วัดมงคลวราราม ร.ร.บ้านคอเอน ร.ร.บ้านหมากปรก ร.ร.บ้านไม้ขาว ร.ร.บ้านในทอน ร.ร.บ้านสาคู เฉลี่ย 2 จัด กิ จ ก ร รม ก า รเรียน รู้ที่ พั ฒ น า ศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา และการน าความรู้ไป ประยุกต์ใช้ 5 4 5 5 5 5 5 5 5 3 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ จากความ รู้พื้นฐ านและ ก ารจัด กระบวนการเรียนรู้ด้วนตนเอง สร้าง องค์ความรู้ และสามารถคิดรวบยอด ได้ 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนก าร เรียนรู้ ทั้งในด้านการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ร่วมมือ กันมากกว่าการแข่งขัน 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเรียนรู้เรื่องความ รับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการ ท างาน 5 5 5 5 5 5 5 5 5 6 จัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ทักษะการคิดขั้นสูง 4 4 5 5 5 4 4 4 5 7 จัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียน บู รณ าก า รข้อ มู ล ข่ าวส า ร ห รือ สารสนเทศ สามารถสืบค้นข้อมูลด้วย ตนเอง 5 4 5 5 5 5 5 5 5 8 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด ของตนเองอย่างมีเหตุมีผล มีโอกาส ร่วมอภิปราย และน าเสนอผลงาน 5 5 5 5 5 5 5 5 5 9 จัดกิจกรรมให้ผู้สอนสาม ารถเป็น ผู้อ านวยความสะดวกในการจัดการ เรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วย ตนเอง 5 5 5 5 5 5 5 5 5 10 จั ด กิ จ ก ร ร ม โด ย มี ก า ร วั ด แ ล ะ ประเมินผลที่หลากหลาย 5 4 5 4 4 5 4 4 4


๘ ข้อ รายการ ผลการด าเนินงาน ร.ร.หงษ์หยกบ ารุง ร.ร.ท่าฉัตรไชย ร.ร.วัดมงคลวราราม ร.ร.บ้านคอเอน ร.ร.บ้านหมากปรก ร.ร.บ้านไม้ขาว ร.ร.บ้านในทอน ร.ร.บ้านสาคู เฉลี่ย รวมคะแนน 49 46 50 49 49 49 48 48 49 รวมคะแนนทันงหมด 388 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 97.00 จากตารางที่ 2 พบว่า ผลกำรด ำเนินกำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โรงเรียน ในเครือข่ำยภักดีภูธร ส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำภูเก็ต โดยภาพรวมอยู่ในระดับร้อยละ 97.00 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า โรงเรียนวัดมงคลวราราม มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (.......50........) รองลงมาคือ โรงเรียนหงษ์หยกบ ารุง โรงเรียนบ้านคอเอน โรงเรียนบ้านหมากปรก โรงเรียนบ้าน ไม้ขาว(.....49.....) และ โรงเรียนบ้านสาคู และโรงเรียนบ้านในทอน (..48.....) ส่วนโรงเรียนท่าฉัตรไชย มีค่าเฉลี่ยต่ าที่สุด (...46.....) การนิเทศเพื่อบูรณาการแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ประเด็นประวัติศาสตร์ ผลด าเนินงานแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นกับหลักสูตรสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลด าเนินงานแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นกับหลักสูตรสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนในเครือข่ายภักดีภูธร ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต สามารถแสดงได้ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ผลด าเนินงานแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นกับหลักสูตรสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนในเครือข่ายภักดีภูธร ส านักงานเขตพืนนที่การศึกษา ประถมศึกษาภูเก็ต


๙ ข้อ รายการ ผลการด าเนินงาน รวม ร้อยละ ร.ร.หงษ์หยกบ ารุง ร.ร.ท่าฉัตรไชย ร.ร.วัดมงคลวราราม ร.ร.บ้านคอเอน ร.ร.บ้านหมากปรก ร.ร.บ้านไม้ขาว ร.ร.บ้านในทอน ร.ร.บ้านสาคู ค่าเฉลี่ย 1. โรงเรียนมีข้อมูลแหล่งเรียนรู้ ท้องถิ่นที่เป็นรูปเล่มสมบูรณ์ โดยผ่านความเห็นชอบ อนุมัติจากคณะกรรมการ สถานศึกษา มี มี มี มี มี มี มี มี มี 8 100 2. ผู้บริหารครูและบุคลากรทุก คนในโรงเรียนร่วมกันจัดท า แห ล่งเรียน รู้ท้ องถิ่น กั บ หลักสูตรสถานศึกษา มี มี มี มี มี มี มี มี มี 8 100 3. มีการระบุรายละเอียดของ แหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นอย่าง ชัดเจน มี มี มี มี มี มี มี มี มี 8 100 4. มีการบูรณาการแหล่งเรียนรู้ ท้องถิ่นในระดับการศึกษา ปฐมวัยและระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 8 100 4.1 บูรณาการในหน่วยการ จัดประสบการณ์ปฐมวัย มี มี ไม่มี มี มี มี มี มี มี 4.2 บูรณาการในรายวิชา กลุ่มสาระ 8 สาระ มี มี มี มี มี มี มี มี มี 4.3 บูรณาการในกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน มี มี มี มี มี มี มี มี มี 5. มีความสอดคล้องตาม มาตรฐานคุณลักษณะ ดังนี้ 5.1 คุณลักษณะที่พึง ประสงค์การศึกษาปฐมวัย มี มี ไม่มี มี มี มี มี มี มี 5.2คุณลักษณะอันพึง ประสงค์การศึกษาขั้น พื้นฐาน มี มี มี มี มี มี มี มี มี


๑๐ ข้อ รายการ ผลการด าเนินงาน รวม ร้อยละ ร.ร.หงษ์หยกบ ารุง ร.ร.ท่าฉัตรไชย ร.ร.วัดมงคลวราราม ร.ร.บ้านคอเอน ร.ร.บ้านหมากปรก ร.ร.บ้านไม้ขาว ร.ร.บ้านในทอน ร.ร.บ้านสาคู ค่าเฉลี่ย 6. มีการน าแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่น มาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในระดับชั้น ดังนี้ 8 100 6.1 ระดับการศึกษาปฐมวัย มี มี ไม่มี มี มี มี มี มี มี 6.2 ระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน มี มี มี มี มี มี มี มี มี รวม 6 6 6 6 6 6 6 6 8 100 ร้อยละ 100 100 100 100 100 100 100 100 100 จากตารางที่ 3 พบว่า ผลกำรด าเนินงานแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นกับหลักสูตรสถานศึกษา ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนในเครือข่ายภักดีภูธร ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ภูเก็ตโดยภาพรวมอยู่ในระดับร้อยละ.....100...................................... เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ทุกโรงเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (......100........) ผลการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์หน้าที่พลเมือง คุณธรรมจริยธรรม ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ผลการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์หน้าที่พลเมือง คุณธรรมจริยธรรม ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ โรงเรียนในเครือข่ายภักดีภูธร ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต สามารถแสดงได้ดังตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ผลการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์หน้าที่พลเมือง คุณธรรมจริยธรรม ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ โรงเรียนในเครือข่ายภักดีภูธร ส านักงานเขตพืนนที่ การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต


๑๑ ข้อ รายการ ผลการด าเนินงาน รวม ร้อยละ ร.ร.หงษ์หยกบ ารุง ร.ร.ท่าฉัตรไชย ร.ร.วัดมงคลวราราม ร.ร.บ้านคอเอน ร.ร.บ้านหมากปรก ร.ร.บ้านไม้ขาว ร.ร.บ้านในทอน ร.ร.บ้านสาคู ค่าเฉลี่ย ด้านการบริหารจัดการ 1 ด้านการบริหารจัดการใน สถานศึกษา ๑.๑ มีนโยบายส่งเสริม การสอนประวัติศาสตร์ บูรณาการแหล่งเรียนรู้ ท้องถิ่น ๑.๒ มีหลักสูตร ประวัติศาสตร์ ๑.๓ มีนโยบายจัดหา แหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ 8 100 ด้านการจัดการห้องเรียน 2 ด้านการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ ๒.๑ ครูมีแผนการจัดการ เรียนรู้ประวัติศาสตร์ ๒.๒ ครูมีการบูรณาการ สอนแหล่งเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นกับ วิชาอื่น ๆ ๒.๓ ครูจัดท าโครงงาน ประวัติศาสตร์ ๒.๔ น านักเรียนออกนอก ห้องเรียนศึกษาแหล่ง เรียนรู้ประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ 8 100


