The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ร่าง รวมเล่มแนวทางปี 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phakhanan.mo, 2022-03-24 04:36:42

ร่าง รวมเล่มแนวทางปี 2565

ร่าง รวมเล่มแนวทางปี 2565

แนวทางการตรวจราชการ
ตามแผนการตรวจราชการและการขับเคลื่อน

แบบบรู ณาการในระดบั พน้ื ท่ี
ของผูต้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

สำนกั ตรวจราชการ
สำนกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์





ทำเนยี บคณะผู้ตรวจรำชกำรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565

นายสตั วแพทยอ์ ภยั สุทธสิ งั ข์
หัวหน้าผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประสาน กากบั ทกุ เขตตรวจราชการ และรับผดิ ชอบเขตตรวจราชการที่ 7 และ 14

นายอรณุ ชยั พทุ ธเจรญิ นายสญั ญา แสงพุ่มพงษ์
ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รบั ผดิ ชอบเขตตรวจราชการที่ 2 และสว่ นกลาง
รบั ผิดชอบเขตตรวจราชการท่ี 5

นายเศรษฐเกยี รติ กระจ่างวงษ์ พนั จ่าเอกประเสรฐิ มาลยั
ผ้ตู รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รบั ผิดชอบเขตตรวจราชการท่ี 13 และ 16
รบั ผิดชอบเขตตรวจราชการที่ 8 และ 9

นายพรี พนั ธ์ คอทอง นายชาตรี บญุ นาค
ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รับผดิ ชอบเขตตรวจราชการท่ี 10 และ 11 รบั ผดิ ชอบเขตตรวจราชการท่ี 15 และ 18

นายสุรเดช สมเิ ปรม นายขจร เราประเสรฐิ
ผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รบั ผิดชอบเขตตรวจราชการท่ี 12 และ 17
รับผดิ ชอบเขตตรวจราชการท่ี 1

นางกุลฤดี พัฒนะอมิ่ นายวิชยั ไตรสรุ ตั น์
ผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รบั ผิดชอบเขตตรวจราชการที่ 3 และ 4
รับผดิ ชอบเขตตรวจราชการท่ี 6



คำนำ

แนวทางการตรวจราชการและการขับเคลื่อนแบบบูรณาการในระดับพื้นที่
ของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานตรวจราชการของ
ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักตรวจราชการ
จึงได้รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตรวจราชการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เพื่อใช้ประกอบการขับเคลื่อนงานตามแผนการตรวจราชการและการขับเคลื่อน
แบบบูรณาการในระดับพื้นที่ของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 ทผี่ า่ นความเหน็ ชอบจากรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ ตลอดจนกฎหมาย ระเบยี บ คำส่ังทเี่ กยี่ วข้องกับงานตรวจราชการ

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 คณะผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ได้ดำเนินการจัดทำแผนการตรวจราชการและการขับเคลื่อนแบบบูรณาการใน ระดับ
พื้นที่ ของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้สอดคล้องกับนโยบายของ
รัฐบาล รวมถึงงานสำคัญของรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยเน้นการ
ขับเคลื่อนงานระดับพื้นท่ีเป็นรายชนิดสินค้าเกษตรที่สำคัญ เพื่อให้การขับเคลื่อนงาน
สำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในเชิงพื้นที่ประสบผลสำเร็จตามนโยบาย
ท่กี ำหนด

ขอขอบคุณหน่วยงานทุกส่วนราชการที่ให้การสนับสนุนข้อมูลสำคัญในการจัดทำ
แนวทางการตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการและการขับเคล่ือนแบบบูรณาการ
ในระดับพื้นท่ี ของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการขับเคลื่อนงานในพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ
ต่อไป

สำนักตรวจราชการ
สำนกั งานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

มกราคม 2565

สารบัญ

เรอ่ื ง หนา้

แผนการตรวจราชการและการขบั เคลอ่ื นแบบบรู ณาการในระดับพื้นท่ี ของผตู้ รวจ
ราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

แผนปฏิบัติงานการตรวจราชการของผ้ตู รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ตารางมอบหมายผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รับผิดชอบงาน
สำคัญตามแผนการตรวจราชการและการขับเคล่ือนแบบบูรณาการในพื้นท่ี
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ร่วมกับ
ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรีและผู้ตรวจราชการกระทรวงต่าง ๆ
ภายใต้ประเด็นเร่งด่วนของรัฐบาล (Hot issue) และนโยบายของรัฐบาล
(issue) ตามประเดน็ ท่ีสำนักนายกรัฐมนตรีกำหนด

แนวทางการตรวจราชการ ตามแผนการตรวจราชการและการขับเคล่ือนแบบ
บรู ณาการในระดับพนื้ ที่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

แบบรายงาน ผลการตรวจราชการและการขับเคล่ือนแบบบรู ณาการในระดับ
พ้ืนทข่ี องผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(1) ดา้ นพืช
(2) ดา้ นปศุสตั ว์
(3) ดา้ นประมง

เรือ่ ง หนา้

ภาคผนวก

• ระเบียบสำนักนายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548

• ประกาศคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจงั หวัดและกลมุ่ จังหวัด
แบบบูรณาการ ณ วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 เรอ่ื ง การจัดตงั้
กลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดทเี่ ปน็ ศนู ย์ปฏิบตั กิ ารของกลุ่มจงั หวดั
และกำหนดจังหวัดที่เปน็ ศนู ย์ปฏบิ ตั กิ ารของกลุ่มจังหวดั (ฉบบั ที่ 3)

• คำส่งั สำนกั นายกรัฐมนตรี ที่ 221/2561 ลงวันท่ี 10 กนั ยายน
พ.ศ. 2561 เร่ือง การกำหนดพ้นื ท่ีการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการ

• คำสั่งสำนกั นายกรฐั มนตรีท่ี 319/2564 ลงวันที่ 19 พฤศจกิ ายน
พ.ศ. 2564 เรอื่ ง การตรวจราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ของผตู้ รวจราชการสำนักนายกรฐั มนตรี

คำส่งั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

• คำส่ังกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ 1000/2561 ลงวันท่ี 26
ตุลาคม พ.ศ. 2561 เร่ือง อำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจราชการกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์

• คำสั่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ 869/2561 ลงวันที่ 1 ตุลาคม
พ.ศ. 2561 เร่ือง กำหนดเขตตรวจราชการของผู้ตรวจราชการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

• คำส่ังกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ท่ี 868/2561 ลงวันท่ี 1 ตุลาคม
พ.ศ.2561 เรื่อง แต่งตั้งหัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์และมอบอำนาจหน้าท่ีให้หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ส่งั และปฏิบตั ิราชการแทนปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

• คำส่ังกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ 189/2565 ลงวันที่ 16
มีนาคม พ.ศ. 2565 เร่ือง แก้ไขเพิ่มเติมคำส่ังแต่งตั้งหัวหน้าผู้ตรวจ
ราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และมอบอำนาจหน้าที่ให้หัวหน้า
ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์สั่งและปฏิบัติราชการแทน
ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

เร่อื ง หนา้

• คำสั่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ท่ี 191/2565 16 มีนาคม พ.ศ.
2565 เรื่อง มอบหมายเขตตรวจราชการและการตรวจติดตามเร่งรัด
การปฏิบัติงาน

• คำสั่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ท่ี 951/2564 ลงวันที่ 19
ตุลาคม พ.ศ. 2564 เรื่อง แผนการตรวจราชการและการขับเคลื่อน
แบบบูรณาการในระดับพื้นท่ี ของผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

• คำส่ังกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ท่ี 1364/2563 ลงวันที่ 24
พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 เร่ือง แต่งต้ังคณะกรรมการและการ
ขับเคลื่อนแบบบูรณาการในพื้นที่ ประจำเขตตรวจราชการ ของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์

• คำสั่งคณะกรรมการขับเคล่ือนแบบบรู ณาการในระตับพ้ืนท่ี ที่ ๑/2๕๖๕
ลงวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2565 เร่ือง แต่งต้ังเลขานุการของคณะกรรมการ
ขับเคล่ือนแบบบูรณาการในระดับพ้ืนท่ีระดับส่วนกลาง พื้นท่ี
กรุงเทพมหานคร

• คำสั่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ท่ี 6/2560 ลงวันที่ 4 มกราคม
พ.ศ. 2560 เรอ่ื ง มอบหมายให้ข้าราชการปฏบิ ตั ริ าชการ

• คำส่ังกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ท่ี 1335/2563 ลงวันที่ 17
พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 เร่ือง มอบหมายให้ข้าราชการปฏิบัติหน้าท่ี
ผชู้ ว่ ยผ้ตู รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในสว่ นกลาง

• คำส่ังกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ท่ี 18/2559 ลงวันที่ 8 มกราคม
พ.ศ. 2559 เรื่อง มอบหมายอำนาจหน้าท่ีให้เกษตรและสหกรณ์
จงั หวดั ปฏิบตั ริ าชการ

• คำส่ังกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ท่ี 2342/2562 ลงวันที่ 31
ตุลาคม พ.ศ. 2562 เร่ือง การกำหนดหน้าที่ของเกษตรและสหกรณ์
จงั หวัดในการเป็นผู้ชว่ ยผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

• คำสั่งคณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์
ท่ี 2/2561 ลงวันที่ 16 มีนาคม พ .ศ. 2561 เรื่องแต่งตั้ ง
คณะอนกุ รรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณร์ ะดับจงั หวัด

เร่อื ง หนา้

• คำส่ังกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ท่ี 978/2564 ลงวันที่ 2
พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 เร่ืองแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนงานด้าน
การเกษตรระดับจังหวัด คณะทำงานขับเคล่ือนงานด้านการเกษตร
ระดับอำเภอและคณะกรรมการขับเคลื่อนงานด้านการเกษตรในเขต
พื้นท่ีกรุงเทพมหานคร

• คำสั่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ท่ี 1/2562 ลงวันท่ี 6 มีนาคม
พ.ศ. 2562 เรอ่ื ง แต่งต้ังคณะอนกุ รรมการบรหิ ารจดั การสินค้าเกษตร

• คำส่งั คณะกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ ที9่ /2564 ลงวนั ท่ี 14
กันยายน พ.ศ. 2564 เรื่อง แต่งต้ังคณะอนุกรรมการและคณะทำงาน
ที่เกี่ยวข้องภายใต้คณะกรรมการพัฒนาและบรหิ ารจัดการผลไม้

• หนังสือสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ท่ี นร
0110/2230 ลงวันท่ี 31 สิงหาคม พ.ศ. 2558 เร่ือง ค่าตอบแทน
การปฏบิ ัติงาน

• หนังสือกรมบัญชกี ลาง ที่ กค 0408.4/36608 ลงวนั ที่ 27 กันยายน
พ.ศ. 2559 เรอ่ื ง ค่าตอบแทนท่ีปรกึ ษาผู้ตรวจราชการภาคประชาชน

• หนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0408.5/8517 ลงวันท่ี 15 กุมภาพันธ์
พ.ศ. 2564 เรื่อง ขอหารือการเบิกจ่ายค่าตอบแทนในการประชุมผ่าน
ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์

• คำส่ังสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 131/2562 ลงวันท่ี 7
สิงหาคม 2562 เรื่อง แต่งต้ังที่ปรึกษาผู้ตรวจราชการภาคประชาชน
ชดุ ที่ 1 (พ.ศ. 2563 – พ.ศ. 2565)

• ทำเนยี บผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

• ทำเนียบเกษตรและสหกรณ์จังหวัดและกรุงเทพมหานคร ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565

******************************************



แผนการตรวจราชการและการขับเคลอื่ น
แบบบูรณาการในระดบั พ้นื ที่

ของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565



แผนการตรวจราชการและการขบั เคลอ่ื น
แบบบูรณาการในระดับพ้นื ที่

ของผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

✽✽✽✽✽✽✽✽✽✽✽✽✽✽✽✽✽✽✽✽

หลกั การและเหตผุ ล

การตรวจราชการเป็นมาตรการสำคัญประการหน่ึงในการสนับสนุนการบริหาร
ราชการแผ่นดินท่ีจะทำให้การปฏิบัติราชการหรือการจัดทำภารกิจของหน่วยงานของรัฐให้
เป็นไปตามเป้าหมาย อีกทั้งเป็นกลไกสำคัญที่สามารถแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ อันเกิด
จากการปฏิบัติราชการหรือจัดทำภารกิจต่าง ๆ ของภาครัฐเพ่ือก่อให้เกิดประโยชน์สุข
แก่ประชาชน

ด้วยความสำคัญของการตรวจราชการดังกล่าว เป็นท่ีมาของระเบียบสำนัก
นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการ พ.ศ. 2548 เพอื่ ท่ีจะปรับปรุง
การตรวจราชการให้มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในการปฏิบัติราชการหรือการจัดทำ
ภารกิจยิ่งข้ึน รวมทั้งเป็นไปตามหลักการบริหารแบบบูรณาการ และการบริหารกิจการ
บ้านเมอื งทีด่ ี

การตรวจราชการตามระเบียบน้ี กำหนดให้ดำเนินการตามแผนการตรวจราชการ
ประจำปี หรือตามท่ีได้รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชา นายกรัฐมนตรี หรือคณะรัฐมนตรี
ซึ่งในส่วนของการตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการประจำปี ระเบียบกำหนดให้
หัวหน้าหน่วยงานของรัฐและผู้ตรวจราชการร่วมกันจัดทำแผนการตรวจราชการประจำปี
ถ้าในกระทรวงใดมีผู้ตรวจราชการท้ังในระดับกระทรวง และระดับกรม แผนการตรวจ
ราชการประจำปขี องกรม ตอ้ งสอดคล้องกับแผนการตรวจราชการประจำปีของกระทรวง

ดังน้ัน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงได้จัดทำแผนการตรวจราชการและ
การขับเคลื่อนแบบบูรณาการในพ้ืนท่ี ของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 การขับเคล่ือนงานเป็นไปตามรายสินค้าเกษตรท่ีสำคัญ
และสอดคล้องกับนโยบายกระทรวง และสอดรับกับประเด็นการเกษตรตามแผนย่อย
ของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ โดยระดบั พ้ืนที่จงั หวัดกำหนดและวิเคราะห์คัดเลือก

ชนิดสินค้าเกษตรท่ีสำคัญ แบ่งประเภทเป็น พืชสำคัญ สมุนไพร ปศุสัตว์ ประมง และเป็น
สินค้าสร้างมูลค่าสูงทางเศรษฐกิจของจังหวัด (GPP) หรือเป็นสินค้าทางการเกษตร
ท่ีจังหวัดต้องการส่งเสริม ซึ่งสินค้าเกษตรแต่ละชนิดมีความสำคัญมีความสอดคล้องและ
ดำเนินงานตามประเด็นแผนย่อยทั้ง 6 ประเด็น (1. เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น 2. เกษตร
ปลอดภัย 3. เกษตรชีวภาพ 4. เกษตรแปรรูป 5. เกษตรอัจฉริยะ 6.ระบบนิเวศ
การเกษตร) ให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล นโยบายรัฐมนตรี และนโยบายของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ เพ่ือเป็นกรอบแนวทางการปฏิบัติงานของผู้ตรวจราชการกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ในการตรวจติดตาม กำกับดูแล ประสาน และการขับเคล่ือนแบบบูรณาการ
ในพ้ืนที่ เพ่ือให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สามารถดำเนินงาน
ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ตอบสนองนโยบายของรัฐได้อย่างเป็นรูปธรรม
อันจะก่อให้เกดิ ประโยชน์แก่เกษตรกรต่อไป

วัตถปุ ระสงค์

๑. เพ่ือเป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานตรวจราชการและการขับเคลื่อน
แบบบูรณ าการในระดับพ้ืนที่ ของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมกับ
สว่ นราชการและรฐั วิสาหกิจในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๒. เพ่ือให้ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานได้รับทราบกลไก กระบวนการตรวจราชการ
และการปฏบิ ตั ิงานของผูต้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๓. เพ่ือเป็นเครื่องมือในการประสาน และการตรวจราชการและการขับเคลื่อน
แบบบูรณาการ ระหว่างส่วนราชการภายในและภายนอกกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

๔. เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานตาม
นโยบายท่ีสำคัญของรัฐบาลของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
และเปา้ หมายท่ีกำหนด

๕. เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการแนะนำ ชี้แจง กระตุ้น เร่งรัด และติดตามการปฏิบัติงาน
ของหน่วยงาน และเจา้ หน้าที่ให้เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล และนโยบายของกระทรวง
เกษตรและสหกรณอ์ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

6. เพื่อให้ผลการตรวจราชการตอบสนองนโยบายของกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ มีความถูกต้องสมบูรณ์ ครบถ้วน สะดวกต่อการวินิจฉัยส่ังการของผู้บังคับบัญชา
ระดบั สูง เร่งรัดและขบั เคลื่อนงานตรวจราชการแบบบรู ณาการทกี่ ำหนดไว้ในแผนการตรวจ
ราชการใหเ้ กิด ผลสัมฤทธิ์ตอ่ ไป

เปา้ หมายการตรวจราชการ

การตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดำเนินการ
ตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการและการขับเคล่ือนแบบบูรณาการในระดับพื้นที่
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕65 ดงั นี้

1. การตรวจราชการตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1.1 การบริหารจดั การนำ้ อยา่ งเป็นระบบ
1.2 การปอ้ งกันโรคระบาด ท้ังในพชื และสตั ว์
1.3 การพัฒนาชอ่ งทางการตลาด
1.4 คุณภาพและมาตรฐานในการรับรองสินคา้ เกษตร
1.5 การลดต้นทุนการผลิต
1.6 การส่งเสริมอาชพี ดา้ นประมงและปศสุ ัตว์
1.7 การผลิตเมลด็ พันธุ์
1.8 ศนู ยข์ อ้ มลู ด้านการเกษตร (Big Data)
1.9 การพัฒนาเกษตรกรเขา้ สู่ Smart Farmer
1.10 การขบั เคลอ่ื นศูนย์เทคโนโลยีเกษตรและนวตั กรรม
(Agritech and Innovation Center : AIC)
1.11 ปรับปรงุ แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับจังหวดั
1.12 ศูนยเ์ รยี นรู้การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการผลติ สินค้าเกษตร (ศพก.)
1.13 โครงการอืน่ ๆ ท่ีได้รบั มอบหมาย

ท้ังนี้ การขบั เคลอ่ื นแบบบรู ณาการในพืน้ ที่ ให้เป็นไปตามรายสนิ คา้ เกษตรท่ีสำคญั

2. การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ร่วมกับ
ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรีและผู้ตรวจราชการกระทรวงต่าง ๆ ภายใต้ประเด็น
นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล (Hot Issue) และนโยบายสำคัญของรัฐบาล (Issue) ตาม
ประเด็นทสี่ ำนักนายกรัฐมนตรกี ำหนด

3. การตรวจราชการในสว่ นภูมภิ าครว่ มกับนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และ
รัฐมนตรี

ขอบเขตและวธิ กี ารตรวจราชการ

การตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กรณีปกติ
มีขอบเขตการตรวจราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๘ และมวี ธิ ีการตรวจราชการ ดงั นี้

๑. กำหนดประเด็น ขอบเขต แนวทางการตรวจราชการ
๒. แจ้งผู้ที่เก่ียวข้องทราบเพ่ือเตรียมการในส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมท้ังประสานดำเนินการ
เพอ่ื ประโยชน์ในทางปฏิบัติ
๓. การตรวจเยี่ยม เพื่อรับฟังทุกข์สุขและความคิดเห็น พร้อมท้ังให้คำแนะนำชี้แจง
ให้ความช่วยเหลือและให้กำลังใจแก่หน่วยรับตรวจ ตลอดจนรับฟังความคิดเห็น
ความต้องการของประชาชน แนะนำช้ีแจงในฐานะเป็นส่ือกลางระหว่างรัฐบาล หน่วยงาน
/เจ้าหน้าท่ีของรฐั กบั ประชาชน
๔. การตรวจติดตามเรง่ รดั การปฏิบัติงานของหน่วยงาน ใหเ้ ป็นไปตามเปา้ หมาย
๕. การตรวจติดตามผล เป็นการติดตามดูงานและโครงการให้บังเกิดผลตาม
วัตถุประสงค์และเป้าหมายมีผลกระทบต่อประชาชน ปัญหาอุปสรรค และข้อขัดข้อง
ในการปฏิบตั งิ านอยา่ งไรบ้าง
๖. การแนะนำให้ข้อคิดเห็น เพื่อให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติได้ถูกต้องตามอำนาจหน้าท่ี
และภารกจิ ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ตลอดจนให้มีการประสานงานกับทุกหน่วยงานและทุกระดับ
๗. การรายงาน กำกับให้มีการรายงานเป็นลายลักษณ์อักษร เว้นแต่ในกรณี
เร่งด่วนสำคัญให้รายงานด้วยวาจาผ่านเครื่องมือส่ือสารทุกชนิดตามสมควร และให้บันทึก
การดำเนินการดงั กลา่ วไวใ้ นรายงานผลการตรวจราชการดว้ ย

หน่วยงานสนบั สนุนการตรวจราชการ

๑. ผู้ตรวจราชการกรม ผู้อำนวยการสำนักและผู้แทนท่ีได้รับมอบหมายปฏิบัติ
หน้าที่เป็นผู้ช่วยผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตามคำสั่งกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ ที่ 6/2560 ลงวันท่ี 4 มกราคม พ.ศ. 2560

2. ผู้อำนวยการสำนัก/กองนโยบายหรือแผนงาน ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติ
หน้าที่ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในส่วนกลาง ตามคำสั่ง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ 1335/2563 ลงวันท่ี 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563

3. ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระดับจังหวัด (เกษตร
และสหกรณ์จังหวัด) ตามคำส่ังกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ 18/2559 ลงวันที่ 8
มกราคม 2559

4. การกำหนดหน้าที่ของเกษตรและสหกรณ์จังหวัดในการเป็นผู้ช่วยผู้ตรวจ
ราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตามคำสั่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ท่ี 2342/2562 ลงวันที่ 31 ตุลาคม 2562

5. คณะกรรมการขับเคลื่อนงานด้านการเกษตรระดับจังหวัด คณะทำงาน
ขับเคลื่อนงานด้านการเกษตรระดับอำเภอ และคณะกรรมการขับเคลื่อนงานด้าน
การเกษตรในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตามคำสั่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ที่ 978/2564 ลงวันท่ี 2 พฤศจิกายน 2564

6. สำนักตรวจราชการ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นหน่วยงาน
สนับสนุนการปฏิบัติงานของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ
ประสานงานการตรวจราชการกับสำนักนายกรัฐมนตรี กรมต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวง
และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนรวบรวมข้อมูล และจัดทำสรุปรายงานผลการ
ตรวจราชการ

7. หน่วยงานในส่วนภูมิภาค ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งเป็นหน่วย
รับตรวจ ทำหน้าที่อำนวยความสะดวกและให้ความร่วมมือในการตรวจติดตามผล
การดำเนินงานและจัดเตรียมข้อมูลประกอบการตรวจราชการ ชี้แจง ตอบข้อซักถาม
ตลอดจนรายงานผลความคืบหน้า การขับเคลื่อนงานตามนโยบายกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ ตามชนิดสินค้าท่ีสำคัญของจังหวัด ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะท่ีเกี่ยวข้อง
กับการตรวจขับเคลื่อนงานในพ้ืนท่ี

การรายงานและการดำเนินการตามผลการตรวจราชการ

การรายงานผลการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ กรณีปกติ ให้ปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจ
ราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ หมวด ๓ การรายงานและการดำเนินการตามผลการตรวจ
ราชการ โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังน้ี

๑. เมื่อเสร็จสิ้นการตรวจราชการในแต่ละครั้ง ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวง
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ต ร ว จ ร า ช ก า ร เ ส น อ ต ่อ ป ล ัด ก ร ะ ท ร ว ง ห รือ ห ัว ห น ้า ก ลุ ่ม ภ า ร ก ิจ
ที่รับผิดชอบ และในกรณีที่ปลัดกระทรวงหรือหัวหน้ากลุ่มภารกิจที่รับผิดชอบเห็นว่า
มีปัญหาสำคัญ ให้สรุปรายงานเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวง เพื่อทราบและพิจารณา
สั่งการต่อไป

๒. การรายงานผลการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงต่อรัฐมนตรี
หรือรองนายกรัฐมนตรี ที ่ไ ด ้รับ ม อ บ ห ม า ย ใ ห ้ก ำ กับ ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร ใ น เ ข ต พื ้น ที ่
ให้เป็นไปตามท่ีรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีส่ังการในกรณีที่ผู้ตรวจราชการรายงาน
ถึงปัญหาหรืออุปสรรคที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขและปรับปรุง ให้เป็นหน้าที่ของ
ผู้ตรวจราชการซึ่งจัดทำรายงานที่จะคอยติดตามผลการดำเนินการของหน่วยงานของ
รัฐที่เกี่ยวข้องและถ้าพ้นหกสิบวัน แล้วยังมิได้มีการดำเนินการแก้ไขหรือปรับปรุงอย่าง
หนึ่งอย่างใด ให้รายงานรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมายให้กำกับ
การปฏิบัติราชการในเขตพื้นที่เพื่อพิจารณาสั่งการต่อไป

๓. กรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องรายงานหรือจะต้องขอคำวินิจฉัย
ส่ังการจากผู้มีอำนาจให้รายงานทางโทรศัพท์หรือเคร่ืองมือส่ือสารอ่ืนตามความเหมาะสม
และให้บันทึกการดำเนินการดังกล่าวไว้ในรายงานผลการตรวจราชการด้วย

๔. การรายงานผลการตรวจราชการ ให้จัดทำโดยสรุปให้เห็นถึงสภาพตาม
วัตถุประสงค์ของการตรวจราชการ พร้อมทั้งปัญหาอุปสรรค โดยจะเสนอแน ะแนว
ทางแก้ไขเพิ่มเติมได้ ในกรณีที่ได้แนะนำหรือสั่งการด้วยวาจาไว้ ให้สรุปคำแนะนำและ
การสั่งการนั้นไว้ในรายงานด้วย

๕. สำนักตรวจราชการดำเนินการจัดทำรายงานผลการตรวจราชการ
ประจำปีของผู้ตรวจราชการกระทรวง เป็นภาพรวมตามประเด็นนโยบายกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ ของแต่ละชนิดสินค้าที่สำคัญของจังหวัด ที่กำหนดไว้ในแผนการ
ตรวจราชการประจำปี

สำหรับการจัดทำรายงานผลการตรวจราชการและการขับเคล่ือนแบบบูรณาการ
ในพ้ืนที่ตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดำเนินการ ดงั นี้

(๑) รายงานผลการตรวจราชการและการขับเคลื่อนแบบบูรณาการในระดับ
พ้ืนที่ ประจำเขตตรวจราชการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รายเดือน

(2) รายงานผลการตรวจราชการและการขับเคล่ือนแบบบูรณาการในระดับ
พื้นที่ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยแบ่งเป็น 2 รอบ ได้แก่ รอบ 1 (Project
and Progress Review) เป็นการสรุปผลการตรวจและขับเคลื่อน ตั้งแต่ 1 ต.ค. 64
ถึง 31 มี.ค. 65 และ รอบ 2 (Monitoring and Evaluation) สรุปผลการตรวจและ
ขับเคลื่อน ต้ังแต่ 1 ต.ค. 64 ถึง 31 ส.ค. 65

(3) รายงานผลการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ประจำปี

ผลท่คี าดว่าจะไดร้ บั

๑. ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สามารถกำกับ /ดูแล
ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ งห น่ ว ย งา น ภ า ย ใต้ สั ง กั ด ก ร ะ ท ร ว ง เก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ ได้ อ ย่ า ง มี
ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล

2. ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สามารถเร่งรัดขับเคลื่อน
แผนงานท่ีกำหนดไวใ้ นแผนการตรวจราชการให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ

3. มีกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ และสามารถประสานการตรวจราชการแบบบูรณาการกับหน่วยงานในสังกัดและ
นอกสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้อยา่ งชัดเจน

4. ผู้บริหารของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ทราบผลการดำเนินงาน ปัญหา
อุปสรรค ในการปฏิบัติงานตามนโยบายของรัฐบาล และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดนโยบาย และปรับปรุงแนวทางการดำเนินงานให้มี
ประสทิ ธภิ าพเพม่ิ ขนึ้

5. หน่วยงานระดับปฏิบัติการในพื้นท่ีมีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานจาก
การตรวจเยี่ยม ให้คำปรึกษา ข้อเสนอแนะ ของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและ
สหกรณแ์ ละเกิดการบูรณาการร่วมกนั ในระดบั พ้ืนทอ่ี ยา่ งแทจ้ ริง

การตรวจราชการแบบบูรณาการ

การตรวจราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ
พ.ศ.2548 ข้อ 8 ให้ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรฐั มนตรี ร่วมกับผู้ตรวจราชการกระทรวง
หรือผตู้ รวจราชการกรมทเี่ ก่ียวขอ้ ง ตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการ
ของผู้ตรวจราชการประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาให้ได้ข้อยุติ
หรือได้รับการบรรเทา ทั้งน้ีหากการดำเนินการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน
และการผลักดันการดำเนินการเกี่ยวข้องกับภารกิจของกระทรวงใด ให้ผู้ตรวจราชการ
สำนักนายกรัฐมนตรีร่วมกับผู้ตรวจราชการกระทรวงที่เก่ียวข้อง หรือผู้ตรวจราชการกรม
ที่เก่ียวข้องร่วมกันแก้ไขปัญหาและผลักดัน การดำเนินการดังกล่าว และจัดทำรายงาน
กราบเรียนนายกรัฐมนตรีทราบหรือพิจารณา และให้จัดทำรายงานผล การตรวจราชการ
แบบบูรณาการ รายงานคณะรัฐมนตรีทราบและเผยแพร่ต่อสาธารณชนต่อไป สำหรับ
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) ได้จัดทำกรอบ
แนวทางการตรวจราชการของผูต้ รวจราชการแบบบูรณาการ ดงั น้ี

กรอบแนวทางการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5
1. การขับเคลื่อนประเด็นนโยบายสำคัญของรัฐบาล (Issue) จำนวน ๓ เร่ือง

ประกอบดว้ ย
๑.1 การฟื้นฟูคุณภาพชีวิตของประชาชนหลังการระบาดของโรคติดเชื้อ

ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
๑) จุดเน้นในการตรวจติดตาม
เน้นการตรวจติดตามความคืบหน้าการส่งเสริมการจ้างงาน การพัฒนา

ทักษะแรงงานและการเรียนรู้ การช่วยเหลือและพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม (SMEs) และการส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์และเน้นคุณภาพ
ในภาพรวม ตลอดจนการเตรียมความพร้อมของจังหวัดในการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม
ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หลังวิกฤตโควิด – 19
และการเตรียมการเพื่อรองรับการเปิดประเทศให้สอดคล้องและเป็นไปตามแผนแม่บท
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๓ ประเด็น และแผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
อันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด - 19 พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕ ตามจุดเน้นในการตรวจ
ตดิ ตาม สามารถบรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ท่กี ำหนด

๒) ประเดน็ ในการตรวจติดตาม
2.1) ความคืบหน้าผลการดำเนินการเพ่ือเสริมสร้างศักยภาพในการฟื้นฟู

และขับเคลื่อนประเทศให้สามารถ “ล้มแล้วลุกไว” (Resilience) ตามแผนแม่บทเฉพาะกิจ
ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติอันเปน็ ผลมาจากสถานการณ์โควิด - 19 พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕

(๑) การส่งเสรมิ การจ้างงาน
(๒) การพัฒนาทักษะแรงงานและการเรยี นรู้
(๓) การช่วยเหลอื และพัฒนาศักยภาพวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
(๔) การสง่ เสรมิ การท่องเทีย่ วเชิงสรา้ งสรรคแ์ ละเนน้ คุณภาพ

๒.2) การเตรียมความพร้อมของจังหวัดในการฟ้ืนฟูเศรษฐกิจและสังคม
ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หลังวิกฤตโควิด – 19
(อาทิ การส่งเสริมการท่องเท่ียวเพ่ือกระตุ้นเศรษฐกิจการสร้างรายได้จากการท่องเท่ียว
และการกระตุ้นเศรษฐกิจของจังหวดั ในดา้ นต่าง ๆ)

