The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน Happiness Indicator สพ.64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anusara srisaithong, 2021-03-17 05:21:45

รายงาน Happiness Indicator สพ.64

รายงาน Happiness Indicator สพ.64

Keywords: รายงาน Happiness Indicator สพ.64,Happiness,สุพรรณบุรี

รายงานผลการวัดความสุข (Happiness Indicators)
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

ของสานกั งานศาลปกครองสุพรรณบรุ ี

สานักงานศาลปกครองสพุ รรณบรุ ี
มนี าคม ๒๕๖๔

เปดิ อา่ น e-Book โปรดสแกน QR code หรือ
พมิ พ์ http://gg.gg/opcix

รายงานผลการวัดความสุข (Happiness Indicators)
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

ของสานกั งานศาลปกครองสุพรรณบรุ ี

สานกั งานศาลปกครองสพุ รรณบุรี
มีนาคม ๒๕๖๔

เปดิ อ่าน e-book โปรดสแกน QR code
หรือพมิ พ์ http://gg.gg/opcix

บทสรปุ สาหรบั ผบู้ รหิ าร

รายงานผลการวดั ความสขุ (Happiness Indicators) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ของ
สานักงานศาลปกครองสุพรรณบุรี จัดทาขึ้นเพื่อประเมินภาวะความสุขและการดูแลสุขภาพจิตของบุคลากร
และนาไปใช้ในการเสริมสร้างศาลปกครองสุพรรณบุรีให้เป็นองค์กรแห่งความสุขอย่างยั่งยืน โดยนาดัชนีช้ีวัด
ความสุขคนไทย Thai Happiness Indicators (THI - ๑๕) ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
เปน็ เครื่องมือในการสารวจข้อมูล โดยแบ่งเป็น ๔ ส่วน ส่วนที่ ๑ ข้อมูลท่ัวไป ส่วนท่ี ๒ ระดับคะแนนความสุข
ซ่ึงมีรายการประเมิน ๑๕ ข้อ ส่วนท่ี ๓ ปัจจัยท่ีมีผลต่อความสุข ส่วนท่ี ๔ ความเห็น/ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม
สรปุ ได้ดงั น้ี

สรุปผลการสารวจ
สว่ นที่ ๑ ข้อมูลทัว่ ไป พบว่ามีผ้ตู อบ ๖๑ คน แบง่ เป็น ตุลาการศาลปกครอง ๑ คน พนักงาน

คดีปกครอง ๑๓ คน เจ้าหน้าที่ศาลปกครอง ๑๑ คน เจ้าพนักงานธุรการ ๔ คน พนักงานราชการศาลปกครอง
(กลุ่มนายช่างคอมพิวเตอร์ นายช่างไฟฟ้า นายช่างโยธา พนักงานขับรถยนต์) ๖ คน พนักงานราชการ
ศาลปกครอง (กลุ่มบรรณารักษ์ เลขานุการประจาองค์คณะ พนักงานธุรการ พนักงานหน้าบัลลังก์ และ
พนักงานเดินหมาย) ๑๑ คน ตารวจประจาศาล ๑ คน เจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัย ๖ คน พนักงาน
ทาความสะอาด ๖ คน และพนักงานดูแลสวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๓.๘๕ ของกลุ่มเป้าหมาย ๖๕ คน
โดยผู้ตอบส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อยู่ในช่วง Generation X (อายุระหว่าง ๓๘ – ๕๒ ปี) มีรายได้ต่ากว่า
๓๐,๐๐๐ บาท มีอายุงานน้อยกว่า ๕ ปี ตาแหน่งของผู้ตอบส่วนใหญ่เป็นพนักงานคดีปกครอง แต่หากรวม
พนกั งานราชการศาลปกครองท้งั ๒ กลมุ่ ผ้ตู อบส่วนใหญ่เปน็ พนักงานราชการศาลปกครอง

ส่วนที่ ๒ ระดับคะแนนความสขุ พบวา่ ผูต้ อบมคี า่ เฉล่ยี ระดับคะแนนความสุขเท่ากับ ๓๐.๖๔
คะแนน (ระดับ Fair) หรือมีความสุขเท่ากับคนทั่วไป โดยเพศหญิงมีระดับคะแนนความสุขมากกว่าเพศชาย
ช่วงอายุที่มีระดับคะแนนความสุขมากท่ีสุด คือ Generation Z (อายุน้อยกว่า ๒๗ ปี) น้อยท่ีสุด คือ
Generation Y (อายุระหว่าง ๒๗ - ๓๗ ปี) ช่วงรายได้ที่มีระดับคะแนนความสุขมากท่ีสุด คือ ผู้มีรายได้
ระหว่าง ๓๐,๐๐๐ - ๔๐,๐๐๐ บาท น้อยที่สุด คือ ผู้มีรายได้ต่ากว่า ๓๐,๐๐๐ บาท ช่วงอายุงานที่มี
ระดับคะแนนความสุขมากที่สุด คือ อายุระหว่าง ๑๖ - ๒๐ ปี น้อยที่สุด คือ ผู้มีอายุงานมากกว่า ๒๐ ปี
ตาแหน่งงานที่มีระดับความสุขมากท่ีสุด คือ พนักงานดูแลสวน น้อยท่ีสุด คือ เจ้าพนักงานธุรการ ทั้งนี้
หากพิจารณาบุคลากรภายในที่มีระดับคะแนนความสุขมากที่สุด คือ เจ้าหน้าท่ีศาลปกครอง ส่วนบุคลากร
ภายนอกท่ีมีระดับคะแนนความสุขน้อยท่ีสุด คือ พนักงานทาความสะอาด สาหรับรายการประเมิน
ตามแบบ Happiness Indicators รายการประเมินที่ผู้ตอบมีระดับคะแนนความสุขน้อยท่ีสุด คือ
การประสบความสาเร็จและความก้าวหน้าในชวี ิต และมากทสี่ ดุ คอื ความรสู้ กึ ในชวี ิตทีไ่ มไ่ ร้คา่ /ไม่มีประโยชน์

ส่วนท่ี ๓ ปัจจัยท่ีมีผลต่อความสุข มากที่สุด คือ ผู้บังคับบัญชากับครอบครัวในจานวนที่
เท่ากัน และน้อยที่สุด คือ สวัสดิการ/ส่ิงอานวยความสะดวกกับเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในจานวนทเี่ ทา่ กัน

ส่วนท่ี ๔ ความเห็น/ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ผู้ตอบมีความเห็นเพิ่มเติมว่าควรมีแนวทาง
ส่งเสริมการเพ่ิมรายได้ (๑ ความเห็น) สามัคคี คือพลัง คานี้ใช้ได้ในทุกที่ ทุกสถานการณ์ และทาให้ได้ทุกคน
(๑ ความเห็น) และผู้บงั คบั บญั ชายังขาดความชานาญในการบรหิ ารจดั การงาน (๑ ความเหน็ )

บทสรปุ สาหรับผ้บู รหิ าร ก

ข้อเสนอแนะ
๑) ข้อเสนอแนะจากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติ ควรมุ่งเน้นการเสริมสร้างความสุขของ

บุคลากรทเี่ ปน็ เพศชาย โดยเฉพาะตาแหน่งพนักงานราชการศาลปกครอง (กลุ่มนายช่างคอมพิวเตอร์ นายช่าง
โยธา พนกั งานขับรถยนต์) และพนักงานคดีปกครอง ผู้ที่มีช่วงอายุ Generation Y (อายุระหว่าง ๒๗ - ๓๗ ปี)
โดยเฉพาะตาแหน่งเจ้าหน้าที่ศาลปกครอง ผู้มีรายได้ต่าโดยเฉพาะตาแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ ผู้ที่มีอายุงาน
มากกว่า ๒๐ ปี โดยเฉพาะตาแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ พนักงานราชการศาลปกครอง (กลุ่มนายช่าง
คอมพิวเตอร์ นายช่างโยธา พนักงานขับรถยนต์) และเจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัย สนับสนุนให้บุคลากร
ได้รับความสาเร็จและความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และให้มีเพ่ือนคอยช่วยเหลือในยามท่ีต้องการมากข้ึน
และมงุ่ เน้นพฒั นาดา้ นภาวะผูน้ า และดา้ นครอบครวั

๒) ข้อเสนอแนะการเสริมสร้างความสุขในการทางาน ควรพัฒนาสุขภาพทางร่างกายให้
แขง็ แรง สขุ ภาพทางจิตใจใหม้ ีทัศนคตเิ ชิงบวก และพฒั นาทกั ษะการทางานให้มปี ระสทิ ธิภาพ

๓) ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาคร้ังต่อไป การวัดระดับความสุขของบุคลากร ควรมีการสารวจ
ในรูปแบบการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ด้วย เพื่อให้นาข้อมูลไปออกแบบกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มากข้ึน และแบบประเมิน Thai Happiness Indicators (THI - ๑๕) เป็นแบบประเมินฉบับสั้น หากต้องการ
ประเมินที่ละเอียด ควรใชด้ ัชนชี ้วี ดั สขุ ภาพจติ คนไทย หรอื ดชั นชี ีว้ ดั ความสุขฉบบั สมบรู ณ์

*******************************

บทสรุปสาหรบั ผูบ้ รหิ าร ข

คำนำ

รายงานผลการวัดความสุข (Happiness Indicators) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ของสานักงานศาลปกครองสุพรรณบุรีจัดทาข้ึนเพื่อให้สานักงานศาลปกครองสุพรรณบุรีมีข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์
ในการเสรมิ สร้างความสุขของบุคลากรสานักงานศาลปกครองสุพรรณบุรีต่อไป

สานกั งานศาลปกครองสุพรรณบุรีหวังเป็นอย่างย่ิงว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ท้ังในส่วนของ
สานกั งานศาลปกครองและสานักงานศาลปกครองสุพรรณบรุ ี และขอขอบคุณผู้ตอบแบบสารวจทุกท่าน มา ณ ท่นี ้ี

สำนักงำนศำลปกครองสุพรรณบุรี
มีนำคม ๒๕๖๔

สารบัญ

คานา หน้า

สารบญั (๑)

บทสรปุ ผู้บรหิ าร (๒)

สว่ นที่ ๑ บทนา ก–ข

สว่ นท่ี ๒ แนวคิดเกย่ี วกับความสุข ๑
๒.๑ ความหมายของความสขุ
๒.๒ ปจั จยั ท่ีกาหนดความสขุ ๓
๒.๓ แนวทางการเสรมิ สรา้ งความสุข ๓

สว่ นท่ี ๓ ผลการวดั ระดับความสุข (Happiness Indicators) ๔
๓.๑ ข้อมลู ทว่ั ไปของผูต้ อบ
๓.๒ ระดับคะแนนความสุข ๕
๓.๒.๑ ระดับคะแนนความสขุ จาแนกตามเพศ ๕
๓.๒.๒ ระดบั คะแนนความสขุ จาแนกตามชว่ งอายุ ๖
๓.๒.๓ ระดบั คะแนนความสุขจาแนกตามรายได้ ๘
๓.๒.๔ ระดับคะแนนความสุขจาแนกตามอายงุ าน ๘
๓.๒.๕ ระดบั คะแนนความสขุ จาแนกตามตาแหน่ง ๙
๓.๒.๖ ระดับคะแนนความสุขจาแนกตามแบบ Happiness Indicators ๙
๓.๓ ปัจจยั ท่มี ีผลตอ่ ความสุข ๑๐
๑๑
สว่ นท่ี ๔ บทวิเคราะหผ์ ลการสารวจกบั ผลงานวิจัยท่เี กี่ยวข้อง ๑๓
๔.๑ การวิเคราะห์ความสขุ จาแนกตามเพศ
๔.๒ การวิเคราะห์ความสุขจาแนกตามช่วงอายุ ๑๔
๔.๓ การวเิ คราะหค์ วามสุขจาแนกตามรายได้ ๑๔
๔.๔ การวเิ คราะห์ความสุขจาแนกตามอายุงาน ๑๔
๔.๕ การวิเคราะหค์ วามสุขจาแนกตามตาแหน่ง ๑๕
๔.๖ การวเิ คราะหค์ วามสุขจาแนกตามแบบ Happiness Indicators ๑๕
๔.๗ การวเิ คราะห์ปัจจยั ท่ีมผี ลตอ่ ความสขุ ๑๖
๑๖
ส่วนที่ ๕ บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะ ๑๗
๕.๑ บทสรุป
๕.๒ ข้อเสนอแนะ ๑๙
๕.๒.๑ ข้อเสนอแนะจากการวเิ คราะห์ข้อมลู เชิงสถติ ิ ๑๙
๕.๒.๒ ข้อเสนอแนะการเสริมสรา้ งความสขุ ในการทางาน ๒๐
๕.๒.๓ ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาคร้ังต่อไป ๒๐
๒๒
บรรณานุกรม ๒๒
คณะผ้จู ดั ทา ๒๓
๒๖

สารบัญตาราง หนา้

ตารางท่ี ๑ แสดงรายได้ของผูต้ อบ ๕
ตารางท่ี ๒ แสดงอายงุ านของผู้ตอบ ๖
ตารางท่ี ๓ แสดงตาแหน่งของผู้ตอบ ๖
ตารางที่ ๔ แสดงรายการประเมินตามแบบ Happiness Indicators (THI - ๑๕) ๗
ตารางท่ี ๕ แสดงระดบั คะแนนความสขุ จาแนกตามตาแหนง่ ๑๐
ตารางที่ ๖ แสดงระดบั คะแนนความสุขตามแบบ Happiness Indicators ๑๑
ตารางท่ี ๗ แสดงตาแหน่งของผู้ตอบท่ีมีระดบั คะแนนความสุขน้อยทสี่ ุด ๑๒
ตารางท่ี ๘ แสดงปจั จัยทีม่ ผี ลต่อความสุข ๑๓
ตารางที่ ๙ แสดงตวั อย่างสถานการณ์ในแต่ละปจั จัยทมี่ ีผลต่อความสุข ๑๘
ตารางที่ ๑๐ แสดงรายการประเมินท่ีมรี ะดับคะแนนความสขุ มากทส่ี ุดกับน้อยทีส่ ุด ๒๐
ตารางท่ี ๑๑ แสดงการเสรมิ สร้างความสุขของบคุ ลากรในองค์กร ๒๑

สารบัญแผนภูมิ

แผนภูมทิ ่ี ๑ แสดงเพศของผ้ตู อบ หนา้
แผนภมู ิท่ี ๒ แสดงชว่ งอายุของผตู้ อบ
แผนภมู ิท่ี ๓ แสดงระดับคะแนนความสขุ จาแนกตามเพศ ๕
แผนภูมทิ ี่ ๔ แสดงระดบั คะแนนความสุข จาแนกตามชว่ งอายุ ๕
แผนภูมิท่ี ๕ แสดงระดับคะแนนความสขุ จาแนกตามรายได้ ๘
แผนภมู ทิ ี่ ๖ แสดงระดับคะแนนความสุข จาแนกตามอายงุ าน ๘
แผนภูมิท่ี ๗ แสดงระดบั คะแนนความสุข จาแนกตามตาแหนง่ ๙
แผนภูมิที่ ๘ แสดงระดบั คะแนนความสุขตามแบบ Happiness Indicators ๙
แผนภูมิที่ ๙ แสดงปัจจัยที่มผี ลต่อความสขุ ๑๐
๑๑
๑๓

รายงานผลการวดั ความสุข (Happiness Indicators)
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

ของสานักงานศาลปกครองสพุ รรณบรุ ี

ส่วนที่ ๑
บทนา

๑.๑ หลกั การและเหตผุ ล

สานักงานศาลปกครองสุพรรณบุรีให้ความสาคัญกับภาวะความสุขและการดูแลสุขภาพจิตของบุคลากร
เช่น ความภูมิใจ ความพอใจ ความรู้สึกประสบความสาเร็จ ความก้าวหน้าในชีวิต เป็นต้น ซึ่งส่งผลกระทบ
ต่อศักยภาพในการปฏิบัติงานและการอยู่ร่วมกัน จึงได้กาหนดให้มีการวัดความสุขด้วยการนาดัชนีช้ีวัดความสุข
คนไทย Thai Happiness Indicators (THI - ๑๕) ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข มาใช้เป็นเคร่ืองมือ
ในการสารวจข้อมูล เพ่ือประเมินภาวะความสุขและการดูแลสุขภาพจิตของบุคลากรดังกล่าว และกาหนด
ภารกิจดังกล่าวเป็นข้อตกลงการปฏิบัติงานระดับหน่วยงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ มิติที่ ๔
การเรียนรู้และพัฒนา ตัวช้ีวัดท่ี ๑๑ ระดับความสาเร็จในการเสริมสร้างวัฒนธรรมศาลปกครอง (TRUST)
ใหเ้ ปน็ องคก์ รแหง่ ความสขุ อยา่ งยั่งยนื กจิ กรรมหลักที่ ๔ เสรมิ สรา้ งบรรยากาศในการทางานสู่สถานท่ที างานสขุ ภาวะ

