The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prkeng, 2022-03-16 05:23:04

รายงานประจำปี 2564 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมควบคุมโรค

รายงานประจำปี 2564 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

Keywords: รายงานประจำปี

รายงานประจำป 2564 กลุม พัฒนาระบบบริหาร กรมควบคุมโรค

ท่ีปรกึ ษา : ผูอ ำนวยการกลุมพัฒนาระบบบรหิ าร
นางเบญจมาภรณ ภิญโญพรพาณชิ ย

บรรณาธิการ : ผอู ำนวยการกลุมพัฒนาระบบบรหิ าร
นางเบญจมาภรณ ภญิ โญพรพาณชิ ย นักวิเคราะหนโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
นักวเิ คราะหน โยบายและแผนชำนาญการพเิ ศษ
นางนวพรรณ สันตยากร

ดร.อจั ฉรา บุญชุม

ผชู วยบรรณาธิการ : นกั วิเคราะหนโยบายและแผน
นายอานุภาพ ไชยมี

ขอ มูล :
กลมุ งานยทุ ธศาสตรและอำนวยการ

กลุมงานพฒั นาระบบราชการ

กลุมงานพฒั นาคุณภาพและองคกร

กลมุ งานยทุ ธศาสตรและปฏิรูป

Website : https://ddc.moph.go.th/psdg

จดั ทำโดย : กลุมพฒั นาระบบบรหิ าร กรมควบคุมโรค

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ก

คำนำ

รายงานประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกลุมพัฒนาระบบบริหาร ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อ
เผยแพรผ ลการดำเนนิ งานในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ใหแ กหนวยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค และผูสนใจท่ัวไป
ทราบ ซึ่งในรายงานฉบับน้ี จะแสดงถึงขอมูลผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการของกลุมพัฒนาระบบบริหาร
ผลสัมฤทธข์ิ องการดำเนินงานของหนว ยงาน และผลสัมฤทธิ์ของการใชจายงบประมาณของหนวยงาน ในการท่ี
จะกอ ใหเ กิดประสิทธผิ ล และมปี ระสิทธิภาพ นอกจากน้ันยงั แสดงใหเ หน็ ถึงผลของการพฒั นากระบวนงานตา ง ๆ
ของกลุม พฒั นาระบบบริหารท่เี กิดข้นึ อยา งตอ เนื่องในปงบประมาณ พ.ศ. 2564

คณะผูจ ดั ทำมีความคาดหวังวาจะเปนประโยชนตอสว นราชการ ผเู กี่ยวขอ ง รวมทงั้ ผูสนใจทั่วไป
รายงานฉบับนี้ดำเนินการสำเร็จ ลุลวง โดยไดรับความรว มมือรวมใจจากบคุ ลากรของกลุมพัฒนาระบบบรหิ าร
ทีไ่ ดรวมรวบรวม และเรยี บเรียง พรอ มท้งั สรปุ ผลการดำเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ. 2564

กลุมพัฒนาระบบบรหิ าร
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ข

สารบัญ ก

คณะผจู ดั ทำรายงานประจำป ค
คำนำ จ
สารบัญ จ
สารบญั แผนภาพ ฉ
สารบญั ตาราง
สารบญั ภาพ 1
สวนท่ี 1 : ขอมูลทว่ั ไป 1
1
ความเปนมาของกลุมพัฒนาระบบบริหาร 1
หนาทแ่ี ละอำนาจของกลมุ พัฒนาระบบบริหาร 1
วสิ ัยทศั น 1
พนั ธกิจ 2
ประเด็นยทุ ธศาสตร 2
เปา ประสงค 2
กลยทุ ธการดำเนินงาน กลุมพัฒนาระบบบริหาร 3
Strategy Map กลุมพฒั นาระบบบรหิ าร ป 2562 – 2565 3
Value Chain กลมุ พัฒนาระบบบรหิ าร
โครงสรางและอัตรากำลังกลุมพฒั นาระบบบรหิ าร 5
ภารกจิ ในความรับชอบหลัก
สวนที่ 2 : ผลการดำเนนิ งานในภาพกรม 11
การประเมนิ สว นราชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัติราชการ 14
ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 16
การปฏบิ ัติราชการตามคำรบั รองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement : PA) 20
ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564
การดำเนินงานของคณะอนุกรรมการดำเนนิ การพัฒนาระบบราชการ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 27
การดำเนินการปรับบทบาทภารกจิ และโครงสรางกรมควบคุมโรค
การพัฒนาระบบการตดิ ตามประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการ กรมควบคุมโรค
ผลการดำเนนิ งานในการขับเคลื่อนระดบั กรม

ผลงานคุณภาพ ประจำป พ.ศ. 2564
1. การบรหิ ารจัดการภาครัฐตามเกณฑการประเมนิ สถานะของหนวยงานภาครฐั
ในการเปน ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ค

2. รางวัล UNITED NATIONS PUBLIC SERVICE AWARDS 2021 (UNPSA 2021) 30
3. รางวลั เลศิ รฐั สาขารางวลั บริการภาครฐั (TPSA) 30
4. รางวัล TQM SYMPOSIUM 38
5. รางวัลนวตั กรรมแหง ชาติ ประจำป พ.ศ. 2564 38
6. รางวลั ศูนยขอ มูลขาวสานของราชการโดดเดน ประจำป พ.ศ. 2564 38
การประชุมเครอื ขา ย ประจำป พ.ศ. 2564 40
สว นท่ี 3 : ผลการดำเนนิ งานในกลมุ พฒั นาระบบบริหาร
การปฏิบัตริ าชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกลุมพฒั นาระบบบริหาร 43
ผลการเบิกจายงบประมาณ 45
การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรอ่ืน ๆ 47
การพัฒนาศักยภาพบุคลากร 47
บทสรุป 55

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ง

สารบญั แผนภาพ

สว นที่ 1 : ขอมูลทว่ั ไป 2
แผนภาพท่ี 1-1 Strategy Map กลมุ พัฒนาระบบบรหิ าร ป 2562 – 2565 2
แผนภาพท่ี 1-2 Value Chain กลุม พฒั นาระบบบรหิ าร 3

แผนภาพท่ี 1-3 โครงสรา งกลุมพฒั นาระบบบริหาร กรมควบคมุ โรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564

สวนที่ 2 : ผลการดำเนนิ งานในภาพกรม 19
แผนภาพท่ี 2-1 โครงสรา งกรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564

สารบัญตาราง

สว นที่ 2 : ผลการดำเนนิ งานในภาพกรม

ตารางที่ 2-1 องคประกอบการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรงุ ฯ ประจำป พ.ศ. 2564 5

ตารางที่ 2-2 ผลการประเมนิ สว นราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏิบัติราชการ

ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 7

ตารางที่ 2-3 ผลการปฏบิ ตั ิราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement : PA)

ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 รอบ 12 เดือน

(ระหวางวันที่ 1 ตุลาคม 2563 – 30 กันยายน 2564) 11

ตารางท่ี 2-4 ขบั เคลอ่ื นหนวยงานใหสง ผลงานขอรับรางวลั UNPSA 2022 จำนวน 6 ผลงาน 39

สว นท่ี 3 : ผลการดำเนินงานในกลมุ พัฒนาระบบบรหิ าร 44
ตารางที่ 3-1 ผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ตั ิราชการ กลมุ พัฒนาระบบบริหาร 45
ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 45

ตารางที่ 3-2 งบประมาณทไ่ี ดรบั และผลการเบกิ จา ย ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564

ตารางท่ี 3-3 งบประมาณเบกิ จา ยแยกประเภท เปรยี บเทยี บ 5 ป ต้ังแตปง บประมาณ 2560 – 2564

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 จ

สารบัญภาพ

สว นที่ 2 : ผลการดำเนนิ งานในภาพกรม

ภาพท่ี 2-1 ประชุมคณะอนุกรรมการดำเนินการพัฒนาระบบราชการ (CCO) ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564

ครั้งท่ี 4/2563 วันท่ี 2 พฤศจิกายน 2563 14

ภาพที่ 2-2 ประชุมคณะอนุกรรมการดำเนินการพัฒนาระบบราชการ (CCO) ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564

คร้งั ท่ี 1/2564 วนั ท่ี 4 กุมภาพันธ 2564 15

ภาพท่ี 2-3 ประชมุ พิจารณารายละเอียคำช้ีแจงประกอบคำขอปรับโครงสรา งกรมฯ รวมกับสำนักงาน ก.พ.ร.

และหนวยงานที่เกี่ยวของ จำนวน 13 ครงั้ 18

ภาพท่ี 2-4 ประชุมคณะทำงานแบง สวนราชการภายในของกรมควบคุมโรค เมือ่ วนั ที่ 26 มีนาคม 2564

ณ หอ งประชมุ ประเมนิ จนั ทวมิ ล 19

ภาพที่ 2-5 ประชมุ ปรึกษาหารอื การทบทวนบทบาทหนาท่ีและภารกจิ ของหนว ยงาน

วันที่ 14 พฤษภาคม 2564 ณ หอ งประชมุ กองยุทธศาสตรแ ละแผนงาน 19

ภาพที่ 2-6 รายละเอยี ดตัวช้วี ัดคำรบั รองการปฏิบัตริ าชการหนว ยงาน กรมควบคมุ โรคประชมุ ปรึกษาหารอื

ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 22

ภาพท่ี 2-7 ประชุมเจรจารายตัวช้วี ดั คำรับรองการปฏิบตั ิราชการหนว ยงาน กรมควบคุมโรค

ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2565 24

ภาพที่ 2-8 พธิ ีลงนามคำรบั รองการปฏบิ ตั ิราชการหนว ยงาน กรมควบคมุ โรค

ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 25

ภาพที่ 2-9 ประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการ เรื่อง การประเมินสถานการณเ ปน ระบบราชการ 4.0 กรมควบคุมโรค

ประจำป พ.ศ. 2564 28

ภาพท่ี 2-10 ศึกษาดงู านดา นการพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครฐั ของหนวยงาน

ทีไ่ ดรับรางวลั คุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั 4.0 (PMQA 4.0) 29

ภาพที่ 2-11 ประชมุ พจิ ารณาการเขยี นผลงานรางวัลเลิศรฐั สาขาบริการภาครัฐ (TPSA)ประจำป พ.ศ. 2564 36

ภาพที่ 2-12 รับการตรวจประเมนิ ณ พ้ืนที่ปฏิบตั ิงาน (Site Visit) รางวลั เลิศรฐั สาขาบรกิ ารภาครัฐ

ประจำป พ.ศ. 2564 37

ภาพที่ 2-13 รับรางวลั เลิศรฐั สาขารางวลั บริการภาครัฐ (TPSA) ประจำป พ.ศ. 2564

วนั ท่ี 16 กนั ยายน 2564 ผา นระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส 37

ภาพท่ี 2-14 ประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการแนวทางการปฏริ ปู Retreat Rethink Redesign

ภายใตการเตรียมความพรอมรับมือการระบาดของโรคและภัยสขุ ภาพใหท ันสมยั และมคี ุณภาพ

และแนวทางการบริหารจดั การภาครัฐ PMQA 4.0 ระหวา งวันท่ี 16 - 18 พฤศจิกายน 2563

ณ โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอรพ อรต กรุงเทพฯ 42

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ฉ

สวนที่ 3 : ผลการดำเนนิ งานในกลุม พัฒนาระบบบริหาร 43
ภาพที่ 3-1 พธิ ีลงนามคำรบั รองการปฏิบตั ริ าชการกรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564
วนั ท่ี 10 พฤศจกิ ายน 2563 ณ หองประชุมเพชร อาคารเฉลิมพระเกียรติ ชนั้ 7 43
สถานบนั บำราศนราดรู กรมควบคมุ โรค 47
ภาพที่ 3-2 ลงนามคำรับรองการปฏิบัตริ าชการของหนวยงาน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 48
วันที่ 23 พฤศจกิ ายน 2563 ณ หอ งประชมุ กลมุ พฒั นาระบบบริหาร 49
ภาพที่ 3-3 ประชุมราชการหนว ยงาน ประชมุ คณะทำงานฯ ตาง ๆ ภายในหนวยงาน
ภาพที่ 3-4 กจิ กรรมสื่อสารตัวตนอยางไรใหประสบความสำเร็จในการทำงานยคุ ดิจิทลั 50
ภาพท่ี 3-5 กจิ กรรมเสนทางสูการมีสุขภาพท่ีดี หา งไกลโรค 51
ภาพที่ 3-6 การประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการ เรือ่ ง การพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรกลุมพัฒนาระบบบริหาร 54
ในการทำงานเปน ทมี และองคกรสรา งสขุ ในหัวขอ “การประเมนิ ตนเองตามหลักการ
Strengths Finder” ผา นระบบ Zoom
ภาพท่ี 3-7 E-book ถอดบทเรียนความสำเรจ็ ของกรมควบคุมโรค (Road to Success DDC 4.0)
ภาพท่ี 3-8 เครื่องมือการบรหิ ารจดั การภาครัฐ PMQA 4.0 (โปรแกรม DDC-PMQA 4.0)

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ช

ความเปนมาของกลุม พฒั นาระบบบรหิ าร

กลุมพัฒนาระบบบริหาร เปนหนวยงานที่ขึ้นตรงตออธิบดี ทำหนาที่หลักในการพัฒนาการบริหาร
ของกรมควบคุมโรคใหเกิดผลสัมฤทธ์ิ มีประสิทธภิ าพ คุมคา และรองรับการนำนโยบายของรัฐบาลไปสูการปฏิบัติ
ใหเกิดประสิทธิผลอยางมีประสิทธิภาพ ใหระบบราชการปรับตัว รูเทาทัน ตอบสนองทันตอการเปลี่ยนแปลง
โดยนำวิธีการบรหิ ารจัดการบา นเมืองทดี่ ี และนวตั กรรมทางเทคโนโลยีมาประยุกตใชในการพัฒนาระบบราชการ
เพ่ือประโยชนสขุ ของประชาชน

หนา ท่แี ละอำนาจของกลุมพัฒนาระบบบรหิ าร

กฎกระทรวง แบงสวนราชการกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2562 (ราชกิจจานเุ บกษา เลม 126
ตอนที่ 98 ก วันท่ี 28 ธันวาคม 2552) ขอ 5 ในกรมควบคุมโรค ใหม กี ลุมพฒั นาระบบบริหาร เพ่ือทำหนาท่ีหลัก
ในการพัฒนาการบริหารของกรมใหเกดิ ผลสมั ฤทธ์ิ มปี ระสทิ ธิภาพ คมุ คา รับผดิ ชอบงานขึ้นตรงตออธิบดกี รมควบคุมโรค
โดยมีอำนาจหนา ท่ดี งั ตอไปนี้

1) เสนอแนะและใหคำปรึกษาแกอ ธิบดีเกยี่ วกับยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาระบบราชการภายในกรม
2) ติดตาม ประเมินผล และจัดทำรายงานเก่ียวกับการพฒั นาระบบราชการภายในกรม
3) ประสานและดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการรวมกับหนวยงานกลางตาง ๆ และ
หนวยงานภายในกรม และ
4) ปฏบิ ตั งิ านรวมกับหรือสนับสนุนการปฏบิ ตั งิ านของหนวยงานอน่ื ท่ีเกยี่ วของ หรือท่ไี ดร บั มอบหมาย

วสิ ัยทัศน

เปน องคกรทเี่ ปนเลศิ ดานการพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การภาครัฐ ระดับมาตรฐานสากลภายในป พ.ศ. 2580

พนั ธกิจ

สง เสริม ประสาน และตดิ ตาม การดำเนนิ งานการพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครฐั ของกรมควบคุมโรค
อยา งมมี าตรฐานสากล เปน ระบบและตอเนอ่ื ง

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร

1. การพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการภาครัฐ ใหท นั สมยั และมปี ระสิทธภิ าพ
2. การขบั เคลอ่ื นและพัฒนาบุคลากรและเครือขาย ดานบริหารจดั การภาครฐั ใหม ีสมรรถนะสูงและทันสมยั

เปา ประสงค

กรมควบคุมโรค มีระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ที่มีประสิทธิภาพ และตอบสนองความตองการ
ของประชาชน

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 1 | 55

กลยทุ ธ

1. พฒั นานโยบาย และแนวทางปฏบิ ตั ิงานในการพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั
2. ยกระดับการดำเนนิ การตามเกณฑการพฒั นาคุณภาพระบบการบริหารจดั การภาครัฐ
3. พฒั นาประสิทธภิ าพของการส่อื สาร ทั้งภายในและภายนอกองคก ร
4. พัฒนาศกั ยภาพของหนวยงาน ในการบริหารจดั การภาครัฐ โดยใชเ ทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ีเหมาะสม
5. พัฒนาบุคลากรและเครือขายดานระบบบริหารจัดการภาครัฐ ของกรมควบคุมโรค ใหมีความพรอม
ในการปฏิบตั งิ านมสี มรรถนะสงู และทนั สมยั
6. พัฒนาระบบการตดิ ตาม และประเมินผลการปฏิบตั ิราชการใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ

แผนภาพท่ี 1-1 Strategy Map กลุมพัฒนาระบบบรหิ าร ป 2562 - 2565

แผนภาพท่ี 1-2 แผนภาพสายโซแ หง คณุ คา (Value Chain) กลมุ พัฒนาระบบบรหิ าร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 2 | 55

โครงสรา งและอตั รากำลงั ของกลุมพฒั นาระบบบรหิ าร

แผนภาพท่ี 1-3 โครงสรา งกลุมพัฒนาระบบบรหิ าร กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564

ภารกิจในความรับผิดชอบหลัก

กลมุ งานยุทธศาสตรและอำนวยการ มหี นา ที่
1. พัฒนาการจัดทำแผนกลยุทธ ติดตามและประเมินผลแผนงาน แผนปฏิบัติราชการ และแผนการ