๒.๓) ความพึงพอใจต่อการฟ้ืนฟูเศรษฐกิจและสังคมท่ีได้รับผลกระทบ
จากการระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ในเชงิ ภาพรวมของจังหวัด

๒.๔) ปัญหา อปุ สรรคในการดำเนนิ งาน และขอ้ คิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ

1.๒ การจัดการส่ิงแวดล้อมสีเขียวเพ่ือความย่ังยืน ตามแนวทางการพัฒนา
เศรษฐกจิ ชวี ภาพ เศรษฐกจิ หมนุ เวียน และเศรษฐกจิ สเี ขียว (BCG Model)

๑) จดุ เน้นในการตรวจติดตาม
1.1) โครงการ/กิจกรรมด้านการบริหารจัดการป่าไม้ โดยมุ่งเน้นท่ีการ

เปลีย่ นแปลงพ้ืนท่ีป่าไม้ การดูแลพ้นื ท่ีป่าสมบูรณ์ การดแู ลพืน้ ทีป่ า่ ชมุ ชน และการเพ่ิมพน้ื ท่ี
สีเขียว รวมถึงการบริหารจัดการ การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพที่เป็นมิตร
ต่อสิ่งแวดล้อมของจังหวัด/กรุงเทพมหานคร ตามแผนขับเคล่ือนกิจกรรมปฏิรูปประเทศ
ที่จะส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสำคัญ (Big Rock) ภายใต้
แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ประเด็นการปฏิรูป
ทรัพยากรทางบก กจิ กรรมปฏริ ปู (Big Rock) เพมิ่ และพัฒนาพ้ืนท่ีปา่ ไม้ให้ได้ตามเปา้ หมาย

1.2) การขับเคลื่อนการดำเนินการการจัดการพ้ืนที่สีเขยี ว โดยมุ่งเน้นที่การ
พัฒนา และดูแลรักษาพื้นที่สีเขียว โดยเฉพาะพ้ืนที่ป่า พื้นท่ีสวนป่า พ้ืนที่สวนสาธารณะ
และพ้ืนที่สีเขียวในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และพื้นท่ีส่วนบุคคล ตลอดจน

การนำทรัพยากรทางชีวภาพกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์ของจังหวัด และกรุงเทพมหานคร
ให้เกิดความสมบูรณ์ยั่งยืนโดยเฉพาะพื้นท่ีป่า พ้ืนท่ีสวนป่า พ้ืนท่ีสวนสาธารณะ และพื้นท่ี
สีเขียวในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และพ้ืนท่ีส่วนบุคคล ให้เป็นไปตามแนวทาง
เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green
Economy : BCG Model)

1.3) การใช้ประโยชน์และหมุนเวียนทรัพยากรทางชีวภาพอย่างย่ังยืน
และชาญฉลาด โดยมุ่งเน้นที่การบริหารจัดการ การหมุนเวียนการใช้ประโยชน์ทรัพยากร
ท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ท้ังด้านการผลิต และการบริโภคให้เป็นไปตามแนวทางเศรษฐกิจ
ชวี ภาพ เศรษฐกิจหมนุ เวียน และเศรษฐกจิ สีเขียว (Bio-Circular-Green Economy : BCG
Model)

2) ประเด็นในการตรวจติดตาม
๒.๑) สถานการณ์พื้นที่สีเขียวและแนวทางการบริหารจัดการพ้ืนที่สีเขียว

โดยเฉพาะพ้ืนที่ป่า พ้ืนท่ีสวนป่า พ้ืนท่ีสวนสาธารณะ และพื้นท่ีสีเขียวในหน่วยงานภาครัฐ
ภาคเอกชน และพืน้ ท่ีสว่ นบุคคลของจังหวดั และกรงุ เทพมหานคร

๒.๒) การขับเคล่ือนโครงการ/กิจกรรมของจังหวัด และกรุงเทพมหานคร
ตามแผนขับเคล่ือนกิจกรรมปฏิรูปประเทศที่จะส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงต่อประชาชน
อย่างมีนัยสำคัญ (Big Rock) ภายใต้แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ประเด็นการปฏิรูป ทรัพยากรทางบก กิจกรรมปฏิรูป (Big Rock) เพิ่ม
และพฒั นาพน้ื ท่ีปา่ ไม้ให้ไดต้ ามเป้าหมาย

๒ .๓ ) การดำเนิ น การของห น่ วยงาน ใน ระดับ พื้ น ที่ จังห วัดและ
กรุงเทพมหานคร ในการบูรณาการขับเคลื่อนการจัดการพื้นที่สีเขียว ในพื้นที่ท่ีรับผิดชอบ
โดยเฉพาะพ้ืนที่ป่า พ้ืนท่ีสวนป่า พ้ืนที่สวนสาธารณะ และพื้นท่ีสีเขียวในหน่วยงานภาครัฐ
ภาคเอกชน และพ้ืนที่ส่วนบุคคล ตลอดจนการบริหารจัดการ การหมุนเวียนการใช้
ประโยชน์ทรพั ยากรท่เี ปน็ มิตรตอ่ สิ่งแวดล้อม ทงั้ ดา้ นการผลิตและการบรโิ ภค

1.๓ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตกล่มุ เปราะบางรายครัวเรือน
๑) จุดเน้นในการตรวจติดตาม

เน้นการตรวจติดตามปัญหาความเดือดร้อน ความต้องการของประชาชน
กลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนในพื้นที่ ผลการดำเนินงานของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการ
ให้ความช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนใน 5 มิติ ได้แก่
รายได้ สุขภาพ การศึกษา ความเป็นอยู่ และการเข้าถึงบริการภาครัฐ รวมท้ังการดำเนินงาน

ของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการรองรับสังคมผู้สูงอายุเพ่ือขับเคล่ือนการบูรณาการ
การให้ความช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางได้อย่างครอบคลุมทุกมิติ
แบบองค์รวม ตลอดจนรับฟังข้อคิดเห็น ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในเชิงภาพรวม
จากตัวแทนภาครัฐ เอกชน และประชาชน ที่มีต่อการขับเคล่ือนการบูรณาการ
การใหค้ วามช่วยเหลอื และพัฒนาคุณภาพชีวติ กลุ่มเปราะบางในเชิงภาพรวม

2) ประเดน็ ในการตรวจติดตาม
๒.๑) ปัญหาความเดือดร้อน ความต้องการของประชาชนกลุ่มเปราะบาง

รายครัวเรือนในภาพรวมของจังหวัด
๒.๒) ผลการดำเนนิ งานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการให้ความช่วยเหลือ

และพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนใน ๕ มิติ ได้แก่ รายได้ สุขภาพ
การศกึ ษา ความเปน็ อยู่ และการเข้าถึงบรกิ ารภาครัฐ

๒.๓) การบูรณาการการให้ความช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิต
กลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนใน ๕ มิติ ได้แก่ รายได้ สุขภาพ การศึกษา ความเป็นอยู่
และการเขา้ ถงึ บรกิ ารภาครัฐ

๒.๔) การดำเนินงานของหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งในการรองรับสงั คมผ้สู งู อายุ
๒.๕) ปัญหา – อุปสรรคในการดำเนนิ งาน และขอ้ คิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะ

(๑) การให้ความช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง
รายครัวเรือนใน ๕ มิติ ได้แก่ รายได้ สุขภาพ การศึกษา ความเป็นอยู่ และการเข้าถึง
บรกิ ารภาครฐั

(๒) การเตรียมความพร้อมของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการรองรับ
สังคมผูส้ ูงอายุ

2. การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพ่ือขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ
ไปส่กู ารปฏิบัติ จำนวน ๒ เรอ่ื ง ประกอบด้วย

2.1 การเพ่ิมมูลค่าสินคา้ เกษตรแปรรปู และผลติ ภณั ฑ์
1) จดุ เน้นในการตรวจตดิ ตาม
๑.1) การดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการส่งเสรมิ เกษตรกรให้

เขา้ ถึงเทคโนโลยีท่ีใช้ในการแปรรปู สินค้าเกษตร
1.2) ความต่อเน่ืองและการต่อยอดในเชิงพาณิชย์จากการพัฒนา

เทคโนโลยที ่ีใช้ในการแปรรปู สินค้าเกษตรของหน่วยงานท่ีเกยี่ วข้อง

1.3) การเข้าถึงแหล่งทุนของเกษตรกรเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงเทคโนโลยี
ทใ่ี ช้ในการแปรรปู สินคา้ เกษตร

2) ประเดน็ ในการตรวจติดตาม
๒.๑) ผลการดำเนินงานของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับเรื่องเกษตรแปรรูป
ระหว่างปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕ ในภาพรวม
(๑) การรวมกลุม่ เกษตรกร และการพัฒนาวัตถุดิบเพ่ือการเกษตรแปรรูป
(2) การพัฒนาและส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีการเกษตร
แปรรปู
(๓) การตลาดของสินค้าเกษตรแปรรปู
(๔) การเข้าถึงแหล่งทุนของเกษตรกรเพ่ือปรับเปลี่ยนการทำเกษตร
แบบเดิมส่กู ารเกษตรแปรรูป
(๕) การบูรณาการของหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพอ่ื ขบั เคล่อื นเกษตรแปรรูป
ทงั้ ในเชิงพืน้ ท่แี ละในเชิงภาพรวมต่างพ้นื ท่ี (ถ้าม)ี

2.2) ปญั หาอปุ สรรคในการดำเนินงานเพอื่ ขบั เคลอื่ นสนิ คา้ เกษตรแปรรูป
และผลติ ภัณฑ์มมี ูลคา่ เพมิ่ ข้ึน

2.3) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนา
/ปรับปรุงการปฏบิ ัตงิ าน

2.2 การเพม่ิ ศักยภาพและขดี ความสามารถของเศรษฐกจิ ฐานราก
1) จุดเน้นในการตรวจตดิ ตาม
1.1) การดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการ

ช่วยเหลือทางวิชาการต่าง ๆ เพ่อื สรา้ งเสริมองค์ความรู้และทักษะที่สำคญั และจำเป็นให้กับ
ประชาชนกลุ่มผู้มีรายได้น้อย เพ่ือยกระดับสู่การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ และการส่งเสริม
การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและส่งเสริมความรู้และวินัยทางการเงิน
เพื่อแก้ไขปัญหาหน้สี ินอย่างยั่งยนื

1.๒) ความเช่ือมโยงของ Value Chain เพื่อการยกระดับศักยภาพ
การเปน็ ผู้ประกอบการธุรกิจของประชาชน

2) ประเด็นในการตรวจติดตาม
๒.๑) ผลการดำเนนิ งานการยกระดับศักยภาพการเป็นผ้ปู ระกอบการธรุ กจิ
(๑) การพัฒนาศักยภาพประชาชนกลุ่มผู้มีรายได้น้อยเพื่อยกระดับสู่การ
เปน็ ผู้ประกอบการธุรกิจ
(๒) การส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
ส่งเสรมิ ความรูแ้ ละวินัยทางการเงนิ เพอ่ื แก้ไขปัญหาหนส้ี ินอย่างยงั่ ยนื

