รายงาน
เรื่อง อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง
จัดทำโดย
1.นางสาวกมลวรรณ
อักษรดี เลขที่ 1
2.นายณัฐพงค์ แก้วมณี เลขที่ 6
3.นางสาวบุญยนุช ช้างน้อย เลขที่ 11
4.นางสาวปิยมน เพ็งประสพ เลขที่ 13
5.นางสาวอภิญญา สามงามพุ่ม เลขที่ 19
นำเสนอ
อาจารย์กาญจนา เหลื่อมแก้ว
รายวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการอาชีพ (30001-2003)
ภาคเรียนที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2565
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี
ก
คำนำ
รายงานเล่มน้ีจดั ทาข้ึนเพ่ือเป็ นส่วนหน่ึงของวิชาเทคโนโลยีเพ่ือการจัดการอาชีพ
รหสั วิชา 30001 – 2003 นกั ศึกษาระดบั ช้นั ปวส.1 เพ่ือให้ไดศ้ ึกษาหาความรู้ในเรื่อง internet of thing
และไดศ้ ึกษาอยา่ งเขา้ ใจเพอ่ื เป็นประโยชน์กบั การเรียน
ผูจ้ ดั ทาหวงั เป็ นอย่างยิ่ง รายงานเล่มน้ีจะเป็ นประโยชน์กบั ผูอ้ ่าน หรือนักศึกษา ท่ี
กาลงั หาขอ้ มูลเรื่องน้ีอยู่ไม่มากก็น้อย หากมีขอ้ แนะนาหรือขอ้ ผิดพลาดประการใด คณะผูจ้ ดั ทาขอ
นอ้ มรับและขออภยั มา ณ ที่น้ีดว้ ย
นายณฐั พงค์ แกว้ มณี
ผจู้ ดั ทาและคณะ
สำรบัญ ข
เร่ือง หน้ำ
คานา ก
สารบญั ข
ความหมายของ Internet of things 1
ววิ ฒั นาการของ Internet of Things 2
ลกั ษณะการทางานของ Internet of Things 2
ประเภทของ Internet of Things 3
ส่วนประกอบของ Internet of Things 3-4
ประโยชน์ของ Internet of Things 4
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง Internet of Things และ Big Data 5
การนา Internet of Things ไปใชใ้ นงานตา่ ง ๆ 5-6
ตวั อยา่ งอุปกรณ์ที่ใช้ Internet of Things 7
ทกั ษะท่ีจาเป็นของบุคลากรดา้ น Internet of Things 8
บรรณานุกรม 9
1
อนิ เตอร์เน็ตทุกสรรพส่ิง Internet of things
ความหมายของ Internet of things
Internet of Things (IoT) คอื การที่อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ต่าง ๆ สามารถเช่ือมโยง
หรือส่งขอ้ มูลถึงกันได้ด้วยอินเทอร์เน็ต โดยไม่ตอ้ งป้อนขอ้ มูล การเช่ือมโยงน้ีง่ายจนทาให้เรา
สามารถส่ังการควบคุมการใชง้ านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้
ไปจนถึงการเช่ือมโยงการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เขา้ กับการใช้งานอ่ืน ๆ จนเกิดเป็ น บรรดา Smart ต่าง ๆ ไดแ้ ก่ Smart Device, Smart Grid, Smart
Home, Smart Network, Smart Intelligent Transportation ท้งั หลายท่ีเราเคยไดย้ นิ นนั่ เอง ซ่ึงแตกต่าง
จากในอดีตท่ีอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์เป็นเพยี งสื่อกลางในการส่งและแสดงขอ้ มลู เท่าน้นั
กล่าวไดว้ ่า Internet of Things น้ีไดแ้ ก่การเช่ือมโยงของอุปกรณ์อจั ฉริยะท้งั หลาย