ใชจ า ยเงนิ งบประมาณของหนว ยงาน
2. พัฒนาระบบขอมูลขา วสารสนเทศ การสื่อสารและการเผยแพรผ ลงานของหนวยงาน
3. ปฏิบัตงิ านบรหิ ารทัว่ ไป ไดแ ก การเงิน บญั ชี พสั ดุ สารบรรณ และอาคารสถานที่
4. ขบั เคลือ่ นงานคุณธรรมจรยิ ธรรมของหนว ยงาน
5. ปฏบิ ัติหนาทเี่ ลขานกุ ารกรรมการบริหารของหนวยงาน
6. ปฏิบตั ิงานอนื่ ๆ ตามทีไ่ ดร บั มอบหมาย

กลุมงานพฒั นาราชการ มีหนาท่ี
1. พัฒนาระบบกลไก และจัดทำกรอบการประเมินผล ใหคำปรึกษา เสนอแนะ และประสานงาน

เกยี่ วกับการปฏบิ ตั ิราชการประจำปข องกรมควบคุมโรค และหนวยงานในสงั กัดกรมควบคมุ โรค
2. นิเทศ ติดตาม กำกับและประเมินผลคำรับรองการปฏิบัติราชการของกรมควบคุมโรค และ

หนวยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค
3. ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement : PA) การประเมินสว น

ราชการตามมาตรการปรบั รงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการ และการประเมินผบู ริหารของกรมควบคมุ โรค
4. ปฏบิ ตั ิหนา ท่ีเลขานุการคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการของกรมควบคุมโรค (CCO)

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 3 | 55

5. ใหคำปรึกษา เสนอแนะ และประสานงานเกี่ยวกับการพัฒนาภารกิจ การจัดโครงสราง องคการ
ระบบงาน ปรบั ปรุงรูปแบบ กลไก บทบาท กระบวนการทำงานของกรมควบคุมโรค

6. ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ ตามทไี่ ดรับมอบหมาย

กลุม งานพัฒนาคณุ ภาพและองคก ร มีหนา ที่
1. ขบั เคล่อื น ผลักดัน การยกระดบั และพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการภาครฐั (PMQA 4.0) ระดบั กรม
2. ใหคำปรึกษา เสนอแนะ และประสานงานเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

(PMQA 4.0) หนวยงานในสังกดั กรมควบคมุ โรค
3. ใหค ำปรึกษา เสนอแนะการยกระดบั ผลงานรางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครฐั (TPSA) สาขาการบริหารราชการ

แบบมีสว นรวม (TEPGA) และรางวลั คณุ ภาพอน่ื ๆ
4. สนับสนุน สงเสริมการดำเนินงานตาม พรบ.การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของ

ทางราชการ พ.ศ. 2558
5. พจิ ารณาเสนอควบคุม กำกับ นโยบายการกำกบั ดแู ลองคก ารทด่ี ี (OG) ระดบั กรม และหนว ยงาน
6. พฒั นาศกั ยภาพเครือขายพฒั นาองคกรกรมควบคมุ โรค
7. ประเมินผลการปฏิบัติงาน (PMS) จัดการความรูของหนวยงาน (HRD) พัฒนางานวิชาการ/วิจัย

และพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรกลมุ พัฒนาระบบบริหาร
8. ปฏบิ ัติงานอ่นื ๆ ตามท่ไี ดรบั มอบหมาย

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 4 | 55

การประเมินสว นราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัตริ าชการ
ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564

สำนักงาน ก.พ.ร. ไดติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2547
ซง่ึ เปนการดำเนินการตามมาตรา 3/1 แหง พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2545
รวมทงั้ มาตรา 12 และมาตรา 45 ของพระราชกฤษฎีกาวาดว ยหลักเกณฑและวธิ ีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี
พ.ศ. 2546 โดยการจดั ทำรายละเอียดตัวช้ีวัดคำรับรองการปฏิบัติราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติราชการ กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีที่มาจากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่
15 กันยายน พ.ศ. 2563 ที่เห็นชอบใหมีการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการ
ปฏิบัตริ าชการของสวนราชการ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 ตามที่สำนกั งาน ก.พ.ร. เสนอ ซึ่งมกี รอบการประเมนิ
มอี ยู 2 องคป ระกอบ ไดแ ก การประเมินประสิทธิผลการดำเนินงาน (Performance Base) น้ำหนกั รอยละ 70
และการประเมนิ ศกั ยภาพในการดำเนนิ งาน (Potential Base) น้ำหนกั รอยละ 30 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

ตารางท่ี 2-1 องคป ระกอบการประเมนิ สวนราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ฯ ประจำป พ.ศ. 2564

องคป ระกอบการประเมิน ประเด็นการประเมิน

1. การประเมินประสิทธิผล การ 1.1 ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตรชาติ แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ

ดำเนินงาน (Performance Base) มตคิ ณะรฐั มนตรนี โยบายรฐั บาล โดยเฉพาะนโยบายเรงดว น เชน การฟนฟู

นำ้ หนกั รอยละ 70 เศรษฐกิจ เปน ตน (Agenda KPI)

1.2 ผลการดำเนินงานตามแผนการปฏริ ปู ประเทศในประเด็นทเี่ ก่ียวขอ งกับ สวนราชการ

1.3 ผลการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญที่เปนการบูรณาการการดำเนินงาน

รวมกันหลายหนวยงาน เชน การขจัดความยากจน อุบัติเหตุทางถนน

ปญ หาชายแดนภาคใต เปนตน (Joint KPIs)

1.4 ผลการดำเนินงานตามภารกิจพื้นฐาน งานประจำ งานตามหนาท่ี ความ

รับผดิ ชอบหลกั งานตามกฎหมาย กฎ หรอื ภารกจิ ในพืน้ ท่/ี ทองถ่นิ ภูมภิ าค

จังหวดั กลมุ จงั หวัด (Function KPI /Area KPI)

1.5 ดชั นชี ้วี ัดสากลทว่ี ัดผลการดำเนนิ งานตามภารกิจของหนว ยงาน (International KPIs)

2. ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น ศ ั ก ยภ าพ ใน ก าร ประเมินผลการพัฒนาศกั ยภาพองคก ารสูการเปนระบบราชการ 4.0 ประกอบดว ย

ด ำ เ น ิ น ง า น (Potential Base) 2.1 การพัฒนาองคก ารสดู ิจทิ ัล (นำ้ หนักรอ ยละ 15) เลอื กจากประเดน็ ตา ง ๆ ดงั นี้

น้ำหนักรอยละ 30 (1) การพัฒนาระบบขอมูลใหเปนดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งขอมูลที่ใช

ภายในหนวยงาน และขอมูลทจี่ ะเผยแพรสูหนว ยงานภายนอก/ สาธารณะ เพื่อ

นำไปสูการเปด เผยขอ มูลภาครฐั (Open Data)

(2) การเช่อื มโยงและแบง ปน ขอมลู (Sharing Data)

(3) การพัฒนากระบวนการปฏิบัตงิ านโดยการนำเทคโนโลยีดิจิทัล มาเปน

กลไกหลกั ในการดำเนินงาน (Digitalize Process)

(4) การสรางนวตั กรรมในการปรับปรงุ กระบวนงาน หรือการใหบรกิ าร (e-Service)

2.2 การประเมินสถานะของหนวยงานในการเปนระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)

(นำ้ หนักรอ ยละ 15)

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 5 | 55

สวนเกณฑเปาหมายของการประเมินออกเปน 3 ระดับ ไดแก เปาหมายขั้นตน (50) เปาหมาย
มาตรฐาน (75) และเปาหมายขั้นสูง (100) โดยพิจารณาจากคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมของทุกองคประกอบ
รวมท้ังกำหนดใหประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการของสวนราชการปล ะ 1 คร้งั ในรอบ 12 เดอื น (รอบการประเมิน
ตั้งแตวันท่ี 1 ตุลาคม ถึง 30 กันยายนของทุกป) โดยผูรับการประเมิน คือ สวนราชการในสังกัดฝา ยบริหารท้ัง
ระดับกรมและจังหวัด และผูทำการประเมิน คือ นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีวาการหรือ
รัฐมนตรีชวยวาการ และเลขาธิการ ก.พ.ร. (ทำการประเมินในเบื้องตน) ทั้งนี้สำนักงาน ก.พ.ร. ไดกำหนด
หลกั การและแนวทางการประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ ของปง บประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้

1. ประเมินใน 2 องคประกอบ ไดแก Performance Base และ Potential Base โดยกำหนด
สัดสวนน้ำหนกั เทากบั 70:30

2. จำนวนตัวชี้วัด Performance Base 3-5 ตัวชี้วัด (กรมตองถายทอดจากกระทรวงอยางนอ ย 1 ตัวชี้วัด)
Potential Base 1 ตวั ชี้วัด

3. เปนตัวชี้วัดที่เนนการสะทอนยุทธศาสตรชาติ/แผนแมบทฯ/แผนฯ 12/นโยบายรัฐบาล และยึด
ประโยชนทีป่ ระชาชนจะไดร ับ

4. กำหนดใหส ว นราชการระดับกรมตองมีตวั ชีว้ ดั ทีส่ อดคลองกับแผนการปฏิรูประเทศ อยางนอ ย 1 ตัวชี้วัด
(1 กรม 1 ปฏริ ปู )

5. กำหนดใหม ีตวั ชว้ี ัดทเ่ี นนJointKPIsสำคัญเพื่อบูรณาการการทำงานรวมกนั เชนอากาศแหลง นำ้ ขยะเปน ตน
6. กำหนดใหม ตี ัวชวี้ ดั การพัฒนาองคการสดู ิจทิ ลั (e-Service, Digitize Data, Digitalize Process, Sharing Data
7. กำหนดใหมตี ัวช้ีวัดการประเมิน PMQA 4.0 ซ่ึงเปน สวนหนึ่งของการประเมนิ Potential Base
ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 สถานการณร ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ยังคงตอ เนอื่ ง
และเกดิ การระบาดในประเทศไทยระลอกใหม ท่ีเชือ้ มกี ารกลายพันธุ และทวีความรุนแรงมากขน้ึ อยางตอเน่ือง
โดยพบอัตราการเพ่ิมขึ้นของจำนวนผูติดเชื้อรายใหมและจำนวนผูปว ยทต่ี องเฝาระวังอาการในแตละวันเพิ่มสูงขึ้น
อยางตอ เนื่อง โดยเฉพาะในเขตกรงุ เทพมหานคร ปรมิ ณฑล และจังหวดั ทีไ่ ดก ำหนดเปน พื้นท่ีควบคุมสูงสุดและเขมงวด
ทั้งน้โี ดยสว นใหญเ ปน การตดิ เชือ้ โรค COVID-19 กลายพนั ธสุ ายพนั ธเุ ดลตา ทีส่ ามารถแพรร ะบาดไดอยางรวดเร็ว
และสง ผลกระทบอยางรุนแรงตอชีวิตและสุขภาพ ถงึ แมจ ะไดมีการเรงฉดี วัคซีนเพื่อใหเกิดภูมิคุมกันหมูแลวก็ตาม
แตยอมตองอาศัยระยะเวลาเพ่ือสรางภมู ิคุมกันที่ไมอาจเกิดข้ึนโดยเร็วไดในขณะนี้ ทำใหศ นู ยบรหิ ารสถานการณ
การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ศบค.) ไดพิจารณายกระดับออกมาตรการ
ควบคุมโรคโควิด-19 ขนั้ สูงสดุ โดยจำกดั การเคล่ือนยา ยและการรวมกลุมของบคุ คลขน้ั สงู สุด กำหนดเวลาการเขาออก
นอกเคหสถาน ควบคไู ปกับการเรงรัดมาตรการดานการปองกันโรค การฉีดวัคซีน การควบคุมโรค และการรักษาพยาบาล
ทำใหส ง ผลกระทบตอการดำเนินงานและการประเมินผล อกี ทั้งสวนราชการตองระดมทรัพยากรในการแกไขปญหา
และใหบริการประชาชนในภาวะวกิ ฤต ดวยเหตุน้ีทางสำนักงาน ก.พ.ร. จึงมีมติเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2564
เห็นชอบแนวทางการประเมินสว นราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของสว นราชการ
ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 เพือ่ รองรบั สถานการณการแพรระบาดของโรค COVID-19 โดยไมนำผลการดำเนินงาน
ไปจดั ประเภทตามเกณฑการประเมนิ ในระดับคุณภาพ มาตรฐาน ปรับปรุง แตใ หสวนราชการรายงานผลการดำเนินงาน

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 6 | 55

เพื่อใชใ นการติดตาม (Monitoring) พรอ มทงั้ ถอดบทเรียนการบรหิ ารจัดการและการแกไขปญหาเพ่ือการปฏิบัติงาน
และการใหบริการประชาชนอยางตอเนื่อง และสำนักงาน ก.พ.ร. ดำเนินการสรุปบทเรียนการบริหารจัดการ
เพ่ือเปน แนวทางในการบรหิ ารงานและใหบ รกิ ารประชาชนในภาวะวกิ ฤตตอ ไป

สำหรับผลการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ของ
กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 พบวาผลการปฏิบตั ิราชการท่ีสามารถดำเนินการไดตามเปาหมาย
ที่กำหนดไวกับสำนักงาน ก.พ.ร. จำนวน 4 ตัวชี้วัด ยกเวนตัวชี้วัดรอยละของผูปวยเบาหวานรายใหมลดลง
ตัวชี้วัดรอยละของผูปวยความดันโลหิตสูงรายใหมลดลง และตัวชี้วัดจำนวนอำเภอเสี่ยงสูงมากและเสี่ยงสูงที่
ดำเนินการ D-RTI มีจำนวนผูบาดเจ็บรวมกับผูเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง ที่ผลการดำเนินงานไมได
ตามคา เปา หมายที่กำหนด ตามรายละเอยี ดดงั น้ี

ตารางท่ี 2-2 ผลการประเมินสว นราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิราชการ

ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564

องคป ระกอบ/ตวั ชี้วดั เปา หมาย ผลการดำเนินงาน
การประเมินรอบ 12 เดอื น

องคป ระกอบที่ 1 การประเมนิ ประสิทธผิ ลการดำเนินงาน (Performance Base)

1. รอ ยละของผูปว ยเบาหวานรายใหม

และความดันโลหติ สูงรายใหมลดลง

1.1) รอ ยละของผปู ว ยเบาหวาน เปาหมายขน้ั ตน (50) รอ ยละ 4.35

รายใหมลดลง รอยละ 7.35 (ไมผ า นเกณฑเปาหมาย)

เปาหมายมาตรฐาน (75)

รอ ยละ 7.78

เปาหมายขัน้ สงู (100)

รอ ยละ 8.22

1.2) รอยละของผูปวยความ เปาหมายขัน้ ตน (50) รอ ยละ 0.57

ดนั โลหิตสูงรายใหมล ดลง รอ ยละ 9.23 (ไมผา นเกณฑเปาหมาย)

เปา หมายมาตรฐาน (75)

รอยละ 9.98

เปาหมายขัน้ สงู (100)

รอยละ 10.73

1.1 อัตราผูเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ เปาหมายขนั้ ตน (50) 27.72 ตอ ประชากรแสนคน

ทางถนนตอ ประชากรแสนคน < 31.18 ตอประชากรแสนคน (ผานเกณฑเปาหมายขั้นสูง)

เปา หมายมาตรฐาน (75)

< 30.24 ตอประชากรแสนคน

เปา หมายขัน้ สงู (100)

< 29.62 ตอประชากรแสนคน

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 7 | 55

องคประกอบ/ตัวชว้ี ัด เปาหมาย ผลการดำเนินงาน
การประเมนิ รอบ 12 เดอื น

1.2 จำนวนอำเภอเส่ียงสูงมากและ เปา หมายข้นั ตน (50) (ไมผ านเกณฑเปาหมาย)

เสี่ยงสูงทีด่ ำเนินการ D-RTI มี > 75 อำเภอ - มอี ำเภอเสย่ี งสูงมากและเสยี่ งสูงผา นการประเมนิ

จำนวนผูบาดเจ็บรวมกับ เปาหมายมาตรฐาน (75) ผานเกณฑการประเมินระดับดีมาก (Excellent)

ผูเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทาง > 100 อำเภอ จำนวน 138 อำเภอ และระดับดีเยี่ยม

ถนนลดลง เปาหมายขัน้ สงู (100) (Advanced) จำนวน 58 อำเภอ รวมทั้งหมด

> 110 อำเภอ 196 อำเภอ (คาเปาหมาย 140 อำเภอ)

- สำหรับผลจำนวนอำเภอที่มีผูบาดเจ็บและ

เสียชีวติ จากอุบัติเหตทุ างถนนลดลง เน่อื งจาก

สถานการณโควิด-19 มีการระบาดรุนแรงใน

หลายพื้นที่ ทำใหการลงพื้นที่ติดตามผลไม

สามารถดำเนินการไดตามแผน รวมทั้งระบบ

ขอมูลของบริษัท กลางคุมครองผูประสบภัย

จากรถ มีการปรับเปลี่ยนการแสดงผลขอมูล

ในระบบ ทำใหไมสามารถนำขอมูลมาใช

วิเคราะหผูบาดเจ็บและเสียชีวิต แตไดให

สคร. วิเคราะหขอมูลในภาพรวมของจังหวัด

หรือวเิ คราะหขอ มูลจากระบบขอมูลในพ้ืนทเี่ อง

3. จำนวนศูนยปฏิบัติการภาวะ เปาหมายขัน้ ตน (50) 13 ศนู ย

ฉกุ เฉนิ ผานเกณฑท่กี ำหนด 12 ศนู ย (ผา นเกณฑเปาหมายขั้นสงู )

