2022 CALENDAR
น า ย ภู ริ ทั ต จั น ท ร ภ า ส เ ล ข ที่ 2 4 ม . 5 / 3
JANUARY 2022
S M TWT F S
26 27 28 29 30 31 1
23 45678
9 10 11 12 13 14 15
16 17 18 19 20 21 22
23 24 25 26 27 28 29
30 31 1 2 3 4 5
เมทริกซ์
∈บทนิยาม 1 เมทริกซ์ คือ ชุดของจํานวน mn ตัว (m, n I+ ) ซึ่งเขียนเรียงกัน m แถว n หลัก
ภายในเครื่องหมายวงเล็บ ในรูป
เรียก a(ij) ว่าเป็นสมาชิกในแถวท่ี่ i และหลักท่ี่ j ของเมทริกซ์
หรือเรียกว่าเป็นสมาชิกในตำแหน่งท่ี่ ij ของเมทริกซ์ เมื่อ i = 1, 2, ... , m และ j = 1, 2, ... , n
FEBRUARY 2022
S M TWT F S
30 31 1 2 3 4 5
6 7 8 9 10 11 12
13 14 15 16 17 18 19
20 21 22 23 24 25 26
27 28 1 2 3 4 5
บทนิยาม 2 (มิติของเมทริกซ์) สําหรับแต่ละจํานวนเต็มบวก m และ n ใด ๆ
ถ้า A เป็นเมทริกซ์ซึ่งมี m แถว และ n หลัก จะกล่าวว่า A เป็น
m x n เมทริกซ์และกล่าวได้ว่า A มีมิติหรือขนาด (dimension)
เท่ากับ m x n
การเขียนเมทริกซ์ในรูปทั่วไป
โดยทั่วไป เราจะเขียนสัญลักษณ์แทนเมทริกซ์ A = [ ( )] mXn
โดยที่ ( ) แทนสมาชิกของ A ในแถวที่ i หลักที่ j
MARCH 2022
S M TWT F S
27 28 1 2 3 4 5
6 7 8 9 10 11 12
13 14 15 16 17 18 19
20 21 22 23 24 25 26
27 28 29 30 31 1 2
เมทริกซ์ที่ควรรู้
APRIL 2022
S M TWT F S
27 28 29 30 31 1 2
34 56789
10 11 12 13 14 15 16
17 18 19 20 21 22 23
24 25 26 27 28 29 30
MAY 2022
S M TWT F S
12 34567
8 9 10 11 12 13 14
15 16 17 18 19 20 21
22 23 24 25 26 27 28
29 30 31 1 2 3 4
บทนิยาม 4 ผลบวกของ A และ B เขียนแทนด้วย A + B ซึ่งนิยามดังนี้ การเท่ากันของเมทริกซ์
A+B = [a(ij) + b(ij)]mxn การบวก และ ลบเมทริกซ์
ผลลบของ A และ B เขียนแทนด้วย A – B ซึ่งนิยามดังนี้
A–B = [a(ij) +(-b(ij)]mxn
สําหรับทุกๆ i=1,2,3,...,m และ j=1,2,3,...,n
JUNE 2022
S M TWT F S
29 30 31 1 2 3 4
5 6 7 8 9 10 11
12 13 14 15 16 17 18
19 20 21 22 23 24 25
26 27 28 29 30 1 2
การคูณเมทริกซ์ด้วยสเกลาร์
บทนิยาม 5
กำหนดเมทริกซ์ A = [ ( )] × และ k เป็นจำนวนจริงใดๆ
ผลคูณของ k และ A เขียนแทนด้วย kA ซึ่งนิยามดังนี้
kA = [ ( )] × สำหรับทุกๆ I=1,2,3,...,m,j =1,2,3,...,n
JULY 2022
S M TWT F S
26 27 28 29 30 1 2
34 56789
10 11 12 13 14 15 16
17 18 19 20 21 22 23
24 25 26 27 28 29 30
31 1 23456
การคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์
บทนิยาม 6 กำหนดเมทริกซ์ A = [a(ij)]mxn และ B = [b(ij])nxk
ผลคูณระหว่างเมทริกซ์ A และ B จะเป็นเมทริกซ์ที่มีมิติm×k
ผลคูณของ A และ B เขียนแทนด้วย AB ซึ่งนิยามดังนี้
นั่นคือ AB = C = [c(ij])mxk
เมื่อ c(ij) = a(i1)b(1j) + a(i2)b(2j) + ... + a(in)b(nj)
สำหรับทุกๆ i=1,2,3,...,m และ j=1,2,3,...,k
*หมายเหตุจากนิยาม 6 จะได้ว่า
(1). AB จะคูณกันได้ ก็ต่อเมื่อ จำนวนหลักของตัวตั้ง (A) = จำนวนแถวของตัวคูณ (B)
(2). AB ที่ได้ จะเป็นเมทริกซ์ท่ีมีจำนวนแถวเท่ากับ จำนวนแถวของ ตัวตั้ง (A)
และ จำนวนหลักเท่ากับ จำนวนหลักของตัวคูณ (B) นั่นคือ
AUGUST 2022
S M TWT F S
31 1 23456
7 8 9 10 11 12 13