๒.๒) ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานเพ่ือขับเคลื่อนศักยภาพและขีด
ความสามารถของเศรษฐกจิ ฐานรากใหเ้ พ่ิมข้นึ

๒.๓) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการพัฒนา
/ปรับปรงุ การปฏบิ ัติงาน

3. การติดตามความคืบหน้าการแก้ไขปัญหาสำคัญในเชิงพ้ืนที่ จำนวน ๕ เร่ือง
ประกอบดว้ ย

3.๑ การจดั การประมงอย่างย่งั ยืน
1) จุดเนน้ ในการตรวจตดิ ตาม
1.๑) ความคบื หน้าการขับเคลอ่ื นการดำเนินการของศูนย์ควบคมุ การแจ้ง

เรอื เข้า - ออก (Port In-Port Out: PIPO)
1.๒) ความคืบหน้าการจัดเรือประมงพื้นบ้านเข้าสู่ระบบตามมาตรการ

จดั การเรอื ประมงพ้ืนบ้าน
1.๓) ความคืบหน้าการช่วยเหลือ เยียวยา เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อน

ใหก้ บั ผ้ไู ด้รบั ผลกระทบจากการแกไ้ ขปัญหาการทำประมงผดิ กฎหมายของภาครฐั
1.๔) ความคืบหน้าการรวมกลุ่มของเรือประมงพื้นบ้านเพื่อสร้างความ

เข้มแข็ง และให้ความร่วมมือกบั ภาครฐั ในการบริหารจัดการ อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่ง
และแกไ้ ขปัญหาการประมงผิดกฎหมายเพ่ือให้เกดิ ความยั่งยนื

2) ประเดน็ ในการตรวจติดตาม
๒.๑) ผลความคืบหนา้ การจัดการประมงอยา่ งยง่ั ยนื
(๑) การดำเนินการของศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้า - ออก (Port In-Port
Out : PIPO) เพื่อใหเ้ ปน็ กลไกทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในการควบคมุ การออกทำประมงใหถ้ ูกต้อง
(๒) การดำเนินการจัดเรือประมงพ้ืนบ้านเข้าสู่ระบบ ให้เป็นไปตาม
ระเบียบกฎหมายท่เี ก่ียวข้อง

(๓) การให้ความช่วยเหลือ เยียวยา เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้กับ
ผ้ไู ด้รับผลกระทบจากการแก้ไขปญั หาการทำประมงผิดกฎหมายของภาครฐั

(๔) การรวมกลุ่มของเรือประมงพ้ืนบ้านในพ้ืนที่เพื่อสร้างความเข้มแข็ง
และให้ความร่วมมือกับภาครัฐในการบริหารจัดการ อนุรักษ์ฟ้ืนฟูทรัพยากรชายฝั่งและ
แก้ไขปัญหาการประมงผดิ กฎหมายเพอื่ ใหเ้ กิดความยง่ั ยืน

๒.๒) ปญั หาอุปสรรค ข้อจำกัดในการดำเนินงาน

๒.๓) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องในการพัฒนา/
ปรบั ปรุงการปฏบิ ัติงาน

3.2 การเตรียมการเพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงสภาพนิเวศของแม่น้ำโขง
1) จดุ เนน้ ในการตรวจติดตาม
ติดตามปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพนเิ วศของแม่นำ้ และผลความคบื หน้า

การเตรียมการเพือ่ รองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพนเิ วศของแม่น้ำโขง ใน ๘ จังหวดั ทีม่ ีแม่น้ำ
โขงไหลผ่าน ได้แก่ จังหวัดเชยี งราย เลย หนองคาย บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร อำนาญเจริญ
และอุบลราชธานี

2) ประเด็นในการตรวจติดตาม
๒.๑) สถานการณก์ ารเปลี่ยนแปลงสภาพนิเวศในลมุ่ แมน่ ำ้ โขง
๒.๒) ผลการดำเนินงานเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพนิเวศของ
แมน่ ำ้ โขงของจงั หวดั และส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องในส่วนภมู ิภาค
๒.๓) ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง
สภาพนเิ วศในลุ่มแม่นำ้ โขงและแนวทางแกไ้ ข

3.3 การพัฒนาเมืองสมนุ ไพร
1) จุดเน้นในการตรวจติดตาม
เน้นการตรวจติดตามการขับเคลื่อนการดำเนินการของหน่วยงาน

ท่ีรับผิดชอบ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และการบูรณาการของภาคส่วนต่าง ๆ ใน ๑๔ จังหวัด
ภายใต้ ๓ คลัสเตอร์ (คลัสเตอร์เกษตร วัตถุดิบสมุนไพร คลัสเตอร์อุตสาหกรรมสมุนไพร
และคลัสเตอร์ท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงามและการแพทย์แผนไทย) ท่ีมีการขับเคลื่อน
การพัฒนาเมอื งสมุนไพร (Herbal City)

2) ประเด็นในการตรวจติดตาม
๒.๑) ติดตามความคืบหน้าการดำเนินการของหน่วยงานที่รับผิดชอบ
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ในการขับเคลื่อน
การพัฒนาเมืองสมุนไพร (Herbal City) ให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายตามนโยบาย
ของรัฐบาล และแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพร ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2560 – 2564
(ขยายถึง 2565) ใหม้ ีความตอ่ เนื่อง

๒.๒) ปญั หาอปุ สรรค ขอ้ จำกดั ในการดำเนนิ งาน

๒.๓) ขอ้ สงั เกตและขอ้ เสนอแนะในการตรวจติดตาม

3.4 การแก้ไขปญั หามลพิษทางอากาศ
1) จุดเนน้ ในการตรวจตดิ ตาม
1.1) ความคืบหน้าการดำเนินการขับเคล่ือนมาตรการต่าง ๆ ภายใต้

แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง”
ของกรมควบคุมมลพษิ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

1.2) ความคืบหน้าการดำเนินการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ ภายใต้
มาตรการ “4 พ้ืนท่ี 5 มาตรการบริหารจัดการ”มาตรการตามหลักการบริหารจัดการ
สาธารณภัย (2P2R) หรือมาตรการอ่ืน ๆ ท่ีจังหวัดได้มีการดำเนินการ เพื่อป้องกันและ
แกไ้ ขปญั หามลพษิ ทางอากาศ ในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2) ประเด็นในการตรวจตดิ ตาม
๒.๑) ผลการดำเนินงานของส่วนราชการ และการบูรณาการระหว่างภาค
ส่วนตา่ ง ๆ ในพ้ืนท่ี ในการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ ตามมาตรการภายใต้
แผนปฏิบตั ิการขบั เคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝ่นุ ละออง” มาตรการ
“4 พ้ืนท่ี 5 มาตรการบริหารจัดการ” มาตรการตามหลักการบริหารจัดการสาธารณภัย
(2P2R) หรือมาตรการอ่ืน ๆ ท่ีจังหวัดได้มีการดำเนินการ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา
มลพิษทางอากาศ

๒.๒) ปญั หาอปุ สรรค ข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน

๒.๓) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งในการพัฒนา/
ปรบั ปรุงการปฏิบตั งิ าน

3.5 การลดอบุ ัติเหตุทางถนน
1) จุดเนน้ ในการตรวจติดตาม
เน้นการตรวจติดตามการขับเคลื่อนการดำเนินการของหน่วยงานท่ี

รับผิดชอบ และหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง และการบูรณาการของภาคสว่ นต่าง ๆ ในระดับพ้นื ที่
ในการขับเคลื่อนแนวทางการลดอุบัติเหตุทางถนนเพ่ือให้อัตราผู้บาดเจ็บ และผู้เสียชีวิต
ลดลงจากอุบตั ิเหตุทางถนน

2) ประเดน็ ในการตรวจตดิ ตาม
๒.๑) ผลการดำเนินงานการลดอบุ ตั ิเหตทุ างถนน
(1) การลดปจั จยั เส่ยี งทกี่ ่อให้เกิดผ้เู สยี ชวี ิตจากอบุ ัติเหตทุ างถนน
(2) การขับเคลื่อนการป้องกันและลดผู้เสียชีวิต และผู้บาดเจ็บจาก
อุบัติเหตุทางถนน ให้เป็นไปตามแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนนฯ หรือแผนการป้องกัน
และลดอบุ ัตเิ หตุทางถนนอนื่ ๆ ตามท่ีรฐั บาลกำหนด
(3) การตอบสนองหลังเกิดอบุ ัติเหตุ
(4) อน่ื ๆ

๒.๒) ปัญหาอปุ สรรค ขอ้ จำกดั ในการดำเนนิ งาน

๒.๓) ขอ้ คดิ เห็นและข้อเสนอแนะ

4. การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนหรือข้อร้องเรียนของประชาชน หรือการ
ผลักดันการดำเนินโครงการ/มาตรการสำคัญในเชิงพื้นท่ีของส่วนราชการ เพ่ือแก้ไข
ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนให้เสร็จสิ้น หรือบรรเทาความรุนแรงของปัญหา
ก่อนท่ีจะลุกลามเป็นปัญหาของมวลชน หรือเพื่อใหเ้ กิดการผลักดันการดำเนินโครงการ
สำคัญในพืน้ ท่ีทีส่ ง่ ผลต่อประชาชน หรือหน่วยงานราชการจำนวนมาก

5. การตรวจราชการตามมาตรา 34 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการ
บริหารงานจงั หวดั และกลุ่มจงั หวัดแบบบรู ณาการ พ.ศ. 2551

6. การตรวจติดตามงานอื่น ๆ ตามท่ีคณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี รอง
นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี หรือปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
มอบหมาย คือ โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระ
ปณธิ านของศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จเจา้ ฟา้ ฯ กรมพระศรีสวางควฒั น วรขตั ตยิ ราชนารี

7. การตรวจตดิ ตามของผ้ตู รวจราชการสำนกั นายกรัฐมนตรใี นการแก้ไขปัญหา
ความเดือดร้อนของประชาชนอันเน่ืองมาจากการเกิดภัยพิบัติ หรือกรณีอ่ืน ๆ ตามท่ี
ไดร้ บั มอบหมาย

กรอบระยะเวลาในการตรวจราชการแบบบูรณาการ
1. ระยะเวลาในการตรวจตดิ ตาม จำนวน ๒ คร้งั ดงั นี้