เปา หมายมาตรฐาน (75)

13 ศนู ย

เปาหมายขัน้ สงู (100)

14 ศูนย

องคป ระกอบท่ี 2 การประเมินศกั ยภาพในการดำเนินงาน (Potential Base)

4.1 ระบบคำขอใบรบั รองแหลงผลติ เปา หมายขน้ั ตน (50) (ผานเกณฑเ ปา หมายขนั้ สงู )

แหลงกำเนิดอาหารปลอดโรค ยื่นชำระคาธรรมเนียม ณ สนง. จัดหาเครื่องรูดบัตรอิเล็กทรอนิกส (EDC) ของ

(Pink From) ผานเครื่องรูดบัตรอิเล็กทรอนิกส ธนาคารกรงุ ไทย ณ กองโรคติดตอ ท่ัวไป อาคาร 5

( EDC) ข อ ง ธ น า ค า ร ก ร ุ งไ ทย ชั้น 6 กรมควบคุมโรค เพื่ออำนวยความสะดวก

(ประชาชนไมตองนำเงนิ สดไปจาย) แกประชาชนไมต อ งนำเงินสดไปจาย

เปา หมายขัน้ สงู (100) - ขออนุมตั กิ ารออกใบเสรจ็ รับเงินอิเลก็ ทรอนิกส

ยน่ื ชำระผา นทางระบบออนไลน ชำระคาธรรมเนยี มจากกรมบญั ชกี ลาง

ของหนวยงาน และออกใบเสร็จ - พัฒนาระบบการยื่นชำระคาธรรมเนียมกับ

รบั เงินอเิ ล็กทรอนกิ สได ธนาคารพาณชิ ย (ทเี อม็ บีธนชาต)

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 8 | 55

องคประกอบ/ตวั ชว้ี ัด เปาหมาย ผลการดำเนินงาน
การประเมินรอบ 12 เดอื น

- ทดสอบระบบการยื่นขอชำระคาธรรมเนียม

ระหวางบรษิ ัทผูป ระกอบกจิ การกบั ธนาคารพาณชิ ย

(ทีเอม็ บี ธนชาต)

- จดั ทำ (ราง) ประกาศกรมควบคมุ โรค เร่อื ง ใบรับรอง

แหลงผลิตแหลงกำเนิดอาหารปลอดโรค

อิเลก็ ทรอนกิ ส และใบเสรจ็ รับเงนิ อเิ ลก็ ทรอนิกส

4.2 การประเมินสถานะของ เปา หมายข้ันตน (50) 458.99 คะแนน

หนวยงานในการเปนระบบ 370 คะแนน (ผานเกณฑเ ปา หมายขัน้ สูง)

ราชการ 4.0 (PMQA 4.0) เปา หมายมาตรฐาน (75)

409.64 คะแนน

เปาหมายขัน้ สงู (100)

417.83 คะแนน

การถอดบทเรียนการแกไขสถานการณ COVID-19

5 การถอดบทเรียนในการบริหาร กรมควบคุมโรค ถอดบทเรียนการบริหารจัดการผลกระทบและการแกไขปญหาใน

จดั การผลกระทบและการแกไข สภาวะวิกฤตโควดิ -19 ตามแบบฟอรม ของสำนักงาน ก.พ.ร. ใน 4 ประเด็น ประกอบดวย

ปญหาในสภาวะวกิ ฤตโควดิ 19 (1) ผลกระทบที่เกิดขน้ึ จากการระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

(COVID-19) ตอสวนราชการ (2) มาตรการการตอบสนองของสว นราชการ (3) การบริหารจัดการท่ดี ี

ของหนว ยงานในสภาวะวิกฤตโควิดฯ และ (4) ขอ เสนอแนะ

ปญหา อปุ สรรค / ขอ คนพบ
ดวยสถานการณการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ในประเทศไทย ท่ีการระบาด

มีความรุนแรง ไมสามารถควบคุมเหตุการณร ะบาดของโรคไดต ามระยะเวลาที่กำหนด ทำใหก ารปฏบิ ัติราชการ
ของตัวชี้วัดการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ของกรมควบคุมโรค
ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ไมสามารถดำเนินงานใหบ รรลตุ ามเปาหมาย เนอื่ งจากหนว ยงานตองทุม เททรัพยากร
ระดมสรรพกำลังทั้งสวนกลาง และสวนภูมิภาคเพื่อตอบโตภาวะฉุกเฉินในการแกไขและปองกันสถานการณ
ระบาดของโรค COVID-19 รวมทัง้ การกำหนดคาเปา หมายของตวั ชวี้ ัดชวงตนปงบประมาณนั้น ความรุนแรงของ
สถานการณโ รคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) ยงั ไมพบผูต ดิ เชือ้ รายใหมท ี่เพิ่มสูงข้ึนมากเทากับปจ จุบัน

แนวทางการดำเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ. 2565
สำนักงาน ก.พ.ร. จัดประชุมชี้แจงกรอบแนวทางการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุง

ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ิราชการ ประจำป พ.ศ. 2565 ใหสว นราชการรับทราบ เมอื่ วันที่ 12 กรกฎาคม 2564
กรมควบคุมโรค โดยกลุมพัฒนาระบบบริหาร ดำเนินการประสานหนว ยงานผูร บั ผิดชอบตวั ช้ีวัดการประเมินสว นราชการฯ
จัดทำรายละเอียดตัวชี้วัดการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2565 พรอมกำหนดคาเปาหมายการดำเนินงานรอบ 6 และ 12 เดอื น เกณฑก ารประเมิน

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 9 | 55

ใหคะแนน และคาน้ำหนัก สงใหกลุมพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อเสนอเขา
คณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกระทรวงพิจารณาใหความเห็นชอบกอนสงขอมูล
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ ใหสำนักงาน ก.พ.ร. นำเขา อ.ก.พ.ร. รับทราบตอไป โดยสำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให
สว นราชการรายงานผลการปฏิบัติราชการ ปล ะ 1 ครั้ง (รอบ 12 เดือน : 1 ตลุ าคม ถงึ 30 กนั ยายนของทุกป)
โดยรายงานผลการดำเนินงานผานระบบการรายงานผลการประเมินสวนราชการ (Electronic Self Assessment
Report : e-SAR) ทง้ั นี้ จะมีการนำผลการดำเนนิ งาน/ผลการประเมินของสวนราชการไปเชื่อมโยงกบั การประเมินผล
การปฏิบัตงิ านรายบุคคลในระดบั หัวหนาสวนราชการ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 10 | 55

การปฏบิ ตั ิราชการตามคำรบั รองการปฏิบัตริ าชการ (Performance Agreement : PA)
ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564

ในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 รฐั มนตรีวา การกระทรวงสาธารณสุข และปลัดกระทรวงสาธารณสุข ไดมอบ
นโยบายการดำเนินงานดานสาธารณสุข โดยใหความสำคัญสูงสุดตอการพัฒนางานสาธารณสุขตามแนวทาง
โครงการพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ และมีนโยบายใหผูบ ริหารในทกุ ระดับจดั ทำขอตกลงการปฏิบัติราชการ
(Performance Agreement : PA) โดยใหมีการถายทอดตัวชี้วัดตามนโยบายสำคัญของกระทรวง ตัวชี้วัดตามแผน
ยุทธศาสตร 20 ป ของกระทรวงสาธารณสุข แผนบรู ณาการ แผนงาน และโครงการสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
รวมทัง้ การปฏิบัตริ าชการตามนโยบายเรงรัดของผูบริหารกระทรวงสาธารณสุข โดยมีพธิ ีลงนามคำรับรองการปฏบิ ัติราชการฯ
ระหวางนายแพทยเกียรติภูมิ วงศร จติ ปลดั กระทรวงสาธารณสุข นายแพทยย งยศ ธรรมวุฒิ รองปลดั กระทรวงสาธารณสุข
หัวหนากลุมภารกิจดานพัฒนาการสาธารณสุข และนายแพทยโอภาส การยกวินพงศ อธิบดีกรมควบคุมโรค
เมือ่ วันท่ี 6 มกราคม 2564 ซ่ึงเปน พันธะสัญญาตอความสำเร็จ ตามเปา หมายตัวช้ีวดั มีความรับผิดชอบตอผลสำเร็จ
ตามขอตกลงรวมกัน และใหมีการติดตามผลการปฏิบัติงาน (Small Success) รอบ 3, 6, 9 และ 12 เดือน
เพอื่ ติดตามความกาวหนาการดำเนนิ งานตามขอตกลงเปนระยะ ๆ กอ ใหเ กดิ ผลสัมฤทธ์ิของภารกจิ คณุ ภาพการใหบ ริการ
ความคุมคา และเปนแนวทางที่จะบรรลุผลสัมฤทธ์ติ ามเจตนารมณของพระราชกฤษฎีกาวาดว ยหลักเกณฑและ
วิธกี ารบรหิ ารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

ผลการปฏิบตั ิราชการตามคำรับรองการปฏบิ ตั ริ าชการ (Performance Agreement : PA) ของปง บประมาณ
พ.ศ. 2564 ทางกลุมพฒั นาระบบรหิ าร ไดป ระสานกบั หนวยงานทรี่ ับผิดชอบรายงานผลการดำเนนิ งาน (Small Success)
ของตัวชี้วัดคำรับรอง และการประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ (Performance Agreement : PA) รอบ 12 เดือน
ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 (1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กนั ยายน 2564) ซ่ึงผลการดำเนินงานไดตามเปา หมาย
Small Success รอบ 12 เดือนทุกตัวชีว้ ัด แตมีตัวชี้วัดอัตราขาดการรักษาและเสียชีวิตของผูปวยวัณโรคปอดรายใหม
ซึ่งเปนตัวชี้วัดยอยภายใตตัวชี้วัดอัตราความสำเร็จในการรักษาผูปวยวัณโรคปอดรายใหม ที่ไมสามารถ
ดำเนนิ การไดต ามเปา หมาย Small Success รอบ 12 เดือน ตามรายละเอียดดงั น้ี

ตารางท่ี 2-3 ผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ัตริ าชการ (Performance Agreement : PA)

ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 รอบ 12 เดือน (ระหวางวนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2563 – 30 กันยายน 2564)

ตัวช้ีวัด เปา หมาย ผลการดำเนินงาน
การประเมินรอบ 12 เดือน

1. รอยละการตรวจติดตามกลุมสงสัย > รอ ยละ 60 รอ ยละ 63.15

ปว ยโรคเบาหวาน (139,678 คน)

(ขอมลู HDC วนั ท่ี 20 ก.ย.64)

2. รอยละการตรวจติดตามกลุมสงสัย > รอยละ 70 รอ ยละ 76.31

ปวยความดันโลหติ สงู (619,844 คน)

(ขอมูล HDC วนั ที่ 20 ก.ย.64)

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 11 | 55

ตัวช้วี ัด เปา หมาย ผลการดำเนนิ งาน
การประเมินรอบ 12 เดอื น

3. รอ ยละชุมชนผา นเกณฑการดำเนินงาน > รอ ยละ 35 รอยละ 82.0

“ชุมชนวถิ ีใหม หางไกล NCDs” (53 ชมุ ชน) (146 ชุมชน)

(ขอมลู วันที่ 30 ก.ย.64)

4. จำนวนจังหวัดที่มีการขับเคลื่อน วเิ คราะห รายงาน และตดิ ตาม ประเมินผล รอยละ 89 (68 จงั หวดั )

มาตรการลดโรคและภัยสุขภาพจาก ในภาพรวมประเทศ จำนวน 1 เรือ่ ง - มีการขับเคลื่อนมาตรการลดโรคจาก

การประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม การประกอบอาชีพและโรคจากส่ิงแวดลอ ม

ตามกฎหมาย และปญหาสำคญั ในพืน้ ท่ี โดยมีการขับเคล่ือนมาตรการลดโรคฯ

ผานมตขิ องคณะกรรมการควบคุมโรค

49 จงั หวดั (รอยละ 72) และขบั เคลื่อน

มาตรการลดโรคฯ โดยไมผานมติของ

คณะกรรมการ 19 จังหวดั (รอยละ 28)

- มีการกำหนดชื่อโรค และขับเคลื่อน

มาตรการลดโรคจากการประกอบอาชีพ

4 โรค และโรคจากสง่ิ แวดลอม 2 โรค

ระดับจังหวัด : รอยละ 65 ของจังหวัด รอยละ 89

มีการขับเคลื่อนมาตรการลดโรคและ (68 จงั หวัด)

ภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและ

สิ่งแวดลอมของจงั หวดั

ระดับจังหวัด : จังหวัดมีสรุปรายงาน 48 จงั หวดั

ผลการดำเนนิ งานรายจงั หวัด (รอยละ 63.16)

5. อัตราความสำเรจ็ ในการรกั ษาผปู ว ย 1. ผูปวยวัณโรคปอดรายใหมขึ้น รอยละ 85

วัณโรคปอดรายใหม ทะเบียนรักษาในไตรมาสที่ 1 จำนวนผูปวยวัณโรคปอดรายใหมที่ขึน้

ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ระหวาง ทะเบียนรักษาในไตรมาสที่ 1 ป พ.ศ. 2564

วันที่ 1 ต.ค.63 – 31 ธ.ค.63) ≥ จำนวน 11,262 ราย โดยแบงเปน

รอ ยละ 85 - รกั ษาสำเร็จ 9,573 ราย (รอ ยละ 85.0)

- อยูระหวางการรักษา 303 ราย

(รอ ยละ 2.7)

- เสียชีวิต 968 ราย (รอยละ 8.6)

- ลม เหลว 28 ราย (รอ ยละ 0.2)

- ขาดยา 324 ราย (รอ ยละ 2.9)

- โอนออก 66 ราย (รอ ยละ 0.6)

(ขอมูล ณ วันที่ 4 ต.ค.64)

2. อัตราความคลอบคลุมการข้ึนทะเบียน รอ ยละ 68.5

รักษาผูปวยวัณโรคปอดรายใหม (66,324 ราย)

และกลบั เปนซ้ำ > รอ ยละ 75 (ขอ มลู ณ วนั ที่ 4 ต.ค.64)

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 12 | 55

ตวั ช้วี ัด เปา หมาย ผลการดำเนนิ งาน
การประเมนิ รอบ 12 เดือน

3. อัตราขาดการรักษาและเสียชีวิต รอยละ 11.5

ของผูปวยวัณโรคปอดรายใหม (1,292 ราย)

รวมกันไมเ กนิ รอ ยละ 10 (ขอ มูล ณ วนั ท่ี 4 ต.ค.64)

6. ระดับความสำเร็จในการเตรียมพรอม อตั ราการปวยตายของผปู วยโรคตดิ เชือ้ รอ ยละ 1.06

และตอบโตการระบาดโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 ในภาพรวมของท้ัง (ขอมลู จาก

ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประเทศ ต่ำกวา รอ ยละ 1.6 https://ddc.moph.go.th/covid 19-

ระลอกใหม dashboard ณ วนั ที่ 22 ก.ย. 64)

ปญ หา อปุ สรรค / ขอ คน พบ
ดวยสถานการณการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ในประเทศไทย ท่ีการระบาด

มีความรนุ แรง ไมสามารถควบคุมเหตุการณระบาดของโรคไดต ามระยะเวลาทก่ี ำหนด ทำใหก ารปฏบิ ัติราชการ
ของตัวชีว้ ดั คำรับรองการปฏิบัตริ าชการ (Performance Agreement) ไมส ามารถดำเนินงานไดบรรลุตามเปาหมาย
Small Success รอบ 12 เดือน และสงผลกระทบตอการรายงานผลการปฏบิ ตั ิราชการของผูบรหิ ารกระทรวงสาธารณสุข
โดยเฉพาะหนวยงานในระดับพื้นที่ ไดรับผลกระทบเปนอยางมาก เนื่องจากหนวยงานตองทุมเททรัพยากร
ระดมสรรพกำลังทั้งสวนกลาง และสวนภูมิภาคเพื่อตอบโตภาวะฉุกเฉินในการแกไขและปองกันสถานการณ
ระบาดของโรค COVID-19 รวมทั้งการกำหนดคาเปาหมายตัวชี้วัด ชวงตนปงบประมาณนั้น ความรุนแรงของ
สถานการณโ รคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ยังไมพ บผูติดเชื้อรายใหมทเี่ พ่ิมสงู ขึ้นมากเทากับปจ จบุ นั

แนวทางการดำเนนิ งานในปง บประมาณ พ.ศ. 2565
กลุมพัฒนาระบบบริหาร มีการหารือและประสานกับหนวยงานที่เปนผูรับผิดชอบตัวชี้วัดคำรับรอง

การปฏิบัติราชการ (Performance Agreement : PA) เพื่อจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัดฯ (Template) ของอธิบดีกรมควบคุมโรค
ปลดั กระทรวงสาธารณสุข และรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 พรอ มทั้งคาเปาหมาย
small success รอบ 3, 6, 9 และ 12 เดอื น เพ่ือเปนเคร่ืองมือท่ีใชในการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบผลการดำเนินงาน
และประเมินผลการปฏิบัติราชการเพือ่ ใหบรรลุตามเปาหมายที่กำหนด รวมทั้งยกระดับและปรบั ปรุงการทำงาน
ใหเปนมาตรฐาน เพื่อใหผลการดำเนินงานในภาพรวมสามารถบรรลุตามเปาหมายที่กำหนด มีประสิทธิภาพ
และเปน ไปในทิศทางเดียวกนั นอกจากนยี้ งั ใชเปน ขอมูลประกอบการรายงานผลการปฏบิ ัติงานของขาราชการ
พลเรือนประเภทบรหิ ารระดบั สงู รอบ 6 และ 12 เดอื น ที่สวนราชการตอ งรายงานผลสงใหส ำนกั งาน ก.พ.

