The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการเครือข่ายพระสงฆ์เฝ้าระวังสื่อชวนเชื่อทางศาสนา "สร้างสื่อสันติ ลดอคติทางศาสนา"

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NAPHAT, 2021-03-30 05:58:45

มส-รายงานการดำเนินงาน โครงการเครือข่ายพระสงฆ์เฝ้าระวังสื่อชวนเชื่อทางศาสนา "สร้างสื่อสันติ ลดอคติทางศาสนา"

โครงการเครือข่ายพระสงฆ์เฝ้าระวังสื่อชวนเชื่อทางศาสนา "สร้างสื่อสันติ ลดอคติทางศาสนา"

คำ�นำ�

การขบั เคลือ่ นโครงการหม่บู ้านรกั ษาศลี ๕ นับวา่ เป็นงานขับเคลื่อนที่เป็นรปู ธรรม
ท่ียิ่งใหญ่ที่สดุ โครงการหนึง่ ของคณะสงฆไ์ ทย จากจุดเร่มิ ตน้ ทเี่ ป็นปณิธานของหลวงพอ่ เจ้า
ประคณุ สมเด็จพระมหารชั มังคลาจารย์ วดั ปากน�ำ ภ้ าษีเจริญ สคู่ วามรบั ผดิ ชอบขยายผลโดย
พระเดชพระคุณพระพรหมเสนาบดี กรรมการมหาเถรสมาคม ในฐานะประธานคณะกรรมการ
ขับเคลอ่ื นโครงการหมบู่ ้านรกั ษาศลี ๕ จนมาถึงวาระความรบั ผดิ ชอบต่อเนือ่ ง โดยพระเดช
พระคุณพระเทพศาสนาภิบาล เจา้ อาวาสวดั ไรข่ ิง พระอารามหลวง ประธานคณะกรรมการ
ขับเคลอ่ื นฯ รปู ปัจจุบัน ไดก้ ่อให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงทสี่ อดคลอ้ งกบั เปา้ หมายที่ตง้ั ไว้ คอื มี
ศีล มสี ุข ปรองดองสมานฉันท์ สามัคคี สันตสิ ุข ชุมชนแต่ละพื้นทีแ่ ต่ละจังหวดั ริเริม่ ยกระดับ
คุณภาพชีวิตตนเองแบบมสี ว่ นรว่ ม จนหลายๆชุมชนแปลงรูปศลี ๕ อนั เป็นวนิ ัยพ้นื ฐานในทาง
พุทธศาสนาไปเปน็ ธรรมนูญชมุ ชนใชเ้ ป็นกติกาพนื้ ฐานเพื่อการอยูร่ ่วมกนั อย่างสันติสุขในชมุ ชน
อย่างไรกต็ ามการขับเคล่อื นโครงการหมู่บา้ นรักษาศีล ๕ หากจะใหเ้ ขม้ แขง็ และยงั่ ยนื
อาศยั เพยี งกลไกทเ่ี ป็นทางการทีเ่ ปน็ ผลผลิตมาจากกฎเกณฑข์ อ้ บังคับตา่ งๆ กจ็ ะไมส่ ามารถเข้ม
แข็งและยั่งยืนได้อยา่ งแท้จรงิ การมกี ลไกปฏิบัติงานจรงิ ในพืน้ ท่ี จะเสริมสรา้ งใหเ้ กิดการเคลอ่ื น
งานไปในทิศทางที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้าน
รกั ษาศีล ๕ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ข้นึ โครงการเครอื ข่ายพระสงฆ์เฝา้ ระวงั สอ่ื ชวนเชอื่ ทาง
ศาสนา เป็นโครงการทดี่ �ำ เนินงานโดยวทิ ยาลยั สงฆ์พุทธปญั ญาศรีทวารวดี มหาวิทยาลยั มหา
จฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย ได้รับการสนบั สนุนทนุ จากกองทนุ พฒั นาส่ือปลอดภัยและสรา้ งสรรค์
จงึ ได้เข้ามารับภาระท�ำ หน้าทีพ่ ัฒนาศกั ยภาพของพระสงฆจ์ �ำ นวน ๗๑๓ รปู มาท�ำ หน้าท่เี ป็น
กลไกในการขับเคลื่อนโครงการหมู่บา้ นรักษาศีล ๕ ในระดับพื้นท่ี โดยปฏบิ ตั งิ านในแนวราบ
ร่วมกันทำ�งานในรูปแบบเครือข่ายรวมพลังกันทำ�งานในนามสมัชชาพระสงฆ์ผู้นำ�ขับเคลื่อน
หมู่บ้านรักษาศลี
ทำ�เนียบพระสงฆผ์ นู้ �ำ ขบั เคลอ่ื นหมบู่ ้านรักษาศีล ๕ เลม่ นี้ จึงมีความส�ำ คัญทพี่ ระสงฆ์
ตามจ�ำ นวนทไ่ี ด้กลา่ วไปแลว้ จะใชเ้ พือ่ การเช่ือมโยงข้อมูลการทำ�งานแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ เพอื่ ให้
เกิดพลงั การท�ำ งานเพื่อพระศาสนาใหเ้ ข็มแขง็ ร่วมกนั โดยภารกิจที่ส�ำ คญั ของพระสงฆท์ ปี่ รากฏ
นามอยใู่ นทำ�เนียบ หลังจากน้ไี ปกค็ อื การสนองงานคณะกรรมการขบั เคล่อื นโครงการหมบู่ ้าน
รกั ษาศีล ๕ เพอ่ื แปลงเปลยี่ นปญั หาจากการละเมิดศีล ๕ ดังกล่าวไปเปน็ การสรา้ งสังคมแหง่
การอยู่ร่วมกันอยา่ งสนั ตสิ ขุ ต่อไป

พระมหาบญุ เลศิ อนิ ทฺ ปญโฺ ญ,ศ.ดร.
รองผู้อำ�นวยการวทิ ยาลัยสงฆพ์ ทุ ธปญั ญาศรที วารดี

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั
หวั หน้าโครงการเครอื ข่ายพระสงฆเ์ ฝ้าระวงั สือ่ ชวนเชื่อทางศาสนา

(ExeบcทuสtiรvุปeผSบู้ uรmหิ าmรary)

โครงการเครือขา่ ยพระสงฆ์เฝ้าระวงั ส่อื ชวนเชือ่ ทางศาสนา โดยการด�ำ เนนิ งานของ
มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรที วารวดี วดั ไร่ขงิ จังหวัด
นครปฐม มีวัตถปุ ระสงค์เพ่อื สร้างแกนนำ�และเครอื ขา่ ยพระสงฆใ์ ห้ทำ�หน้าทีส่ รา้ งภมู คิ ้มุ กันในการ
ใชส้ ่ือทั้งสอ่ื โดยตรงและสอ่ื ออนไลน์ โดยการใหค้ วามรทู้ ก่ี อ่ ให้เกิดความร้เู ท่าทนั และร่วมเฝา้ ระวงั
ภัยออนไลน์แก่พระสงฆ์และประชาชนท่ัวไป...พร้อมท้ังสร้างเครือข่ายการทำ�งานระหว่างภาครัฐ
เอกชน และประชาสงั คม ในด้านการรเู้ ท่าทนั การเฝ้าระวัง และการปอ้ งปรามสอ่ื ที่เป็นภัยส่งผลก
ระทบต่อความขัดแย้ง ก่อใหเ้ กดิ ประทุษวาจาโดยใชศ้ าสนาเปน็ เง่ือนไข ไดด้ �ำ เนินงานประสานรว่ ม
กับการขับเคล่ือนโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
“หมบู่ ้านรกั ษาศีล ๕” โดยการสนบั สนุนงบประมาณของกองทุนพัฒนาสอื่ ปลอดภยั และสร้างสรรค์
เร่มิ ดำ�เนนิ งานตัง้ แต่วนั ท่ี ๙ ธนั วาคม ๒๕๖๒ บดั นโี้ ครงการเครือข่ายพระสงฆเ์ ฝา้ ระวงั สือ่ ชวนเช่ือ
ทางศาสนา ไดด้ ำ�เนนิ การส้นิ สดุ แลว้ มผี ลการด�ำ เนนิ งานดงั ต่อไปนี้
ระยะที่ ๑ การพัฒนาหลักสตู รฝึกอบรม “พระสงฆ์ผ้นู ำ�ขับเคลือ่ นหมู่บา้ นรักษาศลี ๕”
มีกิจกรรมฝกึ อบรม ๕ กิจกรรม ประกอบดว้ ย Module ท่ี ๑ ถอดบทเรยี นต้นแบบการขับเคล่อื น
โครงการหมบู่ า้ นรักษาศลี ๕ Module ท่ี ๒ เทคนคิ และเคร่อื งมือการทำ�งานพัฒนาเพอ่ื ขบั เคลื่อน
หมบู่ า้ นรกั ษาศลี ๕ ในชมุ ชน Module ท่ี ๓ การสร้างเครอื ข่ายพระสงฆ์เฝ้าระวังสอ่ื ชวนเชอ่ื ทาง
ศาสนา Module ท่ี ๔ ทกั ษะการแปรเปลยี่ นปญั หาส่สู มั มาชีพ และ Module ท่ี ๕ กลยทุ ธก์ ารขบั
เคลอื่ นหมูบ่ า้ นรกั ษาศลี ๕ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ
ระยะท่ี ๒ จดั อบรมพระสงฆ์ผนู้ ำ�ขับเคลอ่ื นหมบู่ ้านรกั ษาศลี ๕ จ�ำ นวน ๔ เวที โดยจดั ขน้ึ
ณ วดั ไรข่ งิ พระอารามหลวง จงั หวัดนครปฐม มผี ้แู ทนคณะสงฆจ์ ากทุกจังหวดั ทว่ั ประเทศผ่านการ
อบรมรวมจำ�นวน ๗๑๓ รูป ดงั น้ี ครั้งที่ ๑ ระหว่างวันที่ ๒๑-๒๓ มกราคม ๒๕๖๓ มผี ู้ผ่านการอบรม
รม ๑๕๔ รูป ครัง้ ท่ี ๒ ระหว่างวนั ที่ ๓๐ กรกฎาคม ถงึ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๓ มผี ้ผู า่ นการอบรม ๑๗๖
รูป คร้งั ท่ี ๓ ระหว่างวนั ที่ ๒๗ – ๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ มผี ู้ผ่านการอบรม ๓๒๑ รูป และ คร้งั ที่ ๔
ระหว่างวนั ท่ี ๒๖ – ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔ มีผ้ผู า่ นการอบรม ๖๒ รูป
ระยะท่ี..๓...จัดตั้งศูนย์ประสานงานเครือข่ายพระสงฆ์เฝ้าระวังสื่อชวนเชื่อทางศาสนา
จำ�นวน ๕ ศนู ย์ ในทุกภูมิภาค ประกอบดว้ ย ๑) ภาคกลาง จ�ำ นวน ๑ ศูนย์ คอื ศนู ยป์ ระสานงาน
จังหวัดนครปฐม ตง้ั อยู่ ณ วทิ ยาลยั สงฆ์พุทธปญั ญาศรที วารวดี มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราช
วิทยาลยั ๒) ภาคเหนือ จ�ำ นวน ๒ ศูนย์ คอื ศูนย์ประสานงานจงั หวัดนครสวรรค์

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และศนู ย์ประสานงานจงั หวดั ล�ำ พนู ตัง้ อยู่ ณ วทิ ยาลยั
สงฆ์ลำ�พูน มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย ๓) ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ศนู ยป์ ระสาน
งานจงั หวัดนครราชสีมา ตัง้ อยู่ ณ วทิ ยาเขตนครราชสมี า มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย
๔) ภาคใต้ ศูนยป์ ระสานงานจังหวัดตรงั ตั้งอยู่ ณ วดั ประสิทธชิ ัย จังหวัดตรัง
ระยะที่ ๔ การขยายผลของโครงการ โดยโครงการได้มีการขยายผล ดังนี้ ๑) การจัดตั้ง
“สมัชชาพระสงฆผ์ ้นู ำ�ขับเคลือ่ นหมบู่ า้ นรกั ษาศีล ๕” โดยมีพระสีหราชสมาจารมุนี เป็นประธาน
สมัชชา สมาชิกประกอบดว้ ยพระสงฆ์ผูผ้ า่ นการอบรมในหลักสตู รจ�ำ นวน ๗๑๓ รูป โดยสมัชชาเครือ
ข่ายพระสงฆผ์ ู้น�ำ ขับเคล่อื นหมู่บา้ นรกั ษาศลี ๕ จะขับเคลื่อนงานร่วมกับคณะกรรมการโครงการ
สรา้ งความปรองดองสมานฉนั ทโ์ ดยใชห้ ลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บา้ นรักษาศลี ๕” ๒) การ
จดั อบรม “พลงั ยวุ พทุ ธอาสาร้เู ท่าทันส่ือชวนเชอ่ื ทางศาสนา” ใน ๕ พืน้ ท่ี มีพระสงฆแ์ ละเยาวชน
ผ่านการอบรม ๓๑๗ รปู /คน คือ ครั้งที่ ๑ ณ วิทยาลยั สงฆพ์ ทุ ธปญั ญาศรที วารวดี โดย ศนู ย์
ประสานงานจังหวัดนครปฐม ในวนั ที่ ๑๗ กนั ยายน ๒๕๖๓ มีผผู้ ่านการอบรม ๖๐ รูป/คน คร้ังที่
๒ ณ โรงเรียนมัธยมวดั ควนวิเศษมลู นธิ ิ จังหวดั ตรัง โดย ศูนยป์ ระสานงานจังหวดั ตรงั ในวนั ที่ ๒๖
กนั ยายน ๒๕๖๓ มีผู้ผ่านการอบรม ๖๐ คน คร้ังที่ ๓ ณ วิทยาเขตนครราชสมี า จังหวดั นครราชสมี า
โดย ศูนย์ประสานงานจงั หวัดนครราชสีมา ในวนั ท่ี ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๓ มผี ู้ผ่านการอบรม ๖๗ รูป/
คน ครัง้ ท่ี ๔ ณ วทิ ยาเขตนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ โดย ศูนย์ประสานงานจังหวัดนครสวรรค์
ในวนั ท่ี ๙ ตลุ าคม ๒๕๖๓ มผี ู้ผ่านการอบรม ๗๐ คน ครง้ั ที่ ๕ ณ วทิ ยาลยั สงฆ์ลำ�พูน จงั หวดั ลำ�พนู
โดย ศนู ย์ประสานงานจังหวดั ลำ�พูน ในวนั ที่ ๑๘ มนี าคม ๒๕๖๔ มผี ู้ผ่านการอบรม ๖๐ รูป/คน ๓)
การจัดทำ�สอื่ สรา้ งสรรค์การ์ตูนแอนนิเมชน่ั เพ่อื การรูเ้ ทา่ ทันสือ่ สวนเชอ่ื ทางศาสนา จำ�นวน ๔ เรือ่ ง
ประกอบด้วย เรื่องท่ี ๑ ชื่อตอน “หวย ความเช่ือในสงั คมไทย” เรอ่ื งที่ ๒ “แก้ฝนั ท�ำ ไดจ้ รงิ ...จริงด”ิ
เร่อื งท่ี ๓ ชื่อตอน “สว้ มซมึ บอ่ นำ�้ ศกั ดิ์สทิ ธ”์ิ และ เรือ่ งท่ี ๔ ชื่อตอน “มุสาวาท การพูดโกหก พดู ไม่
จรงิ ท�ำ สังคมเข้าใจผดิ และคนแตกแยกได”้ และ ๔) การพฒั นารายวิชา “การรูเ้ ทา่ ทันสอื่ ” ในหมวด
วิชาศกึ ษาทั่วไป ระดับปริญญาตรี โดยสภามหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้อนุมตั ใิ น
คราวประชมุ คร้ังท่ี ๑/๒๕๖๔ เม่ือวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๔ ใช้ส�ำ หรบั ท�ำ การเรยี นการสอนแกน่ สิ ติ
ระดับนิสติ ระดับปรญิ ญาตรี มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัยทวั่ ประเทศ