ครั้งท่ี ๑ ระหวา่ งวันที่ ๑ กมุ ภาพนั ธ์ – ๑๕ มีนาคม ๒๕๖5
ครงั้ ที่ ๒ ระหวา่ งวนั ที่ ๑ กรกฎาคม – ๑๖ สงิ หาคม ๒๕๖5
2. การรายงานผลการตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการกระทรวง
ผู้ตรวจราชการกระทรวงพิจารณาจัดทำรายงานผลการตรวจราชการในลักษณะภาพรวม
การดำเนินงานในความรับผิดชอบของกระทรวงตามรูปแบบที่กำหนด เสนอปลัดกระทรวง
และสง่ ใหส้ ำนกั งานปลดั สำนักนายกรฐั มนตรี จำนวน ๒ คร้งั ดงั น้ี
ครง้ั ท่ี ๑ ภายในวันที่ ๓๑ มนี าคม ๒๕๖5
คร้ังท่ี ๒ ภายในวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๖5
3. สำนักตรวจราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี จัดทำรายงานผลการ
ตรวจราชการแบบบูรณาการในลักษณะภาพรวมท้ังประเทศ โดยการประมวลรายงานผล
การตรวจราชการของผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี และผู้ตรวจราชการกระทรวง
และนำเสนอขอความเหน็ ชอบจากนายกรัฐมนตรี ตามท่เี ห็นสมควร ดังน้ี
ครั้งที่ ๑ จัดทำสรุปรายงานภาพรวมผลการตรวจราชการ โดยสรุปผลการ
ดำเนินงาน ประมวลปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการ นำเสนอ
นายกรัฐมนตรี ภายในวนั ท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๖5
ครั้งท่ี ๒ จัดทำสรุปรายงานภาพรวมผลการตรวจราชการ โดยสรุปผลการ
ดำเนินงาน ประมวลปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการ นำเสนอ
นายกรฐั มนตรี ภายในวันท่ี ๓๐ กนั ยายน 2565

*****************************************

แผนปฏบิ ัติงานการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกร

กจิ กรรม

• การประชุมผูบ้ ริหารระดบั สูง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

• การประชมุ ผ้ตู รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ร่วมกบั ปลดั กระทรวงเกษต

และสหกรณ์

• การประชมุ คณะผ้ตู รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

1. จดั ทำแผนการตรวจราชการประจำปี และมอบหมายความรับผดิ ชอบ

1.1 ประชุมผ้ตู รวจราชการ เพอ่ื มอบหมายเขตตรวจราชการและงานที่รบั ผดิ ชอบ

1.2 เสนอรา่ งแผนการตรวจราชการฯ ให้ รมว.กษ. ใหค้ วามเห็นชอบ
2. การจดั ทำแผน/แนวทางการตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565
2.1 จดั ทำแนวทางการตรวจราชการฯ ของผูต้ รวจราชการฯ พจิ ารณาแนวทางการตรวจ
ราชการ ประจำปงี บประมาณ
2.2 จดั ทำแผนและแนวทางการตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2.3 ประชุมชีแ้ จงแผน/แนวทางการตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการแก่หนว่ ยงาน
เกีย่ วข้อง
๓. การประชมุ ติดตามงานผา่ นระบบออนไลน/์ ลงพนื้ ท่เี พอ่ื มอบนโยบาย ขบั เคลื่อนนโยบาย
ตดิ ตามงานตามแผนการตรวจราชการ และการประชมุ เร่อื งอนื่ ๆ
๓.1 ประชมุ ตดิ ตามงานผา่ นระบบออนไลน์/ลงพน้ื ที่ เพื่อมอบนโยบายและกำหนดรปู แบบ
การตรวจราชการ (รายเขต)
3.2 ประชมุ ตดิ ตามงานผา่ นระบบออนไลน์/ลงพนื้ ท่เี พอ่ื ติดตามการขบั เคลื่อนนโยบาย
และพบปะเกษตรกร (รายเดอื น)

ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2565

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ตร
ทกุ วนั จันทรข์ องเดือน

นที่



กจิ กรรม

๓.3 ตรวจราชการและขับเคลื่อนงานตามแผนการตรวจราชการของผตู้ รวจราชการ
รอบที่ 1 และ รอบที่ 2

3.4 การจดั ทำรายงานผลการตรวจราชการฯ รายรอบ และภาพรวมประเดน็ สำคัญ

4. การตรวจราชการตามเหตุการณ์ สถานการณท์ ี่กระทบต่อเกษตรกร หรอื ภยั พบิ ตั ดิ า้
การเกษตร

5. การตรวจราชการแบบบรู ณาการ

5.1 ประชุมติดตามงานผ่านระบบออนไลน์/ลงพ้ืนที่เพื่อร่วมการตรวจราชการแบบบูรณาก
กับผู้ตรวจราชการสำนักนายกรฐั มนตรี

5.2 จดั ทำรายงานผลการตรวจราชการแบบบูรณาการตามประเด็นสำนกั นายกรฐั มนตรี

6. การตรวจราชการในส่วนภมู ิภาครว่ มกบั นายกรฐั มนตรี รองนายกรฐั มนตรแี ละรฐั มนตรี

7. การขบั เคล่ือนแบบบรู ณาการในระดับพน้ื ที่

ขับเคล่ือนแบบบูรณาการในระดับพ้ืนที่ ประจำเขตตรวจราชการที่ 1-18 และส่วนกล
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และตามคำสัง่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่เกย่ี วขอ้ ง
8. การสรุปผลการตรวจราชการ ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แล
แบบบรู ณาการ
8.1 จัดทำรายงานผลการตรวจราชการฯ รายรอบ รายโครงการ และภาพรวม
8.2 จัดทำรายงานสรปุ ผลการตรวจราชการ รอบ 6 เดอื น และ 12 เดือน

เสนอปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสำนกั นายกรฐั มนตรี
8.3 นำเสนอผลการตรวจราชการต่อผู้บริหารระดบั สูง

9. ภารกิจอืน่ ๆ : การคัดเลือกปราชญ์เกษตรของแผ่นดนิ

พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2565

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

12

12
าน

การ 1 2

12

ลาง
ละ

6 ด. 12ด.

ตารางมอบหมายผ้ตู รวจราชการกระทรว
ตามแผนการตรวจราชการและการขบั เคลอ่ื นแบบบูรณ

รับผิดชอบโครงการ ผู้ตรวจราชการกระทรวง การตดิ ตามงานร
ภาพรวม เกษตรและสหกรณ์ กิจกรรม/โครงก

ภาพรวมทุกนโยบาย นายอภยั สุทธสิ งั ข์ ภาพรวมทกุ นโยบ
(7 จว.)

การบริหารจัดการน้ำอย่าง นายสญั ญา แสงพุ่มพงษ์ การบรหิ ารจัดการนำ้ อ
(4 จว.)
เป็นระบบ เป็นระบบ

การส่งเสริมอาชีพด้าน นายอรุณชยั พทุ ธเจรญิ การผลิตพนั ธุ์ สง่ เสรมิ
ประมง (5 จว.) และปอ้ งกันโรคระบาด
ในสัตวน์ ำ้
การพัฒนาชอ่ งทาง นายพรี พนั ธ์ คอทอง
การตลาด (8 จว.) การพฒั นาชอ่ งทางกา

วงเกษตรและสหกรณ์รับผดิ ชอบงานสำคญั
ณาการในระดบั พืน้ ที่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ราย กำกบั ดูแลเขตตรวจราชการ รับผดิ ชอบประเดน็ รับผดิ ชอบสนิ ค้า
การ สำคญั ของกระทรวง เกษตร
1. เกษตรมลู ค่าสงู
บาย เขต 7 : นราธิวาส ปตั ตานี 2. จชต. ภาพรวมทุกสินค้า
ยะลา 3. ป.ย.ป.
เขต 14 : ยโสธร ศรีสะเกษ 4. กองทุนสงเคราะหฯ์ กล้วยไม้และไม้
อำนาจเจรญิ อบุ ลราชธานี ดอกไมป้ ระดบั
ประสานทกุ เขตตรวจราชการ 1. Agri - Map
2. ภยั พบิ ตั ทิ าง 1. ประมง
อย่าง เขต 2 : นนทบรุ ี ปทุมธานี ธรรมชาติ 2. ผลไมภ้ าคใต้
นครปฐม สมทุ รปราการ 1. IUU
ส่วนกลาง : กรุงเทพมหานคร 2. แรงงานต่างดา้ ว 1. มนั สำปะหลัง
2. ออ้ ยโรงงาน
มอาชพี เขต 5 : ชุมพร BCG
ด นครศรีธรรมราช พัทลงุ

สุราษฎรธ์ านี สงขลา

ารตลาด เขต 10 : บงึ กาฬ เลย
หนองคาย หนองบัวลำภู
อุดรธานี
เขต 11 : นครพนม
มุกดาหาร สกลนคร

รบั ผดิ ชอบโครงการ ผตู้ รวจราชการกระทรวง การตดิ ตามงานร

ภาพรวม เกษตรและสหกรณ์ กิจกรรม/โครงก

ปรับปรุงแผนพัฒนา พันจ่าเอกประเสรฐิ มาลยั 1. ปรับปรุงแผนพัฒนา

การเกษตรและสหกรณร์ ะดบั (8 จว.) การเกษตรและสหกรณ

จังหวดั จงั หวดั

การลดต้นทุนการผลติ 2. การลดตน้ ทนุ การผ

ศนู ยเ์ รยี นรู้การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพ นายชาตรี บญุ นาค ศูนยเ์ รยี นรู้การเพมิ่ ประส
การผลิตสินคา้ เกษตร
การผลติ สินค้าเกษตร (8 จว.) (ศพก.)

(ศพก.)

ศนู ย์ข้อมูลด้านการเกษตร นายเศรษฐเกียรติ กระจา่ งวงษ์ 1. ศนู ย์ขอ้ มูลด้านการเ
(Big Data) (Big Data)

การป้องกนั โรคระบาดในสัตว์ 2. การป้องกันโรคระบาด

การสง่ เสริมอาชีพด้าน นายสรุ เดช สมเิ ปรม 1. การผลติ พนั ธส์ุ ตั ว์
ปศสุ ตั ว์ (6 จว.) 2. สง่ เสริมอาชีพดา้ นป

ราย กำกับดูแลเขตตรวจราชการ รบั ผดิ ชอบประเดน็ รับผดิ ชอบสินคา้
การ สำคญั ของกระทรวง เกษตร
า เขต 13 : ชัยภมู ิ นครราชสมี า
ณร์ ะดบั บุรรี ัมย์ สุรินทร์ 1. งานจติ อาสา 1. ผลไม้ภาคเหนือ
เขต 16 : เชียงราย น่าน 2. กองทุนสงเคราะหฯ์ และภาคตะวนั ออก
ผลติ พะเยา แพร่ 3. กองทุนฟ้ืนฟูฯ เฉยี งเหนือ
2. พชื สมุนไพร

สิทธิภาพ เขต 15 : เชียงใหม่ 1. อาสาสมัครเกษตร 1. พชื หัว
แมฮ่ ่องสอน ลำปาง ลำพนู 2. สง่ เสริมและฟน้ื ฟู 2. ลำไย
เขต 18 : กำแพงเพชร อาชีพ
นครสวรรค์ พจิ ิตร อทุ ัยธานี 3. ปญั หาหมอกควนั 1. ผลไม้
ภาคตะวนั ออก
เกษตร เขต 8 : ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี 1. EEC 2. ทุเรียน
ระยอง 2. ผลกระทบจาก
COVID-19 สนิ ค้าปศสุ ตั ว์
าดในสตั ว์ เขต 9 : จนั ทบุรี ตราด
นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว 3. เขตสขุ ภาพเพ่ือ
ประชาชน

4. โครงการสัตว์

ปลอดโรคคนปลอดภยั

จากโรคพิษสนุ ัขบ้าฯ

เขต 1 : ชยั นาท 1. งานพระราชดำริ
ปศสุ ตั ว์ พระนครศรีอยธุ ยา ลพบรุ ี 2. งานดา้ นท่องเทย่ี ว
เชงิ เกษตร
สระบรุ ี สงิ ห์บุรี อ่างทอง

รบั ผิดชอบโครงการ ผตู้ รวจราชการกระทรวง การตดิ ตามงานร

ภาพรวม เกษตรและสหกรณ์ กจิ กรรม/โครงก

คณุ ภาพและมาตรฐานใน นายขจร เราประเสรฐิ 1.คณุ ภาพและมาตรฐ

การรบั รองสนิ ค้าเกษตร (9 จว.) การรบั รองสินค้าเกษต

การผลิตเมลด็ พนั ธุ์ 2.การผลติ พนั ธ์พุ ืชแล
การป้องกันโรคระบาดในพืช ปอ้ งกนั โรคระบาดในพ

การพัฒนาเกษตรกรเขา้ สู่ นางกลุ ฤดี พัฒนะอิ่ม

Smart Farmer (7 จว.)