๑.๒ วัตถุประสงค์

เพ่ือสารวจข้อมูลความสุขของบุคลากรและนาไปใช้ในการเสริมสร้างศาลปกครองสุพรรณบุรีให้เป็น
องคก์ รแห่งความสุขอย่างย่ังยืนตอ่ ไป

๑.๓ รูปแบบวธิ กี ารดาเนนิ งาน

สารวจข้อมูลโดยใช้ดัชนีช้ีวัดความสุขคนไทย Thai Happiness Indicators (THI - ๑๕) เป็นเคร่ืองมือ
ในการสารวจข้อมูล ซึ่งเครื่องมือดังกล่าวมีผู้ศึกษาในข้ันตอนท่ีสมบูรณ์และเผยแพร่ในระดับประเทศ สามารถ
ทราบค่าคะแนนความสุขว่าอยู่ในกลุ่มท่ีมีความสุขน้อยกว่าคนท่ัวไป เท่ากับคนทั่วไป หรือมากกว่าคนท่ัวไป
และมีข้อคาถามไม่มาก โดยใช้ Google From ในการสารวจข้อมูลทางระบบออนไลน์ เพื่อลดใช้กระดาษ
จดั เก็บและประมวลผลขอ้ มูลไดร้ วดเร็ว และแมน่ ยา

รายงาน Happiness Indicators สานักงานศาลปกครองสุพรรณบรุ ี นา 1

๑.๔ กลุ่มเปา้ หมาย

จานวน ๖๕ คน ประกอบด้วย ตุลาการในศาลปกครองสุพรรณบุรี ๕ คน พนักงานคดีปกครอง ๑๓ คน
เจ้าหน้าท่ีศาลปกครอง ๑๑ คน เจ้าพนักงานธุรการ ๔ คน พนักงานราชการศาลปกครอง ๑๗ คน ตารวจ
ประจาศาล ๑ คน เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ๖ คน พนักงานทาความสะอาด ๖ คน และพนักงาน
ดูแลสวน ๒ คน เพื่อให้มีข้อมูลประกอบการดาเนินงานครอบคลุมถึงบุคลากรภายในและภายนอก
ซง่ึ ปฏบิ ัตงิ านอยูใ่ นพื้นท่ที างานเดียวกนั โดยสารวจข้อมลู ระหวา่ งวันที่ ๑๕ มกราคม - วนั ท่ี ๓ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔

๑.๕ ข้ันตอนการดาเนนิ งาน

๑) ศกึ ษา รวบรวม และวเิ คราะห์แบบสารวจ
๒) ขอรบั ความเห็นชอบในการดาเนินการ
๓) สารวจและรวบรวมข้อมลู
๔) ประมวลผลและวเิ คราะหข์ ้อมลู
๕) จัดทารายงานผลการดาเนินงานเสนอผูบ้ ริหารตามลาดับช้นั
๖) เผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์รายงานผลการดาเนนิ งาน

๑.๖ ผลที่คาดวา่ จะได้รบั

สานักงานศาลปกครองสุพรรณบุรีมีข้อมูลเพื่อใช้ในการเสริมสร้างศาลปกครองสุพรรณบุรีให้เป็นองค์กร
แหง่ ความสุขอยา่ งย่ังยืน

๑.๗ ผู้รบั ผิดชอบ

สานกั งานศาลปกครองสพุ รรณบุรี กลุ่มบรหิ ารทั่วไป โทร. ๐ ๓๕๔๓ ๒๓๓๓ ตอ่ ๒๒๐๗ หมายเลขภายใน
โทร. ๖๐๕๕๘ ไปรษณยี ์อิเล็กทรอนิกส์ [email protected]

รายงาน Happiness Indicators สานักงานศาลปกครองสพุ รรณบุรี นา 2

ส่วนท่ี ๒
แนวคิดเกี่ยวกับความสขุ

๒.๑ ความหมายของความสุข

ความสุข หมายถึง ความสบายกาย สบายใจ อยู่ดีมีสุข อยู่เย็นเป็นสุขหรือพบกับความสุขสมหวัง
“ความสุข” ในมุมมองนี้เป็นการส่ือความหมายของความสุขทางกาย ทางใจ ความสมหวัง และความเป็นอยู่ท่ีดี
(ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2542) ความสุข หมายถึง ประสบการณ์โดยรวมของความพึงพอใจ และการมีจุดหมายใน
ชีวิต และคนมีความสุขจะมีอารมณ์บวก พร้อมกับมองชีวิตของตนอย่างมีจุดหมาย ความพึงพอใจเป็นอารมณ์บวก
ทเ่ี กิดข้นึ ในปัจจุบนั ขณะท่ีการมจี ุดหมายในชีวิตเป็นประโยชน์ท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต (ทาล เบน ชาร์ฮาร์, n.d.)
ความสุข หมายถึง การประเมินของแต่ละคนว่าชื่นชอบชีวิตโดยรวมของตนเองมากเพียงใด รู้สึกชอบหรือ
พึงพอใจกับชีวิต ไม่รู้สึกวิตกกังวลกับชีวิตตนเอง ชอบสนุกสนานกับเพื่อนฝูง ชอบประสบการณ์ใหม่ ๆ
มอี ารมณ์ม่ันคงไม่เปลี่ยนแปลงข้ึนลงง่าย และมักจะหวังว่าตนจะพบเจอสิ่งดี ๆ ในอนาคต (วีนโฮเฟุน, 1997)
ความสุขตามหลักพุทธศาสนา แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ กามสุข หรือ ความสุขในรูป รส กล่ิน เสียง และ
สัมผัส ฌาณสุข หรือความสุขจากความสงบทางใจ นิพพานสุข หรือความสุขในนิพพาน ความหลุดพ้น
(พระพรหมคุณาภรณ, ม.ป.ป.)

๒.๒ ปัจจยั ท่ีกาหนดความสขุ

ปัจจัยกาหนดความสุข แบ่งเป็น ๓ ปัจจัย ประกอบด้วย ปัจจัยทางพันธุกรรม เช่น สติปัญญา ระดับไขมัน
ในเลือดที่ถูกกาหนดจากพันธุกรรม ปัจจัยนี้กาหนด
ระดับความสุขได้ประมาณร้อยละ ๕๐ ปัจจัยภายนอก เช่น
ความจน ความรวย ความสวย ความหล่อ สุขภาพดี/ไม่ดี
แต่งงาน/หย่าร้าง เลื่อนตาแหน่ง ปัจจัยน้ีกาหนดระดับ
ความสุขได้ประมาณร้อยละ
10 - 15 และ ปัจจัยภายใน

เช่น วิธีคิด กิจกรรมท่ีเลือกทา หรือเป็นสิ่งท่ีอยู่ภายใต้การควบคุมของเราเอง เป็น
ความคิด การกระทา และรูปแบบชวี ติ ที่เราเลอื กโดยตงั้ ใจ เชน่ เวลาท่ีให้กับครอบครัว
การให้ความช่วยเหลือผ้อู ืน่ การมองโลกแง่ดี การฝึกอยู่กับปัจจุบัน การมีจุดหมายที่มี
คุณค่าในชีวิต การมีวิธีแก้ปัญหาเชิงรุก การเผชิญหน้ากับปัญหาในชีวิตด้วยความ
เข้มแข็ง สมรรถภาพของจิตใจ และคุณภาพของจิตใจ ปัจจัยเหล่าน้ีมีส่วนกาหนด
ระดบั ความสุขคนไดป้ ระมาณรอ้ ยละ 35 - 40 (มารต์ นิ เซลิกแมน, n.d.)

ปจั จัยความสุขมี 4 องค์ประกอบ ได้แก่ การติดต่อความสัมพันธ์ ความรักในงาน ความสาเร็จในงาน และ
การเปน็ ท่ยี อมรบั (Manion, 2003)

ปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์กับความสุข แบ่งเป็น 3 ปัจจัย ประกอบด้วย ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ
สถานภาพสมรส ประสบการณ์ในการทางาน ตาแหน่ง เงินเดือน แผนกท่ีปฏิบัติงาน ลักษณะการจ้างงาน
ปัจจยั ด้านครอบครวั และ ปัจจยั ระดับองคก์ ร ได้แก่ นโยบายและการบริหาร ลักษณะงาน สัมพันธภาพในที่ทางาน
ความก้าวหน้าในหนา้ ที่การงาน ขวญั /กาลงั ใจ และสภาพแวดล้อมในการทางาน (มหาวิทยาลยั บูรพา, ม.ป.ป.)

รายงาน Happiness Indicators สานกั งานศาลปกครองสพุ รรณบรุ ี นา 3

๒.๓ แนวทางการเสรมิ สรา้ งความสขุ

๒.๓.๑ เทคนิคการสร้างความสุขด้วยจิตวิทยาเชิงบวก เป็นการผสมผสานระหว่างแนวคิดจิตวิทยา
เชิงบวกกับการดูแลสุขภาพกายและจิต เป็นการเร่ิมต้นท่ีตัวบุคคล ประกอบด้วย การดูแลร่างกาย การดูแล
สุขภาพจิต การปรับความคิดของตนเอง และการกาหนดเปูาหมายในชีวิต โดยมีเทคนิค 8 ข้อ ได้แก่
๑) การดูแลสขุ ภาพรา่ งกาย ๒) ฝึกบรหิ ารจติ ใจ ฝึกทาสมาธิ ทาจิตใจใหว้ า่ ง ๓) ยิ้มให้กับตัวเองทุกวัน ๔) ค้นหา
สิ่งดีท่มี ีอยู่ ๕) หม่ันรู้จกั การปล่อยวาง หรือละทิง้ ๖) รจู้ กั การใหอ้ ภยั ๗) คดิ ถงึ สิง่ ดี ๆ ทเ่ี กิดขึ้นในแต่ละวัน และ
๘) ทาแต่ละวันใหม้ คี ุณคา่ (เกสร มุ้ยจีน, ๒๕๕๙)

๒.๓.๒ วิธีคิดและกิจกรรมที่เลือกทา 10 วิธี ทาได้ทุกคน ทุกวัย ทุกวัน ได้แก่ ๑) ออกกาลังกาย วันละ
30 นาที อย่างนอ้ ย 3 ครง้ั ต่อสปั ดาห์ ๒) ก่อนเข้านอนทุกคืน ลองทบทวนสิ่งดี ๆ อะไรกไ็ ด้ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตด้วย
ความรู้สึกขอบคุณ อย่างน้อยวันละ 5 เรื่อง ๓) ให้เวลาพูดคุย รับฟังคู่ครอง หรือเพ่ือนสนิท ทุกสัปดาห์ อย่าง
นอ้ ย 1 ชั่วโมง โดยไม่มีใครมาขัดจังหวะหรือรบกวน ๔) ปลูกต้นไม้ต้นเล็ก ๆ ตั้งไว้บนโต๊ะหรือในกระถาง และ
ดูแลรักษาให้ดี ๕) ลดเวลาดูทีวีลงครึ่งหน่ึง ๖) หาโอกาสคุยกับเพ่ือนท่ีห่างกันไป แล้วนัดหมายพบเจอ
กนั บ้าง ๗) หัวเราะใหม้ ากและนานพอทกุ วัน ๘) สง่ ยิ้มทกั ทายคนที่ไม่รู้จกั อย่างนอ้ ยวันละ 1 ครัง้ ๙) ใส่ใจดูแล
ตัวเองทกุ วัน ใชเ้ วลาทาบางส่ิงท่ีสร้างความเพลิดเพลินให้ตัวเอง และ ๑๐) ฝึกตัวเองให้เป็นผู้ให้ ปฏิบัติต่อผู้อ่ืน
ดว้ ยความใส่ใจ มอบสิง่ ดี ๆ ใหแ้ ก่คนอน่ื (สสส., ๒๕๖๒)

๒.๓.๓ ระบบงานที่องค์กรสามารถสร้างเป็นแรงบันดาลใจในการทางาน ๘ ประการ ได้แก่
๑) Proficiency งานท่ีได้ใช้ความรู้ความสามารถท่ีได้เรียนมาตามวิชาชีพ หรือความสามารถท่ีมีนอกเหนือจาก
วิชาชีพ ๒) Creativity งานที่ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบงานของตนเอง การสร้างนวัตกรรม
๓) Autonomy การมีอานาจในการเลือกหรือมีส่วนในการตัดสินใจในงานท่ีรับผิดชอบ 4) Purpose
การกาหนดเปูาหมายท่ีย่ิงใหญ่ เพื่อให้เห็นหรือรับรู้ถึงคุณค่าของงานที่ทา 5) Pride ความภูมิใจในความสาเร็จ
ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองเล็กหรือใหญ่ 6) Recognition การได้รับการยอมรับ ไม่ว่าจะในรูปแบบใด เช่น การได้รับ
มอบหมายงานสาคัญ การได้รับการช่ืนชม เป็นต้น 7) Mastery การที่ได้เห็นตนเองพัฒนาขึ้น ได้มีโอกาส
ในการพัฒนาตนเองให้ดีและเก่งข้ึน และ 8) Legacy การได้มอบมรดกแก่คนรุ่นหลัง ได้จากองค์กรไปโดยได้
ทิง้ มรดกบางอย่างไว้ (บษุ บงก์ วเิ ศษพลชยั , ๒๕๖๑)

๒.๓.๔ แนวทางการสร้างองค์กรสุขภาวะ (Healthy Workplace Framework) ประกอบด้วย
๑) สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical work environment) เช่น สิ่งก่อสร้าง อากาศ วัสดุอุปกรณ์
ที่อยู่ในสถานท่ีทางาน รวมถึงคุณภาพความเป็นอยู่ของบุคลากร เช่น ความปลอดภัยท้ังทางกายและจิตใจ
๒) แหล่งทรัพยากรสนับสนุนด้านสุขภาพของบุคลากร (Personal health resources) ได้แก่ บริการด้าน
สุขภาพ โอกาส รวมถึงข้อมูลที่สนับสนุนให้บุคลากรเข้าถึงการดาเนินชีวิตอย่างมีสุขภาวะทั้งสุขภาพกายและ
สุขภาพจิต 3) ความสัมพันธ์ของกิจการกับชุมชน (Enterprise community involvement) เป็นแนวทาง
สร้างสุขภาวะในเชิงความสัมพันธ์กับบุคคลในครอบครัว และชุมชนรอบข้างขององค์การ ได้แก่ กิจกรรม
สร้างสัมพันธ์ ความผูกพันองค์กร สภาพชุมชนที่เอื้อต่อสุขภาวะทางกายและจิตใจ และ 4) สภาพแวดล้อม
การทางานทางสังคมจิตใจ (Psychosocial Work Environment) ได้แก่ สภาพทางจิตวิทยาในองค์การ
วัฒนธรรมองค์การ ความเชื่อ ทัศนคติ ค่านิยม แนวปฏิบัติในองค์กร (สรุปจากองค์การอนามัยโลก
Joan Burton, 2010 อา้ งถึงในสธนา สานกั วังชยั , ๒๕๖๓)

๒.๓.๕ แนวทางการสร้างองค์กรแห่งความสุขจะต้องทาความเข้าใจสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคม
บุคลากร และชุมชน อีกทั้งผู้บริหารจะต้องแสดงภาวะผู้นาและสร้างความเช่ือมั่นให้กับทุกคนในองค์กร
ที่จะนาไปสูอ่ งคก์ รแห่งความสุข และการทีท่ กุ คนในองค์กรได้มีสว่ นร่วมในการเรียนรู้และปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง
จะทาให้เกดิ องค์กรแหง่ ความสุขได้อย่างแทจ้ รงิ (Lowe, 2004 อา้ งถงึ ในกา้ นทอง บหุ ร่า, 2559)

