The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 611011269, 2021-03-29 11:37:08

โรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน

หนงั สอื ความรูค้ ่มู อื โรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน

จดั ทําโดย ยุวธั น์ ศักดจิ ริ ะไพบูลย์

คํานาํ

โรคเบาหวานเปนโรคทีเกิดขนึ ในไทยอันดบั ตันๆ แถมยงั
เปนโรคทีเขา้ สโู่ รคอืนๆในตัวเราอีกดว้ ย แรงบลั ดาลใจในการ
ทํา หนงั สอื โรคเบาหวาน นนั เกิดมาจากคนในครอบครวั และ
ตัวเราเองทีเกิดประสบพบเจอโรคเบาหวาน มนั จงึ เปนเรอื ง
ทีหายากในหมูว่ ยั รนุ่ ทีจะเปนโรคเบาหวาน สว่ นใหญค่ นเปน
โรคจะอายุ 40 ขนึ ไป จงึ เปนแรงบลั ดาลใจทีดี ทีนาํ ความรู้
และขอ้ มูลในการปองกัน กับสงิ ทีตัวเองรกั ษาในการเปนโรค
เบาหวาน แมว้ า่ โรคเบาหวานไมใ่ ชโ่ รคติดต่อจากคนสอู่ ีกคน
แต่สามารถติดต่อทางพนั ธุกรรมและ หากรบั ประทานหวาน
มากเกินไปก็อาจเสยี งเกิดโรคเบาหวานขนึ มาได้ จงึ เปน
ประโยชนใ์ นการทํา E-BOOK จงึ เปนแรงบลั ดาลใจเลือกนาํ

Sweetหวั ขอ้ นมี าทํา
จดั ทําโดย
ยุวธั น์ ศักดจิ ริ ะไพบูลย์

สารบญั หนา้

โรคเบาหวานคืออะไร 1

ชนดิ ของโรคเบาหวาน 4
7
เบาหวานในประเทศไทย 10
16
กินอยา่ งไรใหห้ า่ งไกลเบาหวาน

อาหารปองกันโรคเบาหวาน

บรรณานกุ รม

โรคเบาหวาน

คืออะไร?

เปนภาวะทีรา่ งกายมนี าํ ตาลในเลือดสงู กวา่
ปกติ เนอื งจากการขาดฮอรโ์ มนอินซูลิน
(Insulin) หรอื การดอื ต่อฮอรโ์ มนอินซูลิน สง่
ผลใหก้ ระบวนการดดู ซมึ นาํ ตาลในเลือดใหเ้ ปน
พลังงานของเซลล์ในรา่ งกายมคี วามผดิ ปกติ
หรอื ทํางานไดไ้ มเ่ ต็มประสทิ ธภิ าพ จนเกิด
นาํ ตาลสะสมในเลือดปรมิ าณมาก หากปล่อย
ใหร้ า่ งกายอยูใ่ นสภาวะนเี ปนเวลานานจะทําให้
อวยั วะต่าง ๆ เสอื ม เกิดโรคและอาการ
แทรกซอ้ นขนึ

อาการของโรคเบาหวาน

โรคเบาหวานในระยะแรกจะไมแ่ สดงอาการผดิ ปกติ บาง
รายอาจตรวจพบโรคเบาหวานเมอื พบภาวะแทรกซอ้ นขนึ
แล้ว อาการของโรคเบาหวานแต่ละชนดิ อาจมคี วามคล้าย
กัน ซงึ อาการทีพบสว่ นใหญ่ คือ กระหายนาํ มาก ปากแหง้
ปสสาวะบอ่ ย หวิ บอ่ ย นาํ หนกั ลดหรอื เพมิ ผดิ ปกติ สายตา
พรา่ มวั เหน็ ภาพไมช่ ดั รสู้ กึ เหนอื ยง่าย มอี าการชาโดย
เฉพาะมอื และขา บาดแผลหายยาก เปนต้น ทังนี อาการ
ของโรคเบาหวานประเภทที 1 จะเกิดขนึ อยา่ งรวดเรว็ ใน
ขณะทีโรคเบาหวานประเภทที 2 จะแสดงอาการแบบค่อย
เปนค่อยไป สว่ นโรคเบาหวานขณะตังครรภ์มกั เกิดขนึ ใน
ชว่ งอายุครรภ์ประมาณ 24-28 สปั ดาห์