ผา่ นอินเทอร์เน็ตที่เรานึกออก เช่น แอปพลิเคชนั แวน่ ตา google glass รองเทา้ วิ่งท่ีสามารถเชื่อมต่อ
ขอ้ มลู การว่ิง ท้งั ความเร็ว ระยะทาง สถานที่ และสถิติได้
นอกจากน้นั Cloud Storage หรือ บริการรับฝากไฟลแ์ ละประมวลผลขอ้ มลู ของคุณ
ผา่ นทางออนไลน์ หรือเราเรียกอีกอย่างว่า แหล่งเก็บขอ้ มูลบนกอ้ นเมฆ เป็นอีกสิ่งหน่ึงที่เราใชง้ าน
บ่อยๆแต่ไม่รู้วา่ เป็นหน่ึงในรูปแบบของ Internet of Things สมยั น้ีผใู้ ชน้ ิยมเก็บขอ้ มูลไวใ้ นกอ้ นเมฆ
มากข้นึ เนื่องจากมีขอ้ ดีหลายประการ คอื ไม่ตอ้ งกลวั ขอ้ มูลสูญหายหรือถกู โจรกรรม ท้งั ยงั สามารถ
กาหนดให้เป็ นแบบส่วนตัวหรื อสาธารณะก็ได้ เข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลาด้วยอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ใดๆผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต แถมยังมีพ้ืนท่ีใช้สอยมาก มีให้เลือกหลากหลาย
ช่วยเราประหยดั ค่าใช้จ่ายได้อีกด้วย เน่ืองจากเราไม่ตอ้ งเสียเงินซ้ืออุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล เช่น
ฮาร์ดไดร์ฟ หรือ Flash drive ตา่ งๆ
IoT มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า M2M ย่อมาจาก Machine to Machine คือเทคโนโลยี
อินเตอร์เน็ตที่เชื่อมต่ออุปกรณ์กบั เครื่องมือต่างๆ เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั เทคโนโลยี IoT มีความจาเป็ นตอ้ ง
ทางานร่วมกบั อุปกรณ์ประเภท RFID และ Sensors ซ่ึงเปรียบเสมือนการเติมสมองให้กบั อุปกรณ์
ต่างๆ ท่ีขาดไมค่ ือการเช่ือมต่ออินเตอร์เน็ต เพื่อใหอ้ ปุ กรณ์สามารถรับส่งขอ้ มลู ถึงกนั ได้ เทคโนโลยี
IoT มีประโยชนใ์ นหลายดา้ น แตก่ ม็ าพร้อมกบั ความเสี่ยง เพราะหากระบบรักษาความปลอดภยั ของ
อุปกรณ์ และเครือขา่ ยอินเตอร์เนต็ ไมด่ ีพอ ก็อาจทาใหม้ ีผไู้ มป่ ระสงคด์ ีเขา้ มาขโมยขอ้ มลู หรือละเมิด
ความเป็ นส่วนตวั ของเราได้ ดงั น้ันการพฒั นา IoT จึงจาเป็ นตอ้ งพฒั นามาตรการ และระบบรักษา
ความปลอดภยั ไอทีควบค่กู นั ไปดว้ ย
2
ววิ ฒั นาการของ Internet of Things
เดิมมาจาก Kevin Ashton บิดาแห่ง Internet of Things ในปี ค.ศ. 1999 ในขณะ
ท่ี ทางานวิจยั อยู่ ที่ มหาวิทยาลัยMassachusetts Institute of Technology หรือ MIT เขาได้รับเชิญ
ให้ไปบรรยายเร่ืองน้ี ให้กับบริษัท Procter & Gamble (P&G) เขาได้นาเสนอโครงการท่ีชื่อว่า
Auto-ID Center ต่อยอดมาจากเทคโนโลยี RFID ท่ีนขณะน้ันถือเป็ นมาตรฐานโลกสาหรับ
การจับสัญญาณเซนเซอร์ต่าง ๆ (RFID Sensors) ว่าตัวเซนเซอร์เหล่าน้ันสามารถทาให้พูดคุย
เช่ือมต่อกนั ไดผ้ ่านระบบ Auto-ID ของเขาโดยการบรรยายให้กบั 1999) P&G ในคร้ังน้นั Kevin
ไดใ้ ชค้ าว่า Internet of Things ในการบรรยายของเขาเป็ นคร้ังแรก โดย Kevin นิยามเอาไวต้ อนน้ัน