รายงาน Happiness Indicators สานกั งานศาลปกครองสพุ รรณบุรี นา 4

สว่ นท่ี ๓
ผลการวัดระดบั ความสขุ (Happiness Indicators)

สานักงานศาลปกครองสุพรรณบุรีดาเนนิ การสารวจข้อมลู ๔ องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ ๑) ขอ้ มลู ท่ัวไป ๒) ระดับ
คะแนนความสุข โดยจาแนกตามเพศ ช่วงอายุ รายได้ อายุงาน ตาแหน่ง และตามแบบ Happiness Indicators
๓) ปัจจยั ที่มผี ลตอ่ ความสขุ และ ๔) ความเห็น/ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม สรุปได้ดังนี้

๓.๑ ข้อมลู ท่ัวไปของผูต้ อบ

๑) จานวนและเพศของผู้ตอบ พบว่า มีผู้ตอบ ๖๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๓.๘๕ ของกลุ่มเปูาหมาย
แบ่งเป็นเพศหญิง ๓๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๙.๐๒ เพศชาย ๒๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๙๘ สรุปได้ว่าผู้ตอบ
สว่ นใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย

แผนภูมทิ ่ี ๑ แสดงเพศของผู้ตอบ ๒) ช่วงอายุ แบ่งตาม Generation พบว่า ผู้ตอบมีอายุ
ต่ากว่า ๒๗ ปี ๒ คน ระหว่าง ๒๗ - ๓๗ ปี ๑๓ คน ระหว่าง
๓๘ - ๕๒ ปี ๓๕ คน และมากกว่า ๕๒ ปี ๑๑ คน คิดเป็น

ร้อยละ ๓.๒๘ ร้อยละ ๒๓.๓๑ ร้อยละ
57.38 และร้อยละ 18.03 ตามลาดับ
ส รุ ป ไ ด้ ว่ า ผู้ ต อ บ ส่ ว น ใ ห ญ่ อ ยู่ ใ น ช่ ว ง อ า ยุ
Generation X (๓๘ - ๕๒ ปี) และอยู่ในช่วง
Generation Z (นอ้ ยกว่า ๒๗ ปี) นอ้ ยทีส่ ดุ

๓) รายได้ต่อเดือน พบว่า ผู้ตอบมีรายได้ต่ากว่า ๓๐,๐๐๐ บาท ๓๒ คน ๓๐,๐๐๑ - ๔๐,๐๐๐ บาท

ตารางที่ ๑ แสดงรายไดข้ องผตู้ อบ ๑๑ คน ๔๐,๐๐๑ - ๕๐,๐๐๐ บาท ๗ คน และ

ที่ รายได้ (บาท) จานวน รอ้ ยละ มากกว่า ๕๐,๐๐๐ บาท ๑๑ คน คิดเป็นร้อยละ
1 นอ้ ยกว่า ๓๐,๐๐๐ บาท 32 คน ๕๒.๔๖ ๕๒.๔๖ ร้อยละ ๑๘.๐๓ ร้อยละ ๑๑.๔๘ และ

2 30,000 – 40,000 บาท 11 คน ๑๘.๐๓ ร้อยละ ๑๘.๐๓ สรุปได้ว่าผู้ตอบส่วนใหญ่
3 40,001 – 50,000 บาท 7 คน ๑๑.๔๘ มีรายได้ต่ากว่า ๓๐,๐๐๐ บาท และผู้ตอบท่ีมี
11 คน ๑๘.๐๓ รายได้ระหว่าง ๔๐,๐๐๑ - ๕๐,๐๐๐ บาท
4 มากกว่า 50,000 บาท

รวม ๖๑ คน ๑๐๐ มจี านวนน้อยที่สดุ

รายงาน Happiness Indicators สานกั งานศาลปกครองสุพรรณบุรี นา 5

๔) อายุงาน พบว่า ผู้ตอบมีอายุงานน้อยกว่า ๕ ปี ๒๔ คน ตารางที่ ๒ แสดงอายุงานของผ้ตู อบ
ระหวา่ ง ๕ - ๑๐ ปี ๕ คน ระหว่าง ๑๑ - ๑๕ ปี ๖ คน และระหว่าง
๑๖ - ๒๐ ปี ๘ คน และมากกว่า ๒๐ ปี ๑๘ คน คิดเป็น อายงุ าน จานวนคน ร้อยละ
ร้อยละ ๓๙.๓๔ ร้อยละ ๘.๒๐ ร้อยละ ๙.๘๔ ร้อยละ ๑๓.๑๑ น้อยกว่า 5 ปี ๒๔ 39.34
และร้อยละ ๒๙.๕๑ ตามลาดับ สรุปได้ว่าผู้ตอบส่วนใหญ่มี ระหว่าง 5 - 10 ปี 5 8.20
อายุงานน้อยกว่า ๕ ปี และมอี ายงุ าน ๕ - ๑๐ ปี นอ้ ยท่สี ุด ระหว่าง 11 - 15 ปี 6 9.84
ระหวา่ ง 16 - 20 ปี 8 13.11
มากกว่า 20 ปี 18 29.51

61 100

๕) ตาแหน่ง พบว่ามีผู้ตอบเป็นตุลาการศาลปกครอง ๑ คน พนักงานคดีปกครอง ๑๓ คน เจ้าหน้าที่

ศาลปกครอง ๑๑ คน เจ้าพนักงานธุรการ ๔ คน พนักงานราชการศาลปกครอง (กลุ่มตาแหน่งบรรณารักษ์

ตารางที่ ๓ แสดงตาแหนง่ ของผตู้ อบ เลขานุการประจาองค์คณะ พนักงานธุรการ

ที่ ตาแหนง่ จานวน พนักงานหน้าบัลลังก์ พนักงานเดินหมาย)
คน
1 ตุลาการศาลปกครอง รอ้ ยละ ๑๑ คน พนักงาน ราช การศาลปกครอง
2 พนักงานคดีปกครอง 1 1.64 ( ก ลุ่ ม ต า แ ห น่ ง น า ย ช่ า ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์
3 เจา้ หนา้ ทศี่ าลปกครอง
13 21.31 นายช่างไฟฟูา นายช่างโยธา และพนักงาน
1๑ 1๘.๐๓ ขับรถยนต์ ๖ คน ตารวจประจาศาล ๑ คน

4 เจ้าพนกั งานธรุ การ ๔ ๖.๕๖ เจ้ าห น้ าท่ี รั กษาความปลอดภั ย ๖ ค น
11 1๘.๐๓ พนักงานทาความสะอาด ๖ คน และพนักงาน
5 พนกั งานราชการศาลปกครอง

(บรรณารักษ์ เลขานุการประจาองคค์ ณะ พนักงานธุรการ ดูแลสวน ๒ คน สรุปได้ว่าผู้ตอบส่วนใหญ่
พนักงานหน้าบลั ลงั ก์ พนักงานเดินหมาย)

6 พนักงานราชการศาลปกครอง 6 9.84 เป็ นพนั กงานคดี ปกครอง รองลงมา คื อ
1 1.64 เจ้าหน้าที่ศาลปกครอง แต่หากรวมพนักงาน
(ช่างคอมพวิ เตอร์ ช่างไฟฟาู ชา่ งโยธา พนกั งานขบั รถยนต์) 6 9.84 ราชการศาลปกครองท้ังสองกลุ่มตาแหน่ ง

๗ ตารวจประจาศาล

๘ เจา้ หนา้ ทร่ี ักษาความปลอดภยั

9 พนักงานทาความสะอาด 6 9.84 ผู้ตอบส่วนใหญ่เป็นพนักงานราชการศาลปกครอง

๑๐ พนักงานดแู ลสวน 2 3.28 มากที่สุด และมีผู้ตอบเป็น เจ้าหน้าที่รักษา
รวม ๖๑ 100 ความปลอดภัย ในจานวนท่ีเท่ากับพนักงาน

ทาความสะอาด และมีตุลาการศาลปกครองในจานวนที่เท่ากับตารวจประจาศาลโดยเป็นกลุ่มตาแหน่งผู้ตอบ

ทนี่ ้อยทส่ี ุด

๓.๒ ระดบั คะแนนความสขุ

แบบ Happiness Indicators (THI - ๑๕) ที่ใช้เป็นเคร่ืองมือในการจัดเก็บข้อมูล มีรายการประเมิน/ข้อคาถาม
๑๕ ขอ้ แต่ละข้อคะแนนแบ่งเป็น ๒ กล่มุ ดงั น้ี

กลุ่มที่ ๑ จานวน ๑๒ ข้อ ได้แก่ ข้อคาถามที่ 1, 2, 4, 5, 6, 7, 9, 10, 11, 13, 14 และ 15
โดยให้คะแนนผตู้ อบวา่ ไม่เลย ๐ คะแนน เลก็ น้อย ๑ คะแนน มาก ๒ คะแนน และมากท่สี ุด ๓ คะแนน

กลุ่มที่ ๒ จานวน ๓ ข้อ ได้แก่ ข้อ ๓, ๘ และ ๑๒ โดยให้คะแนนผู้ตอบว่าไม่เลย ๓ คะแนน
เลก็ นอ้ ย ๒ คะแนน มาก ๑ คะแนน และมากท่ีสดุ ๐ คะแนน

รายงาน Happiness Indicators สานักงานศาลปกครองสพุ รรณบรุ ี นา 6

โดยมี ๔ ตวั เลอื ก แตล่ ะตัวเลอื กมีคาอธบิ าย ดงั น้ี
ไมเ่ ลย หมายถงึ ไม่เคยมีแหตุการณ์ อาการ ความรู้สึก หรือไมเ่ ห็นด้วยกับเร่ืองน้ัน ๆ
เลก็ น้อย หมายถงึ เคยมีเหตกุ ารณ์ อาการ ความรู้สกึ ในเรื่องน้นั เพียงเลก็ นอ้ ย

หรอื เหน็ ดว้ ยกับเร่ืองน้ัน ๆ เพียงเลก็ นอ้ ย
มาก หมายถึง เคยมีเหตุการณ์ อาการ ความรู้สึกในเร่ืองนั้น ๆ มาก หรือเห็นด้วย

กบั เรื่องนน้ั ๆ มาก
มากทสี่ ุด หมายถึง เคยมีเหตกุ ารณ์ อาการ ความรูส้ กึ ในเรอ่ื งน้ัน ๆ มากท่ีสุด

หรอื เหน็ ดว้ ยกับเรอื่ งนั้น ๆ มากทส่ี ุด

และเมือ่ รวมคะแนนทกุ ขอ้ แลว้ จะต้องนามาเปรยี บเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนด ดังน้ี
คะแนน ๓๓ - ๔๕ คะแนน หมายถึง มีความสุขมากกว่าคนทั่วไป (Good)
คะแนน ๒๗ - ๓๒ คะแนน หมายถงึ มคี ะแนนความสุขเท่ากับคนท่วั ไป (Fair)
คะแนน ๒๖ คะแนน หรอื นอ้ ยกวา่ หมายถงึ มคี ะแนนความสุขเท่ากับคนท่วั ไป (Poor)

ตารางท่ี ๔ แสดงรายการประเมินตามแบบ Happiness Indicators (THI - ๑๕)

ข้อท่ี รายการประเมิน กลุ่มที่ ๑ 7
1 ท่านรูสกึ วา่ ชีวติ มคี วามสุข 15
2 ท่านภูมใิ จในตนเอง 12456
3 ทา่ นตองไปรกั ษาพยาบาลอยเู่ สมอ เพ่ือใ สามารถดาเนนิ ชวี ิตและทางานได 9 10 11 13 14
4 ท่านพงึ พอใจรูปร่าง นาตาของท่าน
5 ท่านมสี มั พนั ธภาพทด่ี กี บั เพอ่ื นร่วมงาน ให้คะแนนแตล่ ะข้อ ดงั นี้
6 ทา่ นรูสกึ ประสบความสาเร็จและความกาว นาในชวี ติ ไม่เลย ให้ ๐ คะแนน
7 ทา่ นมนั่ ใจทจี่ ะเผชญิ กบั เ ตกุ ารณร์ ายแรงทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชวี ติ เล็กน้อย ให้ ๑ คะแนน
8 ถาส่ิงตา่ ง ๆ ไมเ่ ปน็ ไปตามทคี่ าด วงั จะรูสกึ งดุ งดิ มาก ให้ ๒ คะแนน
9 ท่านปฏิบตั กิ จิ วตั รประจาวนั ตา่ ง ๆ ดวยตวั เอง มากทส่ี ดุ ให้ ๓ คะแนน
10 ทา่ นรูสึกเป็นสขุ ในการชว่ ยเ ลอื ผูอนื่ ทมี่ ปี ัญ า
11 ท่านมคี วามสุขกับการรเิ รมิ่ งานใ ม่ ๆ และมงุ่ ม่ันท่ีจะทาใ สาเรจ็ กลุ่มท่ี ๒
12 ท่านรูสกึ วา่ ชีวติ ของทา่ นไรคา่ ไมม่ ปี ระโยชน์
13 ทา่ นมเี พอ่ื น รือญาตพิ นี่ องคอยชว่ ยเ ลอื ทา่ นในยามทตี่ องการ 3 8 12
14 ท่านมนั่ ใจวา่ ชุมชนทท่ี า่ นอยู่อาศยั มคี วามปลอดภัยตอ่ ท่าน
15 ท่านมโี อกาสไดพกั ผอ่ นคลายเครียด ใหค้ ะแนนแต่ละข้อ ดังน้ี
ไม่เลย ให้ ๓ คะแนน
เลก็ นอ้ ย ให้ ๒ คะแนน
มาก ให้ ๑ คะแนน
มากทส่ี ุด ให้ ๐ คะแนน

รายงาน Happiness Indicators สานักงานศาลปกครองสพุ รรณบรุ ี นา 7

การอธิบายผลการวัดระดับความสุข จาแนกตามเพศ ช่วงอายุ รายได้ อายุงาน ตาแหน่ง และค่าเฉลี่ย
ระดับคะแนนความสุข สรุปไดด้ ังน้ี

๓.๒.๑ ระดับคะแนนความสุข จาแนกตามเพศ พบว่าระดับคะแนนความสุขเพศหญิง ๓๑.๑๙ คะแนน

เพศชาย ๒๙.๘๔ คะแนน สรุปได้ว่าผู้ตอบเพศหญิงมีระดับคะแนนความสุขมากกว่าเพศชาย และอยู่ในเกณฑ์

ความสุขระดบั Fair หรือเท่ากบั คนทั่วไป ทัง้ เพศชายและเพศหญิง Fair

แผนภูมิที่ ๓ แสดงระดับคะแนนความสุข จาแนกตามเพศ

Fair

คา่ เฉล่ยี 30.52 คะแนน

๓.๒.๒ ระดับคะแนนความสุข จาแนกตามช่วงอายุ พบว่าช่วงอายุของผู้ตอบที่มีระดับคะแนนความสุข

มากท่ีสุด คือ Generation Z (น้อยกว่า ๒๗ ปี) ๓๗.๐๐ คะแนน รองลงมา คือ Baby Boomer หรือช่วงอายุมากกว่า

๕๒ ปี ๓๐.๓๔ คะแนน Generation X (๓๘ - ๕๒ ปี) ๓๐.๓๔ คะแนน และ Generation Y (๒๗ - ๓๗ ปี)

แผนภูมิท่ี ๔ แสดงระดบั ความสขุ จาแนกตามชว่ งอายุ ๒๙.๙๒ คะแนน ตามลาดับ
สรุปได้ว่า Generation Z มีระดับ
Good
คา่ เฉลี่ย ๓๒.๑๓ คะแนน คา่ เฉล่ยี ๓๒.๑๓ คะ แน น ค ว า มสุ ข ม า ก ที่ สุ ด
Fair คะแนน โ ด ย อ ยู่ ใ น เ ก ณ ฑ์ ค ว า ม สุ ข
Fair ร ะ ดั บ Good หรื อ มากกว่ า
Fair