สาเหตขุ องโรคเบาหวาน

โรคเบาหวานมหี ลายประเภท สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน 3
ประเภท คือ เบาหวานประเภทที 1 (Type 1 Diabetes) เกิด
จากตับอ่อนไมส่ ามารถผลิตฮอรโ์ มนอินซูลินได้ เบาหวาน
ประเภทที 2 (Type 2 Diabetes) เกิดจากการทีตับอ่อนผลิต
ฮอรโ์ มนอินซูลินไดไ้ มเ่ พยี งพอต่อการใช้ หรอื เกิดภาวะ
การดอื อินซูลิน (Insulin Resistance) และเบาหวานขณะตัง
ครรภ์ (Gestational Diabetes) ซงึ เปนโรคเบาหวานทีพฒั นา
ขนึ ระหวา่ งการตังครรภ์จากการเปลียนแปลงฮอรโ์ มน
โดยทีผปู้ วยไมเ่ คยเปนโรคเบาหวานมาก่อนนอกจากโรค
เบาหวานทัง 3 ประเภทแล้วยงั มโี รคเบาหวานทีพบไดไ้ ม่
บอ่ ยอยา่ งโรคเบาหวานทีเกิดจากกรรมพนั ธุห์ รอื แบบ
โมโนเจนกิ (Monogenic Diabetes) อีกทังยงั มโี รคเบาหวาน
จากสาเหตอุ ืน ๆ เชน่ การใชย้ า หรอื เกิดจากโรคชนดิ อืน
อยา่ งโรคซสิ ติก ไฟโบรซสิ (Cystic Fibrosis) ดว้ ย

ชนดิ ของโรคเบาหวาน

โรคเบาหวานแบง่ เปนประเภทใหญๆ่ ดงั นี

1.เบาหวานชนดิ ที 1
เกิดจากการขาดอินซูลิน เนอื งจากตับอ่อนไม่
สามารถหลังอินซูลินได้ ซงึ อินซูลินเปนฮอรโ์ มนที
สรา้ งจากตับอ่อน ทําหนา้ ทีชว่ ยนาํ นาํ ตาลเขา้ สู่
เซลล์ของรา่ งกาย เพอื เผาผลาญเปนพลังงาน
ทําใหเ้ กิดภาวะขาดอินสลุ ิน ซงึ เบาหวานชนดิ นมี กั
พบในเดก็ และผทู้ ีมอี ายุนอ้ ยกวา่ 40 ป

2.เบาหวานชนดิ ที 2

เกิดจากภาวะการลดลงของการสรา้ งอินสลุ ิน รว่ มกับ
ภาวะดอื อินสลุ ิน และมกั เปนกรรมพนั ธุเ์ กิดจากการที
เซลล์ของรา่ งกายตอบสนองต่ออินซูลินไดไ้ มด่ หี รอื ที
เรยี กวา่ ภาวะดอื ต่ออินซูลิน สง่ ผลใหร้ า่ งกายเหมอื น
ขาดอินซูลินไประดบั หนงึ รา่ งกายต้องทดแทนโดย
การสรา้ งอินซูลินออกมามากขนึ จนตับอ่อนทํางาน
มากขนึ ทําใหร้ ะดบั อินซูลินทีไมพ่ อเพยี งแก่ความ
ต้องการ สาเหตขุ องภาวะดอื อินซูลินนนั เกิดไดจ้ าก
พนั ธุกรรม ความอ้วน และการไมอ่ อกกําลังกาย
เปนต้น