ว่า อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ใด ๆ ก็ตามท่ีสามารถส่ือสารกนั ให้ก็ถือเป็น "Internet-like" หรือกล่าวคือ
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีส่ือสารแบบเตียวกนั กบั ระบบอินเทอร์เน็ต โดยคาว่า "Things" ก็คือคาใช้
แทนอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ต่าง ๆ เหล่าน้นั
ต่อมาในยุคหลังปี ค.ศ. 2000 ใตม้ ีการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ออกจัดจาหน่ายเป็ น
จานวนมากทว่ั โลก จึงเริ่มมีการใชค้ าวา่ Smart ซ่ึงในที่น้ีคอื Smart Device, Smart Gro, Smart
Home, Smart Network, Smart Intelligent Transportationต่าง ๆ เหล่าน้ี ล้วนถูกฝัง RFID Sensors
เสมือนกบั การเดิม IDและ สมอง ทาใหส้ ามารถเช่ือมตอ่ กบั โลกอินเหอร์เน็ตได้ ซ่ึงการเชื่อมตอ่ เหล่า
น้นั เองกลายมาเป็นแนวคิดที่ว่า อุปกรณ์เหล่าน้นั ก็ย่อมสามารถส่ือสารกนั ไดด้ ว้ ยเช่นกนั โดยอาศยั
ตวั เซนเซอร์ในการส่ือสารถึงกนั นน่ั แปลวา่ นอกจาก Smart Device ต่าง ๆ จะเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
ไดแ้ ลว้ ยงั สามารถเชื่อมตอ่ ไปยงั อุปกรณ์ตวั อื่นไดด้ ว้ ย
ลกั ษณะการทางานของ Internet of Things
การทางานของ Internet of Things มีลกั ษณะดงั น้ี
3.1 เป็นการเช่ือมตอ่ กนั ระหวา่ งสรรพส่ิงใด ๆ (Interconnection of Things)
3.2 เชื่อมต่อสรรพส่ิ งใด ๆ เข้ากับโครงข่ายอินเทอร์ เน็ต (Connection of Things
to the Internet)
3.3 สรรพส่ิงใด ๆ มีลกั ษณะท่ีระบุเอกลกั ษณ์ได้ (Uniquely ldentifiable Things)
3.4 สามารถพบไดท้ ว่ั ไป (Ubiquity)
3.5 มีความสามารถในการรับรู้ และตอบสนองได้ (Sensing/Actuation capability)
3.6 เป็นระบบฝั่งตวั แบบอจั ฉริยะ (Embedded intelligence)
3.7 มีครามสามารถในการสื่ อสารทางานร่ วมกันได้ (Interoperable Communication
Capability)
3
ประเภทของ Internet of Things
ปัจจุบนั มีการแบ่งกลุ่ม Internet of Things ออกตามตลาดการใชง้ านเป็น 2 กลุ่ม ไดแ้ ก่
4.1 Industrial IoT คือ แบ่งจาก Local Network ที่ มีหลายเทคโนโลยีท่ีแตกต่างกนั
ในโครงข่าย Sensor Nodes โดยตัวอุปกรณ์ IoT Device กลุ่มน้ีจะเชื่อมต่อแบบ IP Network
เพือ่ เขา้ สู่อินเทอร์เน็ต
4.2 Commercial IoT คือ แบ่งจาก Local Communication ที่เป็ น Bluetooth หรื อ
Ethernet (Wired or Wireless) โดยตัวอุปกรณ์ IoT Device ในกลุ่มน้ี จะสื่ อสารภายในกลุ่ม
Sensor Nodes เดียวกันเท่าน้ันหรื อแบบ Local Devices เพียงอย่างเดียว อาจไม่ได้เชื่อมต่อ
เพือ่ เขา้ สู่อินเทอร์เน็ต
ส่วนประกอบของ Internet of Things
การทางานของ IoT น้ัน ตอ้ งเรียกว่าเป็ นการออกแบบแห่งอนาคต (Ecosystem)
เพราะหากขาดส่วนใด ส่วนหน่ึงไปก็จะเกิดความบกพร่องได้ ซ่ึงองค์ประกอบของ IoT ปัจจุบนั
ประกอบดว้ ย