คนท่ัวไป และ Generation Y

มี ร ะ ดั บ ค ะ แ น น ค ว า ม สุ ข

น้อ ยท่ี สุ ด โ ดย อ ยู่ใ น เก ณ ฑ์

ค ว า ม สุ ข ร ะ ดั บ Fair ห รื อ

เทา่ กับคนท่วั ไป

(อายุมากกว่า ๕๒ ป)ี (อายุ ๓๘ - ๕๒ ป)ี (อายุ ๒๗ - ๓๗ ปี) (อายุน้อยกวา่ ๒๗ ป)ี

รายงาน Happiness Indicators สานักงานศาลปกครองสุพรรณบรุ ี นา 8

๓.๒.๓ ระดับคะแนนความสุข จาแนกตามรายได้ พบว่าผู้ตอบที่มีระดับคะแนนความสุขมากท่ีสุด คือ
รายได้ระหว่าง ๓๐,๐๐๐ - ๔๐,๐๐๐ บาท ๓๓.๘๒ คะแนน รองลงมา คือ รายได้มากกว่า ๕๐,๐๐๐ บาท
๓๑.๖๔ คะแนน รายได้ระหว่าง ๔๐,๐๐๑ - ๕๐,๐๐๐ บาท ๒๙.๕๗ คะแนน และรายได้ต่ากว่า
๓๐,๐๐๐ บาท ๒๙.๔๔ คะแนน ตามลาดับ สรุปได้ว่าผู้ตอบที่มีรายได้ระหว่าง ๓๐,๐๐๐ - ๔๐,๐๐๐ บาท
มีระดับคะแนนความสุขมากที่สุด โดยอยู่ในเกณฑ์ความสุขระดับ Good หรือมากกว่าคนท่ัวไป และผู้ท่ี
มีรายได้ต่ากว่า ๓๐,๐๐๐ บาท มีระดับคะแนนความสุขน้อยท่ีสุด โดยอยู่ในเกณฑ์ความสุขระดับ Fair
หรอื ความสขุ เท่ากับคนทั่วไป

แผนภูมิท่ี ๕ แสดงระดบั ความสขุ จาแนกตามรายได้

Good

ค่าเฉล่ีย ๓๑.๑๒ คะแนน Fair

Fair Fair

๓.๒.๔ ระดับคะแนนความสุข จาแนกตามอายุงาน พบว่าผู้ตอบที่มีอายุงานระหว่าง ๑๖ - ๒๐ ปี
มีระดับคะแนนความสุขมากที่สุด ๓๓.๒๕ คะแนน รองลงมา คือ ๕ - ๑๐ ปี ๓๐.๖๐ คะแนน น้อยกว่า ๕ ปี
๓๐.๕๐ คะแนน ๑๑ - ๑๕ ปี ๓๐.๐๐ คะแนน และมากกว่า ๒๐ ปี ๒๙.๘๙ คะแนน สรุปได้ว่า ผู้ตอบท่ีมีอายุงาน
ระหว่าง ๑๖ - ๒๐ ปี มีระดับคะแนนความสุขมากท่ีสุด โดยอยู่ในเกณฑ์ความสุขระดับ Good หรือมากกว่า
คนทั่วไป และผู้ตอบท่ีมีอายุงานมากกว่า ๒๐ ปี มีระดับคะแนนความสุขน้อยท่ีสุด โดยอยู่ในเกณฑ์ความสุข
ระดับ Fair หรือความสขุ เทา่ กับคนทว่ั ไป

แผนภูมิที่ ๖ แสดงระดับความสขุ จาแนกตามอายุงาน

Good

Fair Fair คา่ เฉล่ีย 30.๘๕ คะแนน
Fair
Fair

รายงาน Happiness Indicators สานกั งานศาลปกครองสพุ รรณบรุ ี นา 9

๓.๒.๕ ระดับคะแนนความสุข จาแนกตามตาแหน่ง พบว่าตาแหน่งของผู้ตอบที่มีระดับคะแนน

ความสขุ มากทสี่ ดุ ๓ ลาดับแรก ได้แก่ พนกั งานดูแลสวน ๓๒.๕๐ คะแนน รองลงมา คอื เจ้าหน้าท่ศี าลปกครอง

๓๒.๔๕ คะแนน และตุลาการศาลปกครองกับตารวจประจาศาลในระดับคะแนนท่ีเท่ากัน ๓๒.๐๐ คะแนน

สาหรับผู้ตอบที่มีระดับ แผนภูมทิ ่ี ๗ แสดงระดบั ความสขุ จาแนกตามตาแหน่ง

คะแนนความสุขน้อยที่สุด ระดบั ความสุขอยใู่ นเกณฑ์ Fair ทุกตาแหน่ง
๓ ล า ดั บ แ ร ก ไ ด้ แ ก่
เ จ้ า พ นั ก ง า น ธุ ร ก า ร คา่ เฉล่ีย ๓๐.๗๓ คะแนน

๒๘.๗๕ คะแนน รองลงมา

คือ พนักงานทาความสะอาด

กั บ พ นั ก ง า น ร า ช ก า ร

ศาลปกครอง (นายช่ าง

ไ ฟ ฟู า น า ย ช่ า ง โ ย ธ า

พ นั ก ง า น ขั บ ร ถ ย น ต์ )

ในระดั บคะแนนท่ี เท่ ากั น

๒๙.๐๐ คะแนน และ

เจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัย ๒๙.๗๓ คะแนน สรุปได้ว่าผู้ตอบตาแหน่งพนักงานดูแลสวนมีระดับ

คะแนนความสุขมากท่ีสุด และผู้ตอบตาแหน่งเจ้าพนักงานธุรการมีระดับคะแนนความสุขน้อยที่สุด ท้ังนี้

หากจาแนกผูต้ อบทเี่ ป็นบุคลากรภายในพบว่าตาแหน่งเจ้าหน้าที่ศาลปกครองมีระดับคะแนนความสุขมากที่สุด

และผู้ตอบที่เป็นบุคลากรภายนอกพบว่าตาแหน่งพนักงานทาความสะอาดมีระดับคะแนนความสุขน้อยท่ีสุด

โดยทกุ ตาแหน่งอยใู่ นเกณฑ์ความสุขระดับ Fair หรอื เทา่ กบั คนทั่วไป

ตารางท่ี ๕ แสดงระดับคะแนนความสขุ จาแนกตามตาแหนง่

ลาดับ กลุ่มตาแหน่ง คะแนนความสขุ มากกวา่ คนท่ัวไป เกณฑ์การพจิ ารณา
ท่ี (คะแนน) (Good) เท่ากบั คนทัว่ ไป นอ้ ยกว่าคนท่ัวไป

1 พนักงานดแู ลสวน 32.50 33 - 45 คะแนน (Fair) (Poor)
2 เจา้ หนา้ ทีศ่ าลปกครอง 32.45 27 - 32 คะแนน นอ้ ยกว่า ๒๖ คะแนน
3 ตุลาการศาลปกครอง 32.00
4 ตารวจประจาศาล 32.00 
5 พนักงานคดีปกครอง 31.00
6 พนักงานราชการศาลปกครอง 30.73 

(บรรณารักษ์ เลขานุการฯ พนักงานธุรการ 
พนกั งานหน้าบลั ลงั ก์ พนักงานเดินหมาย)

7 เจ้าหนา้ ทรี่ ักษาความปลอดภัย
8 พนักงานราชการศาลปกครอง 

(นายชา่ งคอมพวิ เตอร์ นายช่างไฟฟูา 
นายชา่ งโยธา และพนักงานขบั รถยนต์)
29.83 
9 พนักงานทาความสะอาด 29.00 
๑๐ เจ้าพนักงานธรุ การ
29.00 
28.75 

รายงาน Happiness Indicators สานกั งานศาลปกครองสุพรรณบรุ ี นา 10

๓.๒.๖ ระดับคะแนนความสุขตามแบบ Happiness Indicators พบว่า รายการประเมินท่ีมีระดับคะแนน

ความสุขมากที่สุด ๓ ลาดับแรก ได้แก่ ข้อ 12 ความรู้สึกว่าชีวิตไร้ค่า ไม่มีประโยชน์ ๒.๖๗ คะแนน ข้อ 9 การปฏิบัติ

กิจวัตรประจาวันต่าง ๆ ด้วยตัวเอง 2.32 คะแนน และ ข้อ 11 ความสุขกับการริเริ่มงานใหม่ ๆ และมุ่งม่ัน

ทีจ่ ะทาให้สาเร็จ 2.28 คะแนน สาหรับรายการประเมินที่มีระดับคะแนนความสุขน้อยที่สดุ ๓ ลาดับแรก ได้แก่

ข้อ 6 การประสบความสาเร็จและความก้าวหน้าในชีวิต 1.72 คะแนน ข้อ 13 การมีเพื่อนหรือญาติพี่น้อง

คอยช่วยเหลือท่านในยามท่ีต้องการ 1.75 คะแนน และ ข้อ 4 ความพึงพอใจรูปร่างหน้าตา 1.77 คะแนน

แผนภมู ิท่ี ๘ แสดงระดบั คะแนนความสขุ ตามแบบ Happiness Indicators สรุปได้ว่าผู้ตอบส่วนใหญ่ไม่ได้รู้สึกว่า

ชีวิตไร้ค่า ไม่มีประโยชน์ แต่ต้องการ

ประสบความสาเร็จและความก้าวหน้า

ในชีวิตมากท่ีสุด และเม่ือรวมคะแนน

ค ว า ม สุ ข ต า ม แ บ บ Happiness

ผลรวมระดับคะแนนความสุข ๓๐.๖๔ (ระดับ Fair) Indicators สรุปได้ว่าค่าเฉลี่ยระดับ

คะแนนความสุขของผู้ตอบเท่ากับ
ขอ้ คาถาม ๓๐.๖๔ (ระดับ Fair) หรือมีความสุข

เท่ากับคนท่ัวไป

ตารางที่ ๖ แสดงระดบั คะแนนความสุขตามแบบ Happiness Indicators

ลาดับที่ ข้อท่ี รายการประเมนิ คะแนนเฉลีย่

๑ 12 ความรู้สกึ วา่ ชวี ติ ไรค้ า่ ไม่มีประโยชน์ 2.67
2.32
๒ 9 การปฏิบัตกิ จิ วัตรประจาวันต่าง ๆ ดว้ ยตัวเอง 2.28
2.26
๓ 11 ความสขุ กบั การริเร่ิมงานใหม่ ๆ และมุง่ ม่ันทีจ่ ะทาใหส้ าเรจ็ 2.2๐
2.11
๔ 10 ความรสู้ กึ เปน็ สขุ ในการชว่ ยเหลือผอู้ ่นื ท่ีมีปญั หา 2.08
1.95
๕ 3 การตอ้ งไปรักษาพยาบาลอยู่เสมอ เพื่อให้สามารถดาเนินชีวติ และทางานได้ 1.93

๖ 14 ความมน่ั ใจวา่ ชุมชนทที่ า่ นอยูอ่ าศยั มีความปลอดภยั ตอ่ ทา่ น 1.9๐

๗ 5 การมีสมั พันธภาพท่ดี ีกบั เพือ่ นรว่ มงาน 1.84
1.83
๘ 2 ความภูมใิ จในตนเอง 1.77
1.75
๙ 7 ความม่นั ใจทจ่ี ะเผชิญกบั เหตุการณร์ า้ ยแรงที่เกิดข้นึ ในชีวติ 1.72
๓๐.๖๔
๑๐ 1 ความรสู้ กึ ว่าชีวิตมคี วามสุข คะแนน

๑๑ 15 การมีโอกาสไดพ้ ักผ่อนคลายเครียด

๑๒ 8 ถ้าสิง่ ต่าง ๆ ไมเ่ ป็นไปตามทคี่ าดหวัง จะรู้สึกหงุดหงิด

๑๓ 4 ความพงึ พอใจรปู ร่างหนา้ ตา

๑๔ 13 การมีเพ่ือนหรือญาติพีน่ ้องคอยช่วยเหลอื ทา่ นในยามท่ตี อ้ งการ

๑๕ 6 การประสบความสาเร็จและความก้าวหน้าในชวี ิต

คา่ เฉล่ียคะแนนความสขุ
(ระดบั Fair)

รายงาน Happiness Indicators สานกั งานศาลปกครองสุพรรณบรุ ี นา 11

หากพิจารณาผลการสารวจตามแบบ Happiness Indicators เพิ่มเติมเพื่อวิเคราะห์ตาแหน่งงานท่ีมี
ระดับคะแนนความสุขน้อยทส่ี ดุ จาแนกตามเพศ ช่วงอายุ รายได้ และอายงุ าน สรปุ ได้ดงั นี้

๑) เพศ ซง่ึ ผู้ตอบเพศชายมีระดับคะแนนความสุขน้อยกว่าเพศหญิงนั้น เม่ือวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ิมเติมพบว่า
ตาแหน่งของเพศชายท่ีมีระดับคะแนนความสุขน้อยท่ีสุด ๓ ลาดับแรก ได้แก่ พนักงานราชการศาลปกครอง
(นายช่างคอมพิวเตอร์ นายช่างไฟฟูา นายช่างโยธา พนักงานขับรถยนต์) 27.80 คะแนน รองลงมา คือ พนักงาน
คดีปกครอง 27.83 คะแนน และพนักงานราชการศาลปกครอง (บรรณารักษ์ เลขานุการประจาองค์คณะ
พนกั งานธรุ การ พนักงานหนา้ บัลลงั ก์ พนักงานเดินหมาย) 28.๐๐ คะแนน

๒) ช่วงอายุ ซ่ึงผู้ตอบท่ีเป็น Generation Y (๒๗ – ๓๗ ปี) มีระดับคะแนนความสุขน้อยที่สุดน้ัน
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลเพิ่มเติมพบว่าตาแหน่งท่ีมีระดับคะแนนความสุขน้อยท่ีสุด ๓ ลาดับแรก ได้แก่ เจ้าหน้าท่ี
ศาลปกครอง 27.00 คะแนน รองลงมา คือพนักงานทาความสะอาด 27.67 คะแนน และพนักงานราชการ
ศาลปกครอง (นายชา่ งคอมพิวเตอร์ นายช่างไฟฟาู นายชา่ งโยธา พนกั งานขบั รถยนต์) 29.50 คะแนน

๓) รายได้ ซึ่งผู้ตอบที่มีรายได้น้อยกว่า ๓๐,๐๐๐ บาท มีระดับคะแนนความสุขน้อยท่ีสุด นั้น
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลเพิ่มเติมพบว่าตาแหน่งที่มีระดับคะแนนความสุขน้อยท่ีสุด ๓ ลาดับแรก ได้แก่ เจ้าพนักงาน
ธุรการ 28.75 คะแนน รองลงมา คือ พนักงานทาความสะอาดกับพนักงานราชการศาลปกครอง (พนักงาน
ขบั รถยนต์) ซ่ึงมคี ะแนนเท่ากัน 29.00 คะแนน และ รปภ. 29.25 คะแนน

๔) อายุงาน ซึ่งผู้ตอบที่มีอายุงานมากกว่า ๒๐ ปี มีระดับคะแนนความสุขน้อยที่สุด นั้น เม่ือวิเคราะห์
ข้อมูลเพ่ิมเติมพบว่าตาแหน่งที่มีระดับคะแนนความสุขน้อยที่สุด ๓ ลาดับแรก ได้แก่ เจ้าพนักงานธุรการ
22.00 คะแนน พนักงานราชการศาลปกครอง (กลุ่มนายช่างคอมพิวเตอร์ นายช่างไฟฟูา นายช่างโยธา พนักงาน
ขับรถยนต์) ๒๕.๐๐ คะแนน และ รปภ. 29.50 คะแนน

๕) ตาแหน่ง ผู้ตอบตาแหน่งเจ้าพนักงานธุรการมีระดับคะแนนความสุขน้อยที่สุด ๒๘.๗๕ คะแนน
รองลงมา คือ พนักงานทาความสะอาดกับพนักงานราชการศาลปกครอง (กลุ่มนายช่างคอมพิวเตอร์ นายช่างไฟฟูา
นายชา่ งโยธา พนักงานขบั รถยนต)์ โดยมีคะแนนเท่ากัน ๒๙.๐๐ คะแนน และ รปภ. 29.50 คะแนน