3.เบาหวานชนดิ ที 3
เบาหวานขณะตังครรภ์
มกั เกิดในผทู้ ีไมม่ ปี ระวตั ิเปนเบาหวานมาก่อน แล้ว
เกิดขนึ ขณะตังครรภ์ เมอื คลอดแล้วเบาหวานก็จะ
หายไป แต่คนกล่มุ นมี คี วามเสยี งทีจะเกิดเปนเบา
หวานชนดิ ที 2 ไดอ้ ีกในอนาคต

4.เบาหวานชนดิ ที 4
เบาหวานชนดิ อืนๆ
เชน่ เปนโรคของตับอ่อน หรอื เปนโรคทีเกียวกับ
การทํางานทีผดิ ปกติของอินสลุ ินโดยกําเนดิ

เมอื แปงและนาํ ตาลทีบรโิ ภคมากจนล้นตับก็อาจจะถกู แปร
สภาพกลายเปนสารไกลโคเจน หรอื ไขมนั เมอื รา่ งกายไมส่ ามารถ
กักเก็บในรา่ งกายในรปู ของไขมนั ไดอ้ ีกต่อไป ก็จะทําใหม้ รี ะดบั
นาํ ตาลในเลือดสงู ขนึ นาํ ตาลทีไหลล้นบางสว่ นถกู แปรเปนกรด
แลกติก บางสว่ นไตขบั ออกทางปสสาวะ และบางสว่ นตับนาํ ไป
สงั เคราะหเ์ ปนกรดไขมนั และไตรกลีเซอไรดเ์ พอื นาํ ไปเก็บเปนไข
มนั สะสม

ดงั นนั คนทีกินนาํ ตาลมากและขา้ วขดั ขาวมากก็จะพบวา่
ปรมิ าณไตรกลีเซอไรดข์ นึ สงู มาก และหากมกี ารควบคมุ การกิน
นาํ ตาลและขา้ วขดั ขาวก็จะพบวา่ ไตรกลีเซอไรดก์ ็จะลดลงอยา่ ง
รวดเรว็ ยงิ กวา่ การลดไขมนั หรอื เนอื สตั วเ์ สยี อีก

เบาหวานทีพบโดยสว่ นใหญใ่ น
ประเทศไทยเปนแบบไหน?

จากรายงานวจิ ยั ตีพมิ พใ์ นวารสารทางการแพทยข์ อง
อังกฤษทีชอื วา่ The British Medical Journal เมอื วนั ที 15
มนี าคม พ.ศ. 2554 ในหวั ขอ้ White rice consumption and
risk of type 2 diabetes meta-analysis and systematic
review โดย Qi Sun และทีมงาน จากคณะโภชนาการ มหา
วทิ ยาลัยฮารว์ ารด์ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ไดท้ บทวน
วรรณกรรมงานวจิ ยั 7 ชนิ ทังการวเิ คราะหใ์ นเอเชยี และ
ชาวตะวนั ตก โดยรวบรวมคนทีปวยเปนโรคเบาหวานชนดิ
ที 2 หรอื ภาวะดอื ต่ออินซูลิน จาํ นวน 13,284 ราย จาก
จาํ นวนคนทีทําการศึกษาทังหมด 352,384 ราย ในชว่ งการ
ศึกษาติดต่อกันระหวา่ ง 4 ถึง 22 ป แล้วพบวา่ การบรโิ ภค
ขา้ วขดั ขาวมคี วามสมั พนั ธเ์ พมิ ความเสยี งโรคเบาหวาน
ชนดิ ที 2 อยา่ งมนี ยั ยะสาํ คัญโดยเฉพาะในหมูป่ ระชากรชาว
เอเชยี