๑๒ ข้อ รายการ ผลการด าเนินงาน รวม ร้อยละ ร.ร.หงษ์หยกบ ารุง ร.ร.ท่าฉัตรไชย ร.ร.วัดมงคลวราราม ร.ร.บ้านคอเอน ร.ร.บ้านหมากปรก ร.ร.บ้านไม้ขาว ร.ร.บ้านในทอน ร.ร.บ้านสาคู ค่าเฉลี่ย 3 ด้านครูผู้สอน ๓.๑ ครูมีการสร้าง นวัตกรรมการสอนที่ครู พัฒนาขึ้น ๓.๒ ครูเข้าร่วมการ พัฒนาครูประวัติศาสตร์ ผ่านระบบออนไลน์หรือ On Site ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ 8 100 4 ด้านนักเรียน ๔.๑ นักเรียนเข้าใจและ สื่อสารแหล่งเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นได้ ๔.๒ นักเรียนมีส่วนร่วม และปฏิสัมพันธ์กับชุมชน ๔.๓ นักเรียนได้รับทักษะ ที่จ าเป็นและสามารถน า กลับมาใช้ได้ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ 8 100 5 ด้านสื่อการเรียนรู้ ๕.๑ มีการจัดท า และ จัดหา มีสื่อการเรียนรู้ ๕.๒ มีการด าเนินการ จัดหาแหล่งเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ๕.๓ มีท าเนียบแหล่ง เรียนรู้ประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ 8 100 รวม 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 100 ร้อยละ 100 100 100 100 100 100 100 100 100 8 100


๑๓ จากตารางที่ 3 พบว่า ผลการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์หน้าที่พลเมือง คุณธรรม จริยธรรม ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ โรงเรียนในเครือข่ายภักดีภูธร ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ตโดยภาพรวมอยู่ในระดับร้อยละ........100.................... เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ทุกโรงเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (......100........) ผลการนิเทศขันนเรียน โรงเรียนหงษ์หยกบ ารุง วันที่.......12...........เดือน.......กรกฎาคม.............พ.ศ........2566............ ผู้รับการนิเทศ.......นางสาวเสาวรส สวยสุน...................วิชา............ประวัติศาสตร์....................... เรื่อง........สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทย..............................จ านวน...........1...............ชั่วโมง ********************************************************* ขันนน าเข้าสู่บทเรียน 1. นักเรียนดูภาพกษัตริย์และตอบว่าเป็นกษัตริย์อยู่ในสมัยใด ภาพที่ 1 พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ (สมัยสุโขทัย) ภาพที่ 2 พระเจ้าอู่ทอง (สมัยอยุธยา) ภาพที่ 3 พระเจ้าตากสิน (สมัยธนบุรี) ภาพที่ 4 รัชกาลที่ 1 – รัชกาลที่ 10 (สมัยรัตนโกสินทร์) 2. ถามค าถามนักเรียน ค าถามที่ 1 ก่อนพัฒนาเป็นสมัยสุโขทัย ประเทศไทยเป็นดินแดนแบบไหนมาก่อน (ตอบ ชุมชนโบราณ แคว้นโบราณ รัฐโบราณ อาณาจักรโบราณต่าง ๆ) ขันนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. นักเรียนนั่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน 2. ครูอธิบายถึงอาณาจักรโบราณ โดยใช้ Power Point 3. ให้นักเรียนเล่นกิจกรรมไขปริศนาประวัติศาสตร์จากภาพถ่าย โดยครูจะแสดงภาพถ่าย หลักฐานของแต่ละอาณาจักร จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันตอบ 4. เมื่อตอบครบทุกภาพแล้ว ครูน ากิจกรรมต่อไป 5. ครูแจกใบกิจกรรมตอบค าถาม กิจกรรม ล่า ท้า ชน ให้กลุ่มละ 1 แผ่น และตั้งชื่อกลุ่ม เขียนลงในใบกิจกรรม 6. อธิบายการเล่นกิจกรรม ล่า ท้า ชน ให้แต่ละกลุ่มท ากิจกรรม ประมาณ 15 นาที ขันนสรุป 1. เมื่อหมดเวลา ให้นักเรียนนั่งประจ ากลุ่ม ร่วมเฉลยค าตอบ กลุ่มไหนตอบถูกเยอะที่สุด จะ ได้รับของรางวัล 2. ร่วมสรุปด้วยการถามค าถามนักเรียน ดังนี้


๑๔ อาณาจักรโบราณมีผลต่อการพัฒนาประเทศไทยในปัจจุบันหรือไม่อย่างไร (ทุกอาณาจักร โบราณจะมีการสร้างอารยธรรม วัฒนธรรมต่าง ๆ ไว้ ซึ่งเป็นรากฐานของประเทศไทยใน ปัจจุบัน) ผลการนิเทศการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ครบถ้วนตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ 2. ครูก าหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ที่สามารถวัดและประเมินผลได้ภายในคาบเรียน 3. ครูออกแบบกิจกรรมเรียนรู้เน้นการเรียนแบบ Active Learning ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ เรียน เน้นทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน เน้นการสร้างองค์ความรู้ และนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง 4. กระบวนการวัดและประเมินผล เป็นการประเมินผู้เรียนระหว่างเรียน เน้นการประเมิน เพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการนิเทศการสอนแบบการจัดการเรียนรู้ (Active Learning) (สังเกตการสอนของครู) 1. ครูผู้สอนมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียน 2. ครูมีการเตรียมการสอน มีสื่อประกอบการสอนที่หลากหลาย ลักษณะของสื่อเหมาะสม ตามวัยของผู้เรียน 3. ครูให้ความสนใจ ดูแลนักเรียนอย่างทั่วถึง มีการใช้ค าถามกระตุ้น ยั่วยุให้ผู้เรียนสนใจ ตลอดเวลา และแนะน าเพิ่มเติม 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น 5. ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6. ครูสร้างขวัญและก าลังใจ ให้ค าชื่นชม สร้างพลังบวกนักเรียนเป็นอย่างดี ผลการนิเทศการจัดบรรยากาศในชันนเรียน 1. สภาพทางกายภาพของห้องเรียนมีความเหมาะสม ทั้งขนาดของห้อง แสง สี ระดับเสียง ของครู กระตุ้นการเรียนของผู้เรียนได้ดี 2. ครูมีการสร้างความสนใจก่อนเรียน ระหว่างเรียน และติดตามให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ให้เสร็จทันเวลา 3. บรรยากาศระหว่างครู เพื่อนนักเรียน มีการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน 4. นักเรียนให้ความร่วมมือในการน าเสนอความรู้ของครู และสนใจปฏิบัติกิจกรรมเมื่อครู มอบหมาย โดยมีครูกระตุ้นเป็นระยะ 5. นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น โดยมีครูให้ก าลังใจ ให้ค าชื่นชม และมีเพื่อนนักเรียน ปรบมือ ให้เกียรติต่อกัน สร้างพลังบวกระหว่างเรียนได้ดี