ตารางท่ี ๗ แสดงตาแหนง่ ท่ีมีระดบั คะแนนความสุขนอ้ ยท่ีสดุ

รายการท่มี ี ตาแหนง่ ทม่ี รี ะดบั คะแนนความสุขนอ้ ยทส่ี ุด ๓ ลาดบั แรก
ระดับคะแนนความสุข
พนกั งาน เจา้ หน้าที่ เจ้า กล่มุ นายช่าง กลุม่ บรรณารกั ษ์ พนกั งาน รปภ.
น้อยท่สี ดุ คดปี กครอง ศาลปกครอง คอมพิวเตอร์ เลขานุการประจาองคค์ ณะ ทาความ
เพศ ชาย พนกั งาน นายชา่ งโยธา สะอาด 
 ธุรการ พนกั งานขบั รถยนต์ พนกั งานธุรการ
ช่วงอายุ Gen Y (๒๗ – ๓๗ ป)ี พนกั งานหนา้ บลั ลังก์ ๒๙.๒๕
๒๗.๘๓  พนกั งานเดนิ หมาย คะแนน (๓)
รายได้ นอ้ ยกว่า ๓๐,๐๐๐ บาท คะแนน (๒)
 
อายงุ าน มากกว่า ๒๐ ปี
27.80 ๒๘.๐๐ ๒๙.๕๐
ตาแหนง่ เจ้าพนักงานธุรการ คะแนน (๓)
คะแนน (๑) คะแนน (๓)

 
๒๙.๕๐
๒๗.๐๐ ๒๙.๕๐ ๒๗.๖๗ คะแนน (๓)
คะแนน (๑) คะแนน (๓) คะแนน (๒)

  

๒๘.๗๕ ๒๙.๐๐ ๒๙.๐๐
คะแนน (๑) คะแนน (๒) คะแนน (๒)

 

๒๒.๐๐ ๒๕.๐๐ 
คะแนน (๑) คะแนน (๒)

 

๒๘.๗๕ ๒๙.๐๐ ๒๙.๐๐
คะแนน (๑) คะแนน (๒) คะแนน (๒)

รายงาน Happiness Indicators สานักงานศาลปกครองสุพรรณบรุ ี นา 12

๓.๓ ปจั จยั ทม่ี ีผลตอ่ ความสุข

การสารวจปัจจัยที่มีผลต่อความสุขกาหนดรายการประเมิน ๑๐ ปัจจัย ได้แก่ ๑) ลักษณะงาน

๒) สวัสดิการ/ส่ิงอานวย แผนภมู ทิ ี่ ๙ ปจั จัยท่ีมีผลต่อความสุข
ความสะดวก ๓) เพ่ือน

ร่วมงาน ๔) ผู้บังคับบัญชา

๕) การเงิน ๖) เศรษฐกิจ

สังคม และเทคโนโลยี

สารสนเทศ ๗) ครอบครัว

๘) การเรียนรู้และพัฒนา

๙) ความก้าวหน้าในตาแหน่ง

และ ๑๐) ตัวตนของ

ตนเอง โดยแบ่งตัวเลือก

เป็น ๔ ระดับ ไดแ้ ก่ ไม่เลย

เล็กน้อย มาก และมากทสี่ ุด

ตารางที่ ๘ แสดงปัจจัยทีม่ ีผลตอ่ ความสุข

ท่ี รายการทปี่ ระเมิน จานวนคน ร้อยละ
46 75.41 ผลการสารวจพบว่า ปัจจัยท่ีผู้ตอบ
๑ ผูบ้ งั คบั บญั ชา 46 75.41 แสดงความคิ ดเห็ นในระดั บมาก
ครอบครัว 45 73.77 ถึงมากที่สุด ๓ ลาดับแรก ได้แก่ ปัจจัย

๒ ตวั ตนของตนเอง

๓ ความกา้ วหน้าในตาแหนง่ 44 72.13 ด้ านผู้ บั งคั บบั ญชากั บปั จจั ยด้ าน

๔ ลกั ษณะงาน 42 68.85 ครอบครัว ๔๖ คน มีระดบั คะแนนเท่ากัน

การเรยี นร้แู ละพัฒนา 42 68.85 คิดเป็นร้อยละ ๗๕.๔๑ รองลงมา คือ

๕ เพือ่ นร่วมงาน 41 67.21 ปัจจัยด้านตัวตนของตนเอง ๔๕ คน

๖ การเงนิ 40 65.57 คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๗๗ และปัจจัย
๗ สวัสดิการ/ส่งิ อานวยความสะดวก 38 62.30 ด้านความก้าวหน้าในตาแหน่ง ๔๔ คน
คิดเป็นร้อยละ ๗๒.๑๓ สาหรับ
เศรษฐกจิ สงั คม และเทคโนโลยีสารสนเทศ 38 62.30

ปัจจัยที่มีผลต่อความสุขน้อยที่สุด คือ ปัจจัยด้านสวัสดิการ/สิ่งอานวยความสะดวกกับปัจจัยด้านเศรษฐกิจ

สังคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ ๓๘ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๖๒.๓๐

๓.๔ ความเหน็ เพิ่มเตมิ

ผู้ตอบมีความเห็นเพิ่มเติมว่าควรมีแนวทางส่งเสริมการเพิ่มรายได้ (๑ ความเห็น) สามัคคี คือพลัง
คานี้ใช้ได้ในทุกที่ ทุกสถานการณ์ และทาให้ได้ทุกคน (๑ ความเห็น) และผู้บังคับบัญชายังขาดความชานาญ
ในการบริหารจัดการงาน (๑ ความเห็น)

รายงาน Happiness Indicators สานกั งานศาลปกครองสพุ รรณบรุ ี นา 13

สว่ นท่ี ๔
บทวเิ คราะหผ์ ลการสารวจกบั ผลงานวิจยั ที่เกย่ี วขอ้ ง

การสารวจความสุข (Happiness Indicators) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ของสานักงาน
ศาลปกครองสุพรรณบุรี ทาให้มีข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับเพศ ช่วงอายุ รายได้ อายุงาน ตาแหน่ง ระดับความสุข
และปัจจัยที่มีผลต่อความสุข ซึ่งได้ทาการศึกษาวิเคราะห์ผลการสารวจกับผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องเพ่ิมเติม
สรปุ ไดด้ งั นี้

๔.๑ การวเิ คราะห์ความสุขจาแนกตามเพศ

การสารวจความสุขจาแนกตามเพศพบว่า เพศหญิงมีระดับคะแนนความสุขมากกว่าเพศชาย
สอดคล้องกับผลสารวจความสุขของคนทางานในองค์กรระดับประเทศพบว่า คนทางานเพศหญิงมีคะแนน
ความสุขสูงกว่าคนทางานเพศชาย (สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2561) และมีผลงานวิจัยพบว่าฮอร์โมนเพศหญิง
ให้ระบบภูมิคุ้มกันแบคทีเรียและไวรัสได้อย่างดี มีภูมิคุ้มกันดีกว่า ทนความเจ็บปวดได้มากกว่า รับมือกับ
ความเครียดได้ดีกว่า ใช้เวลาปุวยน้อยกว่า และรู้สึกไม่สบายตัวน้อยกว่า (สรุปจากราโมนา สก็อตแลนด์, ม.ป.ป.
และเลด้ี เมเนเจอร์, 2558) โดยเฉพาะผู้หญิงโสดจะมีความสุข สุขภาพดี และอายุยืนมากกว่าผู้หญิงท่ีแต่งงาน
แล้ว (Deloitte, 2019 อ้างถึงใน Cashay, themuse, Forbes, 2020) ดังนั้น มีแนวโน้มว่าเพศหญิงจะมี
ความสขุ มากกวา่ เพศชาย โดยมีประเดน็ ทน่ี า่ สนใจว่าเพราะเหตุใดเพศชายจึงมีความสุขน้อยกว่าเพศหญิง จึงได้
ศกึ ษาเพมิ่ เตมิ พบความแตกต่างความผิดปกติทางใจของเพศชายที่มีมากกว่าเพศหญิงหลายประการ ได้แก่ โรค
สมาธิส้ัน ภาวะการเรียนรู้บกพร่อง การใช้สารเสพติด โรคจิตเภท การฆ่าตัวตาย และความผิดปกติทางใจจาก
การด่ืมสุรา นอกจากน้ี เพศชายยังมีความเครียดที่พบบ่อย คือ การถูกท้าทายในความสามารถของตนเอง
โดยเฉพาะสังคมทผ่ี หู้ ญิงเรม่ิ ไดร้ ับการยอมรบั มีบทบาททางานนอกบ้านร่วมกับเพศชาย และภาวะท่ีสังคมท่ัวโลกมี
ปัญหาเศรษฐกิจ ทาให้เพศชายร้สู ึกว่าตนเองไม่สามารถเป็นผู้นาครอบครัวได้ รู้สึกไร้ความสามารถ ไม่ได้รับการ
ยอมรับ นามาสู่การเกิดความเครียด และเม่ือเผชิญปัญหาเพศชายมักจะใช้วิธีจัดการท่ีตรงข้ามกับเพศหญิง คือ
เก็บความรู้สึกไว้ภายใน ไม่ค่อยพูด เพราะสังคมคาดหวังว่าเพศชายต้องเข้มแข็ง ไม่อ่อนแอ มักใช้วิธีการเผชิญ
กับปัญหาโดยตรง เล่นกีฬา ด่ืมเหล้า ใช้สารเสพติด หรือที่รุนแรงคือหนีปัญหาด้วยการฆ่าตัวตาย ประกอบกับ
เพศชายมักจะแสดงให้เห็นว่าเร่ิมมีปัญหาสุขภาพทางใจท่ีบุคคลภายนอกสังเกตได้ง่าย คือ ก้าวร้าว รุนแรง
บกพรอ่ งในหน้าท่กี ารงาน หยา่ รา้ ง ลักขโมย ทาผิดกฎหมาย มีหน้ีสิน และค่านิยมการดื่มเหล้าซ่ึงเป็นเรื่องปกติ
สาหรบั เพศชาย ทาใหม้ ีความเส่ยี งต่อปญั หาสุขภาพ มปี ญั หาเรอ่ื งสมั พันธภาพกบั คู่สมรส โดยผู้ท่ีไม่เคยแต่งงาน
หรือผ่านการหย่าร้างจะมีปัญหาทางสุขภาพมากกว่าเพศหญิง เน่ืองจากต้องพ่ึงพาเพศหญิงเร่ืองอาหารการกิน
ตลอดจนงานบา้ นทาให้ไมส่ ามารถดูแลตนเองได้ (สรปุ จากสมพร รงุ่ เรืองกลกิจ, 2553)

๔.๒ การวิเคราะห์ความสุขจาแนกตามช่วงอายุ

การสารวจระดับความสุขจาแนกตามช่วงอายุ หรือ Generation พบว่า Gen Z (น้อยกว่า ๒๗ ปี)
มีระดบั คะแนนความสุขมากที่สุด และ Gen Y (๒๗ – ๓๗ ปี) มีระดับคะแนนความสุขน้อยท่ีสุด จากการศึกษา
พบว่า Gen Z เติบโตมาพร้อมกับสิ่งอานวยความสะดวก มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ เรียนรู้ได้
รวดเร็ว และอยู่กับส่ือดิจิทัลโดยกาเนิด (ธิติมา ไชยมงคล, ๒๕๖๒) รวมท้ังใช้เทคโนโลยีขับเคล่ือนชีวิต เชื่อว่า
เทคโนโลยีและระบบอัตโนมัติจะสร้างสภาพแวดล้อมการทางานท่ีมีความเสมอภาคมากข้ึน เป็นเคร่ืองมือ
ในการปูองกันไม่ให้เกิดอคติและการแบ่งแยกอย่างได้ผล (TCDC, 2019) ซึ่งองค์กรปัจจุบันมุ่งเน้นรูปแบบ
การดาเนินงานตามฐานวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) เน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือลดข้ันตอนงาน

รายงาน Happiness Indicators สานกั งานศาลปกครองสุพรรณบรุ ี นา 14

เพ่ิมความสะดวก และรวดเร็วในการปฏิบัติงาน อาจทาให้ตอบสนองความต้องการ Gen Z ได้ดี สาหรับ Gen Y
เป็นช่วงอายุท่ีมีแนวคิดเป็นตัวของตัวเอง ทาในสิ่งท่ีชอบ ปฏิเสธสิ่งท่ีไม่ชอบ ต้องการความชัดเจนในการทางาน
คาดหวังเงินเดือนสูง คาดหวังคาชม และต้องการสร้างสมดุลเวลา เช่น หลังเลิกงานทากิจกรรมให้ความสุขกับ
ตัวเอง พบปะเพ่ือนฝูง หากไม่ได้รับสิ่งที่คาดหวัง อาจจะมีผลต่อความรู้สึกมาก และคนท่ีเพิ่งเข้าวัยทางาน
เร่ิมแรกจะมีความสุขระดับหน่ึง แต่พอเข้าสู่ช่วงอายุท่ีมากข้ึนพบว่ามีความสุขน้อยท่ีสุด เพราะมี
ความรับผิดชอบมากข้ึน เช่น ซื้อบ้าน ซื้อรถ และแต่งงานมีครอบครัว (สรุปจากเฉลิมพล แจ่มจันทร์, ๒๕๕๙)
นอกจากนี้ มีงานวิจัยพบว่า Gen Y กับ Gen Z มีความแตกต่างในหลายประเด็น เช่น Gen Y มีทัศนคติ
การทางานกับองค์กรมากกว่าทางานเพ่ือองค์กร แต่ Gen Z มีแนวโน้มที่จะมีความภักดีกับองค์กรมากกว่า
การใช้ส่ือสังคมออนไลน์ของ Gen Y ใช้เพ่ือการส่ือสารแบบเปิดเผย แบ่งปันข้อมูลกับคนอ่ืน แต่ Gen Z
ใช้ในการสื่อสารแบบเป็นส่วนตัว แม้ว่าท้ังสองกลุ่มจะมีช่วงอายุที่ต่อเน่ืองกันก็ตาม (สรุปจากพัชสิรี ชมพูคา
และณัฐธิดา จักรภีร์ศิริสุข, ๒๕๖๓) ทั้งน้ี Gen Z มีโอกาสที่จะลาออกหรือเปล่ียนงานได้ง่าย เน่ืองจากคิดและ
ตัดสินใจเรว็ อายุยังนอ้ ย และมีทางเลอื กในการทางานมากกวา่

๔.๓ การวิเคราะห์ความสุขจาแนกตามรายได้

การสารวจความสุขจาแนกตามรายได้พบว่า ผู้ตอบที่มีรายได้ระหว่าง ๓๐,๐๐๐ - ๔๐,๐๐๐ บาท
มีระดับคะแนนความสุขมากที่สุด และผู้ตอบท่ีมีรายได้น้อยกว่า ๓๐,๐๐๐ บาท มีคะแนนระดับความสุข
น้อยท่ีสุด จากการศึกษาผลงานวิจัยพบว่านักศึกษาจบใหม่กว่า 2 ใน 3 เลือกเรียนในสิ่งที่จะได้เงินเดือนดี
ในอนาคต กลุ่มคนรุ่นใหม่ และ Gen Z มีความต้องการที่จะมีเงินเดือนสูง แสวงหาความม่ันคงมากที่สุด
เป็นอันดับแรก ๆ ของความต้องการในชีวิต ขณะที่ 1 ใน 3 ไม่เลือกเช่นน้ัน เมื่อก่อนงานท่ีรายได้ดี ไม่ว่าคนรุ่นใด
ก็เลือกทางานท่ีได้เงินเดือนดี แต่ปัจจุบันอาจไม่ใช่ เพราะการทางานท่ีไม่ชอบ ไม่สนุกกับงาน หรือไม่ได้
สนใจงานน้ันจริง ๆ ทาให้ชีวิตไม่มีความสุข แม้ว่างานน้ันจะให้เงินเดือนสูงก็ตาม (Deloitte, 2019 อ้างถึงใน
Cashay,themuse,Forbes, 2020) สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Frederick K.Herzberg and Others
ที่สรุปไว้ว่าความสุขจากการทางานน้ันเกิดจากความพึงพอใจ หรือไม่พึงพอใจในงานท่ีทา และมีสาเหตุมาจาก
ปัจจัยสองกลุ่ม คือปัจจัยจูงใจ (Motivational Factors) และปัจจัยค้าจุน (Maintenance or Hygiene
Factors) ได้แก่ ค่าตอบแทน สวัสดิการ หรือผลประโยชน์ที่ได้รับเหมาะสมกับงานที่ทา (Frederick K. Herzberg
and Others อ้างถึงในศิรินธร สายสุนทร และคณะ, ๒๕๕๘) ดังน้ัน มีแนวโน้มว่าผู้มีรายได้สูงอาจจะไม่ใช่ผู้ที่มี
ความสุขมากท่ีสุดเสมอไป แต่อย่างไรก็ดี ถ้าผู้มีรายได้น้อยได้รับการพัฒนาความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น มีแนวโน้มว่า
จะมีความสุขเพิ่มข้ึน เน่ืองจากรายได้หรือเงินเดือนมีผลต่อการดารงชีวิตของผู้มีรายได้น้อยอย่างมาก
โดยเฉพาะในสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ปัจจุบันที่เปลี่ยนแป ลงไป เน่ืองจากรายได้ท่ีสูงข้ึน
จะช่วยพัฒนาความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น จะมีทางเลือกในการใช้ชีวิตมากขึ้น ความสุขที่เพ่ิมขึ้นสัมพันธ์
กบั รายได้ท่เี พม่ิ ขึ้น (Matthew Killingsworth, 2021)