สาํ หรบั ในประเทศไทยเบาหวานทีพบมากทีสดุ คือชนดิ ที 2
ประมาณ 90 % เกิดจากภาวะดอื อินสลุ ิน(insulin resistance)
ในภาวะปกติเมอื รบั ประทานอาหารตับอ่อนพยายามผลิตอิน
สลุ ิน เพอื ลดระดบั นาํ ตาลในเลือด แต่ ภาวะดอื อินสลุ ิน ทําให้
อินสลุ ินออกฤทธลิ ดระดบั นาํ ตาลไดไ้ มด่ ี สง่ ผลใหร้ ะดบั
นาํ ตาลในเลือดสงู และถ้าระดบั นาํ ตาลในเลือดสงู เปนเวลา
นาน ก็ยงั สง่ ผลใหร้ ะดบั นาํ ตาลนนั เปนพษิ กับตับ
อ่อน(glucotoxicity) ทําใหต้ ับอ่อนผลิตอินสลุ ินไดน้ อ้ ยลง
เกิดภาวะขาดอินสลุ ินรว่ มดว้ ยได้

กินอยา่ งไรใหห้ า่ งไกลเบาหวาน

การเลือกรบั ประทานอาหารอยา่ งถกู ต้องและเหมาะ
สม เปนสงิ สาํ คัญในการควบคมุ ระดบั นาํ ตาลในเลือด
ชว่ ยปองกันและชะลอภาวะแทรกซอ้ นจากเบาหวานได้
แนวทางในการดแู ลสขุ ภาพสาํ หรบั ผเู้ ปนเบาหวาน มี
ดงั นี

1. กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ แต่ละหมูใ่ ห้หลากหลาย และ
หมนั ดแู ลนาํ หนกั ตัว

การเลือกกินอาหารชนดิ ต่างๆหมุนเวยี นกันไปในแต่ละ
วนั ใหค้ รบทกุ หมูใ่ นปรมิ าณทีเหมาะสม จะชว่ ยใหร้ า่ งกายได้
รบั สารอาหารครบถ้วน และเพยี งพอกับความต้องการของ
รา่ งกาย กินอาหารแต่ละหมูใ่ นปรมิ าณใกล้เคียงกันทกุ วนั
อาหารแต่ละมอื ควรกินใหห้ า่ งกันประมาณ 4 – 5 ชวั โมง
และไมง่ ดอาหารมอื ใดมอื หนงึ

2. กินขา้ วเปนอาหารหลัก สลับกับ
อาหารประเภทแปงเปนบางมอื

ชนดิ และปรมิ าณของแปงเปนสงิ สาํ คัญทีผเู้ ปนเบา
หวานต้องคํานงึ ถึง เนอื งจากมผี ลต่อการควบคมุ ระดบั
นาํ ตาลในเลือด แมว้ า่ อาหารจาํ พวกแปงซงึ ไดแ้ ก่ ขา้ ว
ก๋วยเตียว ขนมปง เมล็ดธญั พชื ผกั ทีมแี ปงมาก และ ถัว
เมล็ดแหง้ ต่างๆ จะเปลียนเปนนาํ ตาลกลโู คสไดก้ ็ตาม
แต่อาหารกล่มุ นกี ็เปนแหล่งพลังงานสาํ คัญทีรา่ งกาย
จาํ เปนต้องไดร้ บั เพอื ใหม้ แี รงในการทํางาน ดงั นนั ผเู้ ปน
เบาหวานก็ไมค่ วรงดอาหารจาํ พวกแปง แต่ควรรบั
ประทานในปรมิ าณทีพอเหมาะ และควรเลือกบรโิ ภคชนดิ
ทีไมไ่ ดข้ ดั สี หรอื ผา่ นการขดั สเี พยี งเล็กนอ้ ย เชน่ ขา้ ว
กล้อง ขนมปงโฮลวที และธญั พชื ทีไมข่ ดั สี เชน่ ขา้ วโอ๊ต
ขา้ วบารเ์ ล่ย์ ขา้ วโพด เพราะทําใหไ้ ดว้ ติ ามนิ แรธ่ าตตุ ลอด
จนใยอาหาร ปรมิ าณทีแนะนาํ คือขา้ ว-แปงวนั ละ 6-11
ทัพพี