14 15 16 17 18 19 20
21 22 23 24 25 26 27
28 29 30 31 1 2 3
สมบัติการคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์ ข้อควรระวัง
SEPTEMBER 2022
S M TWT F S
28 29 30 31 1 2 3
4 5 6 7 8 9 10
11 12 13 14 15 16 17
18 19 20 21 22 23 24
25 26 27 28 29 30 1
การทรานสโพสของเมทริกซ์ (เมทริกซ์สลับเปลี่ยน)
OCTOBER 2022
S M TWT F S
25 26 27 28 29 30 1
23 45678
9 10 11 12 13 14 15
16 17 18 19 20 21 22
23 24 25 26 27 28 29
30 31 1 2 3 4 5
บทนิยาม 8 ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ 1 x
1
ถ้า A = [a] เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ 1 x 1
แล้ว det(A) = a
NOVEMBER 2022
S M TWT F S
30 31 1 2 3 4 5
6 7 8 9 10 11 12
13 14 15 16 17 18 19
20 21 22 23 24 25 26
27 28 29 30 1 2 3
คุณสมบัติของดีเทอร์มินันต์
December 2022
S M TWT F S
27 28 29 30 1 2 3
4 5 6 7 8 9 10
11 12 13 14 15 16 17
18 19 20 21 22 23 24
25 26 27 28 29 30 31
การหาดีเทอร์มิแนนต์ โดยการกระจายโคแฟคเตอร์
เมทริกซ์ผกผัน (Inverse of a matrix)
เมทริกซ์ผกผัน (Inverse of a matrix) ต่อ
สมบัติของเมทริกซ์นอนซิงกูลาร์
การหาอินเวอร์สการคูณของเมทริกซ์ที่มีมิติ n Xn
โคแฟคเตอร์ยังช่วยในการหาเมทริกซ์ผกผันสำหรับการคูณของเมทริกซ์นอนซิงกูลาร์ได้ด้วย
ซึ่งทำให้เราสามารถหาเมทริกซ์ผกผัน หรืออินเวอร์สการคูณของเมทริกซ์ที่มีมิติอื่นนอกจากเมทริกซ์ที่มีมิติ 2×2 ที่ได้กล่าวไปแล้ว
จากความรู้เกี่ยวกับเมทริกซ์ผูกผันตามที่กล่าวมาแล้วเรา
สามารถ นำมาช่วยในการหาอินเวอร์สการคูณของเมทริกซ์
A ที่เป็นเมทริกซ์นอนซิงกูลาร์ ได้ดังนี้
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์
เราสามารถใช้ความรู้เรื่องเมทริกซ์และดีเทอร์มิแนนท์มาช่วยในการหาคําตอบได้ ซึ่งในการแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์นั้น เราต้องเปลี่ยนระบบสมการเชิงเส้น
ให้อยู่ในรูปของเมทริกซ์เสียก่อน โดยที่จากระบบสมการเชิงเส้นให้จัดเรียงตําแหน่งของตัวแปรในแต่ละสมการให้เหมือนกัน และค่าคงตัวที่ไม่มีตัวแปรให้ นําไปไว้ทางขวาของสมการ
หมายเหตุ จากระบบสมการเชิงเส้น ในการแก้ระบบสมการเพื่อหาคำตอบว่าได้
หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับเมทริกซ์สัมประสิทธิ์
การหาคําตอบของระบบสมการเชิงเส้น
โดยใช้เมทริกซ์ทําได้ 3 วิธี
วิธีที่ 1. การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้อินเวอร์ส
การคูณของเมทริกซ์สัมประสิทธิ์
ตัวอย่าง
วิธีที่ 2. การแก้ระบบสมการเชิงเส้น
โดยใช้กฎของคราเมอร์ (Cramer’s rule)
ตัวอย่าง
วิธีที่ 3. การแก้ระบบสมการเชิงเส้น
โดยใช้การดำเนินการตามแถวกับเมทริกซ์แต่งเดิม
การแก้ระบบสมการเชิงเส้น โดยใช้เมทริกซ์แต่งเติมนั้น เราจะใช้วิธีการดำเนินตามแถว (row operations) ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 3 วิธี
จากระบบสมการ AX = B นำมาเขียนเป็นเมทริกซ์แต่งเติม [ A | B ] ใช้วิธีการปฎิบัติการตามแถว เปลี่ยนเมทริกซ์แต่งเติมให้อยู่ในรูป [ I | C ] จะได้ X = C
ดำเนินการตามแถว ดังนี้
คำศัพท์จ้าาาาา!