๔.๔ การวเิ คราะห์ความสุขจาแนกตามอายุงาน

การสารวจความสุขจาแนกตามอายุงานพบว่า ผู้ตอบที่มีอายุงานระหว่าง ๑๖ - ๒๐ ปี มีระดับคะแนน
ความสุขมากที่สุด คือ ๓๓.๒๕ คะแนน (ระดับ Good) และผู้ตอบท่ีมีอายุงานมากกว่า ๒๐ ปี มีระดับคะแนน
ความสุขน้อยที่สุด คือ ๒๙.๘๙ คะแนน (ระดับ Fair) โดยเป็นกลุ่มผู้ตอบที่มีอายุ ๓๘ ปี ขึ้นไปทั้งหมด
เน่ืองด้วยอายุตัวมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับอายุงาน จากการศึกษาผลงานวิจัยความสุข
ความพึงพอใจต่อความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พบว่า
ปัจจัยด้านอายุงานมีนัยสาคัญกับความสุขในการทางาน (กิตติพัฒน์ ดามาพงษ์, ๒๕๕๙) และอายุที่เพิ่มขึ้น
ส่งผลให้การประสิทธิภาพในการทางานลดลง (Johannes Koettl, ๒๐๑0 อ้างถึงในสธนา สานักวังชัย, ๒๕๖๓)

รายงาน Happiness Indicators สานักงานศาลปกครองสพุ รรณบุรี นา 15

ดังน้ัน มีแนวโน้มว่ายิ่งมีอายุงานมากข้ึน ยิ่งจะมีความสุขน้อยลง และอาจทาให้ประสิทธิภาพในการทางานลดลง
เนื่องจากผู้ที่ทางานมานาน อาจยึดติดรูปแบบวิธีการทางานเดิม หรือยังอยู่ใน Comfort Zone เมื่อองค์กร
มีการนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามาใช้ อาจจะไม่คุ้นชิน ประกอบกับภาวะร่างกายที่ถดถอยไปตามอายุตัวและ
อายุงานท่ีเพิ่มขึ้น อาจมีผลต่อระดับความสุขและประสิทธิภาพในการทางานมากกว่าผู้ท่ีมีอายุงานน้อยกว่า
ท้ังนี้ มีความแตกต่างกับผลงานวิจัยความสุขของพนักงานในบริษัทหลายแห่งพบว่าปัจจัยด้านอายุงาน
ไม่มีผลต่อระดับความสุขในการทางาน (สมชัย ปราบรัตน, ๒๕๖๐) ซึ่งอาจจะต้องศึกษาในระยะต่อไปว่าอายุ
การทางานของบคุ ลากรในภาครฐั กับภาคเอกชนมีผลต่อระดับความสุขทีแ่ ตกตา่ งกันอย่างมีนัยสาคัญหรือไม่

๔.๕ การวเิ คราะห์ความสุขจาแนกตามตาแหน่ง

ผลการสารวจความสุขจาแนกตามกลุ่มตาแหน่งพบว่า กลุ่มตาแหน่งของผู้ตอบท่ีมีระดับคะแนนความสุข
มากท่ีสุด คือ พนักงานดูแลสวน เป็นผู้ตอบซ่ึงเป็นพนักงานของผู้รับจ้างและเพิ่งมาปฏิบัติงานใหม่
เม่ือเดือนมกราคม ๒๕๖๔ และหากจาแนกบุคลากรภายในท่ีมีระดับคะแนนความสุขมากที่สุด คือ เจ้าหน้าท่ี
ศาลปกครอง และตาแหนง่ ผู้ตอบทมี่ ีระดับคะแนนความสุขน้อยท่สี ุด คอื เจ้าพนักงานธุรการ โดยทุกคนมีรายได้
น้อยกว่า ๓๐,๐๐๐ บาท และมีช่วงอายุ Gen X หรือมีอายุระหว่าง ๓๘ - ๕๒ ปี ทั้งนี้ ลักษณะงานของ
เจ้าพนักงานธุรการเป็นงานด้านธุรการ สารบรรณ งานพิมพ์เอกสาร และเป็นงานที่มีโอกาสในการใช้ความคิด
สรา้ งสรรค์นอ้ ย ดังนน้ั รายได้ที่มจี านวนน้อย อายุท่ีเพ่มิ ขึ้น และลกั ษณะงานของเจา้ พนักงานธุรการอาจมีผลต่อ
ระดับความสุขของตาแหน่งดังกล่าว ซ่ึงสอดคล้องกับผลการวิจัยของ Robert Half โดยสรุปพบว่าขณะที่เข้าสู่
ช่วงวัย 35 - 49 ปี ความสุขในการทางานจะลดต่าลง ไฟและความกระหายท่ีเคยอยากทางานและมีความสุข
ในทุก ๆ วันจะหายไป เนื่องจากรู้สึกเหน่ือยล้า เป็นช่วงอายุที่พบว่าไม่มีความสุขกับการทางานเพิ่มขึ้นกว่า
2 เท่าของช่วงอายุ 18 - 34 ปี โดยมีสาเหตุสาคัญท่ีทาให้ความสุขลดลง คือ การทางานท่ีตน
ไม่ได้สนใจและอยากจะทาตั้งแต่แรก แรงกดดันจากหัวหน้างาน การขาดพื้นท่ีและอิสระในการใช้ความคิด
สรา้ งสรรคแ์ ละเสนอความคดิ เห็น (Robert Half, 2018)

๔.๖ การวิเคราะห์ระดับคะแนนความสุขตามแบบ Happiness Indicators

การสารวจระดับคะแนนความสุขจาแนกตามรายการที่ประเมิน ๑๕ ข้อ สรุปได้ว่าค่าเฉล่ียระดับคะแนน
ความสุขของผู้ตอบเท่ากับ ๓๐.๖๔ (ระดับ Fair) หรือมีความสุขเท่ากับคนทั่วไป โดยรายการประเมินท่ีมีระดับ
ความสุขน้อยที่สุด คือ การประสบความสาเร็จและความก้าวหน้าในชีวิต รองลงมา คือ การมีเพื่อนหรือญาติ
พ่ีน้องคอยช่วยเหลือท่านในยามท่ีต้องการ และความพึงพอใจรูปร่างหน้าตา จากการศึกษาผลงานวิจัยพบว่า
ความสาเร็จในอาชีพ ตลอดจนความก้าวหน้าในการเลื่อนตาแหน่งมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในชีวิตอย่างมี
นัยสาคัญ และความสาเร็จในอาชีพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพึงพอใจในชีวิต (พชร สุลักษณ์อนวัช, ๒๕๕๙)
การให้หรือการเอื้อเฟ้ือช่วยเหลือผู้อ่ืนเป็นปัจจัยที่ทาให้คนมีความสุขและมีความสัมพันธ์เป็นบวกกับความสุข
ของบุคคลอย่างมีนัยสาคัญ นอกเหนือจากตัวแปรด้าน สุขภาพ การศึกษา การมีครอบครัวที่อบอุ่น และการลด
ความเครียด (เสาวลักษม์ กิตติประภัสร์, 2562) การช่วยคนอื่นทาให้มีอายุยืนยาวขึ้น การช่วย
เป็นเหมือนโรคติดต่อ กล่าวคือ คนส่วนมากทาความดีเพราะได้เห็นผู้อ่ืนทาความดี เนื่องจากอยู่ในสังคมท่ี
เช่ือมหากันได้ง่ายและการสร้างแรงบันดาลใจเล็ก ๆ น้อย ๆ แต่ละวันทาให้สังคมดีข้ึน ทาให้มีความสุข ทาให้
ความดนั โลหิตต่าลง ลดความเสี่ยงการเป็นโรคความดันสูงได้ถึง 40% ลดความเหงาและความเครียด เพราะมี
โอกาสเข้าสังคมมากข้ึน (คู่มือความสุข, ม.ป.ป.) และรายงาน “Beauty is the Promise of Happiness”
หรือความสวยงามคือหลักประกันแห่งความสุข พบว่าคนที่อยู่ในกลุ่มหน้าตาดีที่สุดจะมีระดับความสุขมากกว่า
ผู้ที่อยู่ในกลุ่มหน้าตาไม่ดี แต่ก็มิได้หมายความว่าคนหน้าตาไม่ดีจะไม่มีความสุขแต่อย่างใด เพียงแต่

รายงาน Happiness Indicators สานักงานศาลปกครองสุพรรณบรุ ี นา 16

คนหนา้ ตาดกี วา่ มีแนวโนม้ ที่จะมีความสขุ มากกว่า (Daniel Hamermesh และ Jason Abrevaya, n.d. อ้างถึง
ในทรงพจน์ สุภาผล, 2554) ดังน้ัน การได้รับความสาเร็จและความก้าวหน้าในชีวิต รวมท้ังการให้
ความช่วยเหลือ มีผลตอ่ ระดบั คะแนนความสขุ และมีผลมากกวา่ ความพึงพอใจในรูปรา่ งหนา้ ตา

๔.๗ การวิเคราะห์ปัจจัยท่มี ีผลต่อความสุข

การสารวจปัจจัยที่มีผลต่อความสุขพบว่า ปัจจัยท่ีมีผลต่อความสุขของผู้ตอบมากท่ีสุด คือ ปัจจัยด้าน
ผบู้ งั คบั บญั ชากบั ปัจจยั ด้านครอบครวั คอื ๔๖ คน คดิ เป็นร้อยละ ๗๕.๔๑ จากการศึกษาผลงานวิจัยพบตัวแปร
ที่มีประสิทธิภาพในการทานายความสุขในการทางานอย่างมีนัยสาคัญสูงสุดมี 5 ตัวแปร ได้แก่ สุขภาพจิตใจ
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับบัญชา ความสาเร็จในงาน โอกาสความก้าวหน้า และสุขภาพกาย
(สภุ าภรณ์ ประสงค์ทนั , 2561) ปัจจัยท่ที าให้บุคลากรมคี วามสขุ ในการทางานมากที่สุดตามลาดับ ได้แก่ ลักษณะงาน
หวั หน้างานยอมรับความสามารถ ผลสาเร็จของงาน การสร้างผลงานท่ีแปลกใหม่ เพื่อนร่วมงาน และการได้รับโอกาส
ในการท่องเท่ยี วเพอ่ื เปิดรบั ความคิดใหม่ (สริ นิ ทร แซ่ฉั่ว, 255๓) ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารเป็นหัวใจ
สาคัญ ถ้าผู้ใต้บังคับบัญชารับรู้ถึงภาวะผู้นาทางการเปล่ียนแปลงของผู้บังคับบัญชาจะทาให้ผู้ใต้บังคับบัญชา
ยอมรับ (Identification) และซึมซับพฤติกรรม (Internalization) ของผู้บังคับบัญชา และภาวะผู้นาของ
ผู้บังคับบัญชามีอิทธิพลต่อความผูกพันของผู้ใต้บังคับบัญชา (Commitment to supervisor) มากกว่าความรู้สึก
พึงพอใจในงาน (ยุพาวรรณ ทองตะนุนาม และคณะ, 2558) และปัจจัยค้าจุน (Hygiene factors) ซ่ึงเป็น
ปัจจัยที่ไม่ใช่ส่ิงจูงใจ แต่สามารถทาให้บุคลากรพึงพอใจหรือไม่พึงพอใจท่ีจะปฏิบัติงานได้ คือ การบังคับบัญชา
(supervision) หมายถึง ความรู้ความสามารถของผู้บังคับบัญชาในการดาเนินงาน ความยุติธรรมในการบริหารงาน
ตลอดจนความเต็มใจหรือไม่เต็มใจของผู้บังคับบัญชาในการให้คาแนะนา หรือมอบหมายงานรับผิดชอบต่าง ๆ
ให้แก่ลูกน้อง (สสปท., 2562) ดังนั้น ปัจจัยด้านผู้บังคับบัญชาเป็นปัจจัยท่ีมีความสาคัญและมีแนวโน้มว่า
จะมีผลต่อระดับความสุขของบุคลากรมากกว่าปัจจัยอื่น สาหรับปัจจัยด้านครอบครัวมีงานวิจัยพบว่า
ชีวิตครอบครัวมีผลต่อความสุขค่อนข้างสูง การหย่าร้าง การใช้เวลาในการทางานมากเกินไปจนมีผลกระทบ
ทางลบต่อครอบครัวทาให้คนมีความสุขลดลง (เสาวลักษม์ กิตติประภัสร์, ๒๕๕๘) และผลสารวจความสุข
ครอบครัวไทย ร้อยละ 90 มีความสุขมากถึงมากท่ีสุดที่ได้อยู่ร่วมกับครอบครัว โดย 1 ใน 3 รู้สึกใกล้ชิด
กับครอบครัวมากข้ึน (กรมสุขภาพจิต, 2563) ซึ่งสอดคล้องกับผลการสารวจคนไทยในยุคโควิดส่วนใหญ่
มีความสุขจากการทีม่ เี วลาให้ตัวเองมากข้ึน ได้อยู่กับครอบครัวพร้อมหน้าพร้อมตา ไม่ต้องเร่งรีบ ได้หันมาดูแล
สุขภาพมากขึ้น (สวนดุสิตโพล, 2564) ทั้งน้ี ปัจจัยด้านครอบครัวเป็นเรื่องท่ีมีความละเอียดอ่อนซ่ึงอาจจะต้อง
ศกึ ษาตอ่ ไปว่าเพราะเหตใุ ดผู้ตอบจึงแสดงความเหน็ ว่าปจั จยั ด้านครอบครัวมผี ลตอ่ ความสุขในระดับมากท่ีสุด

รายงาน Happiness Indicators สานกั งานศาลปกครองสพุ รรณบุรี นา 17

ตารางที่ ๙ แสดงตัวอยา่ งสถานการณ์ในแต่ละปัจจัยที่มีผลต่อความสขุ

ปจั จยั ที่มผี ลต่อความสขุ ตัวอยา่ งสถานการณ์
ลักษณะงาน
- งานทเ่ี หมาะสมกบั ความสามารถ
สวัสดิการ/สิง่ อานวยความสะดวก - งานทหี่ นกั เกนิ และมีความยุ่งยากซบั ซ้อน
เพอื่ นร่วมงาน - งานที่ต้องทาตามชว่ งระยะเวลา
- งานทม่ี ีความกดดนั และตอ้ งการความรบั ผิดชอบสูง
ผ้บู งั คบั บัญชา - ตาแหนง่ งาน/บทบาทหนา้ ท่ีไมช่ ัดเจน
การเงนิ
เศรษฐกจิ สังคม และเทคโนโลยสี ารสนเทศ - ขาด/ไมม่ ีเคร่อื งมือ วัสดุอปุ กรณ์
ครอบครวั - ขาดสวัสดิการ/ไม่มีสวัสดิการท่ีตรงความต้องการของทุกคน

การเรยี นร้แู ละพัฒนา - ขาดการประสานงาน
- เกิดการไม่ยอมรบั ในผลงาน
ความก้าวหน้าในตาแหนง่ - ขาดความร่วมมือ/การมีส่วนร่วม