๑๕ ข้อเสนอแนะ การจัดกิจกรรมส าหรับเด็กมัธยม ครูควรเน้นกระบวนการให้นักเรียนได้ระดมสมอง เกิดการ ถกแถลง หรือการวิพากษ์เชิงสร้างสรรค์ สื่อที่เลือกใช้ อาจเน้นเป็นบทความ ตัวหนังสือ แทนรูปภาพ เพื่อฝึกทักษะการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนเป็นข้อความ ตามวัยของนักเรียนมัธยม ผู้นิเทศ นางภูรี ทองย่น ผลการนิเทศขันนเรียน โรงเรียนท่าฉัตรไชย วันที่.......12...........เดือน.......กรกฎาคม.............พ.ศ........2566............ ผู้รับการนิเทศ.......นางสาวศิวพร นาเลื่อน...................วิชา............วิทยาศาสตร์....................... เรื่อง........วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย..............................จ านวน...........1...............ชั่วโมง ********************************************************* ขันนน าเข้าสู่บทเรียน 1. ทบทวนความรู้เรื่อง การเกิดแรงไฟฟ้า โดยครูเตรียมอุปกรณ์ส าหรับท ากิจกรรม มายากล หลอดไฟสว่าง ดังนี้- ฝาขวดน้ า - หลอด LED ขนาดเล็ก - แผ่นโฟม - กาวสองหน้า - เหรียญ 10 บาท 2. สุ่มนักเรียนออกมา 1 คน ออกมาสาธิตกิจกรรมการทดลอง ปฏิบัติดังนี้ 1) ติดกาวสองหน้าบนฝาขวดน้ า ลอกเทปกาวสองหน้าออก แล้วน าเหรียญไปติด บนฝาขวดน้ า 2) น าเหรียญที่ติดอยู่บนฝาขวดน้ ามาถูกับแผ่นโฟม 3) จับขาข้างหนึ่งของหลอด LED ขนาดเล็ก แล้วเอาเหรียญมาสัมผัสขาอีกข้าง หนึ่ง จากนั้นสังเกตการ เปลี่ยนแปลงของหลอดไฟ 3. นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี้ - เมื่อเอาเหรียญที่ถูกับแผ่นโฟมมาสัมผัสขาอีกข้างหนึ่งของหลอด LED ขนาดเล็กผล เป็นอย่างไร (แนวค าตอบ เกิดแสงไฟสีส้มวาบเป็นเวลาสั้นๆ) - เพราะเหตุใดหลอด LED ขนาดเล็ก จึงเกิดแสงไฟสีส้มเป็นช่วงเวลาสั้นๆ (แนว ค าตอบ เพราะเมื่อน าเหรียญไปถูกับแผ่นโฟม เหรียญจะมีนี้ประจุลบ เมื่อน าเหรียญไปแตะ กับ ขาข้างหนึ่งของหลอด LED ขนาดเล็ก ประจุลบจะเคลื่อนที่ผ่าน LED ขนาดเล็กเพื่อให้ ครบวงจร เมื่อประจุผ่านจนหมด ไฟสีส้มก็จะดับ เนื่องจากประจุมีจ านวนน้อย หลอดจึงสว่าง เป็นเวลาสั้น ๆ)


๑๖ - ท าอย่างไรจึงจะท าให้หลอดไฟหลอดนี้สว่างได้ระยะเวลาที่นานขึ้น (แนวค าตอบ ต่อวงจรไฟฟ้า) - วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยอะไรบ้าง (แนวค าตอบ ตอบตามความคิดเห็น ของนักเรียน) ขันนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. นักเรียนสังเกตบัตรภาพวงจรไฟฟ้าแล้วตอบค าถามต่อไปนี้ - วงจรไฟฟ้าประกอบด้วยอุปกรณ์ใดบ้าง และมีวิธีการต่ออย่างไร (แนวค าตอบ ตอบ ตามความคิดเห็นของนักเรียนอย่างอิสระ) 2. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ 4-5 คน ศึกษาขั้นตอนการท ากิจกรรมที่ 1 การต่อ วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 86 3. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมที่ 1 การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ตอนที่ 1 ปฏิบัติดังนี้ 1) สืบค้นข้อมูลและบันทึกผลลงในสมุดหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 52 ตามหัวข้อ ต่อไปนี้ - การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย - ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายและหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบ - การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายในลักษณะวงจรปิดและวงจรเปิด 2) ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าที่ท าให้หลอดไฟสว่างและไม่สว่าง โดยใช้อุปกรณ์ได้แก่ กระบะใส่ถ่านไฟฉาย สายไฟฟ้าพร้อมหัวหนีบปากจระเข้ถ่านไฟฉาย และหลอดไฟฟ้าพร้อมฐาน 3) บันทึกข้อมูลลงในสมุดหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ฯ ป.6 เล่ม 1 หน้า 52 โดยวาดภาพและ เขียนบรรยายพร้อมระบายสีให้สวยงาม ขันนสรุป 1. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้จากกิจกรรมว่า การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ประกอบด้วย แหล่งก าเนิดไฟฟ้า สายไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า ผลการนิเทศการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ครบถ้วนตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ 2. ครูก าหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ที่สามารถวัดและประเมินผลได้ภายในคาบเรียน 3. ครูออกแบบกิจกรรมเรียนรู้เน้นการเรียนแบบ Active Learning ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ เรียน เน้นทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน เน้นการสร้างองค์ความรู้ และนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง 4. กระบวนการวัดและประเมินผล เป็นการประเมินผู้เรียนระหว่างเรียน เน้นการประเมิน เพื่อพัฒนาผู้เรียน


๑๗ ผลการนิเทศการสอนแบบการจัดการเรียนรู้ (Active Learning) (สังเกตการสอนของครู) 1. ครูผู้สอนมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียน 2. ครูมีการเตรียมการสอน มีสื่อประกอบการสอนที่หลากหลาย ลักษณะของสื่อเหมาะสม ตามวัยของผู้เรียน 3. ครูให้ความสนใจ ดูแลนักเรียนอย่างทั่วถึง มีการใช้ค าถามกระตุ้น ยั่วยุให้ผู้เรียนสนใจ ตลอดเวลา และแนะน าเพิ่มเติม 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น 5. ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6. ครูสร้างขวัญและก าลังใจ ให้ค าชื่นชม สร้างพลังบวกนักเรียนเป็นอย่างดี ผลการนิเทศการจัดบรรยากาศในชันนเรียน 1. สภาพทางกายภาพของห้องเรียนมีความเหมาะสม ทั้งขนาดของห้อง แสง สี ระดับเสียง ของครู กระตุ้นการเรียนของผู้เรียนได้ดี 2. ครูมีการสร้างความสนใจก่อนเรียน ระหว่างเรียน และติดตามให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ให้เสร็จทันเวลา 3. บรรยากาศระหว่างครู เพื่อนนักเรียน มีการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน 4. นักเรียนให้ความร่วมมือในการน าเสนอความรู้ของครู และสนใจปฏิบัติกิจกรรมเมื่อครู มอบหมาย โดยมีครูกระตุ้นเป็นระยะ 5. นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น โดยมีครูให้ก าลังใจ ให้ค าชื่นชม และมีเพื่อนนักเรียน ปรบมือ ให้เกียรติต่อกัน สร้างพลังบวกระหว่างเรียนได้ดี ข้อเสนอแนะ กิจกรรมการเรียนครั้งนี้ เป็นเนื้อหาที่ต้องให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ การสอนในครั้งที่ 1 เป็นการสร้างความรู้ ได้รู้จักวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ครูต้องจัดกระบวนการเรียนซ้ าอีก 2 -3 ครั้ง เพื่อให้ นักเรียนได้ทดลองปฏิบัติจากอุปกรณ์วงจรไฟฟ้าจ าลอง โดยครูท าหน้าที่เป็นผู้อ านวยการ ชี้แนะ หากครูหาผู้มีความรู้เฉพาะทาง เช่น ผู้ปกครองนักเรียนที่ประกอบอาชีพช่างไฟฟ้า มาท าหน้าที่เป็น วิทยากรอีกทางหนึ่ง จะช่วยให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงจากผู้เชี่ยวชาญ ผู้นิเทศ นางภูรี ทองย่น