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 13 | 55

การดำเนนิ งานของคณะอนุกรรมการดำเนินการพฒั นาระบบราชการ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564

กรมควบคุมโรค ดำเนินการพิจารณาและใหความเห็นชอบกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ของหนวยงานในสังกัด การกำหนดแนวทางการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามคำรับรอง
การปฏิบัติราชการและการจัดทำนโยบายการกำกับบดูแลองคการที่ดี เพื่อผลักดันใหผลการดำเนินงานตาม
ตวั ช้วี ดั เกดิ ข้นึ อยา งเปน รูปธรรม เปน ระบบและมีประสทิ ธิภาพ ผานคณะอนุกรรมการดำเนนิ การพฒั นาระบบราชการ
ของกรมควบคุมโรค (CCO) โดยจัดใหมีการประชุมคณะอนุกรรมการดำเนินการพัฒนาระบบราชการ (CCO)
ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 2 ครง้ั ดงั น้ี

1) การประชมุ คณะอนุกรรมการดำเนินการพฒั นาระบบราชการ(CCO)คร้ังที่ 4/2563เมื่อวนั ที่ 2พฤศจิกายน2563
เพอ่ื ชแี้ จงคำสั่งกรมควบคมุ โรค ท่ี 1809/2563 ลงวนั ท่ี 26 ตลุ าคม 2563 เร่อื ง การแตงตงั้ คณะอนุกรรมการดำเนินการ
พัฒนาระบบราชการ (CCO) กรมควบคุมโรค ใหมและยกเลิกคำสั่งเดิม รายงานผลคะแนนการปฏิบัติราชการ
ตามคำรับรองการปฏิบตั ิราชการหนว ยงาน กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ขอ คนพบและขอเสนอแนะ
เพื่อการพัฒนาจากการตรวจประเมนิ ผลคำรับรองการปฏิบัติราชการ สรปุ ผลการดำเนนิ งานนโยบายการกำกับ
ดูแลองคการที่ดี (Organizational Governance) ของกรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563
พจิ ารณากรอบการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564
พิจารณากรอบตวั ช้ีวัดการปฏิบตั ิราชการตามคำรบั รองการปฏิบัตริ าชการ (Performance Agreement : PA)
ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 และพิจารณากรอบการดำเนินงานนโยบายการกำกับดูแลองคการที่ดี
(Organizational Governance) ของกรมควบคมุ โรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564

2) การประชมุ คณะอนกุ รรมการดำเนินการพัฒนาระบบราชการ(CCO)ครัง้ ท่ี 1/2564เมอ่ื วนั ที่ 4กุมภาพันธ 2564
เพอ่ื ชีแ้ จงคำส่ังกรมควบคุมโรค ที่ 195/2564 ลงวนั ที่ 28 มกราคม 2564 เรอื่ ง การแตงตั้งคณะอนุกรรมการดำเนินการ
พฒั นาระบบราชการ (CCO) กรมควบคุมโรค ใหมและยกเลิกคำสงั่ เดิม รายงานนโยบายการกำกับดูแลองคการท่ีดี
กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 พจิ ารณาแนวทางการประเมนิ ผลตวั ช้ีวัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ
หนวยงาน (รอบ 6 เดือน) ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 พจิ ารณาแนวทางการจัดสรรเงิน เพอ่ื เลือ่ นเงินเดือน
รอบที่ 1 (เมษายน 2564) และพิจารณาการขออุทธรณตัวชี้วัดที่ 1.1.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน
ผลิตภณั ฑเ พ่อื การเฝาระวังปองกันควบคมุ โรคและภัยสุขภาพ (งานวจิ ัย/งานวจิ ัยท่ีพัฒนาจากงานประจำ) ของ
กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉกุ เฉิน

ภาพท่ี 2-1 การประชมุ คณะอนุกรรมการดำเนินการพฒั นาระบบราชการ (CCO) ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564
ครง้ั ที่ 4/2563 วนั ที่ 2 พฤศจิกายน 2563

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 14 | 55

ภาพที่ 2-2 การประชมุ คณะอนุกรรมการดำเนินการพฒั นาระบบราชการ (CCO) ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564
คร้งั ท่ี 1/2564 วนั ท่ี 4 กมุ ภาพนั ธ 2564

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 15 | 55

การดำเนินการปรบั บทบาทภารกจิ และโครงสรา งกรมควบคมุ โรค

กรมฯ มีหนวยงานในสังกัด จำนวน 43 หนวยงาน เปนหนวยงานที่มีชื่อในกฎกระทรวง จำนวน 31
หนว ยงาน และจัดต้งั เปนการภายใน จำนวน 12 หนว ยงาน โดยในปง บประมาณ พ.ศ. 2564 มีการทบทวนโครงสราง
ปรับบทบาทภารกจิ และจัดตัง้ หนว ยงานเปนการภายใน ดังน้ี

1) จัดตั้งศูนยป ระสานงานบริหารสถานการณแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควดิ - 19)
กรมควบคุมโรค (ศปค.คร.) ตามคำสั่งกรมควบคุมโรค ท่ี 1739/2563 ลงวันที่ 6 ตุลาคม 2563 เนื่องจากเกิด
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) ซึ่งเปนโรคติดตออุบัติใหมขึ้น และแพรระบาดไปยังภูมิภาคตาง ๆ
ทัว่ โลกอยางรวดเร็ว ในเวลาเดียวกนั มกี ารนำเชอื้ เขาสูป ระเทศไทยโดยผูเดินทางจากพื้นทท่ี ี่มีการระบาด และ
เกิดการแพรเชื้อขึ้นภายในประเทศ อันกอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคมอยางมาก จึงมี
ความจำเปน ทท่ี กุ ภาคสว นจะตองรวมมอื กนั เตรยี มพรอม และแกไขปญหาอยา งเตม็ ศักยภาพสูงสุดของประเทศ

2) จัดตั้งสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการโครงการพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระเกียรติและ
โครงการท่ีเกี่ยวเน่ืองกับพระบรมวงศานุวงศ กรมควบคุมโรค (สลค.คร.) ตามคำสงั่ กรมควบคุมโรค ท่ี 1891/2563
ลงวันท่ี 6 พฤศจิกายน 2563 เน่ืองจากผูบรหิ ารกรมควบคุมโรค มนี โยบายใหค วามสำคัญกับโครงการพระราชดำริ
โครงการเฉลมิ พระเกยี รติ และโครงการทเ่ี กี่ยวเนื่องกบั พระบรมวงศานุวงศ ตลอดจนสรา งเครือขายความรวมมือ
ระหวางภาครัฐและเอกชนในภารกิจที่เกี่ยวของ จึงปรับแกไขคำสั่งจัดตั้งสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการ
โครงการพระราชดำริฯ โดยแยกออกจากกองยุทธศาสตรและแผนงาน เพื่อรองรับและขับเคลื่อนภารกิจ
ดังกลา วอยางเปน ระบบ ตอเน่อื งและมีประสิทธิภาพ

3) จัดตั้งกองนวัตกรรมและวจิ ัย ตามคำสั่งกรมควบคุมโรค ที่ 2086/2563 ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2563
เพื่อใหการดำเนินงานเกี่ยวกับการพัฒนาระบบงานนวัตกรรม รวมท้งั การเสริมสรางแรงจูงใจแกบุคลากรในการปรับเปล่ียน
แนวคิดและวธิ กี ารทำงานใหม ๆ ท่จี ะสรา งและพัฒนานวัตกรรมดานการเฝาระวัง ปอ งกนั ควบคุมโรคและภัยที่คุกคาม
สุขภาพเปน ไปอยางตอเน่ืองและมีประสิทธภิ าพ โดยใหศนู ยนวตั กรรมดานสขุ ภาพและปองกันควบคุมโรค (ศนคร.)
มาอยภู ายใตกองนวัตกรรมและวจิ ัย

4) จัดต้ังสำนกั ส่อื สารความเสยี่ งและพัฒนาพฤตกิ รรมสุขภาพ (สสพ.) ตามคำสัง่ กรมควบคมุ โรค ที่ 2175/2563
ลงวนั ที่ 22 ธันวาคม 2563 เพือ่ ใหการบรหิ ารจัดการของสำนักสื่อสารความเส่ียงและพฒั นาพฤติกรรมสุขภาพ
ครอบคลุมถึงการสื่อสารภายในองคการ มีความคลองตัวเปนไปอยางมีประสิทธภิ าพ โดยใหนำกลุมประชาสัมพันธ
และสื่อสารองคกร ของสำนักงานเลขานุการกรม มาอยภู ายใตสำนักสื่อสารความเส่ยี งและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

5) จดั ต้งั กองปอ งกันการบาดเจ็บ (กปบจ.) ตามคำสั่งกรมควบคุมโรค ท่ี 2176/2563 ลงวันท่ี 22 ธนั วาคม 2563
เพอ่ื ใหการบรหิ ารจัดการของกองปองกนั การบาดเจบ็ มคี วามคลอ งตัวเปนไปอยางมีประสิทธภิ าพ จึงปรบั แกไข
คำสงั่ กองปองกันการบาดเจบ็ โดยใหกองปองกันการบาดเจบ็ แยกออกจากกองโรคไมต ดิ ตอ

6) จัดต้งั กองดา นควบคุมโรคตดิ ตอระหวา งประเทศและกักกันโรค (กดร.) ตามคำสั่งกรมควบคุมโรค
ท่ี 2178/2563 ลงวันที่ 23 ธนั วาคม 2563 เพ่ือใหการบรหิ ารจัดการของกองดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ
มีความครอบคลุมเกี่ยวกับการกักกันโรค และเพิ่มประสิทธิภาพของการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคติดตอ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 16 | 55

ระหวา งประเทศ และเพอ่ื ใหการบรหิ ารจดั การเปนไปอยางตอเนื่อง คลอ งตัว และมปี ระสิทธิภาพ จงึ ปรับแกไข
คำส่ังจัดตง้ั กองดานควบคมุ โรคตดิ ตอ ระหวางประเทศ โดยใหเ พ่ิมเติมคำวา “และกักกันโรค”

7) จัดตั้งกองโรคปอ งกนั ดว ยวัคซีน (กรว.) ตามคำส่ังกรมควบคมุ โรค ท่ี 2179/2563 ลงวนั ที่ 23 ธันวาคม 2563
เพ่อื ใหก ารบริหารงานของกรมควบคุมโรค ในการพฒั นานโยบาย ยทุ ธศาสตร ระบบและแนวทางดานการสรางเสริมภูมิคุมกัน
โรคในระดับชาติและนานาชาติใหเปนไปอยา งมีประสิทธิภาพ สามารถกำหนดและพัฒนามาตรฐานการใหวัคซีน
ครอบคลุมประชากรทุกกลุมวัย ตลอดจนพัฒนาระบบ กลไก และขับเคลื่อนงานรวมกับภาคเี ครือขายในการปองกัน
ควบคมุ โรคทป่ี องกันไดดวยวคั ซนี ใหเปน ไปอยางตอเนื่อง เกิดความคุมคา คลองตวั ทนั ตอ สถานการณ จงึ ปรับแกไข
คำส่ังกองโรคปองกนั ดว ยวัคซีน โดยใหนำสำนกั งานโครงการศึกษาวัคซีนเอดสทดลองมาอยภู ายใตก องโรคปองกันดวยวคั ซีน

8) ยกเลิกคำสั่งจัดตั้งศนู ยประสานงานบริหารสถานการณแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(โควิด-19) กรมควบคุมโรค (ศปค.คร.) และคำสง่ั จัดตัง้ กองโรคปองกนั ดว ยวัคซีน (กรว.) ตามคำสัง่ กรมควบคุมโรค
ที่ 343/2564 ลงวันที่ 23 กมุ ภาพนั ธ 2564 เพอื่ ใหก ารบริหารงานของกรมควบคุมโรคเกี่ยวกับโรคอบุ ตั ิใหม อบุ ตั ซิ ้ำ
และการประสานงานการแพรร ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) มีการเชอ่ื มโยงการทำงานท่ีรวดเร็ว
รวมทั้งแนวทางดานการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคในระดบั ชาติและนานาชาติเปนไปอยา งมปี ระสิทธภิ าพ จงึ ยกเลิก
คำสั่งจัดตง้ั ศนู ยป ระสานงานบริหารสถานการณแพรร ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด-19) กรมควบคุมโรค
(ศปค.คร.) และคำสัง่ จัดต้งั กองปอ งกันโรคดว ยวคั ซนี โดยใหจัดตัง้ ทงั้ 2 หนว ยงาน เปน กลมุ งานภายในกองโรคตดิ ตอทั่วไป

9) จัดตั้งศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการใหบริการอาชีวเวชกรรมและเวชกรรมสิ่งแวดลอม
ตามคำสัง่ กรมควบคมุ โรค ท่ี 449/2564 ลงวนั ที่ 15 มีนาคม 2564 เพอื่ ใหก ารดำเนนิ การเกยี่ วกับการควบคุมคุณภาพ
การจดั บริการอาชวี เวชกรรมและเวชกรรมสิ่งแวดลอมของหนวยบริการสุขภาพ เปนไปอยางตอเน่ือง มปี ระสทิ ธิภาพ
และเพิ่มบทบาทหลักในการพัฒนาและรับรองคุณภาพการจัดบริการอาชีวเวชกรรมและเวชกรรมสิ่งแวดลอม
เพอื่ รองรบั การทำงานรับรองมาตรฐาน ในมาตรา 24 และ 25 แหงพระราชบญั ญัติควบคมุ โรคจากการประกอบอาชีพ
และโรคจากส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2562 จงึ ปรบั บทบาทหนา ท่ีของศูนยพฒั นาวิชาการอาชีวอนามัย และส่ิงแวดลอม
จงั หวดั สมุทรปราการ และเปลีย่ นชื่อหนวยงานเปน “ศูนยพฒั นาและประเมินคุณภาพการจัดบริการอาชีวเวชกรรม
และเวชกรรมส่งิ แวดลอม”

10) ยกเลกิ คำส่ังจัดต้ังศนู ยพัฒนาและประเมนิ คุณภาพการใหบ ริการอาชีวเวชกรรมและเวชกรรมส่ิงแวดลอม
ตามคำสั่งกรมควบคุมโรค ที่ 1510/2564 ลงวันที่ 7 กันยายน 2564 เพื่อใหการบริหารจัดการดา นการพัฒนา
และประเมินคณุ ภาพการใหบริการของหนวยบริการอาชีวเวชกรรมและเวชกรรมส่ิงแวดลอม ตลอดจนการดำเนินการ
ในสวนที่เกี่ยวของเปนไปอยางตอเนื่อง มีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับบทบัญญัติของมาตรา 25 แหง
พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2562 จึงยกเลิกคำสั่งจัดตั้ง
ศนู ยพฒั นาฯ และใหหนวยงานดังกลาวมาอยภู ายใตสถาบันราชประชาสมาสัย

การจดั ตัง้ สถาบันปอ งกนั ควบคุมโรคเขตเมือง เปน หนว ยงานตามกฎกระทรวง
เหตผุ ลความจำเปน ในการขอจดั ตง้ั หนวยงาน
1) กฎกระทรวงแบงสวนราชการ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2562 ยังไมมี

หนวยงานใดท่ีมอี ำนาจเชนเดยี วกบั สคร. 1-12 และรับผิดชอบพื้นที่กรุงเทพมหานคร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 17 | 55

2) กรมฯ มีสคร. 1-12 รับผิดชอบพื้นที่รวม 76 จังหวัด โดยไมรวมกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีประชากร
อาศัยอยูแออัดหนาแนน เปนพื้นที่ที่มีความซ้ำซอนเชิงโครงสรางการบริหาร มีแนวโนมวาสถานการณปญหา
โรคตดิ ตอ อุบัตใิ หม และโรคตดิ ตอ อันตรายจะกอ ตวั และแพรระบาดมากขึน้ ทั่วประเทศ

3) กรมควบคุมโรค ยังไมมีหนวยงานที่เปนตัวแทนในการบริหารจัดการระบบ กลไก การเฝาระวัง
ปอ งกนั ควบคมุ โรคและเปนศนู ยก ลางประสานงานระหวา งหนว ยงานภาครฐั ภาคเอกชน และหนวยงานอืน่ ที่เกี่ยวของ
ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร/เขตเมืองท่ัวประเทศ โดยเฉพาะการเผชิญปญหาโรคระบาดและภัยทีค่ ุกคามสุขภาพ
เชน การแพรร ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

กระบวนการดำเนินงานประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564
1) ประชุมพิจารณารายละเอียดคำชี้แจงประกอบคำขอปรับโครงสรางกรมฯ รวมกบั สำนกั งาน ก.พ.ร.
และหนว ยงานท่เี กยี่ วของ จำนวน 13 คร้งั
2) ประชุมคณะทำงานแบง สว นราชการภายในของกรมควบคมุ โรค วันท่ี 26 มีนาคม 2564
3) ประชุมปรกึ ษาหารือการทบทวนบทบาทหนาท่ีและภารกิจของหนว ยงาน วันท่ี 14 พฤษภาคม 2564
4) กลุมพัฒนาระบบบริหาร สถาบันปองกันควบคุมโรคเขตเมือง กองบริหารทรัพยากรบุคคล และ
หนวยงานที่เกี่ยวของรวมกันพิจารณาและจัดทำคำชี้แจงประกอบคำขอปรับโครงสรางของกรมควบคุมโรค
ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร. (10 ขอคำถาม) และปรับแกไขคำชี้แจงประกอบฯ ตามขอเสนอแนะของ
คณะทำงานแบง สวนราชการภายในของกรมควบคมุ โรค
การดำเนินงานปจจุบัน กรมฯ ไดสงคำชี้แจงประกอบคำขอปรับโครงสรางกรมควบคุมโรค ให
สำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ เพอ่ื สอบถามความเหน็ จากหนว ยงานกลาง ไดแก สำนักงาน ก.พ. สำนกั งาน ก.พ.ร.
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สำนักเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี สำนักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ
กระทรวงการคลัง และสำนักงบประมาณ เพื่อใหจัดทำความเห็นเปนลายลักษณอักษรประกอบการพิจารณา
ของคณะกรรมการพัฒนาโครงสรา งระบบราชการของกระทรวงสาธารณสุขตอไป