สารบััญ หน้า้

โครงการเครือข่ายพระสงฆ์เฝา้ ระวงั ส่อื ชวนเช่อื ทางศาสนา ๑๙
ตารางแสดงแผนปฏิบัติการโครงการหรอื กิจกรรม ๓๑
มติมหาเถรสมาคม ๓๓
คณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการหมู่บ้านรกั ษาศีล ๕ สว่ นกลาง ๓๕
คณะท�ำ งาน ๓๗
หลักสูตรฝกึ อบรม โครงการเครอื ขา่ ยพระสงฆเ์ ฝา้ ระวงั สอ่ื ชวนเช่อื ทางศาสนา ๔๑
สมชั ชาพระสงฆ์ผนู้ ำ�ขบั เคลื่อนหมู่บ้านรักษาศลี ๕ ๔๗
ทำ�เนียบพระสงฆผ์ นู้ �ำ ขบั เคลอื่ นหมูบ่ า้ นรักษาศลี ๕ ๔๘
จงั หวดั กรุงเทพมหานคร 51
จังหวดั นนทบรุ ี 52
จังหวดั ปทมุ ธาน ี 54
จังหวดั สมทุ รปราการ 56
จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา 57
จงั หวดั อ่างทอง 59
จงั หวดั สระบุรี 61
จังหวดั ลพบรุ ี ๖3
จังหวดั สงิ ห์บุร ี 64
จังหวัดชัยนาท 66
จังหวัดอุทัยธาน ี 67
จังหวัดนครสวรรค ์ 69
จงั หวัดกำ�แพงเพชร 71
จังหวัดพิจติ ร ๗2
จงั หวัดเพชรบูรณ์ 74
จงั หวัดสโุ ขทัย 75
จงั หวดั พิษณโุ ลก 77
จงั หวดั อุตรดิตถ์ 78
จงั หวดั ตาก 80
จงั หวดั ล�ำ ปาง

หน้า้
จังหวดั พะเยา 81
จังหวัดเชียงราย ๘3
จงั หวดั แพร่ 84
จังหวดั น่าน 86
จังหวดั เชยี งใหม ่ 87
จงั หวดั ลำ�พนู 89
จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน 91
จังหวดั อดุ รธาน ี 92
จังหวัดหนองคาย 94
จงั หวัดเลย 95
จงั หวดั สกลนคร 97
จังหวดั หนองบัวล�ำ ภ ู 98
จังหวดั บงึ กาฬ 100
จงั หวดั ขอนแก่น 102
จังหวดั มหาสารคาม 103
จงั หวัดกาฬสินธ ์ุ 105
จงั หวัดรอ้ ยเอด็ 106
จังหวัดอบุ ลราชธานี 108
จังหวัดศรีสะเกษ 109
จังหวัดนครพนม 111
จงั หวัดยโสธร 112
จงั หวัดมกุ ดาหาร ๑14
จงั หวัดอ�ำ นาจเจรญิ ๑15
จงั หวัดนครราชสีมา ๑17
จงั หวัดบุรรี ัมย์ ๑20
จังหวัดชัยภมู ิ ๑22
จังหวัดสุรินทร ์ ๑23
จังหวดั ปราจนี บุรี ๑26
จงั หวดั นครนายก ๑27

หน้า้
จงั หวดั ฉะเชิงเทรา ๑29
จงั หวดั สระแกว้ ๑31
จงั หวดั ชลบุร ี ๑33
จังหวดั ระยอง ๑34
จังหวดั จันทบรุ ี ๑36
จงั หวัดตราด ๑38
จังหวดั นครปฐม ๑39
จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ๑41
จงั หวัดกาญจนบรุ ี ๑43
จังหวดั สมทุ รสาคร ๑45
จงั หวดั ราชบุรี ๑46
จังหวดั เพชรบุรี ๑48
จังหวดั สมุทรสงคราม ๑49
จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ์ 152
จังหวดั นครศรธี รรมราช 153
จงั หวัดชมุ พร 155
จงั หวดั สรุ าษฎร์ธาน ี 156
จงั หวดั ภูเก็ต 158
จงั หวดั ตรงั 159
จังหวัดกระบี ่ 161
จังหวัดพงั งา 163
จังหวดั ระนอง 165
จงั หวัดสงขลา 166
จังหวัดพทั ลุง 168
จังหวดั สตลู 169
จงั หวัดปตั ตานี 171
จงั หวัดยะลา 172
จังหวดั นราธวิ าส 174

1

ส่วนท่ี 1
รายละเอียดโครงการหรือกจิ กรรม
1. ชอ่ื โครงการหรอื กจิ กรรม (ภาษาไทย)
โครงการเครอื ขา่ ยพระสงฆเ์ ฝ้าระวังสื่อชวนเชื่อทางศาสนา
2. ชอ่ื โครงการหรือกจิ กรรม (ภาษาอังกฤษ)
Project of Monks’ Network for Monitor to Religions Propaganda
3. ระยะเวลาโครงการหรือกจิ กรรม
• วนั เริม่ ต้นโครงการหรอื กจิ กรรม 1 ตุลาคม 2562
• กำ�หนดเสร็จ 30 กันยายน 2563
รวมระยะเวลา 12 เดอื น
4. งบประมาณโครงการหรือกิจกรรม
5. แนวทางหรือลกั ษณะโครงการหรือกจิ กรรมท่ีขอรบั การสนบั สนนุ
กองทุนได้กำ�หนดแนวทางหรือลักษณะโครงการหรือกิจกรรมเชิงยุทธศาสตร์ท่ีจะ
ให้การสนับสนนุ ประจำ�ปี พ.ศ. 2562 โดยมีรายละเอยี ด ดงั น้ี
2. การรบั มอื กบั ข่าวปลอม (Fake News) โดยเลือกประเด็นย่อยอยา่ งน้อยข้อใดขอ้ หนงึ่ ดังต่อ
ไปน้(ี โครงการหนงึ่ สามารถรวมองคป์ ระกอบของประเด็นยอ่ ยไดม้ ากกว่าหน่งึ ข้อ)
2.1 กลไกการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาข่าวปลอมอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและยงั่ ยนื
2.2 การสง่ เสริมความรู้และความตระหนักในปญั หาข่าวปลอมสำ�หรับประชาชน
2.3 การสรา้ งระบบ หรือแหลง่ รวบรวมขอ้ มูล หรือศูนยก์ ลาง เพอ่ื ตรวจสอบข้อเทจ็
จรงิ ของขอ้ มูลขา่ วสาร (Fact-Checking Center)
2.4 การสร้างโครงการรณรงค์ในส่อื และการจดั กจิ กรรมเพือ่ สร้างความตระหนกั
เรือ่ งพษิ ภัยและผลกระทบ สามารถแยกแยะ ตรวจสอบขา่ วปลอมได้
2.7 การสรา้ งเครอื ขา่ ยระดับประเทศเพอื่ สร้างองค์ความรแู้ ละกลไกในการแก้ไข
ปญั หาขา่ วปลอม

2

6. กลุ่มเป้าหมายของโครงการหรือกิจกรรม
ระบุวิธีการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายหากมีกลุ่มเป้าหมายหลายกลุ่มควรระบุกลุ่มเป้า
หมายหลกั และเปา้ หมายรองและระบุจำ�นวนโดยประมาณของกลุ่มเปา้ หมาย ตามตาราง.

กลุ่มเปา้ หมาย กลมุ่ เปา้ หมายของโครงการหรือกจิ กรรม

องคก์ ร จำ�นวน จ�ำ นวนเครือ รวมกลุม่ เปา้
(คน) ขา่ ย หมาย

เดก็ เยาวชน และ
ครอบครวั

ผู้ผลติ ส่ือ / ผู้ประกอบ
การดา้ นส่ือ

ประชาชนทวั่ ไป

กลมุ่ วิชาชีพด้านสือ่
และกลมุ่ วิชาการ

กลุ่มเป้าหมายอื่นๆ 1. มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ า 708 รปู 3 หน่วยงาน 708 คน
(พระสงฆท์ ่มี ตี �ำ แหน่ง ลงกรณราชวิทยาลัย
เป็นพระสอนศลี ธรรม 2. มหาวิทยาลัยมหามกุฎ
ในโรงเรียน และครู ราชวิทยาลยั
สอนปริยัตธิ รรม) 3. คณะสงฆใ์ นเขตการ
ปกครอง 4 หน(เหนือ/
ใต้/ตะวันออก/กลาง)

รวม 708 3 708

หมายเหตุ : มีความสอดคล้องกบั การก�ำ หนดตวั ช้ีวัดและกิจกรรมต้องมีความ
สมั พันธ์กันในโครงการ หรือกิจกรรม

7. ประเภทของผู้ขอรบั การสนบั สนุน องคก์ รเอกชน (สมาคม/มูลนิธ)ิ
บคุ คลธรรมดา องค์กรสาธารณประโยชน์
องคก์ รชมุ ชน สถานศึกษา ( รัฐ เอกชน)
นติ ิบคุ คล (บริษัท/ห้างหุ้นสว่ น)
หนว่ ยงานของรัฐ

3

ส่วนที่ 2

1. ช่อื หน่วยงาน
หน่วยงานหลัก มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
ภาคีเครือข่าย
1. ส�ำ นกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ
2. กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม
3. กระทรวงดิจติ อลเพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คม
4. กองบังคบั การปราบปรามการกระทำ�ความผิดเกยี่ วกบั อาชญากรรมทาง
เทคโนโลยี สำ�นกั งานตำ�รวจแหง่ ชาติ
5. กองอ�ำ นวยการรักษาความมัน่ คงภายในราชอาณาจกั ร

2. ชอ่ื ผู้ขอรบั การสนบั สนุน
(ภาษาไทย) รศ.ดร.พระมหาบุญเลิศ ชว่ ยธานี
(ภาษาอังกฤษ) Assoc.Prof.Dr.Phramaha Boonlert Chuaythanee
2.1 ชือ่ หัวหน้าโครงการหรอื กจิ กรรม
(ภาษาไทย): รศ.ดร.พระมหาบญุ เลศิ ชว่ ยธานี
(ภาษาองั กฤษ): Assoc.Prof. Phramaha Boonlert Chuaythanee, Ph.D.
(ต�ำ แหนง่ ): อาจารย์
(หนว่ ยงานตน้ สงั กดั ): มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
2.2 เลขบตั รประจำ�ตวั ประชาชน: 3 9201 00130 182 บตั รหมดอายวุ นั ที่
22 มถิ นุ ายน 2568
2.3 สถานที่ตดิ ต่อ/จดั ส่งเอกสารวทิ ยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรที วารวดี
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั อาคารหอสมดุ เฉลมิ ราชกุมารี
ต�ำ บลไรข่ งิ อ�ำ เภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม 73110
โทรศัพท ์ 08 6600 3199 e-mail: [email protected]
3. ท่ีปรึกษาโครงการหรอื กิจกรรม
1.ช่อื ดร.สวุ ิมล เทวะศลิ ชัยกลุ
ตำ�แหน่ง กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ สำ�นักดิจิทัลเพอ่ื การศึกษา
มหาวิทยาลยั ราชภัฎเชียงใหม่