๑๘ ผลการนิเทศขันนเรียน โรงเรียนวัดมงคลวราราม วันที่.......12...........เดือน.......กรกฎาคม............พ.ศ........2566............ ผู้รับการนิเทศ.......นางสาวโนรีมัน กาเดร์...................วิชา............ภาษาอังกฤษ....................... เรื่อง........Phonics..............................จ านวน...........1...............ชั่วโมง ************************************************** ขันนน าเข้าสู่บทเรียน 1. ครูและนักเรียนนั่งเป็นวงกลมท ากิจกรรมจิตศึกษา 2. นักเรียนร่วมกันทบทวนเสียงพยัญชนะ สระแบบ Phonics ร่วมกันและเป็นรายบุคคล (ครูกล่าวชื่นชม) 3. ครูแสดงบัตรค าศัพท์ ให้นักเรียนทบทวนการอ่านประสมค า พร้อมกันและเป็น รายบุคคล (ครูกล่าวชื่นชม) ขันนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูอธิบายวิธีและกติกาในการเล่นเกม Mini Board พร้อมทั้งเลือกนักเรียนที่มีความถนัด ภาษาอังกฤษเป็นตัวแทนของแต่ละกลุ่ม จากนั้นนักเรียนที่เหลือแบ่งกลุ่มโดยคละนักเรียนเก่ง ปาน กลาง อ่อนอยู่ด้วยกัน 2. นักเรียนในกลุ่มนับเลข ที่มีตัวเลขประจ าตัวของตนเอง จากนั้นครูมอบหมายหน้าที่ให้กับ นักเรียนแต่ละหมายเลข 3. ครูออกเสียง Phonics ให้นักเรียนเขียนเป็นค าศัพท์ที่ถูกต้อง โดยครูสุ่มหมายเลขตัวแทน ในการเขียนแต่ละรอบ ขันนสรุป ครูและนักเรียนกลับมานั่งเป็นวงกลมอีกครั้ง ครูชวนพี่ ๆ นักเรียนกลับมารู้ตัวเองและร่วมกัน สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้และการน าไปใช้ รวมทั้งแสดงความขอบคุณซึ่งกันและกัน ผลการนิเทศการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ครบถ้วนตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ 2. ครูก าหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ที่สามารถวัดและประเมินผลได้ภายในคาบเรียน 3. ครูออกแบบกิจกรรมเรียนรู้เน้นการเรียนแบบ Active Learning ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ เรียน เน้นทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน เน้นการสร้างองค์ความรู้ และนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง 4. กระบวนการวัดและประเมินผล เป็นการประเมินผู้เรียนระหว่างเรียน เน้นการประเมิน เพื่อพัฒนาผู้เรียน


๑๙ ผลการนิเทศการสอนแบบการจัดการเรียนรู้ (Active Learning) (สังเกตการสอนของครู) 1. ครูผู้สอนมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียน 2. ครูมีการเตรียมการสอน มีสื่อประกอบการสอนที่หลากหลาย ลักษณะของสื่อเหมาะสม ตามวัยของผู้เรียน 3. ครูให้ความสนใจ ดูแลนักเรียนอย่างทั่วถึง มีการใช้ค าถามกระตุ้น ยั่วยุให้ผู้เรียนสนใจ ตลอดเวลา และแนะน าเพิ่มเติม 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น 5. ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6. ครูสร้างขวัญและก าลังใจ ให้ค าชื่นชม สร้างพลังบวกนักเรียนเป็นอย่างดี ผลการนิเทศการจัดบรรยากาศในชันนเรียน 1. สภาพทางกายภาพของห้องเรียนมีความเหมาะสม ทั้งขนาดของห้อง แสง สี ระดับเสียง ของครู กระตุ้นการเรียนของผู้เรียนได้ดี 2. ครูมีการสร้างความสนใจก่อนเรียน ระหว่างเรียน และติดตามให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ให้เสร็จทันเวลา 3. บรรยากาศระหว่างครู เพื่อนนักเรียน มีการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน 4. นักเรียนให้ความร่วมมือในการน าเสนอความรู้ของครู และสนใจปฏิบัติกิจกรรมเมื่อครู มอบหมาย โดยมีครูกระตุ้นเป็นระยะ 5. นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น โดยมีครูให้ก าลังใจ ให้ค าชื่นชม และมีเพื่อนนักเรียน ปรบมือ ให้เกียรติต่อกัน สร้างพลังบวกระหว่างเรียนได้ดี ข้อเสนอแนะ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละชั่วโมง คุณครูมีเป้าหมายเดียวกันคือการสร้างจิตวิทยา เชิงบวก เป็นเป้าหมายร่วมของโรงเรียนวัดมงคลวราราม ด้วยการใช้กิจกรรมการเรียน รู้ Active Learning /PERMA ซึ่งครูจะก าหนดกระบวนการแต่ละขั้นตอนในกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นอีก นวัตกรรมในการพัฒนาผู้เรียน ให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าในตนเอง และเห็นคุณค่าต่อผู้อื่น ซึ่งความรู้ จะเกิดขึ้นได้เมื่อมีจิตใจที่เบิกบาน สมองพร้อมต่อการรับรู้กระบวนการเหล่านี้ โรงเรียนควรสะท้อน ผลแต่ละรายวิชา ว่าครูใช้กระบวนการเหล่านี้แล้วเห็นความเปลี่ยนแปลงในตัวผู้เรียนอย่างไร เพื่อสร้างเป็นวัฒนธรรมของโรงเรียน ผู้นิเทศ นางภูรี ทองย่น


๒๐ ผลการนิเทศขันนเรียน โรงเรียนบ้านคอเอน วันที่.......13...........เดือน.......กรกฎาคม.............พ.ศ. .......2566............ ผู้รับการนิเทศ.......นายสิริศักดิ์ บุญคง...................วิชา............คณิตศาสตร์....................... เรื่อง...การหาตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบ...... จ านวน 1 ชั่วโมง ****************************************************** ขันนน าเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับการบวกและการลบ 2. ให้นักเรียนอ่านค าถามจากหนังสือเรียนคณิตศาสตร์ป.4 เล่ม 1 หน้า 46 3. นักเรียนอภิปรายถึงวิธีการหาค าตอบ ขันนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 สังเกต รับรู้ 1. ครูเขียนประโยคสัญลักษณ์ต่อไปนี้บนกระดาน 10 - = 7 + 5 = 2 2. ครูให้นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด เช่น - จ านวนใน คือจ านวนใดที่ท าให้ประโยคสัญลักษณ์เป็นจริง - นักเรียนหาค าตอบได้อย่างไร - ค าตอบที่ได้มีความสัมพันธ์อย่างไรกับตัวเลขที่มีอยู่ในประโยคสัญลักษณ์ - หากครูเพิ่มจ านวนมากขึ้น จะสามารถใช้วิธีคิดของนักเรียนหาค าตอบได้หรือไม่ ขั้นที่ 2 ท าตามแบบ 1. ครูติดแถบประโยคสัญลักษณ์บนกระดาน พร้อมทั้งบัตรตัวเลขแสดงจ านวนที่เป็นค าตอบ 2 ใบ ให้นักเรียนคิดหาค าตอบในใจ แล้วเลือกว่าค าตอบควรเป็นจ านวนใด จึงจะ สมเหตุสมผล เพราะเหตุใด เช่น 10,450 + = 25,000 2. ครูติดแผนภาพบนกระดาน ให้นักเรียนช่วยกันบอกจ านวนแทนต าแหน่งต่าง ๆ ใน แผนภาพ แล้วครูอธิบายความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ 3. ครูติดแถบประโยคสัญลักษณ์เพิ่มเติมบนกระดาน ให้นักเรียนอาสาสมัครมาวาดภาพและ แสดงวิธีคิดหาค าตอบโดยสังเกตวิธีการคิดจากตัวอย่าง โดยครูคอยแน ะน าและ ชื่นชม ขันนสรุป 1. ให้นักเรียนท ากิจกรรมฝึกทักษะ ลงในสมุด พร้อมแสดงวิธีการคิดค าตอบเสร็จแล้วน าส่งครู 2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับหลักการหาตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดง การบวกและการลบ