การขบั เคล่ือนศูนยเ์ ทคโนโลยี นายวิชยั ไตรสรุ ตั น์

เกษตรและนวตั กรรม (6 จว.)

(Agritech and Innovation

Center : AIC)

หมายเหตุ ผู้รบั ผดิ ชอบนโยบายกระทรวง หมายถงึ ผตู้ รวจราชการฯ ท่ีดูแลการ

ราย กำกบั ดูแลเขตตรวจราชการ รบั ผดิ ชอบประเดน็ รับผิดชอบสินคา้

การ สำคญั ของกระทรวง เกษตร

ฐานใน เขต 12 : กาฬสินธ์ุ ขอนแก่น เกษตรทฤษฎใี หม่ 1. ข้าว
ตร มหาสารคาม รอ้ ยเอ็ด 2. ขา้ วโพดเลีย้ งสตั ว์

ละ เขต 17 : ตาก พษิ ณโุ ลก
พชื เพชรบูรณ์ สโุ ขทัย อตุ รดิตถ์

เขต 3 : กาญจนบรุ ี ราชบรุ ี โลจิสติกส์สินค้าเกษตร 1. สับปะรด
สุพรรณบรุ ี 2. มะพร้าว
3. เกลือทะเล
เขต 4 : ประจวบครี ีขันธ์
เพชรบุรี สมุทรสงคราม เกษตรอัจฉรยิ ะ 1. ยางพารา
สมุทรสาคร 2. ปาล์มน้ำมัน

เขต 6 : กระบี่ ตรงั พังงา
ภูเกต็ ระนอง สตูล

รตรวจและขับเคลอ่ื นนโยบายกระทรวงนนั้ ๆ ในภาพรวม

ตารางมอบหมายผตู้ รวจราชการกระทรว

คณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ที่ 1/256

ลงวนั ท่ี 6 มนี าคม 2562

เรอื่ ง แตง่ ตั้งคณะอนุกรรมการบรหิ ารจัดการสนิ คา้ เกษตร

1. คณะอนุกรรมการบริหารจดั การสนิ คา้ ข้าว นายขจร เราประเสรฐิ

(รองประธานอนุกรรมการ)

2. คณะอนุกรรมการบรหิ ารจดั การสนิ คา้ สับปะรด นางกลุ ฤดี พัฒนะอ่ิม

และขา้ วโพดเลยี้ งสตั ว์ (รองประธานอนกุ รรมการ)

3. คณะอนุกรรมการบรหิ ารจดั การสินคา้ นายพีรพันธ์ คอทอง

มันสำปะหลงั (รองประธานอนุกรรมการ)

4. คณะอนุกรรมการบรหิ ารจดั การสินค้าประมง นายอรุณชัย พุทธเจริญ

(รองประธานอนุกรรมการ)

5. คณะอนุกรรมการบรหิ ารจดั การสินคา้ ปศสุ ตั ว์ นายสุรเดช สมเิ ปรม
(รองประธานอนุกรรมการ)

6. คณะอนุกรรมการบรหิ ารจดั การสนิ ค้า นายวชิ ยั ไตรสุรัตน์

ยางพารา (รองประธานอนุกรรมการ)

7. คณะอนุกรรมการบรหิ ารจัดการสินค้ากล้วยไม้ นายสญั ญา แสงพุ่มพงษ์

ไม้ดอกไม้ประดบั (รองประธานอนุกรรมการ)

วงเกษตรและสหกรณร์ บั ผดิ ชอบงานสำคัญ

62 คำสงั่ คณะกรรมการพัฒนาและบรหิ ารจดั การผลไม้ ที่ 9/2564

เรอื่ ง แต่งตง้ั คณะอนุกรรมการและคณะทำงานที่เกยี่ วข้อง
ภายใตค้ ณะกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ 14 กันยายน พ.ศ. 2564

1. คณะอนุกรรมการพัฒนาและบรหิ ารการผลิต นายขจร เราประเสรฐิ
(อนกุ รรมการ)

2. คณะอนกุ รรมการพัฒนาและบริหารการแปรรูป นายวิชยั ไตรสรุ ัตน์
เพือ่ เพ่มิ มูลคา่ (อนกุ รรมการ)

3. คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหาร นายพรี พันธ์ คอทอง

การตลาด (อนุกรรมการ)

4. คณะอนุกรรมการพฒั นาและบริหารจดั การ พันจ่าเอกประเสรฐิ มาลยั
ผลไม้ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
(อนุกรรมการ)

5. คณะอนุกรรมการพฒั นาและบรหิ ารจัดการ นายเศรษฐเกียรติ กระจา่ งวงษ์
ผลไม้ภาคตะวันออก ภาคใต้ ภาคอ่ืน ๆ

(อนกุ รรมการ)

6. คณะทำงานพฒั นาระบบข้อมูลและ (คณะนไ้ี มม่ ี ผต.กษ.)

โลจิสตกิ ส์

7. คณะทำงานศกึ ษาเสถยี รภาพกลุ่มสินคา้ นายชาตรี บญุ นาค

ลำไย (ประธานคณะทำงาน)

8. คณะทำงานศึกษาเสถียรภาพกลุ่มสนิ ค้า นายเศรษฐเกยี รติ กระจา่ งวงษ์
ทเุ รียน (ประธานคณะทำงาน)



แนวทางการตรวจราชการ
ตามแผนการตรวจราชการและ
การขบั เคลื่อนแบบบรู ณาการในระดบั พน้ื ท่ี
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

แนวทางการตรวจราชการและการขบั เคลอ่ื นแบบบรู ณาการในระดบั พนื้ ที่
ของผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

การตรวจราชการตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

(1) นโยบายสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

1.1 การบรหิ ารจดั การน้ำอย่างเปน็ ระบบ
1.2 การปอ้ งกนั โรคระบาด ทัง้ ในพืชและสัตว์
1.3 การพัฒนาช่องทางการตลาด
1.4 คณุ ภาพและมาตรฐานในการรบั รองสินคา้ เกษตร
1.5 การลดต้นทุนการผลิต
1.6 การส่งเสริมอาชีพดา้ นประมงและปศสุ ตั ว์
1.7 การผลิตเมล็ดพันธุ์
1.8 ศนู ย์ขอ้ มูลดา้ นการเกษตร (Big Data)
1.9 การพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ Smart Farmer
1.10 การขบั เคลื่อนศนู ยเ์ ทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม (Agritech and Innovation Center : AIC)
1.11 ปรับปรุงแผนพฒั นาการเกษตรและสหกรณ์ระดบั จังหวดั
1.12 ศูนย์เรยี นรกู้ ารเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการผลติ สินคา้ เกษตร (ศพก.)

ท้งั น้ี ในการขบั เคล่ือนแบบบูรณาการในพ้ืนท่ี ใหเ้ ปน็ ไปตามรายสินคา้ เกษตรทสี่ ำคญั

*********************************

การขบั เคลอ่ื นแบบบรู ณาการในระดบั พ้นื ท่ี

• การขับเคล่ือนแบบบูรณาการในระดับพื้นที่ประจำเขตตรวจราชการที่ 1 - 18 และส่วนกลาง
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และตามคำสั่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทีเ่ กี่ยวข้อง

สำนักตรวจราชการ ได้จัดทำกรอบแนวทางการขับเคล่ือนนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยดำเนินการตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
โดยมีแนวคิดจากประเดน็ ต่าง ๆ ดงั นี้

1) การแต่งต้ังคณะกรรมการขับเคล่ือนแบบบูรณาการในระดับพ้ืนท่ี ประจำเขตตรวจราชการ
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตามคำส่ังกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ 1364/2563 ลงวันที่
24 พฤศจิกายน 2563 โดยผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สามารถตรวจติดตามการ
ดำเนินงานและการขับเคล่ือนแบบบูรณาการที่เสนออยู่ในแผนการตรวจราชการ ตามนโยบายที่สำคัญ
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และประเด็นการขับเคล่ือนด้านการเกษตรอ่ืน ๆ ท่ีเพ่ิมเติม
นอกเหนือจากแผนการตรวจราชการดงั กล่าวได้

2) การขับเคลื่อนแผนงานและโครงการ ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
และการแก้ไขปัญหาภาคการเกษตรท่ีจะดำเนินการภายในจังหวัด ตลอดจนประเด็นการขับเคลื่อน
ด้านการเกษตรอ่ืน ๆ ที่เพ่ิมเติมนอกเหนือจากแผนการตรวจราชการให้เป็นไปตามการพิจารณา
ความเหมาะสม และความจำเป็น ในระดับพื้นที่ของผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ท่ปี ระจำเขตตรวจราชการน้นั

*********************************

แนวทางการตรวจตามแผนการตรวจราชการและการขับเคลือ่ น
แบบบูรณาการในระดบั พื้นที่ของผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดแนวทางการตรวจราชการ
และการขับเคล่ือนงานในระดับพ้ืนที่ เน้นการติดตามสินค้าเกษตรท่ีสำคัญในจังหวัดเพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงกับ
การดำเนินการตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตามแผนการตรวจราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
(1. การบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ 2. การป้องกันโรคระบาด ท้ังในพืชและสัตว์ 3. การพัฒนาช่องทางการตลาด
4. คุณภาพและมาตรฐานในการรับรองสินค้าเกษตร 5. การลดต้นทุนการผลิต 6. การส่งเสริมอาชีพด้านประมงและปศุสัตว์
7. การผลิตเมล็ดพันธ์ุ 8. ศูนย์ข้อมูลด้านการเกษตร (Big Data) 9. การพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ Smart Farmer
10. การขับเคล่ือนศูนย์เทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม (Agritech and Innovation Center : AIC) 11. ปรับปรุง
แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับจังหวัด และ 12 ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.)
อีกทั้งให้การตรวจราชการและการขับเคล่ือนสินค้าเกษตรสอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็น
การเกษตร ประกอบดว้ ย 6 แผนย่อย ได้แก่