3. กินผกั ให้มากและกินผลไม้เปนประจํา

ผกั และผลไมเ้ ปนแหล่งของวติ ามนิ แรธ่ าตตุ ่างๆ ใยอาหาร
สารต้านอนมุ ูลอิสระ และสารพฤกษเคมที ีชว่ ยปองกันเบาหวาน
เสน้ ใยอาหารยงั ชว่ ยในการชะลอการดดู ซมึ นาํ ตาลกลโู คสเขา้ สู่
กระแสเลือดในเลือด ดงั นนั จงึ ควรกินผกั ผลไมเ้ ปนประจาํ ทกุ
วนั โดยเฉพาะผกั ซงึ เปนอาหารทีมปี รมิ าณคารโ์ บไฮเดรตนอ้ ย
ใหพ้ ลังงานตํา ควรกินวนั ละ 2 ½ ถ้วยตวง หรอื เท่ากับผกั สกุ
ประมาณ 5 ทัพพี สว่ นผลไมน้ อกจากจะมใี ยอาหารแล้ว ยงั มี
นาํ ตาลตามธรรมชาติของผลไมอ้ ยูด่ ว้ ย แมว้ า่ ผลไมบ้ างชนดิ
จะมรี สชาติไมห่ วานก็ตาม ดงั นนั การกินผลไมป้ รมิ าณมากจะ
ทําใหไ้ ดร้ บั พลังงานมากมผี ลต่อนาํ หนกั ตัว และในผเู้ ปนเบา
หวานยงั สง่ ผลต่อการควบคมุ ระดบั นาํ ตาลในเลือดดว้ ย ควร
กินผลไมว้ นั ละ 3 – 5 สว่ น (ผลไม้ 1 สว่ น เท่ากับ ผลไม้ 1 ผลก
ลาง เชน่ สม้ 1 ผล หรอื กล้วยนาํ วา้ 1 ผล หรอื ผลไมห้ นั ชนิ พอ
คํา 6 - 8 คํา) และควรหลีกเลียงผลไมเ้ ชอื ม แชอ่ ิม กวน ตาก
แหง้ ดอง และผลไมก้ ระปอง เนอื งจากมปี รมิ าณนาํ ตาลสงู
และอาจมเี กลืออยูด่ ว้ ย

4. กินปลา เนอื สตั วไ์ มต่ ิดมนั ไข่
และถัวเมล็ดแหง้ เปนประจาํ

อาหารเหล่านเี ปนแหล่งของโปรตีน ควรรบั ประทาน
ปลาอยา่ งนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 3 ครงั เลือกรบั ประทานเนอื
สตั วไ์ มต่ ิดหนงั และมนั และหลีกเลียงเนอื สตั วไ์ ขมนั
สงู เชน่ ซโี ครงหมู คอหมู หมูยอ กนุ เชยี ง หรอื
ไสก้ รอก เพอื ลดปรมิ าณไขมนั อิมตัว และ
คอเลสเตอรอล เปนการควบคมุ ระดบั คอเลสเตอรอล
และไขมนั ในเลือด ชว่ ยลดการเกิดโรคหวั ใจ ควรกิน
เนอื สตั วว์ นั ละ 6 – 12 ชอ้ นโต๊ะนอกจากนโี ปรตีนจาก
พชื เชน่ ถัวเมล็ดแหง้ ยงั เปนแหล่งของใยอาหารดว้ ย