๒๑ ผลการนิเทศการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ครบถ้วนตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ 2. ครูก าหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ที่สามารถวัดและประเมินผลได้ภายในคาบเรียน 3. ครูออกแบบกิจกรรมเรียนรู้เน้นการเรียนแบบ Active Learning ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ เรียน เน้นทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน เน้นการสร้างองค์ความรู้ และนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง 4. กระบวนการวัดและประเมินผล เป็นการประเมินผู้เรียนระหว่างเรียน เน้นการประเมิน เพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการนิเทศการสอนแบบการจัดการเรียนรู้ (Active Learning) (สังเกตการสอนของครู) 1. ครูผู้สอนมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียน 2. ครูมีการเตรียมการสอน มีสื่อประกอบการสอนที่หลากหลาย ลักษณะของสื่อเหมาะสม ตามวัยของผู้เรียน 3. ครูให้ความสนใจ ดูแลนักเรียนอย่างทั่วถึง มีการใช้ค าถามกระตุ้น ยั่วยุให้ผู้เรียนสนใจ ตลอดเวลา และแนะน าเพิ่มเติม 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น 5. ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6. ครูสร้างขวัญและก าลังใจ ให้ค าชื่นชม สร้างพลังบวกนักเรียนเป็นอย่างดี ผลการนิเทศการจัดบรรยากาศในชันนเรียน 1. สภาพทางกายภาพของห้องเรียนมีความเหมาะสม ทั้งขนาดของห้อง แสง สี ระดับเสียง ของครู กระตุ้นการเรียนของผู้เรียนได้ดี 2. ครูมีการสร้างความสนใจก่อนเรียน ระหว่างเรียน และติดตามให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ให้เสร็จทันเวลา 3. บรรยากาศระหว่างครู เพื่อนนักเรียน มีการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน 4. นักเรียนให้ความร่วมมือในการน าเสนอความรู้ของครู และสนใจปฏิบัติกิจกรรมเมื่อครู มอบหมาย โดยมีครูกระตุ้นเป็นระยะ 5. นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น โดยมีครูให้ก าลังใจ ให้ค าชื่นชม และมีเพื่อนนักเรียน ปรบมือ ให้เกียรติต่อกัน สร้างพลังบวกระหว่างเรียนได้ดี ข้อเสนอแนะ การจัดกิจกรรมครูควรเน้นกระบวนการฝึกฝน เรียนรู้ผ่านสื่อ ผ่านการฝึกฝนจากโจทย์ สถานการณ์ซ้ า ๆ เพื่อให้ได้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ เกิดความคิดรวบยอด โดยเลี่ยงการสรุปกฎ ให้นักเรียน การฝึกโจทย์สถานการณ์ซ้ า ๆ จะช่วยให้นักเรียนเข้าใจและสร้างองค์ความรู้ได้ง่ายขึ้น หรือการหาเกมช่วยให้นักเรียนเกิดความสนุกไปพร้อมกับความรู้ ช่วยให้การเรียนง่ายดายขึ้น ผู้นิเทศ นางภูรี ทองย่น


๒๒ ผลการนิเทศขันนเรียน โรงเรียนบ้านหมากปรก วันที่.......13...........เดือน.......กรกฎาคม.............พ.ศ. .......2566............ ผู้รับการนิเทศ.......นางสาวเรวดี หยีสัน...................วิชา............คณิตศาสตร์....................... เรื่อง.........การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที............... จ านวน 1 ชั่วโมง ****************************************************************** ขันนน าเข้าสู่บทเรียน 1. ครูน านาฬิกาหน้าปัด 2 ชั้น มาให้นักเรียนดู แล้วถามนักเรียนว่าเวลา 24 นาฬิกา เป็นเวลากลางวันหรือกลางคืน เข็มสั้นและเข็มยาว ชี้ที่เลขอะไร 2. ครูหมุนเข็มนาฬิกาตามที่นักเรียนบอก แล้วถามนักเรียนว่า 1 วัน แบ่งเป็น 24 ชั่วโมง มีกลางวันกี่ชั่วโมง กลางคืนกี่ชั่วโมง เวลาที่ถือว่าเป็นวันใหม่คือหลังจากเวลากี่นาฬิกา ขันนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูทดลองหมุนเข็มสั้นชี้ที่เลข 9 เข็มยาวชี้เลข 5 และให้นักเรียนอ่านเป็นเวลา ในช่วงกลางคืน (21 นาฬิกา 25 นาที) 2. ครูถามนักเรียนว่า ถ้าเข็มยาวเดินมาครึ่งวงกลม จะเป็นเวลากี่นาที (30 นาที) 3. ครูหมุนเข็มนาฬิกาของนาฬิกาจ าลองไปที่เลข 5, 10, 15, 20 และถามในท านอง เดียวกันว่าเวลากี่นาที ให้นักเรียนตอบแล้วย้ าว่าเข็มยาวเรียกว่า นาที 4. ครูหมุนเข็มนาฬิกาเข็มสั้นไปที่เลข 2 เข็มยาวหมุนไปที่เลข 10 และให้นักเรียนอ่าน เป็นเวลาในช่วงกลางคืน (2 นาฬิกา 50 นาที) 5. ครูหมุนเข็มชั่วโมงและเข็มนาทีไปที่ต าแหน่งต่าง ๆ เพื่อบอกเวลาเป็นนาฬิกาและ นาที โดยก าหนดเวลาช่วงกลางคืน แล้วให้นักเรียนทั้งชั้นช่วยกันตอบหลาย ๆ ข้อ จนนักเรียนเข้าใจ 6. ครูให้นักเรียนท าใบงานที่ 2 การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที เมื่อเสร็จแล้วให้ นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 2 ขันนสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ นาฬิกาเป็นเครื่องมือที่ใช้บอก เวลา เข็มสั้นบอกเวลาเป็นชั่วโมง เข็มยาวบอกเวลาเป็นนาที ผลการนิเทศการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ครบถ้วนตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ 2. ครูก าหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ที่สามารถวัดและประเมินผลได้ภายในคาบเรียน 3. ครูออกแบบกิจกรรมเรียนรู้เน้นการเรียนแบบ Active Learning ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ เรียน เน้นทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน เน้นการสร้างองค์ความรู้ และนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง


๒๓ 4. กระบวนการวัดและประเมินผล เป็นการประเมินผู้เรียนระหว่างเรียน เน้นการประเมิน เพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการนิเทศการสอนแบบการจัดการเรียนรู้ (Active Learning) (สังเกตการสอนของครู) 1. ครูผู้สอนมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียน 2. ครูมีการเตรียมการสอน มีสื่อประกอบการสอนที่หลากหลาย ลักษณะของสื่อเหมาะสม ตามวัยของผู้เรียน 3. ครูให้ความสนใจ ดูแลนักเรียนอย่างทั่วถึง มีการใช้ค าถามกระตุ้น ยั่วยุให้ผู้เรียนสนใจ ตลอดเวลา และแนะน าเพิ่มเติม 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น 5. ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6. ครูสร้างขวัญและก าลังใจ ให้ค าชื่นชม สร้างพลังบวกนักเรียนเป็นอย่างดี ผลการนิเทศการจัดบรรยากาศในชันนเรียน 1. สภาพทางกายภาพของห้องเรียนมีความเหมาะสม ทั้งขนาดของห้อง แสง สี ระดับเสียง ของครู กระตุ้นการเรียนของผู้เรียนได้ดี 2. ครูมีการสร้างความสนใจก่อนเรียน ระหว่างเรียน และติดตามให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ให้เสร็จทันเวลา 3. บรรยากาศระหว่างครู เพื่อนนักเรียน มีการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน 4. นักเรียนให้ความร่วมมือในการน าเสนอความรู้ของครู และสนใจปฏิบัติกิจกรรมเมื่อครู มอบหมาย โดยมีครูกระตุ้นเป็นระยะ 5. นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น โดยมีครูให้ก าลังใจ ให้ค าชื่นชม และมีเพื่อนนักเรียน ปรบมือ ให้เกียรติต่อกัน สร้างพลังบวกระหว่างเรียนได้ดี ข้อเสนอแนะ การจัดกิจกรรมครูควรเน้นกระบวนการฝึกฝน เรียนรู้ผ่านสื่อ ผ่านการฝึกฝนจากโจทย์ สถานการณ์ซ้ า ๆ เพื่อให้ได้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ เกิดความคิดรวบยอด โดยเลี่ยงการสรุปกฎ ให้นักเรียนได้ปฏิบัติจากนาฬิกาจริงบ่อย ๆ ซ้ า ๆ จากโจทย์หลายสถานการณ์ ผ่านการเล่นด้วยเกม จะท าให้นักเรียนเกิดความรู้ผ่านการเล่น นักเรียนจะเกิดเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ยิ่งขึ้น ผู้นิเทศ นางภูรี ทองย่น