5.1 Smart Device อุปกรณ์ท่ีมีหน้าที่เฉพาะ เป็ นจุดเร่ิมตน้ ท่ีตอบโจทยก์ ารใช้ IoT
โดยจาเป็นตอ้ งมีส่วนประกอบอยา่ ง Microprocessor และ Communication Device อยภู่ ายในเพื่อ
แลกเปลี่ยนขอ้ มูล ขอ้ มูลท่ี Smart Device ส่งมอบไปยงั ระบบ ไม่เพียงแต่เป็ นขอ้ มูลตามหน้าท่ี
เทา่ น้นั แตย่ งั รวมถึงสภาพของอุปกรณ์ดว้ ย ผใู้ ชจ้ ึงไมต่ อ้ งเดินทางมาตรวจสอบอุปกรณ์ดว้ ย
ตนเองเป็ นประจา
5.2 Cloud Computing หรื อ Wireless Network สื่อกลางรับส่งข้อมูลจาก Smart
Device ไปยงั ผใู้ ช้ ซ่ึงมีท้งั การส่งขอ้ มูลผา่ นระบบ Wirelessไปยงั ผใู้ ชแ้ ละการส่งผา่ น Cloud
Computer ซ่ึงการส่งขอ้ มูลไปยงั Cloud ช่วยรองรับการใชง้ าน Smart Device จานวนมากกว่า ระยะ
ทางไกลกวา่ รวมถึงอาจมีการติดต้งั ระบบแปลงการแสดง ผลขอ้ มลู ใหเ้ หมาะกบั ผใู้ ชใ้ นส่วน
5.3 Dashboard ส่วนแสดงผลและควบคุมการทางานในมือของผูใ้ ช้อยู่ในรูปของ
Device หรือแอปพลิเคชนั ในคอมพวิ เตอร์ หรือ Smartphone ผใู้ ชจ้ ะดูขอ้ มูลที่ Smart Device ส่งมา
ตรวจสอบสถานะของอปุ กรณ์และระบบรวมถึงถา่ ยทอดคาสัง่ ใหมไ่ ปยงั Smart Device จากส่วนน้ี
4
ท้งั 3 ส่วนจะตอ้ งทางานสอดประสานกนั เพอ่ื ให้ระบบทาหนา้ ท่ีไดล้ ว่ งและตอ้ งทา
ไดเ้ องโดยอตั โนมตั ิ ผใู้ ชม้ ีหนา้ ที่เพียงติดต้งั และซ่อมแซมอุปกรณ์ รับขอ้ มูลและอปั เดตการทางาน
ของ Smart Device ไดโ้ ดยตรงผ่าน Dashboard เท่าน้นั คุณสมบตั ิที่สาคญั ของ IoT ก็คือ สามารถส่ง
ตอ่ หนา้ ท่ีไปยงั อปุ กรณ์อ่ืน ๆ เช่น Smartwatch หรือ Smart Brand ที่เกบ็ ขอ้ มลู สุขภาพส่งไปแสดงผล
อยา่ งละเอียดบน Smartphone และ Sensor ตา่ ง ๆ ที่จบั ความผิดปกติและแสดงผลบนคอมพิวเตอร์
ซ่ึงเคยเห็นอยบู่ ่อย ๆ หรือคุน้ เคยกนั ดี แต่ความจริงแลว้ IOT ยงั มีประโยชน์และสามารถนาไปใชไ้ ด้
อีกมากมาย
ประโยชน์ของ Internet of Things
การท่ีเทคโนโลยีเป็ นที่แพร่ หลายน้ันไม่ได้อยู่ที่ปัจจัยด้านราคาอย่างเดียว
แต่เทคโนโลยีน้ันตอ้ งส่งมอบประโยชน์ต่อชีวิตของมนุษยด์ ว้ ย ซ่ึง Internet of Things ในปัจจุบนั
ก่อใหเ้ กิดประโยชน์ในดา้ นต่าง ๆ ดงั น้ี
1. รับส่งขอ้ มลู รูปแบบดิจิทลั ปัจจุบนั ขอ้ มลู ดิจิทลั มีความจาเป็นมาก เพราะสามารถ
นาไปใชก้ บั เทคโนโลยีอ่ืน ๆ ไดท้ นั ที ซ่ึง IT มีคุณสมบตั ิตา้ นการเก็บขอ้ มลู ทางกายภาพให้อยู่ในรูป
ดิจิทลั ไดอ้ ยา่ งง่ายดายและรวดเร็ว จึงนบั เป็นประโยชน์อยา่ งมากในยุ Digital Transformation :
2. แม่นยา ใชไ้ ดต้ ลอดเวลาและส่งขอ้ มลู แบบ Real-Time ขอ้ มลู จาก loT ไม่เพยี งแต่
เป็ นดิจิทลั เท่าน้ัน แต่ยงั สามารถแลกเปลี่ยนไดอ้ ย่างรวดเร็วระดบั Real-Time มีความแม่นยาและ
สามารถใชง้ านไดต้ ลอดเวลาช่วยใหม้ ีขอ้ มูลในการตดั สินใจได้
3. ลดภาระงานของบุคลากร ในอดีตการเก็บขอ้ มูลอาจตอ้ งใช้คนเดินทางเขา้ ไป