ตัวตนของตนเอง - ขาดประสบการณ์
- สัมพนั ธภาพระหว่างผู้ใต้บงั คับบญั ชากับผู้ใตบ้ ังคบั บัญชา

- รายจ่ายเกินรายได้

- เปลยี่ นแปลงรวดเร็ว
- ไม่สามารถปรบั ตวั ได้

- หย่ารา้ ง
- ทางานต่างพ้นื ท/ี่ แยกกนั อยู่
- ไม่มีเวลา/เวลาไมต่ รงกัน

- ขาดส่อื การเรยี นรู้
- ขาดความคิดสรา้ งสรรค์
- ขาดความตระหนัก/ใฝุเรยี นรู้

- ได้รบั การเลื่อนขน้ั /เลือ่ นตาแหน่งไมเ่ หมาะสม
- ขาดการสนับสนนุ จากผ้บู งั คับบัญชาและผู้รว่ มงาน
- ขาดการรับรเู้ ร่ืองความก้าวหนา้

- ความคาดหวงั สงู
- พฤติกรรม อารมณ์ และความร้สู กึ
- ความชอบหรือลกั ษณะนิสยั
- การร้จู กั และเขา้ ใจตนเอง

รายงาน Happiness Indicators สานกั งานศาลปกครองสพุ รรณบรุ ี นา 18

ส่วนท่ี ๕
บทสรุป และข้อเสนอแนะ

๕.๑ บทสรุป

๕.๑.๑ ข้อมลู ท่วั ไป
สานักงานศาลปกครองสุพรรณบุรีจัดให้มีการสารวจข้อมูลความสุขตามแบบ Thai Happiness

Indicators (THI - ๑๕) ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เพ่ือให้มีข้อมูลในการเสริมสร้างศาลปกครอง
สุพรรณบุรีให้เป็นองค์กรแห่งความสุขอย่างยั่งยืน โดยสารวจข้อมูลระหว่างวันท่ี ๑๕ มกราคม - วันที่
๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ กลุ่มเปูาหมาย ๖๕ คน มีผู้ตอบแบบสารวจทั้งส้ิน ๖๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๓.๘๕ ของ
กลุ่มเปูาหมาย ผู้ตอบส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ช่วงอายุส่วนใหญ่อยู่ในช่วง Generation X หรืออายุระหว่าง
๓๘ - ๕๒ ปี รายได้ของผู้ตอบส่วนใหญ่น้อยกว่า ๓๐,๐๐๐ บาท อายุงานส่วนใหญ่น้อยกว่า ๕ ปี ตาแหน่ง
ของผู้ตอบส่วนใหญ่เป็นพนักงานคดีปกครอง ๑๓ คน แต่หากรวมพนักงานราชการศาลปกครอง ๒ กลุ่ม
งในส่วนของกลุ่มบรรณารักษ์ เลขานุการประจาองค์คณะ พนักงานธุรการ พนักงานหน้าบัลลังก์ พนักงานเดิน
หมาย และกลุ่มนายช่างคอมพิวเตอร์ นายช่างไฟฟูา นายช่างโยธา พนักงานขับรถยนต์ ผู้ตอบส่วนใหญ่จะเป็น
พนักงานราชการศาลปกครอง ๑๗ คน

๕.๑.๒ ระดบั คะแนนความสขุ
๑) เพศ พบว่าเพศหญิงมีระดับคะแนนความสุขมากกว่าเพศชาย อย่างไรก็ตาม ทั้งเพศหญิง

และเพศชาย มคี วามสุขเท่ากบั คนทัว่ ไป (ระดบั Fair)
๒) ช่วงอายุ พบว่า Generation Z หรือผู้มีอายุน้อยกว่า ๒๗ ปี มีระดับคะแนนความสุขมากที่สุด

(ระดบั Good) และ Generation Y หรืออายรุ ะหวา่ ง ๒๗ - ๓๗ ปี มรี ะดบั คะแนนความสุขนอ้ ยท่ีสดุ (ระดบั Fair )
๓) รายได้ พบว่าผู้มีรายได้ระหว่าง ๓๐,๐๐๐ - ๔๐,๐๐๐ บาท มีระดับคะแนนความสุขมากท่ีสุด

(ระดับ Good) ผมู้ ีรายไดต้ า่ กวา่ ๓๐,๐๐๐ บาท มีระดบั คะแนนความสุขนอ้ ยทส่ี ดุ (ระดบั Fair)
๔) อายุงาน พบว่าผู้มีอายุงานระหว่าง ๑๖ - ๒๐ ปี มีระดับคะแนนความสุขมากท่ีสุด (ระดับ Good)

ผ้มู อี ายุงานมากกวา่ ๒๐ ปี มรี ะดับคะแนนความสุขนอ้ ยทีส่ ุด (ระดบั Fair)
๕) ตาแหน่ง พบว่าพนักงานดูแลสวน มีระดับคะแนนความสุขมากที่สุด และเจ้าพนักงานธุรการ มีระดับ

คะแนนความสุขน้อยท่ีสุด ท้ังนี้ บุคลากรภายในที่มีระดับคะแนนความสุขมากที่สุด คือ เจ้าหน้าที่ศาลปกครอง และ
บุคลากรภายนอกท่ีมีระดับคะแนนความสุขน้อยท่ีสุด คือ พนักงานทาความสะอาด อย่างไรก็ตาม ทุกตาแหน่ง
มคี วามสุขเท่ากบั คนทวั่ ไป (ระดบั Fair)

๖) ระดับคะแนนความสุขตามแบบ Happiness Indicators พบว่าผู้ตอบส่วนใหญ่ไม่ได้มี
ความรู้สกึ ว่าชีวติ ไรค้ า่ ไม่มีประโยชน์ แต่ต้องการประสบความสาเร็จและความก้าวหน้าในชีวิต โดยมีค่าเฉล่ียระดับ
คะแนนความสขุ เท่ากบั ๓๐.๖๔ คะแนน (ระดับ Fair) หรอื เท่ากับคนทัว่ ไป

๗) ปัจจัยที่มีผลต่อความสุข พบว่าปัจจัยด้านผู้บังคับบัญชากับปัจจัยด้านครอบครัวมีจานวน
ผู้ตอบมากท่ีสุดในจานวนที่เท่ากัน คือ ๔๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๕.๔๑ และปัจจัยด้านสวัสดิการ/ส่ิงอานวย
ความสะดวกกับเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีสารสนเทศมีจานวนผู้ตอบน้อยที่สุดในจานวนท่ีเท่ากัน คือ
๓๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๒.๓๐

รายงาน Happiness Indicators สานักงานศาลปกครองสุพรรณบรุ ี นา 19

ตารางท่ี ๑๐ แสดงรายการประเมินท่มี รี ะดับคะแนนความสขุ มากท่สี ดุ กับน้อยท่สี ดุ

ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ระดบั คะแนน เกณฑป์ ระเมนิ
มากท่สี ดุ น้อยที่สดุ
1 ระดบั ความสขุ Good Fair Poor
จาแนกตามเพศ ๓๑.๑๙ คะแนน ๒๙.๘๔ คะแนน
หญงิ ชาย 
2 ระดบั ความสขุ
จาแนกตามช่วงอายุ ๓๗.๐๐ คะแนน ๒๙.๙๒ คะแนน 

3 ระดับความสขุ Gen Z อายนุ อ้ ยกว่า ๒๗ ปี Gen Y อายุ ๒๗ - ๓๗ ปี 
จาแนกตามรายได้
๓๓.๘๒ คะแนน ๒๙.๔๔ คะแนน 
4 ระดับความสุข
จาแนกตามอายุงาน (ป)ี ๔๐,๐๐๑ – ๕๐,๐๐๐ บาท ต่ากว่า ๓๐,๐๐๐ บาท 

5 ระดบั ความสุข ๓๓.๒๕ คะแนน ๒๙.๘๙ คะแนน 
จาแนกตามกล่มุ ตาแหน่ง ๑๖ - ๒๐ ปี มากกว่า ๒๐ ปี
๓๒.๕๐ คะแนน ๒๘.๗๕ คะแนน คา่ เฉล่ีย
๖ ระดับความสุข พนกั งานดูแลสวน เจ้าพนักงานธุรการ ๓๐.๖๔
จาแนกตามแบบ ๒.๖๗ คะแนน ๑.๗๒ คะแนน คะแนน
Happiness Indicators ความรสู้ กึ ชีวติ ไรค้ า่ ประสบความสาเรจ็ และ
ไม่มปี ระโยชน์ ความกา้ วหนา้ ในชวี ติ

๗ ปจั จัยทมี่ ผี ลต่อความสขุ รอ้ ยละ ๗๕.๔๑ รอ้ ยละ ๖๒.๓๐
ผบู้ งั คับบัญชา
กบั ครอบครัว สวสั ดิการ/สง่ิ อานวย
ความสะดวก

กับเศรษฐกจิ สงั คม และ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ

๕.๒ ขอ้ เสนอแนะ

๕.๒.๑ ขอ้ เสนอแนะจากการวิเคราะห์ขอ้ มลู เชิงสถติ ิ
๑) เพศ ควรมุ่งเน้นการเสริมสร้างความสุขของบุคลากรท่ีเป็นเพศชาย ในประเด็นเก่ียวกับ

ความภาคภูมิใจและการพักผ่อนคลายเครียด โดยเฉพาะตาแหน่งพนักงานราชการศาลปกครอง (กลุ่มนายช่าง
คอมพิวเตอร์ นายชา่ งโยธา พนกั งานขับรถยนต์) และพนักงานคดปี กครอง

๒) ช่วงอายุ ควรมุ่งเน้นการเสริมสร้างความสุขของบุคลากรที่มีช่วงอายุระหว่าง ๒๗ - ๓๗ ปี
หรือ Generation Y โดยมอบหมายงานใหม่ ๆ ท่ีท้าทาย เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น และให้อิสระ
ในการตัดสินใจมากขน้ึ โดยเฉพาะตาแหน่งเจ้าหน้าที่ศาลปกครอง

๓) รายได้ ควรมุ่งเน้นการเสริมสร้างความสุขของบุคลากรที่มีรายได้ต่ากว่า ๓๐,๐๐๐ บาท
ด้วยการแนะนาช่องทาง/วิธีการเพ่ิมรายได้ การลดรายจ่ายท่ีไม่จาเป็น ช่วยเหลือทางการเงิน และเสริมสร้าง
หลกั เศรษฐกิจพอเพียง โดยเฉพาะตาแหนง่ เจา้ พนกั งานธุรการ

๔) อายุงาน ควรมุ่งเน้นการเสริมสร้างความสุขของบุคลากรท่ีมีอายุงานมากกว่า ๒๐ ปี
โดยเฉพาะตาแหน่งเจา้ พนกั งานธุรการ พนักงานราชการศาลปกครอง (กลุ่มนายช่างคอมพิวเตอร์ นายช่างโยธา
พนักงานขบั รถยนต)์ และเจา้ หน้าท่รี ักษาความปลอดภัย

๕) ตาแหน่ง ควรมุ่งเน้นการเสริมสร้างความสุขโดยจัดสมดุลด้านเวลางานและเวลาส่วนตัว
โดยให้การสนับสนุนความเป็นครอบครัว และส่งเสริมความเต็มท่ีในงานมากข้ึน แต่หากยังไม่ประสบความสาเร็จ
อาจให้เปล่ยี นงาน โดยเฉพาะตาแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ

๖) รายการประเมินตามแบบ Happiness Indicators ควรสนับสนุนให้บุคลากรได้รับ
ความสาเรจ็ และความกา้ วหน้าในหนา้ ทกี่ ารงาน และให้มเี พ่อื นคอยชว่ ยเหลอื ในยามท่ีตอ้ งการ

รายงาน Happiness Indicators สานกั งานศาลปกครองสพุ รรณบรุ ี นา 20

๗) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุข ควรมุ่งเน้นพัฒนาด้านภาวะผู้นา โดยเฉพาะการพัฒนาทักษะ
และความชานาญในการบริหารจัดการงาน เสริมสร้างการยอมรับ และความฉลาดทางอารมณ์ ซ่ึงเป็นปัจจัยท่ี
สาคญั ของผนู้ า และปจั จยั ดา้ นครอบครัว

โดยมีประเด็นที่ควรมุ่งเน้นและตัวแบบความสุข ๘ ประการ มาเป็นกรอบแนวทางในการพัฒนา
โดยเฉพาะการเสริมสร้างความสุขด้าน Happy Soul ซึ่งเป็นตัวแบบความสุขด้านจิตใจ เป็นตัวแบบพ้ืนฐานที่
สาคัญทค่ี วรนามาใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาทกุ กรณี สรปุ ได้ดงั ตารางต่อไปนี้

ตารางที่ ๑๑ แสดงการเสรมิ สร้างความสขุ ของบุคลากรในองคก์ ร

ท่ี รายการประเมนิ ตาแหนง่ ท่ีมงุ่ เน้น ประเดน็ การพัฒนา ตัวแบบความสุข

ทีม่ ุง่ เนน้ ทค่ี วรนามาใช้

ในการพฒั นา

1 เพศ : ชาย พนกั งานราชการศาลปกครอง - ความภาคภมู ิใจ  Happy Body

(กล่มุ นายชา่ งฯ พนักงาน - การพกั ผ่อนคลายเครยี ด  Happy Relax

ขบั รถยนต)์ และพนกั งาน - ใหค้ วามรูด้ ้านเพศภาวะ  Happy Brain

คดปี กครอง กบั สุขภาพจิต  Happy Soul

2 ช่วงอายุ : Gen Y เจา้ หน้าทศ่ี าลปกครอง - มอบหมายงานท้าทาย  Happy Brain

(๒๗ – ๓๗ ป)ี - เปดิ โอกาสให้แสดงความคดิ เหน็  Happy Society

- ให้อิสระตดั สนิ ใจมากข้นึ  Happy Soul

3 รายได้ : เจา้ พนักงานธุรการ - แนะนาวธิ กี ารเพ่มิ รายได้  Happy Money

นอ้ ยกวา่ ๓๐,๐๐๐ บาท - ลดรายจ่ายที่ไม่จาเป็น  Happy Soul

- ให้ความช่วยเหลือทางการเงนิ

- เสรมิ สร้างหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง

4 อายุงาน : เจา้ พนักงานธรุ การ - สบั เปล่ยี นหมนุ เวยี นงาน  Happy Brain

มากกวา่ ๒๐ ปี - มอบหมายงานท้าทาย  Happy Soul

- กระตุน้ การเรยี นรู้และพฒั นา

5 ตาแหนง่ เจา้ พนกั งานธรุ การ - จดั สมดุลด้านเวลางาน  Happy Relax

พนกั งานทาความสะอาด และเวลาส่วนตัว  Happy Society

พนักงานราชการศาลปกครอง - ส่งเสริมความเตม็ ทกี่ บั งาน  Happy Soul
(กลมุ่ นายช่างฯ พนักงาน ในหนา้ ที่ แตห่ ากยังไม่ประสบ

ขบั รถยนต)์ โดยเฉพาะ ความสาเร็จให้เปลย่ี นงาน

Gen X หรือผมู้ ีอายุ - สนับสนุนความเป็นครอบครัว

ระหว่าง ๓๘ - ๕๒ ปี

6 รายการประเมนิ เจา้ พนักงานธุรการ - สนบั สนนุ ความสาเร็จและ  Happy Brain

ตามแบบ ความกา้ วหนา้  Happy Heart

Happiness - สับเปลี่ยนหน้าทง่ี านให้  Happy Soul

Indicators : สอดคล้องกบั ศักยภาพ

ความสาเรจ็ และ และความสามารถ

ความกา้ วหนา้ - เสรมิ สร้างใหม้ เี พือ่ น

คอยชว่ ยเหลือ

7 ปัจจัยทสี่ ่งผลตอ่ ผอู้ านวยการกล่มุ - ความชานาญในงาน  Happy Brain

ความสุข : - ภาวะผู้นา  Happy Family

ผ้บู ังคับบญั ชา - การยอมรับ  Happy Soul

และครอบครวั - ความฉลาดทางอารมณ์

- การสนบั สนนุ เวลากับครอบครวั

รายงาน Happiness Indicators สานักงานศาลปกครองสพุ รรณบรุ ี นา 21

๕.๒.๒ ขอ้ เสนอแนะการเสริมสรา้ งความสุขในการทางาน
1) พัฒนาสุขภาพทางร่างกายให้แข็งแรง ได้แก่ รับประทานอาหารให้ถูกหลักอนามัย พักผ่อน