4

หนว่ ยงานต้นสังกัดอดีตรองผู้อำ�นวยการสายยทุ ธศาสตร์และเทคโนโลยี ส�ำ นักงาน
สง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมซอฟแวร์แหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกจิ และ
สังคม) ที่อยู่ เลขท่ี 217/91 ซอยพหลโยธิน 50 แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพฯ
10220 เลขประจ�ำ ตวั ประชาชน 3100700351969 โทรศพั ท์เคล่อื นที่ 0865999188
e-mail: [email protected]
4. รายช่อื ผู้รว่ มด�ำ เนินโครงการหรอื กจิ กรรม
1. ชอ่ื ดร.พระมหาประกาศิต ฐติ ปิ สิทธกิ ร ตำ�แหนง่ นกั วิจยั ประจำ�โครงการ
หนว่ ยงานตน้ สงั กดั มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ทอ่ี ย่/ู หน่วยงาน
วทิ ยาลัยสงฆ์พทุ ธปญั ญาศรีทวารวดี มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
อาคารหอสมดุ เฉลิมราชกมุ ารี ต�ำ บลไร่ขงิ อำ�เภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม
73110 เลขประจ�ำ ตัวประชาชน 3310800438193
โทรศพั ท์ 034-326912โทรศัพท์เคลอ่ื นที่ 084-5455144
e-mail: [email protected]
บทบาทหน้าท่/ี ความรบั ผดิ ชอบในโครงการหรือกิจกรรมน้ี
จดั ทำ�คูม่ อื ฝึกอบรม ลงพ้ืนที่ดำ�เนินกจิ กรรม เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เป็นวิทยากรฝึก
อบรมในโครงการ รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมลู จดั ทำ�ฐานขอ้ มลู ผู้เขา้ อบรม
2. ชื่อ ดร.พทุ ธชาติ แผนสมบุญ ตำ�แหนง่ นักวจิ ัยประจำ�โครงการ
หน่วยงานต้นสังกดั มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ทีอ่ ย/ู่ หนว่ ยงาน
คณะมนษุ ยศาสตร ์ ตำ�บลล�ำ ไทร อำ�เภอวังนอ้ ย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
13170 เลขประจ�ำ ตัวประชาชน 3120600606043
โทรศัพท์ 0819047512 e-mail : saha70@gmail
บทบาทหน้าท/่ี ความรับผดิ ชอบในโครงการหรอื กจิ กรรมนี้
จดั ทำ�คมู่ อื ฝกึ อบรม ลงพื้นท่ดี �ำ เนนิ กิจกรรม เก็บรวบรวมข้อมลู เป็นวทิ ยากรฝกึ
อบรม พฒั นากิจกรรมฝกึ อบรม ในโครงการ รวบรวม วิเคราะห์ แปลผลข้อมูล
3. ชอ่ื ดร.กฤติยา ถำ�้ ทอง ตำ�แหนง่ นักวจิ ยั ประจำ�โครงการ
หนว่ ยงานต้นสังกดั มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ทอ่ี ยู่/หน่วยงาน
วิทยาลัยสงฆพ์ ทุ ธปัญญาศรที วารวดี มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย
อาคารหอสมดุ เฉลมิ ราชกมุ ารี ต�ำ บลไรข่ งิ อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
73110 โทรศพั ทเ์ คลือ่ นที่ 0655166615
e-mail: [email protected]

5

บทบาทหน้าท/ี่ ความรบั ผิดชอบในโครงการหรอื กจิ กรรมน้ี
จดั ท�ำ คมู่ ือฝึกอบรม ลงพน้ื ท่สี ำ�รวจเกบ็ รวบรวมข้อมูล เป็นวทิ ยากรฝกึ อบรม เก็บ
รวมรวมขอ้ มูล บริหารจดั การระบบบญั ชีและการเงิน
4. ชอื่ พระมหาสาทร ธมมฺ าทโร ต�ำ แหน่ง นักวจิ ยั ประจ�ำ โครงการ
หนว่ ยงานต้นสังกดั มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ทอ่ี ย/ู่ หนว่ ยงาน
วิทยาลยั สงฆ์พทุ ธปัญญาศรีทวารวด ี มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย
อาคารหอสมดุ เฉลิมราชกุมารี ตำ�บลไร่ขงิ อำ�เภอสามพราน จงั หวัดนครปฐม
73110 เลขประจ�ำ ตัวประชาชน 3550700262857
โทรศพั ทเ์ คล่อื นท่ี 0907547469 e-mail: s.carrot2019@ gmail.com
บทบาทหน้าท่/ี ความรับผดิ ชอบในโครงการหรือกิจกรรมนี้
เก็บรวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะห์ขอ้ มลู ประสานภาคี ประสานงานผูเ้ ข้าอบรมและ
สว่ นทเี่ กย่ี วข้อง จัดเตรยี มสถานทฝ่ี ึกอบรม
5. ประวัติขอรบั การสนบั สนุนจากกองทนุ /แหล่งทุนอนื่ ที่เก่ียวข้องกับส่อื ท่ีผ่านมา
ไม่มี
เคยมี (โปรดระบโุ ดยสงั เขป)
6. ผขู้ อรับการสนับสนุนเคยมีประวัติท่ีไมป่ ฏิบัตติ ามเงือ่ นไขในสญั ญาให้ทนุ สนับสนุนจาก
กองทนุ พัฒนาส่ือปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ หรอื แหล่งทนุ อืน่ ท่เี กย่ี วข้องกบั สื่อที่ผา่ นมาหรอื
ไม่
มี
ไม่มี
7. กรรมสิทธแ์ิ ละสทิ ธใิ นทรัพย์สนิ ทางปญั ญา
7.1 งานอันมลี ขิ สิทธ์ิ สทิ ธิบัตร หรือทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาอ่นื ใด ทเ่ี กดิ ข้นึ จากการ
ด�ำ เนินงานภายใต้โครงการหรอื กจิ กรรมทีไ่ ดร้ บั ทุนสนับสนนุ จากกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภัย
และสรา้ งสรรค์ ให้กองทุนและผูท้ ไ่ี ด้รับการสนบั สนนุ เปน็ เจา้ ของทรพั ยส์ ินทางปัญญารว่ มกัน
เว้นแต่จะมีการตกลงกนั เป็นอย่างอืน่
ยนิ ยอม
7.2 กองทนุ เป็นผมู้ ีสทิ ธิบริหารจัดการทรัพยส์ นิ ทางปัญญาแต่เพียงฝา่ ยเดยี ว เว้น
แตจ่ ะมีการตกลงกนั เป็นอย่างอื่น
ยินยอม

6

สว่ นท่ี 3
รายละเอียดขอ้ เสนอโครงการหรอื กิจกรรม
1. ความเป็นมา หลกั การและเหตุผล ความส�ำ คญั ของปัญหา
ส่ือสังคมออนไลน์มีประโยชน์ในการช่วยให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้
ง่ายดายและรวดเรว็ ในการใชส้ ื่อสงั คมออนไลน์ผู้บรโิ ภคขา่ วสารมวี ัตถปุ ระสงค์เพ่อื รับทราบ
ความเคลอื่ นไหวเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ อย่างสงู ท้ังนี้อาจเนอ่ื งมาจากว่าในแต่ละวันมเี หตุการณ์
ตา่ ง ๆ เกิดขน้ึ มากมายจึงเป็นผลใหแ้ ต่ละบุคคลจ�ำ เป็นทจ่ี ะต้องมกี ารตดิ ตามหรอื อา่ นข่าวผ่าน
สอ่ื สงั คมออนไลน์อย่าง เฟซบคุ๊ ซึง่ มีความรวดเรว็ ในการรายงานข่าวอันจะท�ำ ให้บคุ คลต่าง ๆ
สามารถรบั ทราบความเคลอื่ นไหวของเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ท่เี กดิ ข้นึ ไดอ้ ยา่ งทันทว่ งที แตป่ ญั หาใน
สังคมที่เกิดขึ้นจากการพึ่งพาส่ือสังคมออนไลน์ในการบริโภคข้อมูลข่าวสารมากจนเกินไปก็คือ
การที่คนปกั ใจเชือ่ ขา่ วสารทว่ั ไป รวมถึงข่าวลือ ขา่ วปลอมตา่ ง ๆ บนเฟซบ๊คุ ถกู น�ำ มาเผยแพร่
โดยไม่คำ�นงึ ว่าข้อมูลนน้ั มีความถูกตอ้ งมากน้อยเพยี งใด เพราะขา่ วสารบนเฟซบุค๊ นอกจากถูก
เผยแพรโ่ ดยสือ่ มวลชนกระแสหลักทีห่ นั มาทำ�เพจเฟซบุ๊ค เพื่อเพม่ิ ชอ่ งทางสอ่ื สารขา่ วให้มาก
ขนึ้ ยงั มีการเผยแพรข่ า่ วสารได้โดยผู้ใชง้ านเฟซบคุ๊ ท่วั ไปไดเ้ ชน่ กัน ในอดีตขา่ วปลอมแบบน้ี
อาจจ�ำ กดั เฉพาะข่าวเฉพาะด้าน เชน่ เนอ้ื หาดา้ นสขุ ภาพ (กินสมุนไพรน้ีแล้วจะหายจากมะเร็ง)
แตเ่ มอ่ื วงการส่ือเปลย่ี นแปลงไป ขา่ วปลอมก็เร่มิ พฒั นามาเปน็ ข่าวการเมืองหรอื ขา่ วตา่ ง
ประเทศ ประเทศไทยมีปัญหาความขดั แยง้ ทางการเมืองมานานหลายปี การสรา้ งขา่ วปลอม
เพอ่ื ใส่ร้ายปา้ ยสีฝา่ ยตรงขา้ มเกดิ ข้นึ มานาน และการใช้ช่องทางตรวจสอบแหล่งท่มี าของข่าว
ท�ำ ได้ยาก (เช่น การคดั ลอกขา่ วแลว้ สง่ ตอ่ ผ่าน LINE Group แทนการสง่ ลิงกเ์ พอื่ ไปอ่านยัง
เว็บไซตต์ น้ ฉบับ) กย็ ่ิงท�ำ ใหข้ ่าวปลอมระบาดงา่ ยขึ้นปัญหาใหญ่ของโลกอนิ เทอร์เน็ตในรอบ 4
ปที ผ่ี า่ นมา หนไี ม่พ้นเรอ่ื ง “ข่าวปลอม” หรอื ทีเ่ รยี กกนั ในภาษาองั กฤษวา่ “Fake News” ถึง
แมว้ า่ ปัญหาขา่ วปลอมไม่ใชเ่ รอื่ งใหม่ แตเ่ ม่อื พฤตกิ รรมของผู้ใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ เปลย่ี นไป หันมา
เสพขา่ วจากโลกโซเชียลมากขึน้ จากเดิมที่เคยติดตามข่าวสารจากสำ�นกั ขา่ วทีม่ ีช่อื เสยี ง (ซึ่งมี
การคดั กรองคุณภาพในระดับหนึ่ง) กเ็ ปลยี่ นมาเปน็ การอา่ น feed หรอื อา่ นข่าวจากห้องแชท
ท่ี “เพือ่ นแชร์มา” โดยเชือ่ มน่ั ว่าเพื่อนของเราคดั กรองข่าวทีเ่ หมาะสมมาให้แลว้ เมอื่ ข่าวจาก
โซเชยี ลได้รับการยอมรบั มากขน้ึ เพ่ิมสดั ส่วนมากขน้ึ จากขา่ วท้ังหมดท่เี ราเสพในแต่ละวัน บวก
กับพฤติกรรมของมนุษย์ท่ีมักมีแนวโน้ม “เช่อื ในส่ิงทีเ่ ราเชือ่ อยแู่ ล้ว” ก็ทำ�ใหข้ า่ วที่อาจไม่ถูก
ตอ้ งในขอ้ เทจ็ จริง (fact) แตถ่ ูกใจคนอ่าน ได้รับความนิยมมากขน้ึ ตามไปด้วย ปจั จยั เหลา่ นจี้ ึง
เอ้ือให้เกดิ ส�ำ นักข่าวหน้าใหม่ๆ เป็นจ�ำ นวนมาก สำ�นกั ขา่ วเหล่านีร้ ู้ว่าผอู้ า่ นชอบขา่ วแบบไหน
จงึ พยายามประดิษฐ์หรือสร้างสรรค์ข่าวทีค่ นชอบ เพ่อื ให้เกดิ การไลค์ การแชรจ์ ำ�นวนมาก สิง่
ท่ตี ามมาคอื รายได้จากโฆษณาท่มี ากขึน้ ตามไปด้วย

7

ในประเทศไทยมขี า่ วปลอมอยบู่ นโลกโซเซยี ลมเี ดียมากมาย ในบรรดาข่าวปลอมท่ี
ไหลเวยี นอยู่ ข่าวปลอมทสี่ ง่ ผลตอ่ สังคมรนุ แรง คือข่าวปลอมชวนเชอ่ื ทางศาสนา ทผ่ี ่านมา
เกิดปรากฏการณ์สร้างความเกลียดชังต่อบุคคลและองค์กรท่ีเข้ามาทำ�งานในทางศาสนาผ่าน
การสรา้ งข่าวปลอมแลว้ สง่ ต่อผ่านทางโซเซียลมเี ดีย ทงั้ เฟซบุ๊ค และไลน์ ท่ปี รากฏเด่นชัด เช่น
การแชรข์ า่ วปลอtมเกีย่ วกบั ทา่ นนายกรัฐมนตรี พลเอกประยทุ ธ์ จันโอชา และครอบครวั ใน
ประเด็นการนบั ถือศาสนา ซง่ึ ผจู้ ดั ทำ�อาจมีเจตนาหวังผลทางการเมือง หรอื ลดความน่าเชอื่
ถอื ซง่ึ ขา่ วปลอมดังกลา่ วได้รบั การแชร์ต่อในกลุม่ ผนู้ ับถือพระพทุ ธศาสนาทัง้ พระสงฆแ์ ละ
พทุ ธศาสนิกชนทวั่ ไป อนั สง่ ผลต่อความน่าเชือ่ ถอื ของผูน้ �ำ และรฐั บาล รวมถึงสร้างความ
แตกแยกในสังคมของกลุม่ การเมอื งทใ่ี ช้ศาสนาและสื่อสงั คมออนไลนเ์ ป็นเคร่ืองมอื