ภาพที่ 2-3 ประชมุ พิจารณารายละเอยี ดคำชแ้ี จงประกอบคำขอปรบั โครงสรา งกรมฯ รวมกบั สำนักงาน ก.พ.ร.
และหนว ยงานท่เี กีย่ วขอ ง จำนวน 13 ครง้ั

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 18 | 55

ภาพที่ 2-4 ประชุมคณะทำงานแบง สวนราชการภายในของกรมควบคมุ โรค
เมื่อวนั ท่ี 26 มีนาคม 2564 ณ หอ งประชุมประเมนิ จันทวมิ ล

ภาพที่ 2-5 ประชมุ ปรกึ ษาหารอื การทบทวนบทบาทหนา ทแ่ี ละภารกิจของหนวยงาน
วันที่ 14 พฤษภาคม 2564 หองประชมุ กองยุทธศาสตรแ ละแผนงาน

แผนภาพที่ 2-1 โครงสรา งกรมควบคุมโรค ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 19 | 55

การพัฒนาระบบการติดตามประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการ กรมควบคมุ โรค

ตามพระราชบัญญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผน ดิน (ฉบบั ท่ี 5) พ.ศ. 2545 ท่กี ำหนดใหก ารบรหิ ารราชการ
ตองเปน ไปเพื่อประโยชนสุขของประชาชน เกดิ ผลสัมฤทธต์ิ อภารกิจของรัฐ มปี ระสิทธภิ าพ มีความคุมคาในเชิงภารกิจแหงรัฐ
ลดข้ันตอนการปฏิบัติงาน ลดภารกิจและยบุ เลิกหนวยงานที่ไมจำเปน กระจายภารกิจและทรัพยากรไปสูทองถิ่น
และใหการปฏิบัติหนาที่ของสวนราชการเปนไปตามวิธีการบริหารกิจการบา นเมืองที่ดี (Good Governance)
และมีการบริหารทเ่ี นน การบริหารจัดการใหเกิดผลสมั ฤทธ์ิตามเปา หมายท่ีต้งั ไว

การพัฒนาระบบตดิ ตามประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ กรมควบคุมโรค มีการบรหิ ารจดั การในระดับผูบริหาร
และแตงต้ังคณะบุคคล (CCO) ตดิ ตามผลการปฏิบัติงานไตรมาสที่ 2 และ ไตรมาสท่ี 4 ตลอดจนใหองคความรู
แกร ะดบั ผปู ฏิบัติ เพื่อใหหนวยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค ไดร บั การประเมินผลการปฏบิ ัติราชการตามคำรับรอง
การปฏบิ ตั ริ าชการอยางถูกตองตามหลักการ เกิดการพฒั นาระบบการติดตามประเมินผลใหสามารถกำกับ ติดตาม
และประเมินผลการปฏิบัตริ าชการหนวยงาน เปนไปดวยความเรียบรอย ครบถวน สมบูรณ และทันเวลา ทั้งนี้
เปนการสงเสริมใหเกิดธรรมาภิบาลในการปฏิบตั ิงานดานตาง ๆ ของกรมควบคุมโรค ตลอดจนการพฒั นาปรับปรุง
การทำงานท่ีมีคุณภาพในระดบั ที่สูงขึ้นในดา นการปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เร่มิ จากการประเมินการปฏิบัติราชการ
ตามคำรับรองการปฏิบัตริ าชการ รอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดอื น แลว นำผลการดำเนินการในปทผ่ี า นมา นำมาวิเคราะห
หาโอกาสพัฒนา ปด ชอ งวา งในการดำเนนิ งาน โดยใหผูกำกับตัวช้ีวัดเขามามีสวนรว มในการติดตามประเมินผล
และปรับปรุงระบบติดตามประเมินผลการปฏิบัตริ าชการระดับหนวยงาน ดังน้ี

1. การประเมินคำรบั รองการปฏบิ ัติราชการหนวยงานกรมควบคุมโรค ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564
ผลการประเมินคำรบั รองการปฏิบตั ริ าชการหนว ยงานกรมควบคมุ โรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564

ท้งั 40 หนว ยงาน โดยเฉลย่ี ผลการประเมินการปฏิบตั ิราชการ ในภาพรวมดกี วาเปาหมายมาก อยูท่รี ะดับคะแนน 4.6419
มีผลการประเมินภาพรวมลดลง เมื่อเทียบกับปงบประมาณ พ.ศ. 2563 อยูที่ระดับคะแนน 4.6811 เนื่องจาก
ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีการระบาดใหญ
อยา งตอ เน่ือง สงผลใหบ ุคลากรกรมควบคุมโรคมีภารกิจเรง ดวนในการปองกันวิกฤตการณจากโรคดังกลาวขางตน
และสง ผลกระทบกบั การดำเนินงานตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ิราชการระดบั หนวยงาน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564
และเม่ือเปรียบเทยี บผลคะแนน ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 และปง บประมาณ พ.ศ. 2563 มีดงั นี้

1) สำนักงานปองกันควบคุมโรค พบวา ผลการปฏิบัติราชการฯ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีผล
การปฏบิ ตั ิราชการอยูในระดบั ดีกวาเปา หมายมาก เทา กับ 4.7667 คะแนน ซึ่งนอยกวาปงบประมาณ พ.ศ. 2563
ที่มผี ลการปฏิบัติราชการอยูในระดับดีกวาเปาหมายมาก เทากบั 4.7816 คะแนน โดยสำนักงานปองกันควบคุมโรค
ท่ีมผี ลการปฏิบัติราชการฯ สูงกวาปงบประมาณ พ.ศ. 2563 จำนวน 5 หนวยงาน ไดแ ก สำนกั งานปองกันควบคมุ โรคท่ี 2
จงั หวัดพษิ ณโุ ลก สำนกั งานปองกนั ควบคมุ โรคท่ี 7 จงั หวดั ขอนแกน สำนกั งานปอ งกนั ควบคุมโรคท่ี 8 จงั หวดั อุดรธานี
สำนักงานปอ งกนั ควบคุมโรคที่ 9 จงั หวดั นครราชสมี า และสำนักงานปอ งกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรธี รรมราช
สวนหนวยงานที่มีผลการปฏิบัติราชการฯ ลดลงจากปงบประมาณ พ.ศ. 2563 จำนวน 7 หนวยงาน ไดแก
สำนักงานปองกันควบคุมโรคที่ 1 จังหวัดเชียงใหม สำนักงานปองกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 20 | 55

สำนักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 4 จงั หวัดสระบรุ ี สำนกั งานปองกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี สำนกั งานปองกัน
ควบคมุ โรคท่ี 6 จังหวดั ชลบรุ ี สำนักงานปองกันควบคุมโรคที่ 10 จงั หวดั อุบลราชธานี และสำนักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 12
จังหวดั สงขลา แตอ ยางไรก็ดีสำหรบั หนว ยงานทมี่ ีผลการปฏิบัติราชการฯ ลดลงแตยงั อยูในระดับดกี วาเปา หมายมาก

2) สำนกั สถาบนั และกองวิชาการ พบวา ผลการปฏิบตั ิราชการฯ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีผล
การปฏิบัตริ าชการอยูในระดับดีกวาเปาหมาย เทากับ 4.4901 คะแนน ซ่งึ นอ ยกวา ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่มีผล
การปฏิบัติราชการอยูในระดับดีกวาเปาหมายมาก เทากับ 4.6153 คะแนน โดยสำนัก สถาบนั และกองวิชาการ
ท่ีมีผลการปฏบิ ตั ริ าชการฯ สงู กวาปงบประมาณ 2563 จำนวน 5 หนว ยงาน ไดแก กองโรคจากการประกอบอาชีพ
และสิ่งแวดลอ ม กองโรคติดตอทัว่ ไป กองโรคไมตดิ ตอ กองวัณโรค และกองงานคณะกรรมการคมุ การผลิตภัณฑยาสบู
ซึง่ 5 หนว ยงานน้ีมผี ลการปฏิบตั ิราชการอยใู นระดับดีกวา เปาหมายมาก สว นหนวยงานท่ีมีผลการปฏิบตั ิราชการฯ
ลดลงจากปงบประมาณ พ.ศ. 2563 จำนวน 10 หนว ยงาน แบงเปน กลุมที่ผลการปฏิบัติราชการอยูในระดับดีกวา
เปา หมายมาก จำนวน 3 หนว ยงาน ไดแ ก สำนกั งานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดม่ื แอลกอฮอล กองโรคเอดส
และโรคติดตอทางเพศสัมพันธ และสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ สวนกลุมที่มีผล
การปฏิบัติราชการอยูในระดับดีกวาเปาหมาย จำนวน 7 หนว ยงาน ไดแก สถาบันบำราศนราดูร สถาบันราชประชาสมาสัย
กองระบาดวิทยา กองโรคติดตอนำโดยแมลง สำนกั งานความรว มมือระหวางประเทศ สถาบนั ปอ งกันควบคุมโรคเขตเมือง
และกองควบคมุ โรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ

3) กองบรหิ ารและหนวยงานขนาดเลก็ พบวา ผลการปฏบิ ัติราชการฯ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564
มผี ลการปฏิบัติราชการอยใู นระดับดกี วา เปาหมายมาก เทากบั 4.7019 คะแนน ซ่ึงมากกวา ปงบประมาณ พ.ศ. 2563
ที่มีผลการปฏิบัติราชการอยูในระดับดีกวาเปาหมายมาก เทากับ 4.6654 คะแนน โดยกองบริหาร
มผี ลการปฏบิ ัตริ าชการฯ สูงกวา ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 จำนวน 6 หนวยงาน ไดแก กองบรหิ ารการคลงั กอง
ยุทธศาสตรและแผนงาน กลุมพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลก และสถาบันเวชศาสตร
ปองกนั ศกึ ษา โดยทัง้ 5 หนว ยงานน้มี ีผลการปฏิบตั ิราชการอยูในระดับดีกวา เปาหมายมาก มีเพยี ง 1 หนวยงาน
ที่มผี ลการปฏบิ ตั ริ าชการอยรู ะดบั ดีกวาเปาหมาย คือ กลมุ คุมครองจรยิ ธรรม สวนหนว ยงานท่ีมผี ลการปฏิบัตริ าชการฯ
ลดลงจากปงบประมาณ พ.ศ. 2563 จำนวน 7 หนวยงาน ไดแ ก สำนกั งานเลขานุการกรม กองบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล
กลมุ ตรวจสอบภายใน ศนู ยสารสนเทศ สำนกั งานคณะกรรมการผูทรงคุณวฒุ ิ กองกฎหมาย โดยทงั้ 6 หนว ยงาน
นี้มผี ลการปฏบิ ัติราชการอยูในระดบั ดกี วา เปา หมายมาก มเี พยี ง 1 หนว ยงานท่ีมผี ลการปฏบิ ัตริ าชการอยูระดับ
ดกี วา เปา หมาย คือ กองนวัตกรรมและวจิ ัย

หนวยงานกรมควบคุมโรคสวนใหญสามารถปฏิบัติราชการอยางเกิดผลสัมฤทธิ์ ผลจาก
การประเมินมีคาคะแนนสูง เนื่องจากมีการพัฒนาระบบติดตามความกาวหนาและประเมินผลคำรับรอง
การปฏิบัติราชการหนว ยงาน โดยกลุมพัฒนาระบบบริหารรวมกบั ผูกำกับตัวชี้วัดติดตามความกา วหนา ปญหา
อุปสรรค ในแตละไตรมาส ผูรับผิดชอบ และผูรวบรวมขอมูลของหลายหนวยงานโดยเฉพาะกลุมสำนักงาน
ปองกันควบคุมโรค มีการติดตาม ควบคุมกำกับตัวชี้วัดอยางตอเนื่อง และมีการจัดทำระบบติดตาม ตาม
แนวทางของกลุมพฒั นาระบบบรหิ าร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 21 | 55

2. จัดทำรายละเอียดตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ และการติดตามประเมินผลคำรับรอง
การปฏบิ ัตริ าชการ

จัดทำรายละเอียดตัวชีว้ ัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ และการติดตามประเมินผลคำรับรองการปฏิบัติราชการ

กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่มีความชัดเจน ถูกตอง ครบถวน และสื่อสารใหหนวยงาน

ในสังกัดกรมควบคุมโรคไดเกิดความเขาใจและประกอบการดำเนินการใหเกิดผลที่มีประสิทธิภาพ โดยสื่อสาร

ผานทางเว็บไซตก ลุมพฒั นาระบบบริหาร และไลนก ลมุ พัฒนาองคก ร

ภาพที่ 2-6 รายละเอยี ดตัวชีว้ ดั คำรบั รองการปฏบิ ัตริ าชการหนว ยงาน กรมควบคุมโรค ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564

3. แตงตั้งคณะทำงานติดตามความกาวหนา และประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง
การปฏบิ ัติราชการหนว ยงาน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564

จัดทำคำสั่งแตงตั้งคณะทำงานติดตามความกาวหนา และประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ที่ 1558/2564 ลงวันท่ี 15 กันยายน 2564 โดยมีอำนาจหนาที่

1) ตดิ ตามความกา วหนา ผลการดำเนินงาน รอบ 6 และ 12 เดอื น เพอื่ รวบรวมขอ มลู ในการประเมนิ ผล
คำรบั รองการปฏิบัตริ าชการหนว ยงาน สรปุ วิเคราะหปญ หา อุปสรรค และขอ เสนอแนะแกหนว ยงานในสงั กดั กรมควบคุมโรค

2) จดั ทำเครื่องมือ (Check Sheet) ในการประเมินผลตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการหนวยงาน
กรมควบคุมโรค ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2565

3) ตรวจสอบความถูกตอ งของเอกสารหลักฐานประกอบรายละเอียดตัวชีว้ ัดคำรับรองการปฏิบัตริ าชการ
หนว ยงาน กรมควบคมุ โรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ในระบบบรหิ ารจดั การเชงิ ยุทธศาสตร (Estimates SM)

4) ประเมินผลคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการหนว ยงาน รอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดอื น

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 22 | 55

4. จดั ทำเคร่อื งมือในการกำกบั ตดิ ตาม ประเมินผลคำรบั รองการปฏิบตั ิราชการ
กลุมพัฒนาระบบบริหารไดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำเครื่องมือการตรวจติดตาม

และประเมินผลคำรับรองการปฏิบัติราชการของหนวยงาน (Check Sheet) กรมควบคุมโรค ประจำป
งบประมาณ พ.ศ. 2564 (ทั้งผูกำกับที่ตรวจตัวชี้วัดบังคับและตรวจตัวชี้วัดภารกิจหนวยงาน) จัดขึ้นระหวาง
วันที่ 14 - 15 มกราคม 2564 ณ โรงแรมไมดา โฮเทล งามวงศว าน จังหวดั นนทบุรี โดยมวี ัตถุประสงค

1) เพื่อจัดทำเครื่องมือประเมินผลคำรับรองการปฏิบัติราชการหนวยงานกรมควบคุมโรค
ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 (ตัวชวี้ ัดบงั คบั และตัวช้วี ัดภารกิจของหนว ยงาน)

2) เพ่อื ใหผตู รวจประเมนิ ตวั ชว้ี ดั มีความรูความเขา ใจการเขยี นรายงานผลการปฏิบตั ิราชการตาม
คำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการใหไดมาตรฐาน

3) หนวยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค ไดรบั การตรวจติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการหนวยงาน
ดว ยเครื่องมอื การประเมนิ ผลคำรับรองการปฏบิ ัติราชการอยางมปี ระสิทธภิ าพ และถกู ตอ งตามหลักวชิ าการ

4) เพือ่ ใหผตู รวจประเมนิ ตวั ช้วี ัดมคี วามรูความเขา ใจการเขยี นรายงานผลการปฏิบัติราชการตาม
คำรบั รองการปฏบิ ตั ิราชการใหไ ดม าตรฐาน

การจัดทำเครื่องมือการตรวจติดตาม และประเมินผลคำรับรองการปฏิบัตริ าชการของหนวยงาน (Check Sheet)
กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เปนการผลกั ดนั และสงเสริมใหผ ูกำกบั ตวั ชว้ี ัดมีองคค วามรทู ี่ถกู ตอง
ตามหลักวิชาการเพื่อจัดทำเครื่องมือในการตรวจประเมินผลการปฏิบัติราชการใหเปน ไปตามมาตรฐาน รวมทั้งมี
การพัฒนาและปรับปรุงเพ่ือใหการดำเนินงานมีคุณภาพอยา งตอเนื่อง และเปน ท่ยี อมรับ ดังน้นั กลุมพัฒนาระบบบริหาร
รวมกับผูกำกับตัวชี้วัดจึงไดจัดทำเครื่องมือประเมินผลคำรับรองการปฏิบัติราชการหนวยงาน กรมควบคุมโรค
(Check sheet) ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ทงั้ ตัวช้ีวัดบงั คับ จำนวน 14 ตวั ชว้ี ดั และตวั ช้ีวัดภารกจิ หนวยงาน
จำนวน 40 ตัวช้วี ดั เพอ่ื ใชเ ปน เครือ่ งมือในการกำกบั ตดิ ตาม ประเมินผลคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการ

5. จัดทำกรอบคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการของหนว ยงานและถา ยทอดใหหนวยงาน
กลุมพัฒนาระบบบริหาร ไดจัดทำกรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการ ที่มีความสอดคลองกับ

นโยบาย/จดุ เนน การดำเนินงานของกรมควบคุมโรค สอดคลองกับตัวชว้ี ดั ระดบั กรม และถา ยระดับตวั ชว้ี ดั สหู นวยงาน
และบุคคลเปนลำดับขั้น โดยมีการลงนามคำรับรองการปฏิบัตริ าชการ ระหวางกรมควบคมุ โรคกบั หนวยงานในสงั กัด
และถายทอดรายละเอียดตวั ชวี้ ัด ในวันที่ 22 ตลุ าคม 2563 ซงึ่ หนว ยงานจะจดั สง รายละเอียดตวั ช้วี ัด คา เปาหมาย
ของตัวชี้วัดทุกตัวที่ไดทำความตกลงใหกลุมพัฒนาระบบบริหารตรวจสอบ (KPI Audit) และปรับแก โดยยึด
เปนแนวทางการดำเนินการตามรายละเอียดที่ไดทำความตกลงไว ซึ่งเปนกลวิธีการทำงานที่ใชผลักดัน
ขับเคลอ่ื นภารกจิ ของสวนราชการเพอื่ เกิดผลสัมฤทธิ์

6. จัดทำรายละเอียดตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการหนวยงานกรมควบคุมโรค ประจำป
งบประมาณ พ.ศ. 2565

ประชมุ คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ (CCO) ไดเ ชิญผูกำกับตัวชี้วัดกรอบตามคำรับรอง
การปฏิบัติราชการหนวยงาน กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 จากหนวยงานสวนกลาง
จำนวน 12 หนว ยงาน เขา รวมประชุม และไดรับเกียรติจาก นพ.อภิชาต วชริ พันธ รองอธิบดีกรมควบคุมโรคมาเปน

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 23 | 55

ประธานและกลาวเปดการประชุม จากนั้นกลุมพัฒนาระบบบริหาร ชี้แจงแนวทางการจัดทำรายละเอียด
ตัวชีว้ ดั คำรับรองฯ (KPI Template) และใหหนวยงานผูกำกับตวั ช้วี ดั ฯ จัดทำรายละเอียดตวั ช้วี ัดฯ สง มายัง กพร.
เพื่อด22 ำเนินการตรวจสอบ (Audit) และแจงหนวยงานแกไข จากนั้นวันที่ 21 กันยายน 2564 มีการเจรจา
ตัวช้ีวดั ผานระบบ Webex ความพงึ พอใจตอการประชุม22เจรจาตัวช้ีวัด22คำรับรองการปฏิบัตริ าชการ ประจำปงบประมาณ
พ.ศ. 2564 คดิ เปน รอยละ 73.53 อยูในระดับพึงพอใจมาก

ภาพที่ 2-7 ประชมุ เจรจารายตัวชี้วดั คำรับรองการปฏบิ ัติราชการหนวยงาน กรมควบคมุ โรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565

แ22 ละวันที่ 10 พฤศจิกายน 2563 กลุมพัฒนาระบบบริหาร จัดพิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติ
ราชการหนว ยงาน กรมควบคมุ โรค ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2565 ระหวา งอธิบดีกรมควบคมุ โรค (นายแพทย
โอภาส การยกวินพงศ) รองอธิบดีกรมควบคุมโรค (นายแพทยอัษฎางค รวยอาจิณ, นายแพทยธนรักษ
ผลิพฒั น, นายแพทยขจรศักด์ิ แกว จรสั และนายแพทยปรีชา เปรมปรี) นายแพทยทรงคุณวุฒิ (นายแพทยทวีทรัพย ศิร
ประภาศิริ) และผูอำนวยการทุกหนวยงานที่อยูในการกำกับดูแลของรองอธิบดกี รมควบคมุ โรค และนายแพทย
ทรงคุณวฒุ ิ ณ หองประชุมเพชร ชน้ั 7 สถาบันบำราศนราดรู โดยการลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ เปน
การจดั ทำขอตกลงอยางเปนลายลักษณอักษรใหท ุกหนวยงานปฏิบัติราชการใหสำเรจ็ บรรลตุ ามเปา หมาย อยาง
สัมฤทธิ์ผล และผลิตผลงานคุณภาพในการปองกันโรค ตลอดจนมีการติดตามผลการดำเนินงานทุกไตรมาส
เพ่อื ใหส ามารถดำเนินงานอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ และประสทิ ธิผลตอ ไป

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 24 | 55

22ภาพท่ี 2-8 พธิ ลี งนามคำรับรองการปฏบิ ตั ริ าชการหนวยงาน กรมควบคมุ โรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564

ขอคน พบดานการดำเนนิ การภาพรวม
1. การรายงานผลการดำเนินงานในระบบ Estimate SM ยังขาดการใหขอมูลเชิงคุณภาพ ทำใหไม

สามารถวเิ คราะหเ พอ่ื การสนับสนนุ การดำเนนิ งานใหบ รรลผุ ลได
2. บุคลากรยังขาดความรูความขาใจในการเขียนรายงานผลการดำเนินงานที่มุงเนนวิเคราะห

สงั เคราะหเ พื่อการปรบั ปรุงมาตรการ รวมถึงการเขยี นรายงานเชงิ คณุ ภาพ
3. บางหนว ยงานไมมีการตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานกอนรายงานในระบบ Estimate SM ทำใหเกิด

ขอผิดพลาดในการรายงาน

ปญหาอปุ สรรค
1. หนวยงานรวบรวมหลักฐานไมเปน ระบบ การรายงานในระบบ Estimate SM จึงยังไมมีคุณภาพ

เพยี งพอ เปน ผลใหผ ูกำกบั ตวั ช้ีวัดวเิ คราะหข อมูลเชงิ คณุ ภาพไดย าก
2. หลายหนวยงานยังใชงานในระบบ Estimate SM ไมถูกตอง ทำใหการแสดงผลไมถูกตอง

ครบถวน และการแนบไฟลเอกสารมากเกนิ ความจำเปน ไม Zip file ใหยากตอการตรวจสอบ และการประเมิน
จากผูกำกบั ตัวชว้ี ดั เกดิ ความสับสน และส้นิ เปลอื งเน้อื ท่กี ารจดั เกบ็ ของระบบ Estimate SM

3. บางหนวยงานมีการหมุนเวียนผูรับผิดชอบงานดานงานพัฒนาองคกรทำใหการดำเนินงานขาด
ความเขาใจ ขาดความคลอ งตวั และไมมคี วามตอเน่ือง

4. จากการตดิ ตามประเมินผลการปฏิบัติราชการ พบวา การเขียนรายงานผลการดำเนนิ งานของหนวยงาน
ยังตองไดรบั การพัฒนา โดยเฉพาะการวิเคราะหสถานการณย ังไมมีความชัดเจน ทง้ั เชงิ ปรมิ าณ และเชิงคุณภาพ
สวนใหญเปนการนำขอมูลตัวเลขลงตาราง ขาดการแปลผลการวิเคราะหขอมูล ไมสามารถอภิปรายผลหรือ
อภปิ รายผลไมตรงประเดน็ การวิเคราะหที่นำเสนอ มักจะรายงานเพียงกิจกรรม ผลการดำเนนิ งานตามข้ันตอน

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 25 | 55

ขาดการรายงานปญหาอุปสรรค ขอเสนอแนะ และการนำเสนอผูบริหารทราบ ทำใหถูกหักคะแนน อีกทั้งการ
ใหขอเสนอแนะไมตรงกับผลการวิเคราะห และประเด็นสาเหตุ สงผลใหไมสามารถวิเคราะห สังเคราะห เพ่ือ
การปรบั ปรงุ มาตรการตา ง ๆ ในการประเมนิ ผลการดำเนินงานในภาพรวม

5. บคุ ลากรบางสวนมคี วามรูความเช่ยี วชาญในดานการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขมีอยูอยางจำกัด
ทำใหการพัฒนามาตรฐานทางวิชาการ และการจัดทำประคองกิจการยังไมครอบคลุมการสำรองทั้งบุคลากร
งบประมาณ และวสั ดุอุปกรณ

6. บุคลากรกรมควบคุมโรคบางสว นท่ีถกู กำหนดใหปฏบิ ตั ิงานในเวร SAT และ JIT ขาดประสบการณ
ในการปฏบิ ัตงิ านในงานทไ่ี ดร บั มอบหมายพิเศษ (เฉพาะ)

ขอเสนอแนะ
1. กำหนดใหการแนบเอกสารประกอบการประเมินตัวชี้วัดในการรายงานในระบบ Estimate SM

โดยการ Zip file แนบเปน รายไตรมาส และแนบเปนข้ันตอน
2. ควรมีการพัฒนาบุคลากรในการวิเคราะหสถานการณ ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคณุ ภาพ รวมถึงการเขียน

รายงานผลการดำเนินงานที่มุงเนนวิเคราะห สังเคราะหเพื่อการปรับปรุงมาตรการ มีขอคนพบหรือประเด็น
ขอสงั เกต ปญหาอปุ สรรค และขอเสนอแนะเพอ่ื เสนอตอผบู รหิ าร ทงั้ นกี้ ารปฏิบตั ิงานควรตองมีการพัฒนาและ
ปรับปรงุ งานอยา งตอเนอื่ ง

3. ควรจดั อบรมใหบ ุคลากรทีย่ ังไมเคยอบรมการใชงานระบบ Estimate SM

แนวทางการดำเนินงานในปง บประมาณ พ.ศ. 2565
ดวยขอคนพบดานการดำเนินการภาพรวม ปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะ ที่พบในปที่มา

กลุมพัฒนาระบบบริหาร โดยกลุมงานพัฒนาราชการ จึงมีแนวทางการดำเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ. 2565
ในการพัฒนาและสงเสริมความรูความเขาใจของผูกำกับตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบตั ิราชการ ประจำปงบประมาณ
พ.ศ. 2565 ใหสามารถกำกับ ติดตาม และตรวจประเมินผลการปฏิบัติราชการ ดวยความครบถวน สมบูรณ
และถูกตองตามหลักวิชาการ ดวยโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำเครื่องมือการตรวจติดตาม และ
ประเมินผลคำรับรองการปฏิบัตริ าชการของหนวยงาน (Check Sheet) กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ
พ.ศ. 2565 และการพัฒนาผูจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) คำรับรองการปฏิบัติราชการ ใหกับ
บคุ ลากรหนว ยงานเครอื ขายท่ีปฏิบตั งิ านดานพัฒนาองคก ร หรอื ผทู ่เี กี่ยวของกับการจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัดฯ
รว มในโครงการประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารพฒั นาเครือขา ยและองคกร

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 26 | 55

ผลการดำเนนิ งานในการขับเคล่ือนระดบั กรม

ผลงานคุณภาพ ประจำป พ.ศ. 2564
1. การบริหารจัดการภาครัฐตามเกณฑการประเมินสถานะของหนวยงานภาครัฐในการเปน

ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
เปาหมาย (ยทุ ธศาสตร/ จุดเนน) : เปนระบบราชการ 4.0 และขับเคลอ่ื นทกุ หนว ยงานสรู ะดบั Significance
การดำเนินการบริหารจัดการภาครัฐและการปฏริ ูปองคการของกรมควบคุมโรค ไดใ ชแ นวทางการ

บรหิ ารจัดการภาครฐั เขาสูระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) เพ่อื รองรบั ตอ ยทุ ธศาสตรป ระเทศไทย 4.0 ในระดบั พัฒนา
จนเกดิ ผล Significance (500 คะแนน) ผา นโปรแกรมประเมินสถานการณเปนระบบราชการ 4.0 (DDC-PMQA 4.0)
เพอ่ื ยกระดับการพฒั นาหนว ยงานใหท ำงานเชงิ ระบบท่สี ามารถวางระบบและวิธกี ารใหมเ ช่ือมโยงกระบวนการทำงานหลัก
และกระบวนการสนับสนุนแบบบูรณาการ ทนั สมัย คมุ คา และมตี ัววดั ทสี่ อดคลอง ชดั เจน และวัดไดจ รงิ ภายใต
ปจ จยั แหงความสำเรจ็ คอื การสานพลงั ทุกภาคสว น การสรางนวัตกรรม และการปรบั ตวั เขาสูค วามเปนดิจิทัล
เพ่อื นำไปสูการพัฒนาคุณภาพท้ังดานการบรหิ ารที่เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจกรมและการบริการทค่ี ุมคา แกไขปญหา
ตอบสนองความตอ งการและสรา งความพึงพอใจใหก ับประชาชนในดา นการปองกันควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพ

กรมควบคุมโรค โดยกลมุ พัฒนาระบบบรหิ ารไดขับเคล่ือนการพัฒนาหนว ยงานในสงั กัดกรมเขาสู
ระบบราชการ 4.0 ตามแนวทางการบริหารจดั การภาครัฐจาก สำนกั งาน ก.พ.ร. มาอยา งตอเน่ืองตาม Road map
(2556 – 2563) จนเมอ่ื ป 2563 ถอื วาบรรลตุ ามเปาหมายท่ีวางไว เมอื่ ไดร บั รางวลั กรมควบคุมโรค 4.0 ระดบั Significance
(ไดร ับคะแนน 470 จาก 500 คะแนน เปนหน่ึงในสองหนวยงานในระดบั ประเทศ) และในป พ.ศ. 2564 กรมควบคุมโรค
ไดด ำเนินการตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏบิ ัติราชการ ตวั ชี้วดั ท่ี 4.2 การประเมินสถานะ
ของหนวยงานในการเปนระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) จากการพิจารณาของสำนักงาน ก.พ.ร. กรมควบคุมโรค
ผานการประเมินสถานะของหนวยงานในการเปนระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ของกรมควบคุมโรค ไดรับ
คะแนน 458.99 จาก 500 คะแนน เปนระบบราชการท่ี 3.67

ตั้งแตป ง บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2566 กลมุ พัฒนาระบบบรหิ ารจงึ ไดวาง Road map ระยะ 3 ป
เพื่อตอเนื่องตามแผนการยกระดับสรู ะบบราชการ 4.0 ในอนาคตในแบบ “การขับเคลื่อนองคกรแหง นวัตกรรม
สูการควบคมุ โรคในชวี ิตปกติวิถใี หมท ี่ยั่งยนื ” (Sustainably New Normal of Disease Control) โดยเรมิ่ ในปง บประมาณ
พ.ศ. 2564 ท่ีเนนการพฒั นาลงสหู นว ยงานในสังกัดกรมอยา งเขม ขน เพื่อใหทกุ หนว ยงาน เขาสรู ะดับ Significance

ป พ.ศ. 2564 มีหนวยงานตามโครงสรางของกรมฯ ทั้งหมด 43 หนวยงาน และมีหนวยงานที่ใช
เครื่องมือ DDC-PMQA 4.0 ทั้งหมด 40 หนวยงาน ผลการประเมินในภาพรวม มี 6 หนวยงาน ที่อยูระดับ
Advance คะแนนอยูที่ 400 – 469 คะแนน ตามเกณฑของสำนักงาน ก.พ.ร. และพบวาหนวยงานสวนใหญ
อยูในระดับต่ำกวา Basic มี 18 หนวยงาน ซึ่งหนวยงานไหนที่อยูระดับต่ำกวา Basic และระดับ Basic ในป
พ.ศ. 2565 ตองไปใหถึงระดับ Advance ใหได แตอยางไรก็ตาม คาดวามีหนวยงานที่เปน Best Practice
สามารถขบั เคล่ือนไปในระดบั Significance ได

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 27 | 55

ผลลพั ธ (Outcome)
1. ความสำเรจ็

• ระดบั กรม ได Best of the best

• ระดบั หนวยงาน สว นใหญป ระเมนิ ตนเองในระดบั Advance (400 - 470 คะแนน)
2. เกนิ ความคาดหวัง คน พบหนวยงานตน แบบเพ่มิ ขึ้น
3. ปญ หาอุปสรรค

• ความเขา ใจตอระบบราชการ4.0 (บคุ ลากรใหม)

• ระบบฐานขอมลู ผลลัพธท สี่ ำคัญ (หมวด 7) ยังไมครอบคลุมและเชือ่ มโยง กรมควบคุมโรค

ภาพที่ 2-9 ประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ าร เรื่อง การประเมนิ สถานะการเปนระบบราชการ 4.0 กรมควบคุมโรค ประจำป พ.ศ. 2564

การศกึ ษาดงู านจากหนวยงานภายนอก
กลุมพัฒนาระบบบริหาร กรมควบคุมโรค ใหการตอนรับคณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหาร
จัดการภาครัฐของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย นำทีมโดย นางพรรณวิภา ปยัมปุตระ หัวหนากลุมพัฒนาระบบบรหิ าร
สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เขาศึกษาดูงานดานการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของ
หนวยงานที่ไดรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4.0 (PMQA 4.0) เพ่อื แลกเปล่ยี นเรียนรูแนวปฏิบัติท่ีดี
(Best Practice) ในการดำเนนิ งาน PMQA โดยนางเบญจมาภรณ ภิญโญพรพาณิชย ผูอ ำนวยการกลุมพฒั นาระบบบริหาร
บรรยาย เรื่อง แนวทางสูความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพบริหารจัดการภาครัฐสูระบบราชการ 4.0 เพื่อนำ
กลับไปประยกุ ตใ ชต อยอดในองคก าร และ ดร.อัจฉรา บุญชมุ หัวหนากลุมภารกิจพัฒนาระบบคณุ ภาพและนวตั กรรม
บรรยาย เรื่อง การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ และการพัฒนากรมควบคุมโรคสูการเปน
ราชการ 4.0 ระดบั Significance
จากนั้น ศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรูกับหนวยงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการภาครัฐ
ระบบราชการ 4.0 โดย นายแพทยปณิธี ธัมมวิจยะ ผูอำนวยการกองนวัตกรรมและวิจัย นำเสนอ ระบบสนับสนุน
นวตั กรรมและวจิ ัย และนายแพทยไผท สงิ หคำ ผูอำนวยการศนู ยน วตั กรรมดานสุขภาพและปองกันควบคุมโรค