เพียงพอ รักษาความสะอาดร่างกาย และออกกาลังกายให้พอเพยี ง
๒) พัฒนาสุขภาพทางจิตใจให้มีทัศนคติเชิงบวก ได้แก่ คิดบวก มองบวก ทาในส่ิงที่เป็นบวก และ

ปรบั ตวั ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมท่ีเป็นอยู่
๓) พัฒนาทักษะการทางานให้มีประสิทธิภาพ ได้แก่ ใฝุรู้และพัฒนา พึงพอใจในงาน ยินดีที่จะ

ทางานใหป้ ระสบความสาเร็จ และลงมือปฏบิ ตั ิดว้ ยความต้ังใจ

๕.๒.๓ ข้อเสนอแนะสาหรบั การศกึ ษาครง้ั ตอ่ ไป
๑) การวัดระดับความสุขของบุคลากร ควรมีการสารวจในรูปแบบการสนทนากลุ่ม (Focus Group)

ด้วย เพื่อให้มีข้อมูลทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ และสามารถนาข้อมูลไปออกแบบกิจกรรม
เพ่ือสร้างความสขุ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพมากข้ึน

๒) แบบประเมิน Thai Happiness Indicators (THI - ๑๕) เป็นแบบประเมินฉบับสั้น เหมาะกับ
การประเมินทใ่ี ช้เวลาไมม่ ากนกั แต่หากต้องการประเมินท่ีละเอียด สามารถใช้ดัชนีชี้วัดสุขภาพจิตคนไทย หรือ
ดัชนีชวี้ ดั ความสุขฉบบั สมบรู ณ์ 66 ข้อ

******************************************

รายงาน Happiness Indicators สานักงานศาลปกครองสพุ รรณบุรี นา 22

บรรณานุกรม

หนงั สอื /เอกสาร/วารสาร
กิตตพิ ฒั น์ ดามาพงษ์. 2559. ความสุข ความพงึ พอใจ ตอ่ ความผูกพนั ของบุคลากรท่ีมีต่อสานักงานกองทุน

สนบั สนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.). คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์. (อัดสาเนา).
เกสร มุ้ยจีน. การสร้างความสุขด้วยจิตวิทยาเชิงบวก. 2559. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ปีท่ี 24 ฉบับท่ี 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2559. (อดั สาเนา).
ธนัญพร สุวรรณคาม. ๒๕๕๙. ปัจจัยด้านแรงจูงใจในการทางานท่ีส่งผลต่อความผูกพันในองค์การของ

พนักงานธนาคารพาณชิ ยแ์ หง่ หนงึ่ . คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. (อดั สาเนา).
บุษบงก์ วิเศษพลชัย. ๒๕๖๑. คู่มือนักสร้างสุขกระทรวงสาธารณสุข. สานักวิจัยสังคมและสุขภาพ สานักงาน

ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. (อดั สาเนา).
ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล และคณะ. 25๕4. คู่มอื สร้างสุขระดับจังหวัด ยทุ ธศาสตรค์ วามสขุ ฉบบั พกพา. (อดั สาเนา).
พชร สุลักษณ์อนวัช. 2559. ความสาเร็จในอาชีพ เชาวน์อารมณ์ และความพึงพอใจในชีวิต โดยมี

ความภาคภูมิใจในตนเองเป็นตัวแปรส่ือ ของพนักงานระดับปฏิบัติการ กรณีศึกษา : บริษัท
โทรคมนาคมแหง่ หนึง่ ในกรงุ เทพมหานคร. (อดั สาเนา)
พัชสิรี ชมพูคา และณัฐธิดา จักรภีร์ศิริสุข. ๒๕๖๓. ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและแรงจูงใจ
ในการทางาน : กรณีศึกษาเปรียบเทียบคนเจเนอเรชัน Y และเจเนอเรชัน Z ในเขต
กรุงเทพมหานคร. จุฬาลงกรณ์ธรุ กจิ ปรทิ ัศน์ ปที ี่ 42(3) ฉบับที่ 165 (กรกฎาคม-กนั ยายน 2563).
สมชยั ปราบรตั น.์ 2560. ปจั จยั ทม่ี ีอทิ ธิพลต่อการเป็นองค์กรแห่งความสุขของธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิต
ในพื้นที่จังหวดั สงขลา. มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่. (อดั สาเนา).
สมพร รุ่งเรืองกลกิจ. 2553. เพศภาวะกับสุขภาพจิต. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย ศูนย์วิจัย
และฝึกอบรมเพศภาวะและสุขภาพสตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีท่ี 55 ฉบับที่ 1 มกราคม – มีนาคม 2553.
(อัดสาเนา).
สริ ินทร แซ่ฉั่ว. 2553. ความสุขในการทางานของบุคลากรเชิงสร้างสรรค์: กรณีศึกษาอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์
กลุ่มสื่อและกลุ่มงานสร้างสรรค์เพ่ือการใช้งาน. คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
(อดั สาเนา).
สุภาภรณ์ ประสงค์ทัน. ๒๕๖๑. การศึกษาความสุขในการทางานและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสุข
ในการทางานของพนักงานในอุตสาหกรรมท่องเท่ียวและบริการ . วารสารสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีท่ี 21 ฉบับเดือนมกราคม - ธันวาคม 2561. สืบค้นที่
http://ejournals.swu.ac.th/index.php/JOS/article/viewFile/10828/8990 (23 กุมภาพันธ์ 2564).
(อดั สาเนา).
เสาวลักษม์ กิตติประภัสร์. 2558. ความสุข : การวัดความสุขของคนในชาติ และนโยบายท่ีส่งเสริม
ใหค้ นเป็นสขุ ควรเปน็ อยา่ งไร. วารสารเศรษฐศาสตรก์ ารเมือง จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . (อัดสาเนา).
อภิชยั มงคล และคณะ. 2545. ดัชนชี ้ีวัดความสุขคนไทย Thai Happiness Indicators (THI – 15).
กรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข. (อดั สาเนา)
Frederick K. Herzberg and Others. n.d. อ้างถึงใน ศิรินธร สายสุนทร และคณะ. ๒๕๕๘. ความสุข
ในการทางาน. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง.
ปที ่ี 14 ฉบับท่ี ๓ เดือนกนั ยายน - ธนั วาคม ๒๕๕๘. (อดั สาเนา).
Joan Burton, 2010 อ้างถึงในสธนา สานักวังชัย. ๒๕๖๓. การศึกษารูปแบบองค์กรแห่งความสุขภาครัฐ
กรณศี ึกษา : สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปราจีนบุรี เขต 1. (อดั สาเนา).

รายงาน Happiness Indicators สานักงานศาลปกครองสพุ รรณบรุ ี นา 23

บรรณานกุ รม (ต่อ)

ส่อื ออนไลน์
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. 2563. การสารวจความสุขของครอบครัวไทยในช่วงการระบาดของไวรัส

โควดิ -19. สืบค้นที่ https://www.hfocus.org/content/2020/04/18995 (23 กมุ ภาพันธ์ 2564).
คคั นางค์ มณีศรี และวัชราภรณ์ บญุ ญศิรวิ ัฒน.์ ๒๕๔๕. ความสุขคืออะไร?. คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.

สบื ค้นที่ https://smarterlifebypsychology.com/2017/09/27/%E0%
B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%
B8%E0%B8%82%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%
E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/ (25 กมุ ภาพนั ธ์ 2564).
เฉลมิ พล แจ่มจันทร์. 2559. ค่าเฉล่ียคะแนนความสขุ ในภาพรวมคนทางานในประเทศไทย ประจาปี 2558.
ศนู ย์วจิ ัยความสุขคนทางานประเทศไทย สถาบนั วจิ ัยประชากรและสงั คม มหาวิทยาลัยมหิดล.
สบื ค้นที่ https://www.hfocus.org/content/2016/12/13178 (๒๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔).
ธิตมิ า ไชยมงคล. ๒๕๖๒. ร้ทู นั ปัญหา Gen Z เปน็ เรอ่ื งง่าย ๆ แคเ่ ขา้ ใจ.
สบื ค้นท่ี prachachat.net/csr-hr/news-382415 (๒๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔).
ภัทรดนัย ฉลองบุญ. 2561. ความสุขในการปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐ. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์
มจร ปีที่ ๖ ฉบบั พิเศษ. สบื ค้นที่ file:///C:/Users/ADMC/Downloads/ (23 กมุ ภาพันธ์ 2564).
ยพุ าวรรณ ทองตะนุนาม และคณะ. ๒๕๕๘. ปจั จัยพัฒนาองค์กรแห่งความสุข (ภาครฐั ) : การทบทวนวรรณกรรม
อยา่ งเป็นระบบ. วารสารวจิ ยั ทางวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ ปที ่ี 9 ฉบับที่ 1 : มกราคม - มถิ ุนายน ปี 2558.
สบื ค้นที่ file:///C:/Users/ADMC/Downloads/-7J4R3tiZzklbKqZMKXN29cc2XFwaZlC.pdf
(23 กมุ ภาพันธ์ 2564).
ราโมนา สก็อตแลนด์. ม.ป.ป.. หญิง Vs ชาย … ใครทาอะไรได้ดีกว่ากัน. มหาวิทยาลัยควีนแมรี
แหง่ กรุงลอนดอน. สบื คน้ ที่ http://gotomanager.com/content (๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔).
เลด้ี เมเนเจอร์. 2558. 10 เรอื่ งจรงิ จากผลวจิ ยั ผหู้ ญิงเกง่ กวา่ ผู้ชาย.
สืบคน้ ท่ี https://mgronline.com/celebonline/detail/9580000093911 (23 กุมภาพนั ธ์ 256๔).
สวนดุสิตโพล. 2564. ในความทุกขก์ ็มคี วามสุข! โพลเผย "10ความสุข" คนไทยยุคโควดิ .
สบื ค้นท่ี https://www.posttoday.com/social/general/643478 (23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564).
สสปท.. 2562. คณุ ภาพชวี ิตในการทางาน (Quality Of Working Life). สบื คน้ ท่ี
https://www.tosh.or.th/index.php/blog/item/609-quality-of-working-life (23 กุมภาพนั ธ์ 2564).
สสส.. ๒๕๖๒. 10 วธิ ีสรา้ งความสขุ ง่าย ๆ ให้กบั ชวี ติ . สืบคน้ ที่ https://www.thaihealth.or.th/Content
(๒๗ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔).
เสาวลักษม์ กิตติประภัสร์. 2562. ความสุขจากการให้. สถาบันเศรษฐศาสตร์ วิทยาลัยรัฐเศรษฐศาสตร์
และโลกปริทรรศน์ มหาวทิ ยาลัยรังสิต. สืบค้นท่ี https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/
647124 (25 กมุ ภาพันธ์ 2564).
สานักงานสถิติแห่งชาติ. 2561. สถิติชี้ชัด ผู้หญิงมีความสุขในการทางานมากกว่าผู้ชาย. สืบค้นท่ี
https://www.smartsme.co.th/content/99230 (11 มนี าคม 2564).
คูม่ ือความสขุ . ม.ป.ป.. 5 ประโยชนข์ องการช่วยเหลือผู้อื่น
สืบค้นที่ https://faithandbacon.com/helping-others/ (25 กุมภาพนั ธ์ 2564).

รายงาน Happiness Indicators สานักงานศาลปกครองสพุ รรณบุรี นา 24

บรรณานุกรม (ต่อ)

Deloitte. 2019 อ้างถึงใน Cashay, themuse, Forbes. 2020. ผลวิจัยช้ีผู้หญิงโสดมีความสุข
สุขภาพดี และอายุยืนมากกว่าผู้หญิงที่แต่งงานแล้ว . สืบค้นที่ https://brandinside.asia/
a-number-of-studies-report-single-women-tend-to-happier-and-living-longer-than-wives/
(๑๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔).

Daniel Hamermesh และ Jason Abrevaya. n.d. อ้างถึงในทรงพจน์ สุภาผล. 2554. Beauty is the
Promise of Happiness รปู รา่ งหนา้ ตาดคี อื หลักประกนั แหง่ ความสขุ .
สืบค้นท่ี https://www.voathai.com/a/study-says-beauty-equals-happiness-ss-31mar11-
119037259/924569.html (25 กุมภาพนั ธ์ 2564).

Johannes Koettl. ๒๐๑๐ อ้างถึงในสธนา สานักวังชัย. ๒๕๖๓. การศึกษารูปแบบองค์กรแห่งความสุขภาครัฐ
กรณีศึกษา : สา นักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีน บุรีเขต 1. สืบค้นท่ี
https://www.ftpi.or.th/2015/6189 (๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔).

Lowe. 2004 อ้างถึงในก้านทอง บุหร่า. 2559. องค์กรแห่งความสุข : แนวคิด กระบวนการ และบทบาท
ของนักบริหารทรัพยากรมนุษย์. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีท่ี 28 ฉบับท่ี 3
กันยายน - ธันวาคม 2560. สืบค้นท่ี file:///C:/Users/ADMC/Downloads/1067-4468-1-
PB.pdf (๑ มนี าคม 2564).

Matthew Killingsworth. n.d. ผลการศึกษาช้ี เงินซ้ือความสุขได้ ถ้ามากพอ เพราะเงินช่วยเพิ่มทางเลือก
ให้ชีวิตมากขึ้น . สืบค้นที่ https://brandinside.asia/new-study-suggests-money-can-buy-
happiness/ (25 กมุ ภาพันธ์ 2564).

Posttoday. ๒๕๖๒. เขา้ ใจความตา่ งคน 4 เจเนอเรชัน่ .
สบื คน้ ท่ี https://www.posttoday.com/life/healthy/587633 (๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔).

Robert Half. 2018. ผลสารวจชี้ ยิ่งอายุมากข้ึน ย่ิงไม่มีความสขุ ในการทางาน.
สืบค้นที่ https://thestandard.co/more-age-is-unhappy-at-work/ (๒๓ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔).

TCDC. 2019. เจนซี เจนแหง่ การใช้เทคโนโลยีขบั เคล่อื นชีวิต.
สืบคน้ ท่ี https://www.salika.co/2018/12/19/research-working-trend-gen-z/ (๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔).

รายงาน Happiness Indicators สานักงานศาลปกครองสพุ รรณบรุ ี นา 25

คณะผู้จัดทา
รายงานผลการวดั ความสุข (Happiness Indicators)
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ของสานกั งานศาลปกครองสุพรรณบุรี

ทีป่ รกึ ษา ผู้อานวยการสานกั งานศาลปกครองสุพรรณบรุ ี
นางสาวบุญทิวา สริ ิธรงั ศรี ผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารทว่ั ไป
ส.ต.อ. กิตตวิ ฒั น์ ทองนอ้ ย
เจ้าหน้าท่ีศาลปกครองชานาญการพิเศษ
ผู้จดั ทารายงาน
นางสาวชตุ นิ ธร บัวทอง บรรณารักษ์
พนักงานธุรการ
ผูร้ วบรวมผลการสารวจ
นางสาวจิราภรณ์ ปาลพนั ธ์ เจา้ หนา้ ทีศ่ าลปกครองชานาญการ
นางสาวสุภัค ทองมาก
นายช่างคอมพิวเตอร์
พสิ ูจนอ์ กั ษร
นางธีรานชุ ทองน้อย

ออกแบบปก
นางสาวผุสดี นุชนารถ

ดชั นชี วี้ ดั ความสขุ ของคนไทย Thai Happiness Indicators (THI - ๑๕)
กรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธารณสขุ

(๘ หนา้ )

โปรดสแกน หรอื พมิ พ์ http://gg.gg/ohgh2

“ความสขุ จะเกิดขนึ้ ทันที ถ้ามองสง่ิ รอบกายดว้ ยทัศนคตทิ ี่ดี”

รายงาน Happiness Indicators สานกั งานศาลปกครองสุพรรณบุรี นา 26


Click to View FlipBook Version