5. กินอาหารทีมไี ขมนั แต่
พอควร

ไขมนั เปนอาหารทีใหพ้ ลังงานสงู ทําใหร้ า่ งกายอบอุ่น มกี รดไขมนั
จาํ เปน และชว่ ยในการดดู ซมึ วติ ามนิ ทีละลายในไขมนั ไดแ้ ก่ วติ ามนิ
เอ วติ ามนิ ดี วติ ามนิ อี และ วติ ามนิ เค ไขมนั แบง่ เปน 3 กล่มุ ตาม
ชนดิ ของกรดไขมนั คือ ไขมนั ไมอ่ ิมตัวตําแหนง่ เดยี ว ไขมนั ไมอ่ ิม
ตัวหลายตําแหนง่ และไขมนั อิมตัว ควรหลีกเลียงอาหารทีมไี ขมนั
อิมตัว และ คอเลสเตอรอล ซงึ พบในไขมนั ทีมาจากสตั ว์ เครอื งใน
สตั ว์ กะทิ อาหารทอด ไอศกรมี รวมถึงไขมนั ทรานส์ ซงึ เปนไขมนั
พชื ทีมกี ารดดั แปลงใหเ้ ปนของแขง็ เชน่ มาการนี เนยขาว ซงึ เปน
สว่ นประกอบของผลิตภัณฑ์ขนมอบ เชน่ เค้ก คกุ กี เปนต้น
เนอื งจากทําใหค้ อเลสเตอรอลในเลือดเพมิ ขนึ ได้ ควรเลือกใชไ้ ขมนั
ไมอ่ ิมตัวทังสองชนดิ ซงึ พบมากในนาํ มนั พชื ปลา และถัวเปลือก
แขง็ เชน่ ถัวลิสง อัลมอนด์ และ เมด็ มะมว่ งหมิ พานต์ ในปรมิ าณ
พอควร เนอื งจากไขมนั ทกุ ชนดิ ใหพ้ ลังงานเท่ากัน หากกินมากจะ
ทําใหไ้ มส่ ามารถควบคมุ นาํ หนกั ได้ ควรเลือกวธิ ปี ระกอบอาหารที
สามารถลดไขมนั ได้ คือ วธิ ตี ้ม ต๋นุ นงึ ยา่ ง อบ ยาํ และผดั โดยใชน้ าํ
มนั นอ้ ยๆ

6. หลีกเลียงอาหารหวานจดั
และเค็มจดั

นาํ ตาลทรายจดั เปนคารโ์ บไฮเดรตทีอยูใ่ นรปู ของซูโครส
เมอื รบั ประทานเขา้ ไปจะถกู ยอ่ ยเปนกลโู คสและฟรกุ โทส
ทําใหร้ ะดบั นาํ ตาลในเลือดสงู ขนึ อยา่ งรวดเรว็ ผเู้ ปนเบา
หวานจงึ ควรหลีกเลียง ในขนมหวานต่างๆจะประกอบไป
ดว้ ย นาํ ตาล แปง และไขมนั ซงึ มกั เปนไขมนั อิมตัว การรบั
ประทานขนมหวานเปนประจาํ อาจเปนเหตใุ หไ้ มส่ ามารถ
ควบคมุ นาํ ตาลและไขมนั ในเลือดได้ อาหารเค็มอาจสง่ ผล
ทําใหค้ วามดนั โลหติ สงู ได้ ควรหลีกเลียงอาหารอาหารเค็ม
จดั เชน่ อาหารประเภทหมกั ดอง เชน่ ผกั ดอง ผลไมด้ อง
กะป ปลาเค็ม ปลาแหง้ หมู/เนอื แดดเดยี ว อาหารแปรรปู
เชน่ หมูหยอง หมูแผน่ ไสก้ รอก หมูยอ และ ควรใชเ้ ครอื ง
ปรงุ รสต่างๆ เชน่ ซอี ิว นาํ ปลา เกลือ ผงชูรส ซอสปรงุ
อาหาร นาํ จมิ ต่างๆ แต่นอ้ ย

อาหารปองกันโรคเบา
หวาน

โรคเบาหวานนนั มาจากภาวะทีระดบั นาํ ตาลในเลือดสงู มาก
เกินไปเนอื งมาจากเซลล์ในรา่ งกายเกิดต้านอินซูลินหรอื
เซลล์ตับอ่อนทีมหี นา้ ทีผลิตอินซูลินนนั ถกู ทําลายซงึ ก็มา
จากปจจยั เสยี งไดห้ ลายอยา่ งค่ะ เชน่ กรรมพนั ธุ์ ,โรคอ้วน,
อายุ, ความเครยี ด เปนต้น