1. เกษตรอัตลักษณ์พ้ืนถิ่น ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ท่ีมีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น ด้วยการประยุกต์ใช้
ภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีและนวัตกรรม การขึ้นทะเบียนและคุ้มครองสิทธิให้กับสินค้าและผลิตภัณฑ์ การพัฒนา
คณุ ภาพมาตรฐานของสินค้าและผลิตภัณฑ์และการสร้างความเข้มแข็งของเกษตรกรและชุมชนในการพัฒนาอัตลักษณ์
พื้นถิ่น รวมทั้งสร้างอัตลักษณ์หรือเรื่องราวแหล่งกำเนิด สร้างความแตกต่างและความโดดเด่น และสร้างแบรนด์ให้กับ
สินค้าเกษตรอัตลักษณ์พ้ืนถ่ิน และส่งเสริมการบริโภคสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่นทั้งในระดับประเทศและ
เพื่อการสง่ ออก

2. เกษตรปลอดภัย พัฒนาคุณภาพมาตรฐานและระบบการรบั รองความปลอดภัยในระดับต่าง ๆ รวมถึง
การตรวจสอบย้อนกลับให้เป็นท่ียอมรับของตลาดท้ังในและต่างประเทศ ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตสินค้าเกษตร
ท่ีได้คุณภาพมาตรฐานความปลอดภัย เพิ่มความสามารถในการเข้าถึงอาหารอย่างท่ัวถึงและปลอดภัย สร้างความ
ตระหนักรู้ของผู้ผลิตและผู้บริโภคถึงความสำคัญของเกษตรปลอดภัย และส่งเสริมด้านการขยายตลาดบริโภคสินค้า
เกษตรปลอดภัย รวมทั้งสนับสนุนการทำเกษตรอินทรีย์ตั้งแต่ระดับอินทรีย์วถิ ีชาวบ้าน เพ่ือต่อยอดสู่เกษตรอินทรีย์เชิง
พาณชิ ยท์ ี่ไดม้ าตรฐานเกษตรอนิ ทรียท์ ั้งในระดบั ประเทศและระดบั สากล

3. เกษตรชีวภาพ สนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพทางการเกษตรเพื่อนำไปสู่การผลิตและขยาย
ผลเพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิม ส่งเสริมการวิจัยพัฒนาองค์ความรู้และประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภูมิปัญญา ท้องถ่ินและ
เทคโนโลยีที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมเพื่อการแปรรูปสินค้าจากความหลากหลายชีวภาพ ส่งเสริมและ สนับสนุนการผลิต
การแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากฐานเกษตรกรรมและฐานทรัพยากรชีวภาพ รวมถึง พัฒนาเชื่อมโยงไปสู่
ภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่อง และใช้ฐานการทำเกษตรกรรมย่ังยืนเพ่ือใช้ประโยชน์และ ต่อยอดไปสู่สินค้าเกษตรชีวภาพ
รวมทั้งสง่ เสริมการปลูกพืชสมุนไพรให้เป็นพืชเศรษฐกิจตามความเหมาะสม และส่งเสริมให้มีการนำวัตถดุ บิ เหลอื ท้ิงทาง
การเกษตรมาใชป้ ระโยชนใ์ นอุตสาหกรรมและพลังงานทีเ่ กย่ี วเนอ่ื ง กับชีวภาพ

4. เกษตรแปรรูป สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการแปรรูปสินค้าเกษตร ข้ันสูง
ที่มีคุณค่าเฉพาะ และผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด และผลักดัน เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมไปสู่การผลิตเชิงพาณิชย์ตลอดจนให้ความสำคัญกับตราสินค้าและปกป้องสิทธิ ในทรัพย์สินทางปัญญา
ส่งเสริมการใช้วัตถุดิบและผลิตผลทางการเกษตรเพื่อแปรรปู เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมา
ประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิตตลอดห่วงโซ่อุปทานให้แก่เกษตรกรและ สถาบันเกษตรกร รวมทั้งสนับสนุน

การนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่มาใช้ในการควบคุมคุณภาพและ ความปลอดภัย ติดตามผลิตภัณฑ์ระหว่าง
ขนส่ง และยืดอายุของอาหารและสินค้าเกษตรในบรรจุภณั ฑ์ เพือ่ เพมิ่ มลู คา่ ใหแ้ กส่ ินค้า

5. เกษตรอัจฉริยะ ส่งเสริมการวิจัยพัฒนาพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ปัจจัยการผลิต เครื่องจักรกลและอุปกรณ์
ทางการเกษตร รวมถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรแห่งอนาคต เพื่อนำมาใช้ในกระบวนการผลิตและเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิตการเกษตรท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ และเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม พัฒนาศักยภาพ เกษตรกร
ใหเ้ ขา้ ถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทางการเกษตร เทคโนโลยีอวกาศและ ภูมสิ ารสนเทศ เทคโนโลยี
ดิจทิ ัล เพ่ือวางแผนการเกษตร และพฒั นาเกษตรกรให้เป็นเกษตรกรอจั ฉรยิ ะท่ีมีขีดความสามารถในการแข่งขัน รวมทั้ง
สนับสนุนและส่งเสริมการทำระบบฟาร์มอัจฉริยะ โดยถ่ายทอดและ สนับสนุนเทคโนโลยีให้แก่เกษตรกรในราคา
ที่สามารถเข้าถึงได้ ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและการใช้ ประโยชน์จากข้อมูลในการวางแผนการปรับเปล่ียน
กระบวนการผลติ สนิ ค้าท่สี อดคล้องกับความต้องการของตลาด

6.ระบบนิเวศการเกษตร ใหค้ วามสำคัญกับมาตรการสนับสนุนท่ีจะช่วยให้การสร้างมูลคา่ ในภาคเกษตร
ดำเนินการได้อยา่ งต่อเนือ่ งและเป็นรูปธรรม อาทิ การเพ่ิมประสิทธิภาพและการจัดการ ทรัพยากรทางการเกษตร และ
การพัฒนาฐานข้อมูลทรัพยากรทางการเกษตร เพื่อนำไปสู่การบริหารจัดการ พ้ืนที่เกษตรกรรมอย่างเหมาะสม
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศการเกษตรและระบบติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัยสินค้าเกษตรให้ทันกับ
สถานการณ์ การส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร การส่งเสริมการวิจัยและ พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สนับสนุน
ภาคการเกษตรที่สอดคล้องกับความต้องการและสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในเชงิ พาณิชย์ การพัฒนาคณุ ภาพมาตรฐาน
สินคา้ และผลติ ภณั ฑ์ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของ ตลาดหรอื กลุ่มผบู้ รโิ ภค การส่งเสริมและขยายตลาดสินค้าเกษตร
และผลิตภัณฑ์เกษตรในรูปแบบต่าง ๆ การเพ่ิมประสิทธิภาพการให้บริการทางการค้าและอำนวยความสะดวกแก่
ผู้ประกอบการให้มีความรวดเร็ว และการพัฒนาระบบโลจิสติกส์การเกษตร เพื่อลดขั้นตอนและระยะเวลาในการส่ง
สนิ ค้า

ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะตรวจราชการ ติดตาม กำกับดูแล ประสาน และการ

ขับเคล่ือนแบบบูรณาการในพื้นที่ เพ่ือให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์สามารถดำเนินงานบรรลุตาม

วัตถุประสงค์และเป้าหมาย ตอบสนองนโยบายของรฐั ได้อย่างเปน็ รูปธรรม อนั จะก่อให้เกดิ ประโยชน์แกเ่ กษตรกรต่อไป

มีกรอบการดำเนินการ คือ นำข้อมูลด้านการเกษตรระดับจังหวัดมาวิเคราะห์ และนำนโยบายกระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์ไปเช่ือมโยง บูรณาการ แก้ไข ปรับปรุง ให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ ในระดับพื้นท่ี ซ่ึงการขับเคล่ือนแบบบูรณาการ

ในพนื้ ที่ ให้เป็นไปตามรายสนิ คา้ เกษตรท่ีสำคญั

แผนผงั อธิบายแนวทางการตรวจราชการและการขบั เคล่ือนแบบบูรณาการในระดบั พื้นที่
ของผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ขอ้ มลู พนื้ ฐานของ สนิ ค้าเกษตรที่สาคญั
จงั หวดั ของจังหวดั

ตามประเด็นการเกษตร นโยบายกระทรวง
ตามแผนยอ่ ย ของแผน เกษตรและสหกรณต์ าม
แผนการตรวจราชการ
แม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ ของ ผต.กษ.
(คาสง่ั กษ.ที่
951/2564 ลว. 19
ต.ค. 64)

ข้นั ตอนการตรวจขับเคลอื่ นงานเป็นรายสนิ คา้

1. นาข้อมลู พืน้ ฐานด้านการเกษตรของจงั หวัดเปน็ ฐานข้อมลู ในการตรวจราชการและ
ขับเคลื่อนงานตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

2. สินคา้ เกษตรทีส่ าคัญที่ไดด้ าเนนิ การสารวจและวิเคราะห์เบื้องตน้ จากระดบั จังหวดั
แบง่ ประเภทเป็นรายสนิ คา้ พชื สมนุ ไพร ประมงและสินคา้ ปศุสตั ว์ โดยจงั หวดั ไดร้ วบรวมและ
วิเคราะห์สนิ คา้ เกษตรท่ีเปน็ ไปตามประเด็นการเกษตรตามแผนยอ่ ย ของแผนแม่บทภายใต้

ยุทธศาสตร์ชาตเิ ป็นข้อมูลเบอ้ื งต้นเสนอตอ่ ผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
3. นาสินคา้ เกษตรทสี่ าคญั แต่ละชนดิ ท่ีคัดเลอื กอยา่ งนอ้ ยชนดิ ละ 3 ชนดิ ดาเนนิ การ
วเิ คราะห์เชือ่ มโยงกบั นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตามแผนการตรวจราชการของ
ผตู้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพือ่ สะท้อนปัญหา จุดด้อย จดุ แข็งทจ่ี ะนาไปสู่

การพฒั นาขบั เคล่ือนแตล่ ะรายสินค้าใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพสงู สุดในระดบั พน้ื ท่ี
และเกดิ การบรู ณาการระหว่างหน่วยงานทรี่ ับผดิ ชอบในระดับพ้นื ที่


Click to View FlipBook Version