อีกเรื่องทีก่ ารป้นั แตง่ ขา่ วปลอมขึ้นมาเพอ่ื ใส่ร้ายนกั การเมือง คือ ขา่ วผไู้ มห่ วงั ดีแอบ
เปล่ยี นศาสนาทนี่ บั ถือในวกิ พิ ีเดียของนายไพบลู ย์ นิตติ ะวัน อดตี สมาชกิ วุฒิสภา (ส.ว.) อดตี
สมาชกิ สภาปฏิรปู แหง่ ชาติ (สปช.) และอดีตกรรมาธิการยกรา่ งรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ที่กว่า 4 ปี
มานท้ี า่ นผนู้ ใ้ี หค้ วามสนใจตรวจสอบวงการสงฆอ์ ย่างจรงิ จงั จนกลายเปน็ ผู้มีบทบาทสำ�คัญใน
การขบั เคลือ่ นใหม้ ีการปฏริ ปู วงการพระพุทธศาสนา
นอกจากข่าวเรื่องตวั บุคคลแล้ว ขา่ วสารทส่ี ง่ ผลกระเทือนต่อคณะสงฆ์โดยภาพ
รวม ทง้ั ทขี่ ้อมูลท่อี อกมาก็ยงั ไม่สามารถตรวจสอบแหล่งท่ีมาได้อย่างชัดเจน ก็คือข่าวการออก
กฎหมายให้ฆราวาสเขา้ มาควบคมุ พระสงฆ์ โดยสาระสำ�คัญของกฎหมายมบี ทลงโทษคอ่ นขา้ ง
รุนแรงหลายประการกับพระสงฆ์ ในกรณที ่ลี ะเมิดพระวินัยสงฆ์ และทส่ี ่งผลรุนแรงทีส่ ดุ คอื
การส่งผ่านข้อมูลไปยังพระสงฆท์ กุ ระดับว่า กฎหมายนอ้ี อกมาแลว้ จะไม่อนญุ าตให้พระสงฆม์ ี
บญั ชธี นาคาร ทำ�ให้พระสงฆ์จำ�นวนมากออกมาต่อตา้ นผา่ นการสรา้ งข่าวเพอื่ แกข้ า่ วสง่ ผา่ นโซ
เชียลมีเดยี เช่นกัน

8

พระสงฆอ์ ีกจำ�นวนหนงึ่ ทเ่ี ชอื่ ข่าวเหล่านนกี้ ็ถอนเงนิ ออกจากบัญชี หรอื เปล่ียนแปลงเกีย่ วกบั
บญั ชเี งนิ ฝากในรูปแบบตา่ ง ๆ เมื่อมกี ารตรวจสอบอยา่ งจรงิ จงั ก็ไมพ่ บแหล่งที่มาของข้อมูล
กฎหมายดงั กล่าววา่ มาจากไหน แตถ่ ูกแชร์ผา่ นไปยังกลุ่มไลน์พระสงฆ์ทุกกลุม่ ไลนใ์ นวงการ
สงฆ์
ปรากฎการณ์ดงั กล่าวข้างตน้ แมจ้ ะจ�ำ กัดวงอยู่เฉพาะในวงการคณะสงฆ์ แต่ในแง่
ผลกระทบมีความรุนแรง และขยายผลออกไปในวงกวา้ ง สร้างความรู้สกึ เกลยี ดชงั ตอกย�ำ้
ความขดั แยง้ รา้ วลึกในกลมุ่ ผนู้ ับถือศาสนาพุทธและศาสนาอื่น ๆ เกลยี วของความอคติหาได้
หยุดอย่แู คเ่ พยี งความร้สู กึ ของพระสงฆต์ อ่ บคุ คลหรือองค์กรใดองคก์ รหนึ่งเท่าน้ันไม่ แต่ขอ้ มูล
ข่าวที่ไมจ่ ริงถูกน�ำ ไปใชเ้ ป็นส่อื สำ�หรับการแสดงพระธรรมเทศนาของพระสงฆ์ในพ้ืนทตี่ า่ ง ๆ
เม่ือพระสงฆ์แสดงพระธรรมเทศนาโดยใช้ข้อมูลข่าวสารที่ไม่เป็นจริงเหล่าน้ีไปยังประชาชน
ยอ่ มสง่ ผลตอ่ การรบั รู้ของประชาชนให้โน้มเอียงไปทางการเชื่อตามทพ่ี ระสงฆ์ท่านเทศนา สง่
ผลใหค้ วามเขา้ ใจผิดของประชาชนท่มี ีต่อตัวบุคคลและองค์กรต่าง ๆ ขยายผลไปรวดเร็วและ
ลงลึกในระดับความเช่ือ ทั้งนี้พระสงฆก์ ลุม่ ทม่ี ีความใกลช้ ดิ กบั ประชาชน โดยเฉพาะเยาวชน
และเป็นกลุ่มท่ีมีบทบาทและอิทธิพลอย่างมากต่อการปลูกฝังข่าวสารข้อมูลต่อประชาชน
และเยาวชน กค็ ือกล่มุ พระสงฆท์ ด่ี �ำ รงตำ�แหนง่ เป็นครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนในสังกัด
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย และมหาวทิ ยาลัยมหามกฎุ ราชวทิ ยาลยั และรวม
กับพระสงฆ์ที่ดำ�รงตำ�แหน่งครูสอนปริยัติธรรมท่ีสังกัดสำ�นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติหาก
พระสงฆ์กลุ่มน้ีมาทำ�หน้าที่ผู้กลั่นกรองข่าวสารข้อมูลนำ�เสนอต่อคณะสงฆ์และสาธารณชน
ย่อมสง่ ผลให้เกดิ เกราะทเี่ ขม้ แข็งยากทีข่ า่ วปลอมท้ังหลายจะผา่ นเขา้ ไปได้
กลุ่มพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนเกิดขึ้นจากกระทรวงวัฒนธรรมกับกระทรวง
ศกึ ษาธกิ ารไดม้ ีความรว่ มมือ(MOU) ในการสนบั สนนุ ให้พระภกิ ษสุ งฆเ์ ข้าไปสอนในโรงเรยี น
ทัง้ ระดับประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษา และอาชีวศกึ ษา ผา่ นมหาวทิ ยาลัยสงฆ์ 2 แห่ง คอื
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย และมหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ภายใต้
ชื่อ “โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน” โดยมวี ตั ถุประสงคแ์ รกเรมิ่ คือ 1) เพ่ือจัดพระ
สงฆ์ท่ีมีความรู้ความสามารถท้ังในด้านปริยัติและปฏิบัติเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้
ใหน้ กั เรียนในระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาและระดับอาชวี ศกึ ษา 2) เพื่อให้นักเรยี น
นกั ศึกษามคี วามรคู้ วามเข้าใจในหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา 3) เพอื่ ปลกู ฝังให้นักเรียน
นักศึกษามีความรู้คู่คุณธรรมสามารถนำ�ความรู้และคุณธรรมไปบูรณาการกับการพัฒนา
คุณภาพชวี ติ ได้อยา่ งเหมาะสมและมีความสุข มีจำ�นวน 24,000 รูป และครูสอนปรยิ ัตธิ รรม
คือ พระสงฆ์ท่ีปฏบิ ตั ิหนา้ ทส่ี อนในโรงเรียนปริยตั ิธรรมท้งั แผนกบาลี

9

โดยสงั กดั สำ�นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ มีทตี่ ้ังอยใู่ น 77 จงั หวัดของประเทศไทยจ�ำ นวน
กว่า 15,000 รปู ดงั นนั้ พระสอนศีลธรรมในโรงเรียนและครูสอนปรยิ ตั ิธรรมของคณะสงฆจ์ ึง
มีบทบาทหน้าที่โดยตรงในการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมแก่เยาวชนใน
สถานศึกษา รวมทัง้ การสอ่ื สารข้อมลู ต่าง ๆ สสู่ าธารณชน
ดงั นัน้ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ได้พจิ ารณาเหน็ แลว้ วา่ สภาพ
การณ์ในปจั จบุ นั พระสงฆ์กลุ่มใหญ่ทงั้ 2 กลมุ่ นี้ แทนทีจ่ ะเป็นผสู้ ร้างเกราะทเี่ ข้มแข็งตอ่ ต้าน
ข่าวปลอม กลบั กลายเปน็ วา่ เป็นสื่อชักน�ำ ข่าวปลอมหรอื เปน็ กระบอกเสียงของข่าวปลอม
ใหเ้ กิดการขยายผลอย่างรนุ แรงและรวดเรว็ ท้ังน้ีเพราะพระสงฆเ์ หล่านีก้ เ็ ปน็ ส่วนหนึง่ ของ
ผรู้ บั สอื่ จากโซเชยี ล และมคี วามเชื่อตอ่ ข่าวสารน้ัน ๆ ขาดการรูเ้ ทา่ ทนั ส่ือ ขาดทักษะในการ
ไตรต่ รองและแยกแยะขา่ วจริงขา่ วปลอม จงึ ยังไม่สามารถจะอย่ใู นฐานะยามผกู้ รองสารและ
สอื่ สารสงิ่ ท่ีเป็นสาระท่ีแท้จริงตอ่ สังคมได้ จำ�เป็นจะตอ้ งมีการสรา้ งภมู ิคมุ้ กนั ในการใชส้ ่อื ท้ัง
ส่ือโดยตรงและส่อื ออนไลน์ โดยการพัฒนาศักยภาพและพฒั นาเครอ่ื งมอื การท�ำ งาน เช่น สอ่ื
องค์ความรู้หรือส่ือสร้างสรรค์ที่ทันสมัยเพ่ือสร้างพ้ืนที่ปลอดภัยบนโลกออนไลน์ที่เก่ียวข้อง
ทางศาสนา โดยการให้ความร้ทู ่กี ่อให้เกิดความรูเ้ ท่าทัน และร่วมเฝ้าระวงั ภยั ออนไลนท์ ีก่ ่อ
ใหเ้ กดิ ความขัดแยง้ และประทุษวาจาโดยใช้ศาสนาเป็นเงอื่ นไข ทำ�งานเฝา้ ระวังและปอ้ ง
ปรามสื่อปลอมในเชงิ เครือขา่ ยกบั ภาครฐั เอกชน และประชาสังคม เมอื่ ผา่ นกระบวนการ
พฒั นาศกั ยภาพพระสงฆด์ งั กล่าว จะด�ำ เนินพนั ธกจิ “สร้างสอื่ สนั ติ ลดอคติทางศาสนา”
โดยดำ�รงตนตามพทุ โธบาย 2 ขอ้ ที่ทรงประทานไว้เพ่ือสง่ สาวกไปประกาศพระพทุ ธศาสนา
คอื 1) อนปู วาโท ไม่ไปวา่ รา้ ยกนั ผูเ้ ผยแผค่ ำ�สอน จะต้องไม่โจมตี ไมน่ นิ ทาใคร 2) อนปู ฆา
โต ไม่ไปล้างผลาญกนั ไมเ่ ผยแผศ่ าสนาดว้ ยการสรา้ งเดือดร้อนใหใ้ คร อกี ทง้ั การท่กี องทนุ ส่อื
สร้างสรรค์และปลอดภัยซ่ึงเป็นกลไกส่งเสริมให้มีการพัฒนาศักยภาพของผู้ผลิตส่ือปลอดภัย
และสรา้ งสรรค์ ไดเ้ ปดิ รับขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั เพอื่ สนบั สนุนการด�ำ เนินงานนัน้ มหาวทิ ยาลัย
มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั โดยวิทยาลยั สงฆพ์ ุทธปญั ญาศรีทวารวดี รว่ มกบั ภาคีเครือขา่ ย
จึงได้เสนอ “โครงการเครือข่ายพระสงฆเ์ ฝ้าระวังสือ่ ชวนเชือ่ ทางศาสนา” โดยเปน็ การ
พฒั นาศักยภาพพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี นและครูสอนปรยิ ัติธรรม ให้เป็น “พระสงฆน์ กั
สอ่ื สารสรา้ งสรรคเ์ พอ่ื สนั ติ (พสส.)” ท่จี ะเป็นแกนนำ�และเครอื ข่ายท�ำ หน้าทสี่ รา้ งภมู ิคมุ้ กัน
ในการใช้ส่ือท้งั สือ่ โดยตรงและส่ือออนไลน์ เปน็ กลไกการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาขา่ วปลอม
อย่างมีประสิทธภิ าพและยั่งยนื โดยการให้ความรทู้ ก่ี อ่ ใหเ้ กิดความรู้เท่าทนั และร่วมเฝ้าระวัง
ภัยออนไลน์แก่พระสงฆ์และประชาชนท่ัวไป ซ่งึ สอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงคข์ องกองทุนฯ ทส่ี ่ง
เสริมและสนับสนนุ การมีสว่ นร่วมของประชาชนอยา่ งกวา้ งขวาง เพอื่ ให้เกิดการพัฒนา สือ่
ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์