อาหารการกินนนั สาํ คัญมากไมว่ า่ คณุ จะเปนโรคเบาหวาน
หรอื ยงั ไมเ่ ปนก็ควรจะใสใ่ จเรอื งอาหารและสขุ ภาพ เพอื
ปองกันไวแ้ ละยงั มอี าหารหลายชนดิ

ปลา

ปลา กรดไขมนั โอเมก้า3 ในปลา ทําใหร้ า่ งกายใช้
กลโู คสไดด้ ขี นึ คนกินปลาเปนประจาํ มโี อกาสจะ
เกิดปญหาตับอ่อนหลังอินซูลินนอ้ ยเกินไป ทําให้
นาํ ตาลในเลือดสงู ทีเปนสาเหตขุ องโรคเบาหวาน
นอ้ ยกวา่ คนทีไมก่ ินปลา ถึง ครงึ ต่อครงึ

หอมใหญ่

ชว่ ยลดนาํ ตาลในเลือดไดด้ ี กระต้นุ การหลังอินซูลิน

บรอกโคลี

มโี ครเมยี มสงู ซงึ เปนสารอาหารจาํ เปนสาํ หรบั การ
ทํางานของอินซูลินในการสง่ กลโู คสไปเลียงเซลล์ใน
รา่ งกายของเรา

ถัวฝก ถัวแห้ง

มไี ฟเบอรส์ งู ชว่ ยลดนาํ ตาลในเลือดไดด้ มี ากชว่ ย
ใหร้ า่ งกายยอ่ ยสบายเปนกลโู คส ไมเ่ ปนภาระต่อ
อินซูลิน

ใบกะเพรา

ชว่ ยลดระดบั นาํ ตาลในเลือดสาํ หรบั คนเปนโรคเบา
หวานไดด้ ี

บรรณานกุ รม

กมลพรรณ จกั รแก้ว (2010) การดแู ลตนเองของผสู้ งู อายุทีปวยด้วยโรคเบา
หวาน หลกัสตู รสาธารณสขุ ศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชาิ สาธารณสขุ ศาสตร ์ บณั ฑิต
วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่ เชยี งใหม : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่

กสุ มุ า กังหล (2013) ปจจยั ทีมคี วามสมั พนั ธต์ ่อการควบคมุ ระดับนาํ ตาลใน
เลือดของผเู้ ปนเบาหวาน ชนดิ ทีสอง โรงพยาบาลพระมงกฎุ เกล้า หลกัสตู รสา

ธารณสขุ ศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชาิ สาธารณสขุ ศาสตร ์ กรุงเทพ : โรง
พยาบาลพระมงกฎุ เกล้า

ปานเทพ พวั พงษ์พนั ธ์ (2020) ทําไมคนไทยยุคนีเปนเบาหวานง่าย !? โรง
พยาบาลพระมงกฎุ เกล้า หลกัสตู รสาธารณสขุ กรุงเทพ : โรงพยาบาล

พระมงกฎุ เกล้า

เพชรรตั น์ เกิดดอนแฝก (2551) การรบั รูค้ วามเสยี ง ความเสยี งต่อการเกิดโรค
เบาหวานตามเกณฑ์ และวถิ ีชวี ติ ทีสง่ เสรมิ สขุ ภาพในญาติสายตรงลําดับแรกของ
ผทู้ ีเปนเบาหวาน หลกัสตู รสาธารณสขุ ศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชาิ สาธารณสขุ

ศาสตร ์กรุงเทพ : กรมสาธารณสขุ

ธนาฒย์ อามาตยม์ ุลตร,ี (2559) สศม.การพฒั นาระบบการดแู ลผปู้ วยโรคเบาหวาน
ชนดิ ที 2 ของ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตําบลก่จู าน อําเภอคําเขอื นแก้ว จงั หวดั

ยโสธร หลักสตู รสาธารณสขุ ศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาการจดั การระบบสขุ ภาพ
มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม กรุงเทพ : โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตําบลก่จู าน


Click to View FlipBook Version