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 28 | 55

นำเสนอ แนวคิดการสรา งนวตั กรรม นายสัตวแพทยพรพทิ ักษ พันธหลา ผูอ ำนวยการกองควบคมุ โรคและภัยสุขภาพ
ในภาวะฉุกเฉิน นำเสนอ แนวคิดระบบบัญชาการเหตุการณ ICS ณ ศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
กรมควบคุมโรค (Emergency Operation Center : EOC) และนายแพทยยงเจอื เหลา ศิรถิ าวร ผูอ ำนวยการศูนยส ารสนเทศ
นำเสนอ ระบบขอมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ ณ ศูนยสารสนเทศ พรอมกันนี้เยี่ยมชม Co-working space
โดยมผี แู ทนจากสำนักงานคณะกรรมการผทู รงคุณวุฒิ ใหก ารตอ นรบั

ภาพที่ 2-10 ศึกษาดงู านดานการพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐของหนวยงาน
ที่ไดรบั รางวัลคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั 4.0 (PMQA 4.0)

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 29 | 55

เปา หมาย (ยุทธศาสตร/ จดุ เนน) : รางวัล UNPSA/TPSA/TEPGA อยา งนอยปล ะ 4 รางวลั

2. รางวัล UNITED NATIONS PUBLIC SERVICE AWARDS 2021 (UNPSA 2021)
องคการสหประชาชาติ (United Nations: UN) ไดพิจารณาผลงานที่สมคั รขอรับรางวลั ฯ จำนวน

มากกวา 200 ผลงาน จาก 44 ประเทศ โดยแบงเปน
1) สาขาการสงเสริมนวัตกรรมเพื่อสงมอบบริการที่ครอบคลุมทั่วถึงและเทาเทียมกัน รวมถึง

เสรมิ สรา งการเปลี่ยนผานทางเทคโนโลยีดิจทิ ลั รอ ยละ 46
2) สาขาการเพิม่ ประสทิ ธิภาพของหนว ยงานภาครฐั เพ่ือบรรลวุ าระการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื รอยละ 23
3) สาขาการสงเสริมความเทาเทียมทางเพศในการใหบริการสาธารณะเพ่ือบรรลุวาระการพัฒนา

ที่ย่งั ยนื รอยละ 7
4) สาขาการเตรยี มความพรอมเชงิ สถาบนั และการตอบสนองตอวกิ ฤตการณ รอ ยละ 22
องคก ารสหประชาชาติ เห็นชอบใหกรมควบคุมโรคไดร ับรางวัลในสาขาการเตรียมความพรอม

เชิงสถาบัน และการตอบสนองตอวิกฤตการณ หัวขอเรื่อง Intelligent & Sustainable in Public Health
Emergency System, in Thailand

3. รางวัลเลิศรัฐ สาขารางวลั บรกิ ารภาครฐั (TPSA)
สำนักงาน ก.พ.ร. ไดพิจารณาเหน็ ชอบใหกรมควบคุมโรค และหนวยงานในสงั กดั ผานเกณฑการประเมิน

รางวลั ฯ จำนวน 5 ผลงาน โดยแบง เปน 2 กลุม คอื
กลมุ ที่ 1 ระดบั ดีเดน จำนวน 2 ผลงาน คอื
1) ประเภทบรู ณาการขอมลู เพื่อการบริการ : รางวลั เลศิ รฐั สาขาบริการภาครฐั (Best of the best)

ชอื่ ผลงาน : การพฒั นาแพลตฟอรม ระบบนเิ วศ ขอ มูลดิจทิ ลั แบบบรู ณาการ (ศูนยสารสนเทศ)
2) ประเภทยกระดบั บริการท่ีตอบสนองตอสถานการณโควิด 19 : รางวัลเลิศรฐั สาขาบรกิ ารภาครัฐ

(ระดบั ดเี ดน ) ช่ือผลงาน : DDC COVID-19 เร็วคือรอด ประชาชนลอดภยั (กรมควบคุมโรค)
กลุมที่ 2 ระดบั ดี จำนวน 3 ผลงาน คอื
1) ประเภทนวัตกรรมการบริการ : รางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐ (ระดับดี) ชื่อผลงาน :

“Com-led CRS” ระบบปกปอ งพิทักษส ิทธดิ า นเอดสฯ ดว ยพลังของชุมชน (กองโรคเอดสและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ)
2) ประเภทนวัตกรรมการบริการ : รางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐ (ระดับดี) ชื่อผลงาน :

โปรแกรมฐานขอ มูลสขุ ภาพกลมุ เสย่ี ง Naphralan 4.0 (สคร.4 จ.สระบรุ ี)
3) ประเภทขยายผลมาตรฐานการบริการ : รางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐ (ระดับดี) ชื่อ

ผลงาน : มาตรฐานการใหบริการตรวจรักษามาลาเรียอยางแมนยำในพื้นที่หางไกลตามแนวชายแดนไทย
(สคร.1 จ.เชยี งใหม)

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 30 | 55

ประเภทบูรณาการขอ มลู เพ่อื การบริการ : รางวลั เลิศรฐั สาขาบรกิ ารภาครัฐ (Best of the best)
ชอ่ื ผลงาน : การพฒั นาแพลตฟอรม ระบบนิเวศ ขอ มลู ดิจทิ ลั แบบบูรณาการ (ศูนยสารสนเทศ)

ปจจุบันทั่วโลกตองเผชิญปญหาการระบาดของโรคโควิด 19 องคการอนามัยโลกไดเล็งเห็น
ความสำคัญของ Digital Health ที่จะนำมาใชในการรับมือ และขอมูลคือสิ่งสำคัญในการบริหารจัดการ หรือ
วางแผนการดำเนินงานของหนว ยงานตางๆ การระบาดครั้งน้เี รง ใหหนว ยงานมีความตอ งการใชป ระโยชนขอมูล
จากหลากหลายแหง ทงั้ ขอ มูลดานสขุ ภาพของกระทรวงสาธารณสขุ และขอมูลจากหนวยงานอื่นทง้ั ภาครฐั และ
ภาคเอกชน ซง่ึ การใชป ระโยชนส อดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แตอยางไรก็ตาม การใชป ระโยชน
จากขอมลู ยังมขี อจำกดั ทั้งดา นคุณภาพและการบริหารจัดการขอมูล ศูนยส ารสนเทศ กรมควบคุมโรค (กรม คร.)
จึงคดิ พัฒนาระบบ Data-Eco System ขนึ้ มาเพื่อลดขอ จำกัดและเพิ่มประสิทธิภาพการใชประโยชนจ ากขอมูล
โ18 ดยใชเทคโนโลยีที่เกี่ยวของคือ Informatic platform, Big data, AI, IT Infrastructure & network
และ IT security การพัฒนาเนนการบูรณาการทั้งระบบ individual ขอมูลระดับบุคคล ขอมูลกิจกรรม
จนไปสขู อมูลการกำหนดนโยบายทุกระดบั ซึง่ กิจกรรมการสรางระบบเร่ิมต้ังแตก ารวางโครงขายเครือขาย
อินเทอรเน็ต การออกแบบพัฒนาโปรแกรม การจัดทำและวิเคราะหขอมูลที่นำไปสูการกำหนดนโยบาย
และการเปดเปน API ใหหนวยงานนำไปใชป ระโยชนและนำไปตอยอดนวัตกรรม ไดแก 1)18 การใหความรูท ่ี
ถูกตองสำหรับประชาชน 2) การคัดกรองการเดินทางและการเฝาระวังกลุมเสี่ยง (Screening and
Monitoring) 3) การคนหา ติดตามผูสัมผัสและการสอบสวนโรค (Contract Tracing and Investigation) 4)
การตรวจทางหองปฏบิ ัติการ (Laboratory) 5) การกักกันโรคและการแยกกกั ผูป วยหรือผตู ดิ เช้อื (Quarantine
Monitoring) 6) การวางแผนนโยบายและการบริหารจัดการขอมูลเพือ่ การตัดสินใจ (Policy Making) ภ18 ายใต
หลักคิด Single Data Single Command และ Single Communication ที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพใน
การรับมอื โรคและภยั สุขภาพตามแผนนโยบายของประเทศไทย

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 31 | 55

ประเภทยกระดับบริการที่ตอบสนองตอสถานการณโ ควิด 19 : รางวลั เลศิ รฐั สาขาบรกิ ารภาครัฐ (ระดบั ดีเดน)
ชื่อผลงาน : DDC COVID-19 เรว็ คือรอด ประชาชนลอดภัย (กรมควบคุมโรค)

ดวยมาตรการปองกันและควบคุมโรคที่เหมาะสมและเห็นผล ทำใหตลอดระยะของการแพรระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โรคโควิด 19) มีผูติดเชื้อรายใหมลดลงอยางเห็นไดชัด แสดงใหเห็นถึง
ศักยภาพการรบั มอื ของสาธารณสขุ ไทยโดยเฉพาะภารกิจดานการปองกันควบคุมโรค และเตรียมความพรอมใน
การจัดการภาวะคุกคามและภัยสุขภาพที่ไดมาตรฐานทนั สถานการณแกประชาชน จนไดรับการยอมรับและช่ืนชม
จากนานาชาติ เปนผลจากการพัฒนาระบบปฏิบัติงานปองกันและควบคุมโรคมาอยางตอเนื่องยาวนาน และ
การสั่งสมบทเรียนประสบการณที่เคยผานวิกฤติจากโรคระบาดรายแรงอื่นๆ มากอนหนานี้หลายตอหลายครง้ั
ทั้งโรคซารส ไขหวัดใหญ โรคเมอรส ไขหวัดนก แปลงเปนความเชี่ยวชาญใหกรมควบคุมโรค (กรม คร.)
สามารถปองกัน (Prevent) ตรวจจับ (Detect) และตอบโต (Respond) ควบคุมการระบาดรับมือวิกฤตการณ
ระบาดของโรคโควดิ 19 ที่ส่ันสะเทอื นทง้ั โลกอยา งไดผ ลมากที่สุดอีกคร้งั

กรม คร. ในฐานะหนวยงานซึ่งเปนแกนหลักในภารกิจการปองกันควบคุมโรคไดมีการเตรียม
“โครงสราง” และ “ระบบงาน” เพื่อดำเนินงานตอบโตภาวะฉุกเฉินใหสอดรับเหมาะสมกับบริบทของสังคม
และสถานการณทั้งในระดับประเทศ ระดับเขตสุขภาพ และระดับจังหวัด ซึ่งใชกลยุทธสำคัญ 6 ดาน หรือ
“6C” ที่นำมารับมือกับภัยพิบัติทางสาธารณสุข ครั้งใหญนี้ ไดแก 1) การคัดกรองและเฝาระวังผูปวยที่ดาน
สถานพยาบาล และชมุ ชน (Capture) 2) การดูแลรักษาผปู วยและปองกันการติดเชื้อ (Case management and
Infection control) 3) การตดิ ตามผสู ัมผัสโรค (Contact tracing) 4) การส่อื สารความเสี่ยง(Communication)
5) การใชมาตรการทางสังคมและกฎหมาย (Community intervention and Law enforcement) และ 6)
การประสานงานและจัดการขอมูล (Coordinating and Joint Information Center) โดยมีการปฏิบัติงานของ
“ศนู ยป ฏิบัตกิ ารภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (EOC)” ท่นี ับเปน กองบญั ชาการสำคญั ในการปกปองคนไทย ให
พนจากโรคโควิด 19 รวมท้งั การจัดต้ังและการทำงานทค่ี ูขนานไปกับศูนยบริหารสถานการณ โควิด-19 (ศบค.)
ซึ่งเปนการยกระดับการบัญชาการแบบเบ็ดเสร็จ ตลอดจนภารกิจสำคัญอื่นๆ เชน การคัดกรองกลุมเสี่ยงของ
กรม คร. โดยเฉพาะดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ การปฏบิ ตั งิ านของหนวยปฏบิ ัตกิ ารควบคมุ โรคในทกุ พนื้ ท่ี
การกักตัวภายใตกระบวนการ State Quarantine ในระดับตางๆ โดยมีการบรูณาการการทำงานจากทุกภาคสว น
ทง้ั ภาครัฐและเอกชน กระจายทรพั ยากรอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ เพือ่ ลดความเสียหายและผลกระทบใหนอยท่สี ดุ

จากกลยทุ ธตาง ๆ ตลอดจนการทำงานของบุคลากรทางการแพทยแ ละภาคีทุกภาคสว นท้ังเบ้ืองหนา
และเบือ้ งหลังในคร้ังนี้ สง ผลใหเ กดิ การพัฒนาเทคโนโลยี มาตรการ และนโยบายใหมๆ จนเกิดเปนวิถีชีวิตใหม
ของประชาชนในประเทศไทย (New normal) ที่มีความรอบรู ตระหนกั รถู งึ การปองกันตนเองจากโรคและภัยสุขภาพ
ที่กำลังประสบอยูอยางมีประสิทธิภาพ จนไดรับการชื่นชมจากนานาประเทศ ตลอดจนความทาทายดานการพัฒนา
วัคซนี ตา นโรคโควิด 19 ทก่ี รม คร. ตอ งรว มขับเคลื่อนใหกับประเทศ สงผลใหประเทศไทยกาวสูอันดับ 1 ในฐานะ
ประเทศฟนตัวและรับมือกับการระบาดของโรคโควิด 19 ไดดีที่สุด สำหรับกรม คร. ถือเปนบทเรียนสำคัญใน
อนาคตเพือ่ การพัฒนาตอยอดแนวทางและวธิ ีการรับมือโรคระบาด และโรคอบุ ตั ใิ หมในคร้ังตอ ๆ ไปใหดยี งิ่ ขน้ึ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 32 | 55

ประเภทนวตั กรรมการบรกิ าร : รางวลั เลศิ รัฐ สาขาบริการภาครฐั (ระดบั ด)ี
ชื่อผลงาน : “Com-led CRS” ระบบปกปองพิทักษสิทธิดานเอดสฯ ดวยพลังของชุมชน (กองโรคเอดส
และโรคติดตอทางเพศสมั พันธ)

ประเทศไทยมีผูต ดิ เชื้อเอชไอวีท่ียังมีชีวิตอยู 470,000 ราย และมีจำนวนประชากรเปาหมายหลักใน
การดำเนนิ งาน (ทมี่ คี วามเปราะบางตอการติดเช้ือเอชไอวี) ไดแก ผใู ชย าเสพติดดวยวิธฉี ีด 42,650 คน สาวประเภทสอง
62,800 คน ชายท่ีมีเพศสัมพันธกบั ชาย 159,600 คน พนักงานบริการทางเพศชาย 15,000 คน และพนกั งานบริการ
ทางเพศหญิง จำนวน 129,000 คน ซึ่งขอมูลการสำรวจ พบวา กลุมเหลานี้มักถูกตีตราและเลือกปฏิบัติจาก
หนว ยบริการสขุ ภาพ การศกึ ษา และสถานที่ทำงาน โดยรายงานการสำรวจ The PLHIV Stigma Index ป 2554
พบวา รอ ยละ 32 ของผูติดเช้ือเอชไอวีที่ตอบแบบสอบถามรายงานวาตกงานหรือสูญเสยี รายไดในชว ง 12 เดือน
ที่ผานมา ซึ่งสงผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และครัวเรือนอีกมหาศาล ขณะที่บริการปกปองคุมครองสิทธิ
ดานเอดสยังมีกระจัดกระจาย ไมเปนระบบ ตางคนตางทำ เขาถึงยาก และขาดขอมูลที่จะใชในการติดตาม
สถานการณและความกา วหนาของการดำเนินงานเพอื่ พัฒนานโยบายในการแกไขปญหาการเลือกปฏบิ ตั ิ

กองโรคเอดสแ ละโรคติดตอทางเพศสมั พันธ รว มกับหนวยงานภาคประชาสังคม และภาครัฐอ่นื ๆ ที่เก่ียวของ
จึงไดรวมกันพัฒนานวัตกรรมเชิงระบบภายใตชื่อ “Com-led CRS” เพื่อดำเนินงานปกปองคุมครองสิทธิดานเอดส
เพศภาวะและความเปน กลุมประชากรเปราะบางตอการถูกเลือกปฏบิ ัติ บนพ้ืนฐานแนวคิด “เขาถงึ งาย เปนมิตร”
“ชวยไดจ ริง ทันที” และ “ใชประโยชนขอมูลไดในทุกระดับ” และนำมาสูการออกแบบบริการปกปองคุมครองสิทธิ
ที่นำโดยภาคชุมชนหรือภาคประชาสังคม มีการเชื่อมโยงสานพลังของภาคประชาสังคม-ภาครัฐ โดยนำเทคโนโลยี
มาใชเ พ่อื เพิ่มประสิทธภิ าพการดำเนินงานคุมครองสิทธิ เปน ระบบทเ่ี ขาถึงงาย ทกุ ที่ ทุกเวลา และมรี ะบบฐานขอมูล
เดยี วกันเพ่อื ใชประโยชนจากขอมลู รวมกันในทกุ ระดับ ตัง้ แตร ะดับการใหบริการไปจนถึงระดับนโยบายของประเทศ