10

และสง่ เสริมบคุ คล องค์กรชมุ ชน องค์กรเอกชน องค์กรสาธารณประโยชน์ สว่ นราชการ
รฐั วิสาหกิจ หรือหนว่ ยงานอนื่ ของรฐั ท่ดี าํ เนินกิจกรรมเกย่ี วกบั สอื่ ใหม้ ีการผลติ และพัฒนา
ส่อื ปลอดภัย และสร้างสรรค์ โดยโครงการเครอื ขา่ ยพระสงฆเ์ ฝ้าระวงั ส่อื ชวนเช่อื ทางศาสนา
จะขยายผลโดยการจัดตง้ั ศนู ยป์ ระสานงานพระสงฆ์นกั สรา้ งส่ือสร้างสรรค์เพื่อสันติ (พสส.)
จำ�นวน 5 ศนู ย์ โดยจำ�แนกเป็นภาคกลาง 1 ศูนย์ ภาคเหนือ 2 ศนู ย์ ภาคใต้ 1 ศนู ย์ และ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ศูนย์ โดยใช้พ้นื ทขี่ องหนว่ ยงานวิทยาเขต วิทยาลยั สงฆข์ อง
มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ผสานการทำ�งานกับกลมุ่ พระสงฆส์ งั ฆพัฒนาวชิ ชา
ลยั เพือ่ ใหศ้ ูนยเ์ ปน็ สถานท่ีในการฝึกอบรม ขยายผลการรู้เทา่ ทนั การเฝ้าระวงั และการป้อง
ปรามสื่อทีเ่ ป็นภยั สง่ ผลต่อความขดั แย้ง ก่อใหเ้ กดิ ประทุษวาจาโดยใชศ้ าสนาเปน็ เง่อื นไข อยา่ ง
ตอ่ เน่อื ง สอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์การสรา้ งระบบ หรือแหล่งรวบรวมขอ้ มูล หรือศูนย์กลาง
เพ่อื ตรวจสอบขอ้ เท็จจริงของขอ้ มูลข่าวสาร (Fact-Checking Center) โดยจะทำ�งานร่วม
กบั มหาวทิ ยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลยั ส�ำ นกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ กรมการศาสนา
กระทรวงวฒั นธรรม กระทรวงดจิ ติ อลเพอื่ เศรษฐกิจและสังคม กองบงั คับการปราบปราม
การกระทำ�ความผิดเกย่ี วกบั อาชญากรรมทางเทคโนโลยี ส�ำ นักงานตำ�รวจแห่งชาติ และ
กองอ�ำ นวยการรักษาความมนั่ คงภายในราชอาณาจักร ศูนย์ปฏิบัติการสอื่ ปลอดภัยและ
สร้างสรรค์ กระทรงวัฒนธรรม โดยมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั เป็นผปู้ ระสาน
งาน และภาคีเครอื ขา่ ยร่วมเป็นวิทยากรร่วมในการฝึกอบรม เปน็ เครอื ขา่ ยสรา้ งการรเู้ ท่าทนั
ส่อื เฝ้าระวงั และป้องปรามสอื่ หนุนเสริมการนำ�ความรู้และสื่อต่าง ๆ ทเี่ กดิ ขึน้ จากโครงการไป
ท�ำ งานตอ่ ยอดขยายผลกับกลุ่มเป้าหมายในพ้นื ทก่ี ารทำ�งานตา่ ง ๆ ทัว่ ประเทศ สอดคลอ้ งกับ
ยุทธศาสตร์การสร้างเครือข่ายระดับประเทศเพ่ือสร้างองค์ความรู้และกลไกในการแก้ไขปัญหา
ขา่ วปลอม
2. วัตถุประสงค์โครงการหรอื กิจกรรม
2.1 เพอ่ื พฒั นา “หลักสูตรพระสงฆ์นกั สรา้ งสือ่ สร้างสรรค์เพอ่ื สันติ (พสส.)” เพอ่ื
ให้เป็นเคร่ืองมือในการฝึกอบรมแกนนำ�พระสงฆ์กลุ่มพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนและครูสอน
ปรยิ ตั ธิ รรม ในเผยแพร่ความรู้ สร้างภูมิคุม้ กันในการใชส้ ือ่ ดจิ ทิ ัลใหก้ ับพระสงฆ์และประชาชน
ท่วั ไป
2.2 เพอ่ื พฒั นาแกนนำ�และเครือขา่ ยพระสงฆ์กลมุ่ พระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น
และครูสอนปริยัติธรรมให้ทำ�หน้าที่สร้างภูมิคุ้มกันในการใช้สื่อท้ังส่ือโดยตรงและส่ือออนไลน์
โดยการให้ความร้ทู ีก่ ่อให้เกิดความรู้เท่าทัน และร่วมเฝา้ ระวงั ภยั ออนไลน์แกพ่ ระสงฆแ์ ละ
ประชาชนทวั่ ไป

11

2.3 เพื่อพฒั นาเครือข่ายการท�ำ งานระหวา่ งภาครฐั เอกชน และประชาสังคม ใน
ดา้ นการรเู้ ทา่ ทัน การเฝ้าระวงั และการปอ้ งปรามสอื่ ทเ่ี ป็นภยั ส่งผลต่อความขดั แย้ง กอ่ ให้เกดิ
ประทุษวาจาโดยใชศ้ าสนาเปน็ เง่ือนไข
2.4 เพอ่ื จัดต้งั ศูนย์ประสานงานพระสงฆ์นักสรา้ งสอื่ สรา้ งสรรค์เพ่อื สันติ (พสส.)
จ�ำ นวน 5 ศูนย์ โดยจำ�แนกเปน็ ภาคกลาง 1 ศูนย์ ภาคเหนอื 2 ศูนย์ ภาคตะวนั ออกเฉยี ง
เหนือ 1 ศนู ย์ และภาคใต้ 1 ศูนย์ โดยใชพ้ นื้ ทีข่ องหน่วยงานวิทยาเขต วทิ ยาลัยสงฆ์ของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยผสานการทำ�งานกับกลุ่มพระสงฆ์สังฆพัฒนาวิชชา
ลัย เพ่ือให้ศูนย์เปน็ สถานท่ใี นการฝึกอบรม ขยายผลการรู้เทา่ ทัน การเฝ้าระวัง และการป้อง
ปรามสื่อทีเ่ ป็นภัยสง่ ผลต่อความขดั แยง้ ก่อใหเ้ กิดประทษุ วาจาโดยใช้ศาสนาเปน็ เงอื่ นไขอย่าง
ตอ่ เนอื่ ง
2.5เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์งานและผลงานของกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัย
และสร้างสรรค์ให้สังคมโดยเฉพาะคณะสงฆ์ได้รับทราบและมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสนับสนุน
งานของกองทุนฯ
3. ตัวช้ีวดั ความส�ำ เร็จ
ตวั ชวี้ ัดเชงิ ปรมิ าณ

ล�ำ ดับ ช่อื ตัวชี้วดั เปา้ หมาย/จ�ำ นวน หนว่ ยนับ

1. คมู่ อื หลกั สูตรพระสงฆน์ ักสรา้ งสื่อสรา้ งสรรค์เพอ่ื สันติ
(พสส.)

2. การจดั อบรมแกนนำ�พระสงฆก์ ล่มุ พระสอนศลี ธรรมใน
โรงเรียนและครูสอนปริยัตธิ รรม

3. เกดิ แกนนำ�พระสงฆ์กลุม่ พระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน
และครูสอนปรยิ ัติธรรมทเี่ รียกวา่ พระสงฆ์นักสร้างสอื่
สร้างสรรคเ์ พอื่ สนั ติ (พสส.)

4. เกดิ เครือข่ายการท�ำ งานท่มี หาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกร
ณราชวิทยาลยั เป็นแมข่ ่าย รว่ มกับองคก์ รอนื่ ๆ

5. เกดิ ศนู ย์ประสานงานพระสงฆน์ ักสร้างสอื่ สร้างสรรค์
เพอื่ สันติ (พสส.)

6. เกดิ สอื่ สร้างสรรคแ์ ละปลอดภยั เพ่อื การรู้เท่าทนั สอื่
ชวนเช่ือทางศาสนา

7. ไดฐ้ านข้อมลู ท�ำ เนยี บพระสงฆน์ ักสรา้ งสอื่ สรา้ งสรรค์
เพ่ือสนั ติ (พสส.)

12

ตวั ช้วี ัดเชงิ คณุ ภาพ

ลำ�ำ ดัับ ชื่�อตััวชี้้�วัดั /เป้า้ หมาย
1. เกิดิ ชุุดความรู้�และแนวทางในการทำำ�ให้้พระสงฆ์ส์ ามารถสร้า้ งภูมู ิิคุ้�มกัันตนเองจาก

สื่�อที่�เป็็นภััยส่่งผลต่อ่ ความขััดแย้้ง ก่่อให้้เกิิดประทุุษวาจาโดยใช้้ศาสนาเป็น็ เงื่�อนไข
2. พระสงฆ์เ์ กิิดการตื่�นตััวในการปกป้อ้ งสัังคมโดยการเป็็นเกราะที่�สร้้างการไตร่ต่ รอง

ให้ป้ ระชาชนรัับสื่�ออย่่างรู้�เท่่าทััน
3 ลดปัญั หาความเข้า้ ใจผิิดต่่อตัวั บุุคคลหรืือองค์์กรที่่�ทำ�ำ งานทางด้า้ นศาสนา ซึ่�งถูกู นำ�ำ

ไปเป็็นเครื่�องมือื สร้้างวาทกรรมให้้เกิดิ ความเกลีียดชััง
4 เกิดิ กลุ่�มพระสงฆ์ท์ ี่่�ดำ�ำ เนิินพันั ธกิิจ “สร้้างสื่�อสัันติิ ลดอคติิทางศาสนา” โดยดำำ�รง

ตนตามพุุทโธบาย 2 ข้อ้ ที่�ทรงประทานไว้้เพื่�อส่ง่ สาวกไปประกาศพระพุุทธศาสนา
คืือ 1) อนููปวาโท ไม่่ไปว่า่ ร้้ายกััน ผู้�เผยแผ่่คำ�ำ สอนจะต้้องไม่่โจมตีี ไม่น่ ิินทาใคร 2)
อนููปฆาโต ไม่ไ่ ปล้า้ งผลาญกันั ไม่่เผยแผ่่ศาสนาด้้วยการฆ่า่ และต้อ้ งไม่่ทำ�ำ ให้ใ้ คร
เดือื ดร้อ้ น

4. กิจกรรมการด�ำ เนนิ งาน กลุม่ เป้าหมาย ผลลัพธ์/ผลผลิต
ชือ่ กิจกรรม
1. คณะทำ�งาน ได้ยุทธศาสตรใ์ นการ
ประชมุ คณะท�ำ งาน คณะ 2. ทีป่ รึกษา ด�ำ เนินงานโครงการ
ท่ีปรึกษา และผแู้ ทนจาก 3. ผู้แทนจากภาคีเครอื ข่ายทีร่ ะบุ เครือขา่ ยพระสงฆ์เฝ้า
ภาคีเครอื ข่ายเพ่อื กำ�หนด ในโครงการ ระวังสือ่ ชวนเช่อื ทาง
ยทุ ธศาสตร์ในการด�ำ เนินงาน ศาสนา

ประชมุ ระดมความคดิ เห็น 1. พระสงฆ์ ได้คมู่ ือหลกั สตู ร
จดั ท�ำ คู่มอื หลกั สตู รพระสงฆ์ 2. นักวชิ าการ
นักสร้างสอ่ื สรา้ งสรรคเ์ พ่อื 3. ภมู ปิ ญั ญาชาวบ้าน พระสงฆน์ ักสรา้ งสื่อ
สันติ(พสส.) 4. สอ่ื มวลชน สร้างสรรคเ์ พ่ือสันติ
5. ข้าราชการด้านความม่นั คงท่ี (พสส.) และจดั พิมพ์
เกย่ี วขอ้ งกับส่อื จ�ำ นวน 1,000 เล่ม

6. ผู้ทรงคณุ วุฒดิ ้านการปอ้ งกนั สื่อรา้ ย
๗. เครอื ขา่ ยเฝา้ ระวงั สอื่ อน่ื ๆ ในพน้ื ที่
เช่น ศนู ย์ปฏิบตั กิ ารสอื่ ปลอดภัยและ
สรา้ งสรรค์

13

ลงพื้�นที่�ประสานงาน 1. คณะสงฆ์ร์ ะดัับเจ้า้ คณะภาค 1. การรัับรู้�และให้้ความสำ�ำ คััญของ
เพื่�อเตรียี มความ เจ้้าคณะจัังหวััด และพระสัังฆาธิิ พระสัังฆาธิิการทุุกระดับั ในแต่่ละ
พร้้อมในการจัดั อบรม การทุุกระดับั พื้�นที่่� รวมทั้�งหน่ว่ ยงานภาครััฐ ภาค
2. สำำ�นักั งานพระพุทุ ธศาสนา เอกชน และภาคประชาสัังคม
จังั หวัดั 2. ได้้พื้�นที่�ในการจััดอบรม 6 พื้้�นที่่�
3. วัฒั นธรรมจังั หวัดั ประกอบด้ว้ ย
4. หน่่วยงานที่�เกี่�ยวข้อ้ งกัับสื่�อ - ครั้�งที่่� 1 ภาคกลาง จัดั เวทีีที่่�วััดไร่่
ในจัังหวัดั เช่น่ ศููนย์์ปฏิบิ ัตั ิกิ าร ขิงิ พระอารามหลวง จัังหวัดั
สื่�อปลอดภััยและสร้า้ งสรรค์์ นครปฐม
จังั หวััด - ครั้�งที่่� 2 ภาคเหนือื จัดั เวทีีที่�
วิทิ ยาลััยสงฆ์์นครน่า่ นฯ จังั หวััดน่่าน
- ครั้�งที่่� 3 ภาคเหนือื จัดั เวทีีที่่�
วิิทยาลัยั สงฆ์ล์ ำำ�พูนู จังั หวัดั ลำ�ำ พููน
- ครั้�งที่่� 4 ภาคตะวันั ออกเฉีียงเหนือื
จััดเวทีที ี่่� วิทิ ยาเขตขอนแก่่น
- ครั้�งที่่� 5 ภาคใต้้ 1 จัดั เวทีที ี่่�วัดั นิิ
โครธาราม จัังหวัดั ตรังั
- ครั้�งที่่� 6 ภาคกลาง จััดเวทีีที่่�วััดไร่่
ขิงิ พระอารามหลวง จัังหวัดั
นครปฐม