๒๔ ผลการนิเทศขันนเรียน โรงเรียนบ้านไม้ขาว วันที่.......13...........เดือน.......กรกฎาคม.............พ.ศ. .......2566............ ผู้รับการนิเทศ.......นายศราวุฒิ ชุติมันต์...................วิชา............วิทยาศาสตร์....................... เรื่อง.........................อาหารหลัก 5 หมู่............................ จ านวน 1 ชั่วโมง ****************************************************************** ขันนน าเข้าสู่บทเรียน 1) ครูถามค าถามนักเรียนเพื่อกระตุ้นความสนใจ เช่น – วันนี้นักเรียนรับประทานอาหารมาแล้วหรือยัง (แนวค าตอบ รับประทานอาหาร มาแล้ว) – อาหารที่นักเรียนรับประทานคืออะไร และมีส่วนประกอบใดบ้าง (แนวค าตอบ แซนวิช ประกอบด้วย ขนมปัง ไข่ ซอสมะเขือเทศ แตงกวา พริกหวาน และผักกาดแก้ว) 2) นักเรียนร่วมกันตอบค าถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าตอบ เพื่อเชื่อมโยงไปสู่ การเรียนรู้เรื่อง อาหารหลัก 5 หมู่ ขันนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ร่วมกับแบบกลับด้าน ชั้นเรียน (flipped classroom) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ 1) ขันนสร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารที่ ครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาน าเสนอ ข้อมูลหน้าห้องเรียน (2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนท าภาระงานที่ได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการ จดบันทึกของนักเรียน และถามค าถามเกี่ยวกับภาระงาน ดังนี้ – ในอาหารหลัก 5 หมู่มีสารอาหารประกอบอยู่กี่ประเภท อะไรบ้าง (แนวค าตอบ 6 ประเภท ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ วิตามิน และน้ า) – สารอาหารชนิดใดให้พลังงานแก่ร่างกาย (แนวค าตอบ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และ ไขมัน) – สารอาหารชนิดใดไม่ให้พลังงานแก่ร่างกาย (แนวค าตอบ เกลือแร่ วิตามิน และน้ า) (3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นค าถามที่นักเรียนสงสัยจากการท าภาระงานอย่างน้อย คนละ 1 ค าถาม ซึ่งครูให้นักเรียนเตรียมมาล่วงหน้า และให้นักเรียนช่วยกันตอบและแสดงความ คิดเห็น


๒๕ (4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สารอาหารที่อยู่ในอาหารมี 6 ประเภท ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ วิตามิน และน้ า โดยคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมันเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย ส่วนเกลือแร่ วิตามิน และน้ าเป็นสารอาหารที่ไม่ให้พลังงานแก่ร่างกาย 2) ขันนส ารวจและค้นหา (Exploration) (1) ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ จากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วย อธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า อาหารที่เรารับประทานในแต่ละวันมีหลายประเภท เช่น ข้าว ขนมปัง ก๋วยเตี๋ยว เนื้อหมู กุ้ง ปลา ไข่ ถั่ว ผัก ผลไม้ และน้ ามัน อาหารเหล่านี้สามารถจ าแนกได้เป็นอาหาร หลัก 5 หมู่ โดยในอาหารหลักเหล่านี้มีสารอาหารต่างๆ ประกอบอยู่ด้วย (2) ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ ตามขั้นตอน ดังนี้ – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อย่อยให้เพื่อนสมาชิกช่วยกันสืบค้น ตามที่สมาชิกกลุ่มช่วยกันก าหนดหัวข้อย่อย เช่น หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 5 – สมาชิกกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มย่อยช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อย่อยที่ตนเอง รับผิดชอบ โดยการสืบค้นจากหนังสือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยส าหรับ เยาวชน หรืออินเทอร์เน็ต – สมาชิกกลุ่มน าข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อนๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกัน อภิปรายซักถามจนคาดว่าสมาชิกทุกคนมีความรู้ความเข้าใจที่ตรงกัน – สมาชิกกลุ่มช่วยกันสรุปความรู้ที่ได้ทั้งหมดเป็นผลงานของกลุ่ม และช่วยกันจัดท า รายงานการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ (3) ครูคอยแนะน าช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและ เปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา 3) ขันนอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน (2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น – อาหารที่เรารับประทานในแต่ละวันสามารถจ าแนกได้เป็นกี่หมู่ (แนวค าตอบ 5 หมู่) – ยกตัวอย่างอาหารที่ให้สารอาหารประเภทโปรตีนเป็นส่วนใหญ่มา 3 อย่าง (แนว ค าตอบ เนื้อสัตว์ นม และไข่) – เนยและน้ ามันให้สารอาหารประเภทใดเป็นส่วนใหญ่ (แนวค าตอบ ไขมัน) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า อาหารที่เรารับประทานในแต่ละวันสามารถจ าแนกได้เป็นอาหารหลัก 5 หมู่ 4) ขันนขยายความรู้ (Elaboration) ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ ให้นักเรียนเข้าใจว่า อาหารหลัก 5 หมู่ มีดังนี้ – หมู่ที่ 1 ได้แก่ เนื้อสัตว์ นม ไข่ งา และถั่วชนิดต่างๆ ให้สารอาหารประเภทโปรตีน เป็นส่วนใหญ่


๒๖ – หมู่ที่ 2 ได้แก่ ข้าว แป้ง น้ าตาล เผือก และมัน ให้สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต เป็นส่วนใหญ่ – หมู่ที่ 3 ได้แก่ ผักชนิดต่างๆ ให้สารอาหารประเภทเกลือแร่และวิตามินเป็นส่วนใหญ่ – หมู่ที่ 4 ได้แก่ ผลไม้ชนิดต่างๆ ให้สารอาหารประเภทเกลือแร่และวิตามินเป็นส่วน ใหญ่ – หมู่ที่ 5 ได้แก่ เนย น้ ามัน และไขมันจากพืชและสัตว์ ให้สารอาหารประเภทไขมันเป็น ส่วนใหญ่ 5) ขันนประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด ใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ (2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ แก้ไขอย่างไรบ้าง (3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ กิจกรรม และการน าความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบค าถาม เช่น – ข้าวสาลีให้สารอาหารประเภทใดเป็นส่วนใหญ่ (แนวค าตอบ คาร์โบไฮเดรต) – แตงโมให้สารอาหารประเภทใดเป็นส่วนใหญ่ (แนวค าตอบ เกลือแร่และวิตามิน) – น้ ามันพืชให้สารอาหารประเภทใดเป็นส่วนใหญ่ (แนวค าตอบ ไขมัน) ขันนสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิด หรือผังมโนทัศน์ ผลการนิเทศการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ครบถ้วนตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ 2. ครูก าหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ที่สามารถวัดและประเมินผลได้ภายในคาบเรียน 3. ครูออกแบบกิจกรรมเรียนรู้เน้นการเรียนแบบ Active Learning ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ เรียน เน้นทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน เน้นการสร้างองค์ความรู้ และนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง 4. กระบวนการวัดและประเมินผล เป็นการประเมินผู้เรียนระหว่างเรียน เน้นการประเมิน เพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการนิเทศการสอนแบบการจัดการเรียนรู้ (Active Learning) (สังเกตการสอนของครู) 1. ครูผู้สอนมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียน


๒๗ 2. ครูมีการเตรียมการสอน มีเกม มีสื่อประกอบการสอนที่หลากหลาย ลักษณะของสื่อ เหมาะสมตามวัยของผู้เรียน 3. ครูให้ความสนใจ ดูแลนักเรียนอย่างทั่วถึง มีการใช้ค าถามกระตุ้น ยั่วยุให้ผู้เรียนสนใจ ตลอดเวลา และแนะน าเพิ่มเติม 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น 5. ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6. ครูสร้างขวัญและก าลังใจ ให้ค าชื่นชม สร้างพลังบวกนักเรียนเป็นอย่างดี ผลการนิเทศการจัดบรรยากาศในชันนเรียน 1. สภาพทางกายภาพของห้องเรียนมีความเหมาะสม ทั้งขนาดของห้อง แสง สี ระดับเสียง ของครู กระตุ้นการเรียนของผู้เรียนได้ดี 2. ครูมีการสร้างความสนใจก่อนเรียน ระหว่างเรียน และติดตามให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ให้เสร็จทันเวลา 3. บรรยากาศระหว่างครู เพื่อนนักเรียน มีการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน 4. นักเรียนให้ความร่วมมือในการน าเสนอความรู้ของครู และสนใจปฏิบัติกิจกรรมเมื่อครู มอบหมาย โดยมีครูกระตุ้นเป็นระยะ 5. นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น โดยมีครูให้ก าลังใจ ให้ค าชื่นชม และมีเพื่อนนักเรียน ปรบมือ ให้เกียรติต่อกัน สร้างพลังบวกระหว่างเรียนได้ดี ข้อเสนอแนะ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 Step มุ่งให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เน้น การสืบค้น ได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง การจัดกิจกรรมทุกครั้งควรให้ผู้เรียนได้สะท้อนผลการเรียนรู้ เพื่อสร้างองค์ความรู้ เกิดความคิดรวบยอด ท าให้ผู้เรียนค้นพบกระบวนการเรียนรู้มากกว่าค าตอบที่ได้ ผู้นิเทศ นางภูรี ทองย่น