สอดส่องที่เคร่ืองมือเพ่ือหาความผิดปกติแต่ปัจจุบนั IoT ไม่เพียงแต่สอดส่องให้ผ่าน Dashboard
เท่าน้นั แตย่ งั สามารถเรียนรู้ การหาความผิดปกติดว้ ยเทคโนโลยอี ื่น ๆ เช่น Artificial Intelligence : AI ได้
4. ทางานตรวจสอบในจุดท่ีคนเข้าไม่ถึง สามารถออกแบบ Smart Device
ให้มีขนาดเล็กและทนทาน เพื่อติดต้ังตามจุดท่ีคนเข้าถึงยากหรือในจุดท่ีมีอันตรายระหว่าง
ดาเนินการได้ เช่น ภายในทอ่ ส่งน้ามนั หรือ บ่อบาบดั น้าเสีย ช่วยลดความเสี่ยงต่อชีวิตและทรัพยส์ ิน
จากการตอ้ งเขา้ พ้นื ที่อนั ตรายเป็นประจาได้
5
ความสัมพนั ธ์ระหว่าง Internet of Things และ Big Data
ปัจจุบนั Internet of Things สามารถตอบสนองความตอ้ งการทางด้านการใช้งาน
ไดม้ ากข้ึน สาเหตุเพราะอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ตา่ ง ๆ มีราคาถูกลง ทาใหเ้ กิดการใชง้ านจริงมากข้ึน
มีการคันพบ Use Case ใหม่ ๆ ในธุรกิจ ทาให้ผู้ผลิตได้เรี ยนรู้และคอยแก้ปัญหาเพื่อเพ่ิม
ประสิทธิภาพใหต้ รงใจผใู้ ช้ ทาใหเ้ กิดนวตั กรรมใหม่ ๆ ยงิ่ ไปกวา่ น้นั Internet of Things มีการ
เชื่อมโยงกันอย่างเป็ นระบบ จึงเริ่มเห็นธุรกิจที่หันมาให้ความสนใจInternet of Things ในแง่ที่
สามารถช่วยแกป้ ัญหาทางธุรกิจสังคม และช่วยแกไ้ ขปัญหาในชีวิตประจาวนั ไดโ้ ดยการนาขอ้ มลู
หรือ Big Data เขา้ มาใชใ้ นการพฒั นาเพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของแตล่ ะรูปแบบ
Big Data ท่ีไดเ้ รียนรู้ในหน่วยที่ 1 คือ ขอ้ มูลขนาดใหญ่ท่ีเกิดข้ึนไม่มีโครงสร้าง
ชดั เจน หน่ึงในตวั อยา่ งที่จะเห็นไดง้ ่ายคือ ขอ้ มลู จากยคุ โซเซียล ผใู้ ชเ้ ป็นคนสร้างข้ึนมา ซ่ึงนอกจาก
เน้ือหาในส่ือสังคมออนไลน์แลว้ ยงั มีขอ้ มลู อีกประเภทหน่ึง คือ ขอ้ มูลจากอปุ กรณ์ที่ใชห้ รือสวมใส่
เช่น สายรัดวดั ชีพจรตอนออกกาลงั กาย
การนา Internet of Things ไปใช้ในงานต่าง ๆ
1. ภาคธุรกิจคา้ ปลีก
IoT รวมขอ้ มูลการวิเคราะห์และกระบวนการทางการตลาดขา้ มสถานที่ ผูค้ า้ ปลีก
จบั ขอ้ มูล IoT จาก ช่องทางในร้านและช่องทางดิจิทลั และใชก้ ารวิเคราะห์ (รวมถึงปัญญาประดิษฐ์
หรือ AI) แบบเรียลไทม์ การฟังตามบริบทและเพ่ือเขา้ ใจรูปแบบพฤติกรรมและความพึงพอใจ ผู้คา้
ปลีกมกั จะใชอ้ ุปกรณ์ที่เช่ือมต่อ IoT เช่น ซิปติดตามสินคา้ คงคลงั RFID ระบบเซลลูลาร์และ W-FI
บีคอน และช้นั วางของอจั ฉริยะใน กลยทุ ธ์ Internet of Things
2. ภาคอตุ สาหกรรมการผลิต
IoT เช่ือมต่อทุกข้นั ตอนของกระบวนการอุตสาหกรรมอินเทอร์เน็ตของสิ่งต่าง ๆ
(Industrial Internet of Things : IIoT) จากห่วงโซ่อุปทานไปยงั การจดั ส่ง เพื่อมุมมองที่เหนียวแน่น
ของการผลิต กระบวนการและขอ้ มูลผลิตภณั ฑ์ เซนเซอร์ IoT ข้นั สูงในเครื่องจกั รโรงงานหรือข้นั
วางคลงั สินคา้ พร้อมกบั การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่และการสร้างแบบจาลองการคาดการณ์