คำศัพท์ ความหมาย
เมทริกซ์จัตุรัส (square matrix) เป็นเมทริกซ์ที่มีจำนวนแถวและหลักเท่ากัน
เมทริกซ์สามเหลี่ยมบน (upper triangular matrix) เมทริกซ์จัตุรัส ที่มีสมาชิกทุกตัวซึ่งอยู่ใต้เส้นทแยงมุมหลักมีค่าเท่ากับ 0
ส่วนสมาชิกท่ีอยู่บนเส้นทแยงมุมหลักหรืออยู่เหนือเส้นทแยงมุมหลักจะมีค่าเท่าไรก็ได้
เมทริกซ์สามเหลี่ยมล่าง (lower triangular matrix) เมทริกซ์จัตุรัส ที่มีสมาชิกทุกตัวซึ่งอยู่เหนือเส้นทแยงมุมหลักมีค่าเท่ากับ 0
เมทริกซ์สามเหลี่ยม (triangular matrix) ส่วนสมาชิกท่ีอยู่บนเส้นทแยงมุมหลักหรืออยู่ใต้เส้นทแยงมุมหลักจะมีค่าเท่าไรก็ได้
เมทริกซ์ที่เป็นเมทริกซ์สามเหล่ี่ยมบนหรือเป็นเมทริกซ์สามเหลี่ยมล่าง
เมทริกซ์ศูนย์ (zero matrix)
อย่างใดอย่างหนึ่งหรือสองอย่าง
เมทริกซ์ที่มีสมาชิกทุกตัวเป็นศูนย์ทั้งหมด และใช้สัญลักษณ์
คำศัพท์จ้าาาาา!
คำศัพท์ ความหมาย
เมทริกซ์เฉียง (diagonal matrix) เมทริกซ์จัตุรัส ที่มีสมาชิกที่ไม่อยู่บนเส้นทแยงมุมหลัก
ทุกตัวมีค่าเป็น 0 ทั้งหมด
เมทริกซ์สเกลาร์ (scalar matrix) เมทริกซ์จัตุรัสท่ี่มีสมาชิกทุกตัวบนเส้นทแยงมุมหลักมีค่าเท่ากัน
ส่วนสมาชิกอ่ื่นท่ี่เหลือมีค่าเป็น 0 ทั้งหมด
เมทริกซ์เอกลักษณ์ (identity matrix) เมทริกซ์จัตุรัสท่ี่มีสมาชิกทุกตัวบนเส้นทแยงมุมหลักมีค่าเป็น 1
ส่วนสมาชิกอื่นท่ี่เหลือมีค่าเป็น 0 ทั้งหมด
เราจะใช้ I(n) แทนเมทริกซ์เอกลักษณ์ที่มีมิติ n×n
คำศัพท์จ้าาาาา!
คำศัพท์ ความหมาย
เมทริกซ์แบบแถว (row matrix) เมทริกซ์ที่ม่ีมิติ 1×n
เมทริกซ์แบบหลัก (column matrix) เมทริกซ์ที่มีมิติ n×1
นาย ภูริทัต จันทรภาส เลขที่ 24
ข อ ค ะ เ เ น น เ ต็ ม น ะ ค รั บ บ บ บ บ บ บ