๒๘ ผลการนิเทศขันนเรียน โรงเรียนบ้านสาคูวันที่.......18...........เดือน.......กรกฎาคม.............พ.ศ. .......2566............ ผู้รับการนิเทศ.......นางสาวสนธยา ชุมดี...................วิชา............สังคมศึกษา....................... เรื่อง.........................ผู้ผลิต ผู้บริโภค............................ จ านวน 1 ชั่วโมง ****************************************************************** ขันนน าเข้าสู่บทเรียน 1. ครูให้นักเรียนฝึกสมาธิก่อนเข้าเรียน 2. ครูน าภาพสินค้าต่าง ๆ จาก Power Point มาให้นักเรียนดู เช่น ขนมกรุบกรอบ เสื้อผ้า ดินสอ อมยิ้ม ตุ๊กตา ของเล่น อาหาร เป็นต้น แล้วตั้งประเด็นค าถามดังนี้ - ภาพที่เห็นเป็นภาพเกี่ยวกับอะไร - นักเรียนคิดว่าสินค้าเหล่านี้มีความจ าเป็นหรือไม่ เพราะอะไร ขันนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูอธิบายความหมายของสินค้า และความจ าเป็นในการใช้สินค้า ให้นักเรียนฟังจาก Power Point และครูตั้งค าถาม ดังนี้ - สินค้าที่มีความจ าเป็นต่อการด ารงชีวิต หรือ ปัจจัย 4 ประกอบด้วยอะไรบ้าง - สินค้าที่เป็นความต้องการของมนุษย์มีอะไรบ้าง - นักเรียนคิดว่าสินค้าต่าง ๆ มีความจ าเป็นต่อการด ารงชีวิตของเราหรือไม่ เพราะอะไร 2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4 คน โดยคละนักเรียนที่เก่ง กลาง และอ่อน 3. ครูน าสินค้าที่ใช้ในชีวิตประจ าวันมาให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายว่าสินค้าชิ้นใด เป็นสินค้าจ าเป็นและสิ้นค้าชิ้นใดเป็นสินค้าที่ไม่จ าเป็น แต่เป็นความต้องการของมนุษย์ เช่น ยาสีฟัน แปรงสีฟัน สบู่ แชมพู แก้วน้ า ตุ๊กตา อมยิ้ม ขนมกรุบกรอบ นาฬิกา เครื่องประดับ โทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น 4. ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มนักเรียน 2 กลุ่มออกมาน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ว่าสินค้าชิ้นไหน จ าเป็น เพราะอะไร สินค้าชิ้นไหนไม่จ าเป็น เพราะอะไร ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความ ถูกต้อง 5. ครูสุ่มนักเรียนตอบค าถามจากบัตรค า เรื่อง สินค้าที่จ าเป็น และสินค้าฟุ่มเฟือย (โดยหมุน วงล้อให้นักเรียนแต่ละคนตอบประเภทของสินค้า ว่าเป็นสินค้าจ าเป็นหรือสินค้าฟุ่มเฟือย สมาชิกกลุ่ม ใดตอบถูกต้อง กลุ่มนั้นชนะ) 6. ครูให้นักเรียนร่วมกันท าใบงานเรื่อง สินค้าน่ารู้ ขันนสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความหมายและความจ าเป็นในการใช้สินค้า


๒๙ ผลการนิเทศการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ครบถ้วนตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ 2. ครูก าหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ที่สามารถวัดและประเมินผลได้ภายในคาบเรียน 3. ครูออกแบบกิจกรรมเรียนรู้เน้นการเรียนแบบ Active Learning ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ เรียน เน้นทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน เน้นการสร้างองค์ความรู้ และนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง 4. กระบวนการวัดและประเมินผล เป็นการประเมินผู้เรียนระหว่างเรียน เน้นการประเมิน เพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการนิเทศการสอนแบบการจัดการเรียนรู้ (Active Learning) (สังเกตการสอนของครู) 1. ครูผู้สอนมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียน 2. ครูมีการเตรียมการสอน มีเกม มีสื่อประกอบการสอนที่หลากหลาย ลักษณะของสื่อ เหมาะสมตามวัยของผู้เรียน 3. ครูให้ความสนใจ ดูแลนักเรียนอย่างทั่วถึง มีการใช้ค าถามกระตุ้น ยั่วยุให้ผู้เรียนสนใจ ตลอดเวลา และแนะน าเพิ่มเติม 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น 5. ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6. ครูสร้างขวัญและก าลังใจ ให้ค าชื่นชม สร้างพลังบวกนักเรียนเป็นอย่างดี ผลการนิเทศการจัดบรรยากาศในชันนเรียน 1. สภาพทางกายภาพของห้องเรียนมีความเหมาะสม ทั้งขนาดของห้อง แสง สี ระดับเสียง ของครู กระตุ้นการเรียนของผู้เรียนได้ดี 2. ครูมีการสร้างความสนใจก่อนเรียน ระหว่างเรียน และติดตามให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ให้เสร็จทันเวลา 3. บรรยากาศระหว่างครู เพื่อนนักเรียน มีการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน 4. นักเรียนให้ความร่วมมือในการน าเสนอความรู้ของครู และสนใจปฏิบัติกิจกรรมเมื่อครู มอบหมาย โดยมีครูกระตุ้นเป็นระยะ 5. นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น โดยมีครูให้ก าลังใจ ให้ค าชื่นชม และมีเพื่อนนักเรียน ปรบมือ ให้เกียรติต่อกัน สร้างพลังบวกระหว่างเรียนได้ดี ข้อเสนอแนะ การก าหนดสาระการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับตัวชี้วัด เนื้อหาหรือสาระการเรียนรู้ต้อง ครอบคลุมกับตัวชี้วัด หากไม่สามารถสอนได้ใน 1 ชั่วโมง ครูสามารถขยายชั่วโมงสอนได้อีก เพื่อให้ ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ของมาตรฐานตัวชี้วัด ซึ่งครูออกแบบกิจกรรมได้ดี ครูใช้สื่อเทคโนโลยี มีเกม เพื่อสร้างความสนุก ความน่าสนใจต่อผู้เรียนดีอยู่แล้ว ผู้นิเทศ นางอุมาวรรณ ตะวัน


๓๐ ผลการนิเทศขันนเรียน โรงเรียนบ้านในทอน วันที่.......18...........เดือน.......กรกฎาคม.............พ.ศ. .......2566............ ผู้รับการนิเทศ.......นายนราธร ใจแก้ว...................วิชา............ภาษาอังกฤษ....................... เรื่อง.........................Enjoy Numbers............................ จ านวน 1 ชั่วโมง ****************************************************************** ขันนน าเข้าสู่บทเรียน 1. นักเรียนและครูกล่าวทักทายกันด้วยจังหวะและประโยคถามตอบ 2. นักเรียนร่มกันร้องเพลง Alphabets เพื่อฝึกอักษรและเสียงในภาษาอังกฤษ 3. นักเรียนฝึกออกเสียง Phonics และฝึกการผสมค า ขันนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. นักเรียนเล่นเกม Lottery เขียนเลขลอตเตอรี่ลงในกระดาษ 2 ตัว แล้วสุ่มรางวัลผ่านสื่อ Wheel of name เมื่อได้เลขรางวัล ครูถาม What the number are there? นักเรียนพูดชื่อตัวเลข ที่เห็นทีละเลขและพูดเป็นจ านวน โดยครูจะสุ่มตัวเลข 3 – 5 ครั้ง และเล่นแบบ 3 ตัวเลข พร้อมฝึก การบอกตัวเลขและจ านวนอีก 3 รอบ 2. นักเรียนเล่นเกม Bingo ให้แต่ละคนสุ่มหยิบเลขจาก Mystery Box Bingo ในแต่ละรอบ แล้วออกเสียงจ านวนดังกล่าว พร้อมหาเลขาบนกระดาน Bingo ของตนเอง หากมีเลขดังกล่าวให้วาง เหรียญทับช่องตัวเลขนั้น เมื่อเล่นจนสามารถหาผู้ชนะได้ (วางเหรียญได้เต็มแก้ว) เล่น 2 รอบ โดยประมาณ 3. นักเรียนฝึกนับจ านวนตัวเลข 1-100 และฝึกออกเสียงค าคล้ายคลึงกัน เช่น 6 – six 16 – sixteen 60 – sixty 66 – sixty-six 4. นักเรียนศึกษาค าศัพท์ before (ก่อน) after (หลัง) และฝึกคิดล าดับตัวเลขผ่านประโยค - What the number comes before (numbers) - What the number comes after (numbers) ขันนสรุป 1. นักเรียนสรุปความรู้ร่วมกับครูอีกครั้งผ่านการถามตอบ ผลการนิเทศการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ครบถ้วนตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ 2. ครูก าหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ที่สามารถวัดและประเมินผลได้ภายในคาบเรียน 3. ครูออกแบบกิจกรรมเรียนรู้เน้นการเรียนแบบ Active Learning ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ เรียน เน้นทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน เน้นการสร้างองค์ความรู้ และนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง


๓๑ 4. กระบวนการวัดและประเมินผล เป็นการประเมินผู้เรียนระหว่างเรียน เน้นการประเมิน เพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการนิเทศการสอนแบบการจัดการเรียนรู้ (Active Learning) (สังเกตการสอนของครู) 1. ครูผู้สอนมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียน 2. ครูมีการเตรียมการสอน มีเกม มีสื่อประกอบการสอนที่หลากหลาย ลักษณะของสื่อ เหมาะสมตามวัยของผู้เรียน 3. ครูให้ความสนใจ ดูแลนักเรียนอย่างทั่วถึง มีการใช้ค าถามกระตุ้น ยั่วยุให้ผู้เรียนสนใจ ตลอดเวลา และแนะน าเพิ่มเติม 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามและแสดงความคิดเห็น 5. ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6. ครูสร้างขวัญและก าลังใจ ให้ค าชื่นชม สร้างพลังบวกนักเรียนเป็นอย่างดี ผลการนิเทศการจัดบรรยากาศในชันนเรียน 1. สภาพทางกายภาพของห้องเรียนมีความเหมาะสม ทั้งขนาดของห้อง แสง สี ระดับเสียง ของครู กระตุ้นการเรียนของผู้เรียนได้ดี 2. ครูมีการสร้างความสนใจก่อนเรียน ระหว่างเรียน และติดตามให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ให้เสร็จทันเวลา 3. บรรยากาศระหว่างครู เพื่อนนักเรียน มีการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน 4. นักเรียนให้ความร่วมมือในการน าเสนอความรู้ของครู และสนใจปฏิบัติกิจกรรมเมื่อครู มอบหมาย โดยมีครูกระตุ้นเป็นระยะ 5. นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น โดยมีครูให้ก าลังใจ ให้ค าชื่นชม และมีเพื่อนนักเรียน ปรบมือ ให้เกียรติต่อกัน สร้างพลังบวกระหว่างเรียนได้ดี ข้อเสนอแนะ การสอนภาษาอังกฤษส าหรับเด็ก ควรมุ่งเน้นทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน ให้นักเรียนได้ฝึกการ สนทนาโต้ตอบ เน้นการใช้ภาษาอังกฤษระหว่างครูกับนักเรียน ครูควรเลี่ยงการแปลความหมายเป็น ภาษาไทย แต่อาจสื่อความหมายด้วยกิริยา ท่าทาง หรือรูปภาพแทน ผู้นิเทศ นางอุมาวรรณ ตะวัน


๓๒ จุดเด่น ข้อเสนอแนะ ภาพรวมโรงเรียนในเครือข่ายภักดีภูธร จุดเด่น 1. ผู้บริหารสถานศึกษา มีการวางแผน บริหารจัดการ ให้ความส าคัญกับงานบริหาร วิชาการอย่างดีเยี่ยม 2. ผู้บริหารมีการสนับสนุน ช่วยเหลือ ร่วมแก้ปัญหา สร้างขวัญก าลังใจต่อครู และบุคลากร ตลอดเวลา ด ารงตนเป็นแบบอย่างที่ดีต่อครู นักเรียน และผู้ปกครอง เพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อ ผู้ปกครองและชุมชน 3. ครูผู้สอนมีประสบการณ์ มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนการสอน มีเทคนิควิธี สอนที่สร้างแรงจูงใจต่อการเรียน ครูมีประสบการณ์ มีความเชี่ยวชาญในการใช้เทคโนโลยี ในการ จัดการเรียนการสอนอย่างเต็มความสามารถ 4. ครูมีความรักความเมตตาต่อศิษย์ มีการช่วยเหลือนักเรียนที่ต้องดูแลพิเศษ นักเรียนที่ต้องซ่อม เสริม ช่วยเหลือทางการเรียน นักเรียนที่ได้รับผลกระทบจากการฉีดวัคซีน มีการติดตามนักเรียนอย่าง สม่ าเสมอ เพื่อป้องกันไม่ให้นักเรียนหลุดจากระบบการศึกษา และได้รับโอกาสทางการเรียนอย่างทั่วถึง 5. โรงเรียนมีการประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร ของโรงเรียน ต่อผู้ปกครองและชุมชน หลากหลายช่องทาง เพื่อให้การสื่อสารเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 6. โรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากชุมชน ท้องถิ่น องค์กรภายนอก ในการพัฒนาโรงเรียน พัฒนาครู และนักเรียนอย่างต่อเนื่อง ข้อเสนอแนะ 1. การดูแลป้องกันด้านความสะอาด ความปลอดภัยโดยรอบต่อนักเรียน เนื่องจากโรงเรียน ส่วนใหญ่มีอาณาบริเวณกว้างขวาง จึงต้องหมั่นดูแลป้องกันภัยต่าง ๆ อย่างสม่ าเสมอ 2. การดูแลช่วยเหลือนักเรียนในด้านที่นักเรียนมีความบกพร่อง การเรียนที่ถดถอย นักเรียน ที่มีพัฒนาการช้า ส่งเสริมการอ่าน การเขียน การคิดค านวณ อย่างต่อเนื่อง 4. การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจอันดี ต่อผู้ปกครอง ชุมชน คณะกรรมการ สถานศึกษา เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ป้องกันมิให้เกิดความเข้าใจที่ คลาดเคลื่อน ที่จะส่งผลกระทบเชิงลบต่อโรงเรียน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่น การน าผลการนิเทศ ติดตามไปใช้พัฒนา คณะผู้ท าการนิเทศ รวบรวมข้อมูลที่จากการออกนิเทศ สรุปผล ตามประเด็นการ นิเทศพิจารณาจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาของโรงเรียนแต่ละโรงเรียน เพื่อเป็นแนวทางในการชี้แนะ เติม เต็มให้กับโรงเรียนที่มีบริบทในการพัฒนา แนวทางในการช่วยเหลือ แลกเปลี่ยน เป็นฐานการเรียนรู้ และประสบการณ์ร่วมกัน ในการวางแผน ขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เกิดขึ้นต่อผู้เรียน อย่างสูงสุด และเพื่อการวางแผนต่อการนิเทศในครั้งต่อไป


๓๓ ภาคผนวก


๓๔ ภาพนิเทศติดตาม พัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนหงษ์หยกบ ารุง


๓๕ สมุดนิเทศโรงเรียนหงษ์หยกบ ารุง


๓๖ ภาพนิเทศติดตาม พัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนท่าฉัตรไชย


๓๗ สมุดนิเทศโรงเรียนท่าฉัตรไชย


๓๘ ภาพนิเทศติดตาม พัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนวัดมงคลวราราม


๓๙ สมุดนิเทศโรงเรียนวัดมงคลวราราม


๔๐ ภาพนิเทศติดตาม พัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านคอเอน


๔๑ สมุดนิเทศโรงเรียนบ้านคอเอน


๔๒ ภาพนิเทศติดตาม พัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านหมากปรก


๔๓ สมุดนิเทศโรงเรียนบ้านหมากปรก


๔๔ ภาพนิเทศติดตาม พัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านไม้ขาว


๔๕ สมุดนิเทศโรงเรียนบ้านไม้ขาว


๔๖ ภาพนิเทศติดตาม พัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านสาคู


Click to View FlipBook Version