สามารถป้องกนั ขอ้ บกพร่องและการหยดุ ทางานเพมิ่ ประสิทธิภาพอุปกรณ์ ลดตน้ ทนุ การรับประกนั
เพิม่ ผลผลิตและเพ่มิ ประสบการณ์ของลูกคา้
3. ภาคการแพทยแ์ ละบริการดา้ นสุขภาพ
เทคโนโลยี IoT รวบรวมการสตรีมขอ้ มูลแบบเรียลไทม์จาก Internet of Medical
Things (IoMT) เช่น อุปกรณ์สวมใส่และอุปกรณ์เช่ือมต่อทางการแพทยอ์ ่ืน ๆ ท่ีตรวจสอบการออก
กาลงั กาย การนอนหลบั และพฤติกรรมสุขภาพอ่ืน ๆ ขอ้ มูล IOT น้ีช่วย
6
ให้การวินิจฉยั และแผนการรักษาแม่นยาข้ึน ช่วยเพิ่มความปลอดภยั และผลลพั ธ์ของผูป้ ่ วยและเพ่ิม
ความคล่องตวั ในการดูแล
4. ภาคการขนส่งและโลจิสติกส์
IOT พร้อมดว้ ยระบบตาแหน่งอจั ฉริยะท่ี เปิ ดใชง้ านGeofence และ A ซ่ึงติดต้งั ใน
ห่วงโซ่คณุ ค่า สามารถมอบประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือที่มากข้ึนสาหรับบริษทั ขนส่ง
และโลจิสติกส์ เทคโนโลยีน้ี สามารถปรับปรุงคุณภาพการบริการลดการหยดุ ทางานและเพิ่มความ
พงึ พอใจของลูกคา้ นอกจากน้ี ยงั สามารถเพมิ่ ความปลอดภยั และลดค่าใชจ้ ่ายดว้ ยการจดั การติดตาม
และตรวจสอบยานพาหนะท่ีเช่ือมต่อการขนส่งและทรัพยส์ ินอ่ืน ๆ จากโทรศพั ท์เคล่ือนท่ีแบบ
เรียลไทม์
5. ภาครัฐ
แอปพลิเคชนั 10T ใชเ้ พ่ือแกไ้ ขปัญหาในโลกแห่งความเป็นจริงมากมาย การจราจร
ท่ีติดขดั การบริการในเมือง การพฒั นาทางเศรษฐกิจ การมีส่วนร่วมของพลเมืองและความปลอดภยั
สาธารณะ เมืองที่ทนั สมยั มกั จะฝังเซนเซอร์ IoT ไวใ้ นโครงสร้างพ้ืนฐานทางกายภาพ เช่น ไฟถนน
มาตรวดั น้า และ สัญญาณไฟจราจร
6. ภาคอุตสาหกรรมเกี่ยวกบั พลงั งาน
Internet of Things ช่วยใหผ้ ใู้ หบ้ ริการส่งมอบบริการและผลิตภณั ฑท์ ี่น่าเช่ือถือและ
ราคายุติธรรม อุปกรณ์และเครื่องจกั รท่ีเชื่อมต่อ IoT ทานายปัญหาก่อนที่จะเกิดข้ึน ทรัพยากรกริด
แบบกระจาย เช่น แสงอาทิตยแ์ ละลมถูกรวมเขา้ ดว้ ยกนั ผ่าน IoT และขอ้ มูลพฤติกรรมที่รวบรวม
จากบ้านอัจฉริยะ ปรับปรุง ความสะดวกสบายและความปลอดภยั และแจ้งการพฒั นาบริการที่
กาหนดเอง
7. ด้านการใช้ชีวิตประจาวนั ด้านการเพิ่มความสะดวกสบายในชีวิตประจาวนั
สาหรับผูพ้ กั อาศยั ในบา้ นอจั ฉริยะ (Smart Home) เช่น ตูเ้ ยน็ อจั ฉริยะ โดยตูเ้ ยน็ สามารถบอกผ่าน
แอปพลิเคชันบนสมาร์ตโฟนได้ว่ามีวตั ถุติบใดเหลือบา้ ง ปริมาณเท่าใด วตั ถุดิบใดใกลห้ มดอายุ
หรือวตั ถุดิบเหล่าน้ันสามารถนามาประกอบเป็ นรายการอาหาร อะไรได้บา้ ง หรือเพื่อเพ่ิมความ
ปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ ิน
7
ตวั อย่างอุปกรณ์ทีใ่ ช้ Internet of Things
loT หรือ Internet of Things ถือวา่ เป็นแนวคดิ ท่ีมีมานานมาก ซ่ึงในตา่ งประเทศมี
การกลา่ วถึงเรื่องน้ี และติดต้งั ใชง้ านกนั ไปบา้ งแลว้ ไม่วา่ จะเป็นการส่ังซ้ืออาหาร หรือดูอาหารที่