จัดอบรมแกนนำ�พระ 1. พระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น เกิดเครือขา่ ยพระสงฆ์นักสร้างส่ือ
สงฆก์ ลมุ่ พระสงฆ์นกั ในสังกัด มจร.และ มมร. สรา้ งสรรคเ์ พอื่ สนั ติ (พสส.) รวม
สร้างส่อื สรา้ งสรรค์ 2. ครสู อนปริยัติธรรมในสงั กดั 708 รูป ดังนี้
เพ่อื สนั ติ (พสส.) รวม สำ�นกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ - พระสงฆแ์ กนนำ�ใน 4 ภาค ผา่ น
708 รูป ชาติ การอบรมพื้นท่ีละ 100 รูป รวม
400 รปู
- พระสงฆแ์ กนนำ� ผแู้ ทนจากจังหวดั
ตา่ ง ๆ จังหวัดละ 4 รปู ผา่ นการ
อบรม รวม 308 รูป

14

ลงพื้�นที่่� ติดิ ตามเก็็บข้อ้ มูลู ทีมี วิจิ ัยั ในโครงการ ได้อ้ งค์์ความรู้�และฐานข้้อมููลเกี่�ยวกัับ
การปฏิบิ ััติงิ านเผยแพร่่ การเฝ้า้ ระวัังสื่�อชวนเชื่�อทางศาสนา
ความรู้�การเฝ้า้ ระวังั สื่�อชวน ของเครืือข่า่ ยพระสงฆ์์นักั สร้า้ งสื่�อ
เชื่ �อทางศาสนาของเครืือ สร้้างสรรค์์เพื่�อสันั ติิ (พสส.)
ข่า่ ยพระสงฆ์น์ ักั สร้า้ งสื่�อ
สร้า้ งสรรค์เ์ พื่�อสันั ติิ (พสส.) ได้ส้ื่�อเผยแพร่ค่ วามรู้�หลากหลายทาง
ใน 4 ภาค เช่่น
1. Spot วิิทยุ ุสื่�อโฆษณออนไลน์์
ประชุุมร่่วมกัับเครืือข่่าย 1. ทีีมวิจิ ัยั ในโครงการ 2. สติกิ เกอร์์ โปสเตอร์์
พระสงฆ์์นัักสร้้างสื่ �อ 2. ผู้�แทนจากภาคีีเครืือข่า่ ย 3. Spot โทรทััศน์์
สร้้างสรรค์์เพื่�อสัันติิ (พสส.) 3. ผู้�แทนเครือื ข่่ายพระสงฆ์น์ ััก 4. ไพ่ส่ื่�อความดี ี
และผู้�แทนภาคีีเครืือข่า่ ย สร้า้ งสื่�อสร้า้ งสรรค์์เพื่�อสัันติิ 5. คลิิป Youtube
เพื่�อจััดทำำ�สื่่�อประกอบการ (พสส.) 6. Application รู้�เท่่าทันั สื่�อ
เผยแพร่่ความรู้�การเฝ้้าระวังั 4. ชััวร์์ก่่อนแชร์์ 7. เกมส์์เรีียนรู้้�ส่งเสริิมศีลี 5
สื่ �อชวนเชื่ �อทางศาสนา 8. สื่�อสิ่�งพิมิ พ์์
9. กล่อ่ งชุดุ ความรู้�
จััดประชุุมภาคีีเครือื ข่่าย 1. ทีมี วิจิ ัยั ในโครงการ 10. นิิทรรศการ Time Line สื่�อสัันติิ
ถอดบทเรียี นการดำ�ำ เนินิ งาน 2. ผู้�แทนจากภาคีเี ครือื ข่า่ ย ลดอคติิทางศาสนา
โครงการ 3. ผู้�แทนเครืือข่า่ ยพระสงฆ์น์ ักั ได้ร้ ายงานการถอดบทเรีียนที่�
สร้า้ งสื่�อสร้้างสรรค์์เพื่�อสัันติิ สนัับสนุนุ การปรัับปรุุงพััฒนาการ
(พสส.) ดำ�ำ เนินิ งานให้ม้ ีปี ระสิิทธิิภาพมากยิ่�ง
ขึ้ �น
ประชุมจัดท�ำ MOU เพือ่ ภาคเหนอื เกดิ ศนู ย์ประสานงานพระสงฆน์ กั
จดั ต้ังศนู ยป์ ระสานงานพระ - วทิ ยาลยั สงฆ์นครน่าน สรา้ งสื่อสรา้ งสรรคเ์ พ่ือสนั ติ (พสส.)
สงฆน์ ักสรา้ งส่ือสร้างสรรค์ - วทิ ยาสงฆล์ �ำ พูน จ�ำ นวน 5 ศูนย์ โดยจ�ำ แนกเปน็ ภาค
เพือ่ สันต(ิ พสส.) จำ�นวน 5 ภาคกลาง กลาง 1 ศนู ย์ ภาคเหนอื 2 ศูนย์
ศูนย์ - วทิ ยาลัยสงฆพ์ ุทธปญั ญาศรี ภาคใต้ 1 ศูนย์ และภาคตะวนั ออก
เฉยี งเหนอื 1 ศูนย์ โดยใชพ้ ้ืนท่ขี อง
ทวารวดี หน่วยงานวิทยาเขต วิทยาลยั สงฆ์ของ
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มจร. ผสานการท�ำ งานกับกล่มุ พระ
- วิทยาเขตขอนแกน่ สงฆ์สังฆพฒั นาวิชชาลัย
ภาคใต้ - คณะสงฆ์จังหวดั ตรงั
15

นำำ�เสนอผลการดำำ�เนิินงาน ทีีมวิจิ ัยั ในโครงการ ได้้ข้้อเสนอแนะเพื่ �อปรัับปรุงุ
ต่อ่ กองทุนุ สื่�อปลอดภััยและ พััฒนาการดำำ�เนินิ งานให้้มีี
สร้า้ งสรรค์์ ประสิทิ ธิิภาพมากยิ่�งขึ้�น

จััดเวทีสีื่�อสาธารณะ “สร้า้ ง ผู้้�มีสี ่ว่ นได้้ส่่วนเสียี กัับ เผยแพร่่ความรู้ �จากโครงการสู่ �
สื่�อสัันติิ ลดอคติทิ าง โครงการและผู้ �สนใจทั่ �วไป สาธารณะ
ศาสนา” ได้รายงานการวิจยั โครงการ
เครือขา่ ยพระสงฆเ์ ฝ้าระวัง
สรปุ ผลการศึกษาจดั ท�ำ ทีมวิจัยในโครงการ ส่อื ชวนเชอ่ื ทางศาสนา ฉบับ
รายงานฉบบั สมบูรณ์ สมบรู ณ์

5. การติดตาม/การประเมนิ ผล
การประเมินโครงการเครือข่ายพระสงฆ์เฝ้าระวังสื่อชวนเชื่อทางศาสนาคณะทำ�งาน
ใชร้ ูปแบบการประเมินโครงการ CIPP MODEL ของสตัฟเฟลบีม (D.L. Stufflebeam, 1997
, P. 261-265) ดังนี้

16

โดยการประเมินผลโครงการเครอื ข่ายพระสงฆเ์ ฝ้าระวังสือ่ ชวนเช่ือทางศาสนา คณะ
ทำ�งานประยกุ ต์ใช้เกณฑแ์ ละตัวชว้ี ัด (Indicator) ระดบั ความส�ำ เรจ็ ของโครงการตามแนวคิด
ของ วรเดช จันทรศร และไพโรจน ์ ภัทรนรากุล. (2541 : 44) ไวด้ งั นี้
1. เกณฑป์ ระสิทธิภาพ (Efficiency) มตี วั ช้วี ดั เชน่ สัดส่วนของผลผลิตต่อคา่ ใช้จ่าย
ผลิตภาพตอ่ หน่วยเวลา ผลิตภาพตอ่ ก�ำ ลงั คน ระยะเวลาในการใหบ้ รกิ ารผูป้ ่วย
2. เกณฑป์ ระสิทธิผล (Effectiveness) มตี วั ชี้วัดเชน่ ระดบั การบรรลุเปา้ หมาย
ระดบั การบรรลุตามเกณฑม์ าตรฐาน ระดับการมีส่วนรว่ ม ระดับความเสี่ยงของโครงการ
3. เกณฑ์ความพอเพยี ง (Adequacy) มีตวั ช้วี ัด เช่น ระดับความพอเพียงของ
ทรพั ยากร
4. เกณฑค์ วามพึงพอใจ (Satisfaction) มีตัวชี้วดั เชน่ ระดบั ความพงึ พอใจ
5. เกณฑ์ความเปน็ ธรรม (Equity) มตี วั ชีว้ ัดคือ การให้โอกาสกับผู้ด้อยโอกาส ความ
เป็นธรรมระหวา่ งเพศ ระหวา่ งกลุ่มอาชีพ ฯลฯ
6. เกณฑค์ วามกา้ วหนา้ (Progress) มีตัวชวี้ ดั เชน่ ผลผลติ เปรยี บเทียบกบั เปา้
หมายรวมกิจกรรมท่ีทำ�แลว้ เสรจ็ ทรัพยากร และเวลาทใี่ ช้ไป
7. เกณฑค์ วามย่งั ยนื (Sustainability) ตัวช้วี ดั เช่น ความอยูร่ อดของโครงการด้าน
เศรษฐกิจสมรรถนะดา้ นสถาบัน ความเป็นไปได้ในด้านการขยายผลของโครงการ
8. เกณฑค์ วามเสียหายของโครงการ (Externalities) มตี วั ช้ีวัด เช่น ผลกระทบด้าน
ส่ิงแวดล้อม ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ ผลกระทบดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม เป็นตน้
ท้ังน้ีเน่ืองจากโครงการเครือข่ายพระสงฆ์เฝ้าระวังส่ือชวนเช่ือทางศาสนามี
สมมติฐานวา่ ปญั หาไมไ่ ดเ้ กดิ ข้ึนแบบเหตุเดยี ว ผลเดยี ว แต่เป็นแบบหลายเหตุ หลายผล
หนุนเนือ่ งกนั เหตกุ ารณ์จ�ำ นวนมากไม่ได้เก่ียวข้องกนั แบบเรยี บง่ายเชิงเส้นตรง แตเ่ ชือ่ มโยง
ปฏสิ ัมพันธ์กันไปมาอย่างซับซอ้ น หลายทศิ ทาง ดังน้ันคณะทำ�งานจึงใช้เทคนิคการประเมิน
เพ่ือการพฒั นา (Developmental Evaluation - DE) โดยมีทงั้ การประเมนิ เชิงคณุ ภาพและ
การประเมินเชงิ ปริมาณ
- การประเมนิ เชิงคุณภาพ เน้นตรวจสอบศักยภาพของพระสงฆ์นกั สรา้ งส่อื
สร้างสรรคเ์ พอื่ สันติ (พสส.) น�ำ ความรู้และทักษะท่ีเกิดขน้ึ รวมทง้ั ส่ือทัง้ หลายไปเผยแพรใ่ ห้
เกดิ ประโยชน์
- การประเมินเชิงปริมาณ เน้นการเก็บขอ้ มูลโดยใชแ้ บบสอบถาม/แบบทดสอบ วดั
การรับรู้ การเรยี นรู้ การตระหนกั รู้ วดั การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมของผเู้ ข้าร่วมโครงการ วดั
กจิ กรรมหรือโครงการใหม่ๆทีเ่ กิดจากความคดิ สรา้ งสรรคข์ องพระสงฆแ์ กนน�ำ ฯลฯ

17

6. การขยายผล
6.1 เผยแพรค่ วามรู้ สอื่ รณรงค์ ส่อื ประชาสมั พันธ์ คู่มอื การอบรม อินโฟกราฟคิ ตา่ ง
ๆ ในโครงการใหน้ �ำ ไปใช้ประโยชนอ์ ย่างแพรห่ ลาย
6.2 ใหพ้ ระสงฆ์แกนนำ�ปฏิบตั ิหน้าท่เี ป็นแมไ่ ก่ ขยายผลสร้างพระสงฆน์ กั สรา้ งสื่อ
สร้างสรรค์เพ่อื สันต(ิ พสส.) ใหเ้ ปน็ ลกู ไกผ่ า่ นการรว่ มคดิ รว่ มทำ� รว่ มออกแบบ แลกเปล่ยี น
เรียนรูด้ ้วยโครงการเลก็ ๆ ที่สง่ ผลมาก(CCS = Cap Corner Stone)
6.3 จดั ตั้งศูนย์ประสานงานพระสงฆน์ กั สร้างสือ่ สรา้ งสรรค์เพือ่ สนั ติ (พสส.) จำ�นวน
5 ศูนย์ โดยจ�ำ แนกเปน็ ภาคกลาง 1 ศนู ย์ ภาคเหนอื 2 ศูนย์ ภาคใต้ 1 ศูนย์ และภาคตะวัน
ออกเฉยี งเหนือ 1 ศนู ยแ์ ละสนบั สนนุ เชอื่ มประสานกับองค์กรภาคีรว่ มขับเคลอื่ นอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
6.4 จัดทำ�ข้อเสนอเชงิ นโยบายเพ่ือใหจ้ ัดท�ำ รายวชิ า “การส่ือสารสรา้ งสรรค์เพอ่ื
สันต”ิ บรรจใุ นหลักสตู รการศกึ ษาของมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั
7. บรรณานุกรม/เอกสารอ้างอิง (ถา้ มี)
ลือชัย ศรีเงนิ ยวง.(2561). กระบวนการประเมนิ เพ่ือการพฒั นา (Developmen-
tal Evaluation : DE), เอกสารประกอบการบรรยาย. คณะสังคมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั มหิดล
วรเดช จนั ทรศร และไพโรจน์ ภัทรนรากุล. (2541). การประเมนิ ผลในระบบเปดิ .
กรุงเทพฯ : สมาคมรัฐประศาสนศาสตร์ นิด้า.
สมคิด พรมจยุ้ . (2542). เทคนิคการประเมนิ โครงการ. นนทบรุ :ี มหาวิทยาลัย
สุโขทยั ธรรมาธิราช.
Stufflebeam, D.L.and Shinkfield.AJ. (1997). Systematic Evaluation. Bos-
ton: Kluwer-Nijhoff Publishing.