หมดอายจุ ากขา้ งนอกบา้ น การสั่งเปิ ด-ปิ ดไฟ เคร่ืองปรับอากาศหรืออปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์อ่ืน ๆ
หรือการคานวณคา่ ไฟ รวมท้งั การดูแลผสู้ ูงอายขุ องไทยท่ีมีจานวนมากยง่ิ ข้ึน ลว้ นแตม่ ีการนา I0T
เขา้ มาใชง้ านผผู้ ลิตเครื่องใชไ้ ฟฟ้ารายใหญไ่ ม่วา่ จะเป็นซมั ซุง แอลจี หรือรายอ่ืน ๆ ติดต้งั ศนู ย์
เกี่ยวกบั อปุ กรณ์ IoT อยา่ งจริงจงั ติดต้งั ช่ือต่าง ๆ ใหค้ นทวั่ ไปสามารถเลือกใชบ้ ริการได้ ซ่ึงก่อน
หนา้ น้ีผทู้ าโครงการที่อยอู่ าศยั รายหน่ึงไดเ้ ปิ ดตวั อยา่ งยง่ิ ใหญ่ เพ่ือนาอปุ กรณ์ IoT เขา้ ไปติดต้งั
ภายในคอนโดของเขา ซ่ึงทาหนา้ ท่ีในรูปแบบต่าง ๆ เช่น
นาฬิกาอจั ฉริยะ (Kidz Watch) เป็นนาฬิกาสาหรับเดก็ ท่ีสามารถโทรศพั ทไ์ ด้
ถา่ ยรูปไดพ้ ร้อมระบตุ าแหน่งท่ีต้งั โดยเชื่อมต่อกบั สมาร์ตโฟนส่งขอ้ มูลผา่ นแอปพลิเคชนั ไม่วา่
บตุ รหลาน จะเลน่ อยทู่ ี่ไหน ก็สามารถติดตามไดต้ ลอดเวลา ปลอดภยั ไร้กงั วล การนา internet of
Things ไปใชง้ านต่างๆ
ตเู้ ยน็ อจั ฉริยะ เป็นสิ่งที่น่าประทบั ใจ เม่ือตูเ้ ยน็ สามารถตรวจจบั จานวนส่ิงของต่าง
ๆ ได้ และเม่ืออาหารในตูเ้ ยน็ ใกลจ้ ะหมดอายรุ ะบบจะมีขอ้ ความแจง้ เตือนไปยงั สมาร์ตโฟนใหว้ าง
แผนการซ้ืออาหารภายในตูไ้ ดต้ ลอดเวลา
เครื่องซกั ผา้ สามารถส่ังใหเ้ คร่ืองซกั ผา้ เริ่มซกั และบนั ลว่ งหนา้ ผา่ นสมาร์ตโฟน
เมื่อซกั ผา้ เสร็จเรียบร้อยแลว้ ระบบกจ็ ะส่งขอ้ มลู รายงานอตั โนมตั ิ พร้อมกบั ส่งขอ้ มูลไปยงั ราวตาก
ผา้ ใหเ้ คลื่อนตวั ออกมากลางแดด เมื่อถึงบา้ นกน็ าผา้ ไปตากไดเ้ ลย ทาใหล้ ดเวลาในการทางานบา้ น
ไดม้ ากข้นึ และที่มากไปกวา่ น้นั หากราวตากผา้ ไดร้ ับพยากรณ์อากาศวา่ จะมีฝนตก ราวตากผา้ กจ็ ะ
เคลื่อนตวั กลบั เขา้ สู่ที่ร่มอตั โนมตั ิไมต่ อ้ งกงั วลวา่ ผา้ ที่ซกั แลว้ จะเปี ยกฝน
กลอ้ งนิรภยั ที่สามารถติดต้งั ไวใ้ นบา้ นเพอื่ ตรวจจบั สิ่งผิดปกติที่อยใู่ นบา้ น
ถึงแมว้ า่ ในเวลากลางคนื จะมืด กลอ้ งสามารถจบั ความผดิ ปกติและส่งขอ้ มูลไปยงั สมาร์ตโฟนไดโ้ ดย
ผา่ นการเช่ือมต่อกบั ซิมโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ีท่ีส่งขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งรวดเร็วนอกจากน้ียงั ทาหนา้ ท่ีเป็น
กลอ้ งนิรภยั สาหรับติดตามจุดเส่ียงตา่ ง ๆ ในเมืองเม่ือเกิดเหตกุ ารณ์ผิดปกติระบบจะส่งขอ้ มูลภาพ
ไปยงั หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งเพื่อแจง้ ใหท้ ราบถึงความไม่ปลอดภยั
8
ทกั ษะท่ีจาเป็ นของบุคลากรด้าน Internet of Things
บุคลากรท่ีจะตอ้ งปฏิบตั ิเก่ียวกบั Internet of Things ควรมีทกั ษะที่จาเป็น ดงั น้ี
1. Data Analysis ขอ้ มูลหรือที่เรียกกนั วา่ Data เป็นสิ่งท่ีจาเป็นในทกุ แงท่ กุ มุม