18

ตารางแสดงแผนปฏิิบััติกิ ารโครงการหรือื กิิจกรรม

ช่อื กิจกรรม วัตถปุ ระสง ตวั ชว้ี ัดผลลพั ธเชงิ กลุมเปาหมาย/ ระยะเวลา ประมาณ ชอ่ื
ค คณุ ภาพ/ พืน้ ทดี่ ําเนนิ การ ดําเนนิ การ การ ผรู ับผิดชอ
๑ . ป ร ะ ชุ ม ปรมิ าณ
ค ณ ะ ทํ า ง า น วตั ถปุ ระ กลมุ เปา หมาย 1 เดือน คา ใชจา ย บ
ค ณ ะ ที่ ป รึ ก ษ า สงคขอท่ี 1 ท่สี อดคลองกับ 1. คณะทาํ งาน (ธันวาคม ที่เสนอ
แ ล ะ ผู แ ท น จ า ก วตั ถุประสงค 2. ทปี่ รึกษา 2562) กองทนุ ผรู ับผดิ ชอบ
ภ า คี เ ค รื อ ข า ย 3. ผูแ ทนจากภาคี โครงการ
เ พ่ื อ กํ า ห น ด • ยุทธศาสตรห รือ เครือขา ยท่ีระบุใน
ยุทธศา ส ตรใ น แนวทางเพ่อื การ โครงการ
การดําเนินงาน ดาํ เนินงานโครงการ พ้นื ท่ีดาํ เนินการ
เครอื ขา ยพระสงฆ วิทยาลัยสงฆพ ุทธปญญา
เฝา ระวงั ส่อื ชวน ศรที วารวดี
เชอ่ื ทางศาสนา

• Timelineในการ
ทํางานตลอด
ระยะเวลาของ
โครงการ

19

20

2. ลงพืน้ ท่ี วัตถุประสง • ไดพืน้ ท่ใี นการจดั กลมุ เปา หมาย 1 เดือน ผรู ับผดิ ชอบ
ประสานงานเพ่อื (มกราคม โครงการ
เตรียมความ คข อที่ 2 อบรมจาํ นวน 6 1. คณะสงฆระดบั เจา 2563)
พรอ มในการจดั
อบรม เวที ใน 4 ภาค คณะภาค เจาคณะจังหวดั

• พระสงั ฆาธกิ ารทกุ และพระสงั ฆาธกิ ารทกุ

ระดบั ในแตล ะพื้นท่ี ระดบั

รวมท้งั หนว ยงาน 2. สํานักงาน

ภาครฐั ภาคเอกชน พระพทุ ธศาสนาจงั หวัด

และภาคประชา 3. วัฒนธรรมจงั หวัด

สังคม มสี วนรว มใน 4. หนวยงานทเ่ี ก่ยี วขอ ง

การจัดโครงการ กบั สือ่ ในจงั หวดั เชน ศนู ย

ปฏิบตั กิ ารสอ่ื ปลอดภัย

และสรางสรรคจ งั หวัด

พ้นื ท่ีดําเนนิ การ

1) ภาคเหนอื : วิทยาลยั

สงฆน ครนา น และ วิทยา

สงฆลําพนู

3. ประชุมระดม วัตถุประสง • คู มื อ ห ลั ก สู ต ร 2) ภาคกลาง : วทิ ยาลยั 3 เดือน ผูรบั ผดิ ชอบ
ความคิดเหน็ สงฆพุทธปญ ญาศรที วาร (มกราคม- โครงการ
จดั ทําคมู อื คข อ ท่ี 1 พ ร ะ ส ง ฆ นั ก ส ร า ง วดี จดั 2 ครงั้ มีนาคม
หลกั สูตร 3) ภาค 2563)
พระสงฆนักสราง ส่ือสรางสรรคเพ่ือ ตะวันออกเฉยี งเหนือ :
สือ่ สรา งสรรค วทิ ยาเขตขอนแกน
เพอ่ื สันติ (พสส.) สนั ต(ิ พสส.) จํานวน 4) ภาคใต : วัดนโิ คร
ธาราม จงั หวดั ตรัง
1 ฉ บั บ จั ด พิ ม พ กลมุ เปา หมาย
1. พระสงฆ
จํ า น ว น 1 , 0 0 0 2. นักวิชาการ
3. ภูมปิ ญญาชาวบา น
เลม 4. สื่อมวลชน
5. ขาราชการดา นความ
• เกิดชุดความรูและ มน่ั คงทเ่ี ก่ยี วขอ งกับสื่อ
6. เครือขา ยเฝา ระวังสอื่
แ น ว ท า ง ใ น ทํ า ใ ห อืน่

พ ร ะ ส ง ฆ ส า ม า ร ถ

สรา งภมู ิคุมกัน

21

22

ตนเองจากสื่อทเ่ี ปน ภยั เชน ศนู ยป ฏิบัตกิ ารสอ่ื

สงผลตอ ความขดั แยง ปลอดภยั และสรางสรรค

กอใหเกิดประทษุ วาจา จงั หวดั

โดยใชศ าสนาเปน 7. ผูทรงคณุ วฒุ ิดานการ

เงือ่ นไข ปอ งกันสอื่ ราย

จํานวนกลมุ ละ 3 ทา น

พ้นื ทด่ี าํ เนินการ

วิทยาลัยสงฆพุทธปญญา

ศรที วารวดี

4.นําเสนอผล วัตถุประสง
การดาํ เนนิ งาน
ตอ กองทุนสื่อ คทกุ ขอ ตามระยะเวลาทกี่ าํ หนดในสญั ญา
ปลอดภัยและ (สง งวดงานท่ี 1 ภายใน 31 มีนาคม 2563)
สรา งสรรค

5. จดั อบรมแกน วัตถุประสง • ไดเ กดิ แกนนาํ กลุมเปาหมาย 8 เดอื น ผรู บั ผดิ ชอบ
นําพระสงฆกลมุ คขอที่ 2 พระสงฆกลุมพระ 1. พระสอนศลี ธรรมใน (มกราคม- โครงการ
พระสอนศลี ธรรม สอนศีลธรรมใน โรงเรยี นในสงั กดั มจร. สงิ หาคม
ในโรงเรยี นและ โรงเรยี นและครูสอน และ มมร. 2563)
ครูสอนปริยัติ ปรยิ ัติธรรมทเี่ รียกวา 2. ครูสอนปรยิ ัติธรรมใน
ธรรม พระสงฆน กั สรา งสอื่ สงั กัดสาํ นกั งาน
สรางสรรคเพ่ือสนั ติ พระพุทธศาสนาแหง ชาติ
(พสส.) จาํ นวน พืน้ ที่ดาํ เนินการ
708 รปู ครัง้ ที่ 1 วิทยาลยั สงฆ
พทุ ธปญ ญาศรที วารวดี
• การจดั อบรมแกนนาํ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลง
พระสงฆก ลมุ พระ กรณราชวทิ ยาลยั
สอนศลี ธรรมใน - ครง้ั ท่ี 2 ภาคเหนือ จดั
โรงเรยี นและครูสอน เวทีท่วี ทิ ยาลยั สงฆนคร
ปรยิ ตั ิธรรม จาํ นวน นานฯ จงั หวดั นา น
6 ครั้ง - ครง้ั ที่ 3 ภาคเหนอื จัด
เวทที ่ี วิทยาลัยสงฆลาํ พนู
จังหวัดลาํ พนู

23

24

5. จดั อบรมแกน วัตถุประสง • ไดเกดิ แกนนาํ กลุมเปาหมาย 8 เดอื น ผรู บั ผดิ ชอบ
นําพระสงฆกลมุ คขอที่ 2 พระสงฆกลุมพระ 1. พระสอนศลี ธรรมใน (มกราคม- โครงการ
พระสอนศลี ธรรม สอนศีลธรรมใน โรงเรยี นในสงั กดั มจร. สงิ หาคม
ในโรงเรยี นและ โรงเรยี นและครูสอน และ มมร. 2563)
ครูสอนปริยัติ ปรยิ ัติธรรมทีเ่ รียกวา 2. ครสู อนปรยิ ัติธรรมใน
ธรรม พระสงฆน กั สรา งสอื่ สงั กัดสํานกั งาน
สรางสรรคเพอ่ื สนั ติ พระพุทธศาสนาแหง ชาติ
(พสส.) จาํ นวน พืน้ ท่ดี ําเนินการ
708 รปู ครัง้ ท่ี 1 วิทยาลยั สงฆ
พุทธปญ ญาศรที วารวดี
• การจดั อบรมแกนนาํ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลง
พระสงฆก ลมุ พระ กรณราชวทิ ยาลยั
สอนศลี ธรรมใน - ครง้ั ที่ 2 ภาคเหนือ จดั
โรงเรยี นและครูสอน เวทีทีว่ ิทยาลยั สงฆนคร
ปรยิ ตั ิธรรม จาํ นวน นานฯ จงั หวดั นา น
6 ครั้ง - ครง้ั ที่ 3 ภาคเหนอื จัด
เวทที ี่ วิทยาลัยสงฆลาํ พนู
จังหวัดลาํ พูน

ทางศาสนาของ • สรางสรรคเพอื่ สนั ติ
เครอื ขา ย (พสส.)
พระสงฆน ักสรา ง
สอ่ื สรางสรรค • เกดิ กลุมพระสงฆท่ี
เพ่ือสนั ติ (พสส.) ดําเนนิ พนั ธกจิ
ใน 4 ภาค “สรา งสอ่ื สนั ติ ลด
อคติทางศาสนา”
โดยดํารงตนตามพุท
โธบาย 2 ขอ ท่ที รง
ประทานไวเพ่ือสง
สาวกไปประกาศ
พระพุทธศาสนา คือ
1) อนูปวาโท ไมไป
วา รา ยกนั ผูเ ผยแผ
คาํ สอนจะตองไม
โจมตี ไมนินทาใคร
2) อนปู ฆาโต ไมไ ป
ลา งผลาญกนั ไมเผย
แผศ าสนา

25

26

7. ประชุม วัตถุประสง • ดวยการฆา และตอ ง กลุมเปา หมาย 8 เดอื น ผรู ับผดิ ชอบ
รว มกับเครอื ขาย คขอ ที่ 3 ไมทาํ ใหใคร 1. ทีมวิจัยในโครงการ (มกราคม- โครงการ
พระสงฆน ักสรา ง เดือดรอ น 2. ผูแทนจากภาคี สิงหาคม
ส่อื สรางสรรค เครอื ขา ย 2563)
เพ่ือสันติ (พสส.) • ลดปญ หาความ 3. ผูแทนเครอื ขาย
และผูแทนภาคี เขาใจผดิ ตอตัวบุคคล พระสงฆนกั สรางสื่อ
เครือขาย หรือองคก รท่ที ํางาน สรา งสรรคเ พอ่ื สนั ติ
ทางดานศาสนา ซงึ่ (พสส.)
ถกู นําไปเปน
เคร่อื งมือสรา งวาท
กรรมใหเกดิ ความ
เกลียดชัง

เกิดส่อื สรางสรรคแ ละ
ปลอดภยั เพ่อื การรูเ ทา
ทันสอื่ ชวนเชือ่ ทาง
ศาสนา จํานวน 10
รายการ ประกอบดวย
1. Spot วิทยุ สอ่ื
โฆษณาออนไลน เพลง
โฆษณา

เพ่ือจัดทาํ สอ่ื 2. สตกิ เกอร โปสเตอร พ้ืนทด่ี าํ เนนิ การ
ประกอบการ
เผยแพรความรู 3. Spot โทรทศั น วทิ ยาลัยสงฆพุทธปญญา
การเฝา ระวงั ส่ือ
ชวนเช่ือทาง 4. ไพส อ่ื ความดี ศรีทวารวดี
ศาสนา
5. คลิป Youtube
8. นาํ เสนอผล
การดําเนินงาน 6. Application รเู ทา
ตอกองทนุ สอื่
ปลอดภยั และ ทันสอื่
สรางสรรค
7. เกมสเรยี นรูสง เสรมิ

ศีล 5

8. ส่อื สิง่ พิมพ

9. กลอ งชุดความรู

10. นทิ รรศการ Time

Line

วตั ถปุ ระสง ตามระยะเวลาที่กาํ หนดในสญั ญา (งวดงานที่ ๒)
คทกุ ขอ (สง งวดงานที่ 3 ภายใน 31 สิงหาคม 2563)

27

28

9. จดั ประชมุ วตั ถปุ ระสง • เกดิ เครือขายการ กลุมเปาหมาย 1 เดือน ผรู บั ผิดชอบ
ภาคีเครือขาย คขอท่ี 3 ทาํ งานที่ 1. ทีมวิจยั ในโครงการ (กนั ยายน โครงการ
เพอ่ื ถอดบทเรยี น มหาวิทยาลยั มหา 2. ผูแทนจากภาคี 2563)
การดําเนนิ งาน วตั ถปุ ระสง จฬุ าลงกรณราช เครอื ขา ย
โครงการ คขอที่ 4 วิทยาลยั เปนแม 3. ผแู ทนเครือขาย
ขาย รว มกบั องคกร พระสงฆนกั สรา งสอื่
10. ประชุม อืน่ ๆ ไมน อยกวา สรา งสรรคเ พ่ือสนั ติ
จดั ทํา MOU เพื่อ 5 องคก ร (พสส.)
จดั ตง้ั ศูนย พนื้ ท่ดี าํ เนินการ
ประสานงาน • เกดิ ศนู ย วิทยาลยั สงฆพทุ ธปญ ญา
พระสงฆนักสรา ง ประสานงาน ศรีทวารวดี
สอ่ื สรางสรรค พระสงฆนกั สรา ง
เพอื่ สนั ต(ิ พสส.) สอื่ สรางสรรคเพอื่
จาํ นวน 5 ศนู ย สนั ติ(พสส.) จํานวน
5 ศนู ย

11. จดั เวทสี อ่ื วตั ถุประสง • มเี วทีในการระดมความ กลมุ เปาหมาย 1 เดอื น ผรู บั ผดิ ชอบ
คข อท่ี 5 คดิ เห็นแลกเปลยี่ นเพอ่ื 1. ทีมวิจยั ใน (ตุลาคม โครงการ
สาธารณะ วิเคราะหก ารใชส อื่ สรา ง โครงการ 2563)
“สรางส่อื สนั ติ อคติทางศาสนา 2. ผแู ทนจากภาคี
ลดอคตทิ าง เครือขาย
• ไดมกี ารเผยแพรความรู 3. ผแู ทนเครอื ขาย
ศาสนา” การสรางส่ือสนั ติ ลดอคติ พระสงฆนักสรางส่ือ
ทางศาสนาไปยงั สรา งสรรคเพอื่ สันติ
เครือขายองคกรทาง (พสส.)
พระพทุ ธศาสนา พนื้ ทดี่ าํ เนนิ การ
วทิ ยาลยั สงฆพ ทุ ธ
• ไดเ ผยแพรและ ปญญาศรที วารวดี
ประชาสัมพันธง านและ
ผลงานของกองทุนพัฒนา
สือ่ ปลอดภยั และ
สรางสรรคใหส งั คม
โดยเฉพาะคณะสงฆได
รับทราบและมสี วนรวม
ในการสง เสริมสนับสนนุ
งานของกองทุนฯ

29

30

12. สรุปผล วตั ถปุ ระสง • ไดร ายงานการวจิ ยั ตามจาํ นวนและระยะเวลาที่กาํ หนดในสัญญา (งวดงานที่ ๓)
การศึกษาจัดทาํ คข อ ที่ 5 โครงการเครอื ขาย (สงงวดงานที่ 1 ภายใน 30 พฤศจกิ ายน 2563)
รายงานฉบบั
สมบรู ณ พระสงฆเฝาระวงั ส่อื

ชวนเชื่อทางศาสนา
ฉบับสมบรู ณ

งบประมาณโครงการหรือื กิิจกรรม
หมายเหตุุ : หลัักเกณฑ์์การเบิกิ จ่า่ ยงบประมาณโครงการหรืือกิจิ กรรมเป็็นไปตามอัตั ราที่�ระบุุในเอกสารแนบท้า้ ย

31

32

33

คณะกรรมการขับั เคลื่�อนโครงการหมู่่�บ้้านรักั ษาศีลี ๕ ส่่วนกลาง

พระพรหมเสนาบดีี
กรรมการมหาเถรสมาคม

ที่ �ปรึึกษา

พระเทพศาสนภิิบาล พระเทพปััญญาภรณ์์
ประธานคณะกรรมการ รองประธานกรรมการ
ขัับเคลื่�อนโครงการหมู่่�บ้้านรักั ษาศีีล ๕ ส่่วนกลาง ขับั เคลื่�อนโครงการหมู่่�บ้้านรัักษาศีลี ๕ ส่่วนกลาง

พระเทพปััญญาโมลีี พระราชวััลภาจารย์์ พระราชรััตนาลงกรณ์์, รศ.ดร. พระศรีกี ิติ ติเิ มธีี
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

พระสุุธีรี ััตนบััณฑิิต, รศ.ดร. พระศรีีสมโพธิิ, ดร. พระมงคลพัฒั นาภรณ์์
กรรมการ กรรมการ กรรมการ

34

35

คณะทำ�ำ งาน

พระมหาบุุญเลิิศ อินิ ฺฺทปญฺฺโญ,ศ.ดร
หัวั หน้้าโครงการ

พระมหาประกาศิิต สิิริิเมโธ,ดร พระมหาสาทร ธมฺฺมาทโร,ดร. พระมหาศุุภวัฒั น์์ ฐานวุฑุ ฺโฺ ฒ
นัักวิจิ ัยั ประจำ�ำ โครงการ นักั วิิจััยประจำ�ำ โครงการ เจ้้าหน้้าที่ �ประจำำ�โครงการ

ดร.สุวุ ิิมล เทวะศิลิ ชัยั กุลุ ผศ.ดร.พุทุ ธชาติิ แผนสมบุญุ
ที่ �ปรึึกษาโครงการ นักั วิจิ ััยประจำำ�โครงการ

ดร.กฤติิยา ถ้ำ�ำ �ทอง
เลขานุกุ ารโครงการ

36

37

หลักั สููตรพระสงฆ์์ผู้้�นำ�ำ ขัับเคลื่�อนศีีล ๕
โครงการเครืือข่่ายพระสงฆ์์เฝ้า้ ระวัังสื่�อชวนเชื่�อทางศาสนา
วิิทยาลััยสงฆ์พ์ ุทุ ธปััญญาศรีที วารวดีี มหาวิทิ ยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย

ระยะเวลา ๓ วััน

วันั แรก

เวลา กิิจกรรม

๐๘.๓๐ น. ผู้�เข้้าร่ว่ มอบรมลงทะเบียี น

๐๙.๐๐-๐๙.๓๐ น. พิิธีเี ปิดิ โครงการเปิดิ อบรมหลักั สูตู ร
๐๙.๓๐-๑0.๓๐ น. บรรยายพิิเศษ เรื่�อง “แนวคิิด อุุดมการณ์์ เป้า้ หมาย การขัับเคลื่�อนโครงการ
๑0.๓๐ - 11.30 น. หมู่่�บ้า้ นรักั ษาศีีล ๕”
ชี้�แจงรายละเอียี ดของหลัักสููตร และภารกิิจของพระสงฆ์ผ์ ู้้�นำ�ำ ขับั เคลื่�อน
๑๑.๓๐ น. หมู่่�บ้้านรักั ษาศีีล ๕ โดยคณะวิทิ ยากรทำ�ำ งานหลัักสูตู ร
๑2.0๐-๑๗.๐๐ น. กิจิ กรรมฝึึกอบรม “Module ๑ : ถอดบทเรีียนต้้นแบบการขัับเคลื่�อน
๑๘.๓๐-๒๐.๐๐ น. โครงการหมู่่�บ้้านรัักษาศีีล ๕” โดยทีมี วิิทยากร
พััก/ฉัันภัตั ตาหารเพล
๒๐.๐๐ น. กิิจกรรมฝึึกอบรม “Module ๒ : เทคนิิคและเครื่�องมือื การทำ�ำ งานพััฒนา
เพื่�อขัับเคลื่�อนหมู่่�บ้้านรักั ษาศีลี ๕ ในชุุมชน” โดยทีมี วิทิ ยากร

เวทีแี ลกเปลี่�ยนเรีียนรู้� “ภารกิิจของพระสงฆ์ผ์ ู้้�นำำ�ขับั เคลื่�อนหมู่่�บ้้านรัักษาศีลี
๕” โดยทีีมวิิทยากร
เข้า้ ที่่�พักั ตามอัธั ยาศััย

38

วันั ที่�สอง กิจิ กรรม

เวลา

๐๘.๔๐ น. Home room : พบคณะกรรมการขัับเคลื่�อนโครงการหมู่่�บ้้านรักั ษาศีลี ๕
๐๙.๐๐-๑๑.๐๐ น.
บรรยายพิิเศษ เรื่�อง Fake News : การเฝ้้าระวัังสื่�อชวนเชื่�อทางศาสนา โดย
๑๑.๐๐ น. คณะวิทิ ยากรจากกองทุนุ พััฒนาสื่�อปลอดภััยและสร้า้ งสรรค์์
๑๔.๐๐-๑๗.๐๐ น. พักั /ฉัันภััตตาหารเพล
กิิจกรรมฝึกึ อบรม “การตื่�นรู้้�ข่่าวปลอมทางศาสนา” โดยทีีมวิทิ ยากรจากภาคีี
๑๘.๓๐-๒๐.๐๐ น. เครืือข่่ายการเฝ้า้ ระวัังสื่�อ
๒๐.๐๐ น. เวทีแี ลกเปลี่�ยนเรีียนรู้� “การใช้้สื่�อยุคุ ดิจิ ิติ อลของพระสงฆ์์ผู้้�นำ�ำ ขับั เคลื่�อน
หมู่่�บ้า้ นรัักษาศีลี ๕” โดยทีีมวิทิ ยากร

เข้า้ ที่่�พักั ตามอััธยาศัยั

39

วัันที่ �สาม กิจิ กรรม

เวลา

๐๘.๔๐ น. Home room : พบคณะกรรมการขับั เคลื่�อนโครงการหมู่่�บ้า้ นรัักษาศีลี ๕

๐๙.๐๐-๑๑.๐๐ น. กิิจกรรมฝึกึ อบรม “Module ๔ : ทัักษะการแปรเปลี่�ยนปััญหาสู่่�สัมั มาชีีพ” โดย
ทีมี วิทิ ยากร

๑๑.๐๐ น. พักั /ฉัันภัตั ตาหารเพล

๑๓.๐๐-๑๕.๐๐ น. กิจิ กรรมฝึึกอบรม “Module ๕ : กลยุทุ ธ์์การขัับเคลื่�อนหมู่่�บ้้านรักั ษาศีลี ๕ สู่�
การปฏิิบัตั ิิ” โดยทีมี วิิทยากร

๑๕.๓๐ น. พิิธีปี ิิด มอบวุุฒิิบััตร และบััตรประจำ�ำ ตัวั “พระสงฆ์์ผู้้�นำำ�ขับั เคลื่�อนหมู่่�บ้้านรักั ษา
ศีีล ๕”

40

41

การจััดตั้ �งสมััชชา

พระสีีหราชสมาจารมุนุ ีี จิิรปุุญฺโฺ ญ
ประธาน

พระครููพิิศิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ พระใบฎีกี านพรัตั น์์ ขนฺตฺ ิจิ ารีี พระมหาวิิศรุุต นริสิ ฺสฺ โร พระมหาสมนึึก จนฺฺทโชโต พระครููสุตุ วิิริยิ าลัังการ พระครููปลัดั ธรรมสรณ์์ จตฺฺตมโล พระมหาจงยุทุ ธ กิิตฺตฺ ิิยุตุ ฺฺโต พระครูวู ิินััยธรสัันติิพงษ์์
รองประธาน หนกลาง รองประธาน หนกลาง รองประธาน หนกลาง รองประธาน หนกลาง รองประธาน หนตะวัันออก รองประธาน หนตะวันั ออก รองประธาน หนตะวันั ออก รองประธาน หนตะวันั ออก

พระครููปิิยวรรณพิพิ ััฒน์์ พระครูวู ิิสิฐิ วรนารถ พระมหาสุุภััค วิริ โช พระครููการุุญกิจิ จานุุยุุต พระโสภิิตธรรมนิิเทศ พระครููโสภณปัญั ญาสาร พระมหาประสาน ปสาโน พระครููสมุหุ ์ป์ ฐาพร นนฺทฺ ิโิ ย
รองประธาน หนเหนืือ รองประธาน หนเหนืือ รองประธาน หนเหนืือ รองประธาน หนใต้้ รองประธาน หนใต้้ รองประธาน หนใต้้ รองประธาน หนใต้้ รองประธาน หนใต้้

พระครููอุุดมจารุุวรรณ, ดร. พระครููปรีีชาวุุฒิิกร
รองประธาน กรุงุ เทพมหานคร รองประธาน กรุงุ เทพมหานคร

พระปลััดทนงศักั ดิ์� สุเุ มโธ
เลขานุุการ

พระยศนันั ท์์ กตปุุญฺโฺ ญ พระปลััดวิสิ ุุทธิิวรรธน์์ วรญาโณ พระครููสังั ฆรักั ษ์ธ์ วััช สุุทธิิญาโณ พระปลัดั ณรงค์์วิิทย์์ สิทิ ฺธฺ ิิเมธีี พระปลัดั ไกรสร เกสโร
ผู้้�ช่่วยเลขานุกุ าร หนกลาง ผู้้�ช่ว่ ยเลขานุุการ หนตะวัันออก ผู้้�ช่ว่ ยเลขานุุการ หนเหนืือ ผู้้�ช่่วยเลขานุุการ หนใต้้ ผู้้�ช่ว่ ยเลขานุุการ หนใต้้

42

หลักั การพื้�นฐานของสมััชชาพระสงฆ์์
ขับั เคลื่�อนหมู่่�บ้้านรัักษาศีลี ๕

“สมัชั ชาพระสงฆ์ผ์ ู้้�นำำ�ขับั เคลื่�อนหมู่่�บ้้านรัักษาศีลี ๕” เป็น็ เครืือข่า่ ยการ
ทำ�ำ งานของพระสงฆ์์ผู้้�นำ�ำ ขัับเคลื่�อนหมู่่�บ้้านรักั ษาศีลี ๕ ทั่่�วประเทศในการพััฒนา
แผนปฏิิบัตั ิิการเพื่�อการขัับเคลื่�อนโครงการหมู่่�บ้้านรัักษาศีลี ๕ แบบมีีส่่วนร่ว่ ม
และร่่วมกัันขัับเคลื่ �อนแผนปฏิิบััติิการเพื่ �อการบรรลุุเป้้าหมายร่่วมกัันบนพื้ �นฐาน
ของการสนองงานคณะกรรมการขับั เคลื่�อนโครงการหมู่่�บ้า้ นรักั ษาศีลี ๕

43


Click to View FlipBook Version