ของการพฒั นาอุตสาหกรรมด้วย IoT ไม่ว่าจะเป็ นการสร้างสรรค์หรือการซ่อมแซม เนื่องจาก
อุปกรณ์ทางเทคโนโลยตี า่ ง ๆ จะประมวลผลและส่งกลบั มายงั IoT Developer และในบางคร้ังยงั
มีความจาเป็ นท่ีจะตอ้ งวิเคราะห์ขอ้ มูลได้อย่างทนั ที (Real-Time) เพื่อนามาปรับปรุงระบบการ
ทางานของ IoT ดงั น้นั การเขา้ ใจในเรื่อง Data อยา่ งถ่องแทจ้ ะเสริมสมรรถภาพใหก้ ารใชง้ าน IoT
เป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ
2. Automation อุปกรณ์ IoT ท่ีมีประสิทธิภาพสามารถปฏิบัติการด้วยระบบ
อตั โนมตั ิ (Automatically) และเชื่อมต่อ กับเน็ตเวิร์กและอุปกรณ์อจั ฉริยะอื่น ๆ ไดส้ ะดวกและมี
ขอ้ ดีมากกวา่ อปุ กรณ์ท่ีปฏิบตั ิการโดยไม่ใช้ ระบบอตั โนมตั ิ (Non-Automated) ดงั น้นั บริษทั
ทางดา้ น IoT จึงมีแนวโน้มการลงทุนในเร่ืองระบบอตั โนมตั ิ Automation มากยิ่งข้ึน ส่งผลให้ IoT
Developer ท่ี มีความเชี่ยวชาญในเรื่องระบบอตั โนมตั ิไดร้ ับความสนใจในตลาดแรงงานเป็นอนั ดบั
ตน้ ๆ
3. Machine Learning อปุ กรณ์ IoT ส่วนมากจาเป็นตอ้ งอาศยั เทคโนโลยี AI
(Artificial Intelligence) เพื่อช่วยให้ทางานได้อย่างลื่นไหล และช่วยให้ชอบเขตการทางานของ
อุปกรณ์ IoT ขยายออกไปไดก้ วา้ งข้ึน และตอบสนองลูกคา้ ไดด้ ียง่ิ ข้ึน สร้างมูลคา่ เพิม่ ทางการตลาด
ไดอ้ ีกดว้ ย จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่บริษทั ต่าง ๆ ใหค้ วามสาคญั กบั การสนบั สนุนใหบ้ คุ ลากรศึกษาเร่ือง
AI และ Machine Learning เพอ่ื ประโยชน์ในอนาคต
4. Interface Design เพื่อตอบสนองความตอ้ งการของผใู้ ชง้ านหรือลกู คา้ ใหม้ ีความ
สะดวกสบายและความม่ันใจในการใช้งานอุปกรณ์ I0T การคานึงถึง Interface Design จึงเป็ น
องค์ประกอบสาคัญในการพัฒนาเทคโนโลยี IoT ดังน้ัน IoT Developer ที่สามารถสร้างสรรค์
แพลตฟอร์มที่ตอบโจทยก์ ารใชง้ านอุปกรณ์ได้ ถือเป็นทกั ษะที่มีคณุ คา่ ต่อองคก์ รเป็นอยา่ งมาก
5. Information Security อีกสิ่งหน่ึงที่มีความสาคญั คือ Information Security
เน่ืองจากบรรดา IoT Developer มีความจาเป็นที่ตอ้ งสร้างความปลอดภยั ของอุปกรณ์และแอปพลิเค
ชนั ต่าง ๆ เพม่ิ มากข้นึ ในอนาคต
6. Embedded Systems loT มีส่วนประกอบต่าง ๆ เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ี
สามารถวดั รับรู้ หรือตอบสนองต่อสภาพแวดล้อม รอบตัวได้ โดยส่งสัญญาณเชื่อมระหว่าง
เซนเซอร์กบั เวบ็ ไซต์ เพอ่ื ใหส้ ื่อสารกนั เองได้
9
บรรณานุกรม
https://eiu.thaieei.com/ สืบคน้ วนั ท่ี 18 พฤศจิกายน พ.ศ.2565
https://www.sas.com/ สืบคน้ วนั ท่ี 18 พฤศจิกายน พ.ศ.2565
https://blog.sogoodweb.com/ สืบคน้ วนั ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2565
https://www.aware.co.th/ สืบคน้ วนั ท่ี 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2565