รูปแบบนวัตกรรมเชงิ ระบบ Com-led CRS ไดถกู นำไปทดสอบและดำเนนิ งานใน 14 จงั หวัดนำรอง
ในชวงกลางป 2562 และเริ่มดำเนินงานเต็มรูปแบบในป 2563 ผลจากการทดสอบนำรอง ในปงบประมาณ 2563
พบวา ประสบผลสำเรจ็ เปน อยางมาก เชน ชวยใหผ ทู ่ถี ูกใหออกจากงานเน่อื งจากเอชไอวไี ดกลบั มาดำรงชวี ติ ตามปกติ
และมีรายไดตอคนอยางนอยปละประมาณ 90,000 บาท ขณะท่ีเครือขายท่รี วมในการพัฒนาระบบ และดำเนินงาน
คมุ ครองสิทธิมีความพึงพอใจมาก และไดผลลัพธท่ีเปนรูปธรรมในดานระบบขอมลู ประเทศ เพื่อติดตามสถานการณ
การละเมิดสทิ ธิ ไปจนถงึ การผลกั ดันเชงิ นโยบายท่ีสำคัญเพ่ือลดการเลือกปฏบิ ัติที่เก่ียวของกบั เอชไอวี เพศภาวะ

“Com-led CRS” มีความสำคญั ตอการดำเนนิ งานลดการตีตราและเลอื กปฏิบัติ เพ่ือยุติปญหาเอดส
โดยคณะอนุกรรมการขอมลู เชิงยุทธศาสตร ภายใตคณะกรรมการแหงชาตวิ าดวยการปองกันและแกไขปญหาเอดส
(คชปอ.) ไดม มี ตใิ หเ ปน ระบบของประเทศ และมแี ผนขยายกลไกการปกปองคุมครองสิทธริ ะดับพ้ืนท่ี ใหครอบคลุม
77 จงั หวดั ทวั่ ประเทศ ซ่ึงการดำเนินงานถกู บรรจอุ ยใู นแผนปฏบิ ัติการทีม่ ีงบประมาณกำกับ เพ่อื ขจัดการเลอื กปฏิบตั ิ
ทุกรูปแบบที่เก่ียวของกับเอชไอวโี ดยการมีสวนรวมของภาคีทุกภาคสวน ระยะ 5 ป (พ.ศ. 2564 – 2568) เปนแผน
ของประเทศไทยที่หนวยงานภาคีทุกภาคสวนทั้งภาครัฐ ภาคประชาสังคม รวมกันจัดทำ และจะรวมกัน
ดำเนินงานอยางตอ เนือ่ งเพ่ือใหบ รรลุตามเปา หมายการพฒั นาท่ยี ัง่ ยืนขององคการสหประชาชาติ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 33 | 55

ประเภทนวัตกรรมการบริการ : รางวลั เลศิ รัฐ สาขาบริการภาครฐั (ระดับดี)
ชือ่ ผลงาน : โปรแกรมฐานขอ มลู สขุ ภาพกลมุ เส่ียง Naphralan 4.0 (สคร.4 จ.สระบุรี)

ปจจุบันประเทศไทยประสบปญ หาวิกฤตมิ ลพิษทางอากาศเปน อยางมากโดยเฉพาะปญหามลพิษจาก
ฝุนละอองขนาดเล็กทีเ่ กินคามาตรฐานในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล พื้นที่ 9 จังหวัดภาคเหนอื และ
พื้นที่ตำบลหนาพระลาน จังหวัดสระบุรี โดยเฉพาะในชวงฤดูหนาวของประเทศไทยหรือชวงเดือนตุลาคมถึง
เดือนมีนาคมของทุกปซึ่งปญหาเหลา นม้ี าจากการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ การเพิ่มข้นึ ของประชากร การทำอุตสาหกรรม
การจราจร การเผาไหมท างการเกษตร กจิ กรรมครวั เรอื น ระบบการจดั การมลพิษท่ีไมมีประสิทธิภาพกอนระบาย
ออกสูสิง่ แวดลอมทำใหสง ผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและสขุ ภาพ ซงึ่ ลักษณะของการเกดิ ปญ หาฝุนละอองในแตละพ้ืนที่
จะมีความแตกตางกันตามแหลงกำเนิด ทั้งหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนไดใหความสนใจ
กับสถานการณปญหาฝุนละอองและผลกระทบตอสุขภาพเปนอยางมาก เนื่องจากไดมีการนำเสนอขอมูลผาน
สื่อสาธารณะ เครือขายสังคมออนไลน (Social network)เกี่ยวกับผลกระทบตอสุขภาพจากภาวะการเพิ่มข้ึน
ของปริมาณฝุนละอองขนาดเล็กอยางแพรหลาย

พนื้ ท่ีตำบลหนา พระลาน อำเภอเฉลมิ พระเกียรติ จงั หวดั สระบรุ ี ซึ่งเปนพ้ืนที่ท่ถี ูกประกาศเปนเขตควบคุม
มลพษิ เนือ่ งจากปญหามลพิษทางอากาศโดยเฉพาะปรมิ าณฝุนละอองทมี่ ีปริมาณคาเฉลย่ี ฝุน ละอองรายปสูงสุด
สาเหตุจากมีแหลงกำเนิดมลพิษที่ใหญและสำคัญ คือ โรงโม บด ยอย หินจึงทำใหพื้นที่ตำบลหนาพระลาน
เปนพ้ืนที่เปา หมายท่ีตองเรง ดำเนินการปองกนั และเฝา ระวังโรคระบบทางเดนิ หายใจและลดจำนวนวนั ทฝี่ ุนละออง
ขนาดเล็กเกินมาตรฐานตอปลง ตั้งแตป 2557 หนวยงานในพื้นที่ ไดแก เทศบาลตำบลหนาพระลาน และ
กองทุนเหมืองแรไดด ำเนินการตรวจสุขภาพประชาชนในพืน้ ที่เพือ่ เฝาระวังผลกระทบตอ สขุ ภาพจากมลพษิ ทางอากาศ
โดยเก็บรวบรวมเอกสารเปน รายบุคคล ซง่ึ ขอ มูลการตรวจสุขภาพนี้ไมไดถ ูกนำมารวบรวม วเิ คราะห อยางเปนระบบ
หนวยงานท่ีเกย่ี วของ ไดแ ก หนว ยงานสาธารณสุขในพ้ืนท่ี องคกรปกครองสวนทองถิ่น และกองทุนเฝาระวังสุขภาพ
และบริษัทเหมืองหิน จึงไมสามารถทราบสถานการณเ พ่ือติดตามเฝาระวังสุขภาพของประชาชนกลมุ เสี่ยงในพื้นที่ได

สำนักงานปอ งกันควบคมุ โรคที่ 4 จงั หวัดสระบรุ ี (สคร.4 สระบรุ ี) รวมกับหนว ยงานท่ีเกย่ี วของ จึงได
พัฒนาโปรแกรมฐานขอมูลสุขภาพกลุมเสี่ยง Naphralan 4.0 ในรูปแบบของweb database applications
เพื่อใชเปนเครื่องมอื ในการจัดเก็บขอมูลสุขภาพประชาชนการประมวลผลขอ มูล และการเรียกดูรายงานขอ มูล
ตางๆ ที่เขาใจงายหนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่สามารถนำขอมูลจากโปรแกรม Naphralarn 4.0 ไปใช
ประโยชนร วมกันท้ังดานการบริหารจดั การและการปฏิบตั งิ านใหเ กดิ ประโยชนส ูงสุด

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 34 | 55

ประเภทขยายผลมาตรฐานการบรกิ าร : รางวัลเลศิ รัฐ สาขาบรกิ ารภาครัฐ (ระดบั ดี)
ชื่อผลงาน : มาตรฐานการใหบริการตรวจรักษามาลาเรียอยางแมน ยำในพ้ืนทีห่ างไกลตามแนวชายแดนไทย
(สคร.1 จ.เชยี งใหม)

“โรคไขม าลาเรีย” สว นใหญพบในพนื้ ทีห่ างไกล ผปู วยเปนกลุมคนท่มี ีรายไดนอย ดอ ยโอกาส จนเปนคำพูด
ทเี่ รียกวาเปน โรคเขตรอนท่ีถูกละเลย (Neglected Tropical Diseases) ซง่ึ เชื้อมาลาเรียดอ้ื ยากำลงั เปนปญหา
ทสี่ ำคัญทั่วโลก การกระจายของผูป ว ยสว นใหญอยูใน 30 จังหวัดชายแดนของประเทศไทย ท่ีเปนพ้ืนท่ีหางไกล
ทุรกนั ดาร พืน้ ทปี่ าเขา มสี ภาพเอื้อตอการกระจายตัวของโรค การคมนาคมไมสะดวก หากไดรับการรักษาท่ีลาชา
ไมถูกตองอาจทำใหผ ปู ว ยเสยี ชีวติ ได โดยในประเทศไทยพบผปู วยมาลาเรียสงู สุดบรเิ วณชายแดนไทย-พมา คดิ เปน
รอยละ 90 ของผูปว ยทง้ั ประเทศ การพัฒนามาตรฐานการบริการในมาลาเรยี คลินิกในพืน้ ทห่ี างไกลใหมีความแมนยำ
ในการรกั ษา โดยการใหบรกิ ารตรวจคดั กรอง รักษา และตดิ ตามผูปว ยมาลาเรียเพื่อการรักษาหายขาดในภาคเหนือ
เปนตนแบบแหงแรกของประเทศไทย ในการใหบริการกับผูปวยมาลาเรียทุกราย ใหเขาถึงบริการรักษา
มาลาเรียจากภาครัฐอยางทั่วถึงและเทาเทียม ทามกลางสภาพพื้นที่ภูมิประเทศที่ยากลำบาก ความยากจน
ความแตกตางทางชาติพันธุแ ละภาษา ผูป วยควรไดร ับยาทม่ี ีผลตอการรักษาผูปวยเฉพาะรายนั้น ๆ ที่เทาเทียม
และเปน มาตรฐานเดียวกัน เพือ่ ใหผูปวยมีความปลอดภัยในการกนิ ยารักษามาลาเรีย ซ่งึ ยารักษามาลาเรียตาม
มาตรฐานจะใชย าไพรมาควินเปนยาชนดิ เดยี วท่ีใชใ นการรักษาผูปว ยมาลาเรียชนดิ ไวแวกซแบบหายขาด แตยา
ตัวนี้จะมีผลตอผูที่มีภาวะพรองเอนไซมจีซิกพีดี (G6PD) โดยทำใหเม็ดเลือดแดงแตกมากขึ้น ทำใหไตวายและ
อาจเสียชีวิตได การชวยใหประชาชนดอยโอกาสในพื้นที่หางไกล ไดรับการตรวจวินิจฉัยดูแลรักษามาลาเรีย
อยางถูกตอง แมน ยำ ปลอดภยั และครบถวน (Precision Medicine) และมีความยั่งยืนดว ยชุดนวัตกรรมที่ใชงาย
ราคาถูก สะดวกตอ ผใู หบริการและผรู ับบริการ ผลงานน้เี รม่ิ แรกดำเนินการในมาลาเรยี คลินิกของจังหวัดแมฮองสอน
จำนวน 10 แหง ไดนำมาขยายผลการดำเนินงานในพื้นที่อีก 2 จังหวัดชายแดนไทย – พมา คือเชียงราย
จำนวน 5 แหง และเชียงใหม จำนวน 11 แหง คิดเปนรอยละ 100 ของพืน้ ทช่ี ายแดนไทย – พมา ในภาคเหนอื
ใหบรกิ ารตรวจรักษามาลาเรียที่เปนมาตรฐานเดียวกัน ประกอบดวย 1) ตัวชว ยในการเตรยี มตัวอยางฟลมเลือดหนา
และบางในแผนเดียวกันทีช่ วยใหเจาหนาท่ีสาธารณสุข สามารถเตรียมฟลมเลือดสำหรบั การตรวจวนิ จิ ฉยั มาลาเรีย
ไดตามมาตรฐานอยางรวดเร็ว 2) ชุดตรวจ Modified Fluorescent Spot Test (FST) สำหรับตรวจคัดกรอง
ภาวะพรองเอนไซมจ ีซิกพีดี โดยสามารถนำไปใชไดในพ้นื ที่หางไกลได ใชเวลาในการตรวจ 5 นาที กอ นจายยารักษา
มาลาเรีย เพอ่ื ปอ งกันภาวะแทรกซอนจากการกินยาไพรมาควิน หากผูปวยมีภาวะพรองเอนไซม G6PD ไดรับยาน้ี
จะทำใหเมด็ เลือดแดงแตกมากขึน้ อาจไตวายและเสยี ชีวิตได และ 3) ชุดนวตั กรรมสื่อซองยาบอกวิธีการกินยา
รักษาที่เปนรูปภาพเหมือนกับเม็ดยาจริงที่กำหนดใหผูปวยมาลาเรียกินในแตมื้อแตละวันจนครบ ผูปวยและ
ญาติทีเ่ ปน ผูดแู ลสามารถเขาใจงา ยและรับประทานยาไดอยา งถกู ตอ ง แมอา นหนงั สอื ไมไ ด และจัดทำเปนภาษาทอ งถิ่น
เพื่อใหผูปวยกินยารักษาไดอยา งปลอดภัย ครบถวน และกลับมาตรวจตามนัดเพื่อใหแนใจวา ไมมีเชื้อมาลาเรีย
ในกระแสเลือด ชวยลดปญหาและผลกระทบที่จะเกิดจากผลขางเคียงจากการรับประทานยารักษามาลาเรีย
โดยเฉพาะอยางยง่ิ ในผูปวยที่มีภาวะพรองเอนไซม G6PD ทีจ่ ะสง ผลใหผ ปู ว ยทกุ ขท รมานจากการเปนโรคไขมาลาเรีย
ทวคี วามรุนแรงขึน้ และอาจสง ผลทำใหผ ูปว ยเปนโรคอ่นื หรืออาจถึงข้ันทำใหผปู ว ยเสียชีวติ ได ผลการดำเนินงาน

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 35 | 55

พบวา ในป 2563 ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนไทย – พมา พบผูปวยมาลาเรีย 270 ราย ทุกคนไดรับบริการ
ตรวจรกั ษามาลาเรยี อยา งแมน ยำ มกี ารวินจิ ฉัยหาเชือ้ มาลาเรยี อยางถกู ตอง และไดรบั การรกั ษาตามมาตรฐาน
การรักษาของกรมควบคุมโรคอยางปลอดภัย รอยละ 100 ไมมีผูปวยเสียชีวิต ไมมีการติดเชื้อมาลาเรียในพ้ืนท่ี
ที่ประกาศเปนพื้นที่ปลอดจากโรคไขมาลาเรีย กรณีที่ผูปวยไมมีภาวะพรองเอนไซม G6PD ไดรับยารักษา
หายขาด กินยารักษาไดครบถวน ถูกตอง เพิ่มขึ้นจากในป 2559 รอยละ 26.8 เปน รอยละ 92.7 ในป 2562
โดยทุกรายที่กลบั มาตรวจตามนัดไมพบเชือ้ มาลาเรียในกระแสเลือด ในป 2563 พบวาประชาชนผูร ับบริการมี
ความพึงพอใจ รอ ยละ 94.8 ผลลัพธค ือ เจาหนาทส่ี าธารณสุขในมาลาเรียคลินิกตามแนวชายแดนจำนวน 26 แหง
ไดรับการพัฒนาสมรรถนะดานการใหบริการตรวจรักษา มีความมั่นใจในการสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมการกินยารักษาแกประชาชน รวมกับปรับปรุงกระบวนการทำงานที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ที่เปน
มาตรฐานเดียวกัน ในพื้นที่ที่มีการขยายผล สงผลใหผูปวยมาลาเรยี ไดรบั การรักษาที่ถูกตอง แมนยำ ลดภาระ
คา ใชจ ายของผปู วยท่จี ะตอ งเดินทางเขาไปรับการรักษาในโรงพยาบาล ทำใหพ บจำนวนผูป ว ยโรคไขม าลาเรยี ป 2563
จำนวน 270 ราย ลดลงมากถึง รอยละ 83 เมอ่ื เทียบกับป 2559 ทพ่ี บผปู ว ยจำนวน 1,619 ราย โดยมกี ารรายงาน
ผูปวยในระบบมาลาเรียออนไลนภายใน 1 วัน รอยละ 85.14 โดยไดร บั การสอบสวนโรค ภายใน 3 วัน รอยละ 95.65
และทำการควบคุมโรคอยางเหมาะสมภายใน 7 วัน ไดรอยละ 84.13 ทำใหยับยั้งการแพรกระจายของเชื้อมาลาเรีย
ในพื้นที่ไดดี การขยายผลการดำเนินงานนี้ สงผลใหการกำจัดโรคไขมาลาเรียมีประสิทธิภาพ มีความยั่งยืน
ครอบคลุมการเฝาระวังเชื้อมาลาเรียด้ือยา ประชาชนในพื้นทมี่ ีสวนรวมในการติดตามการรักษา จากการดำเนินการ
ที่ประสบความสำเร็จน้ี ในป 2562 เปนตนมา กองโรคติดตอนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค ไดนำรูปแบบการดำเนนิ งาน
ไปขยายในพ้ืนที่แพรเชื้อมาลาเรียและกำหนดเปนนโยบาย/แนวทางการปฏิบตั ิงานเฝาระวังความปลอดภัยการใชยา
และประสทิ ธภิ าพของยารักษามาลาเรียของประเทศไทย

ภาพท่ี 2-11 ประชุมพจิ ารณาการเขยี นผลงานรางวลั เลศิ รัฐ สาขาบริการภาครัฐ (TPSA) ประจำป พ.ศ. 2564

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 36 | 55

ภาพที่ 2-12 รับการตรวจประเมิน ณ พ้ืนทีป่ ฏิบตั งิ าน (Site Visit) รางวลั เลศิ รฐั สาขาบรกิ ารภาครัฐ ประจำป พ.ศ. 2564

ภาพท่ี 2-13 รับรางวลั เลศิ รัฐ สาขารางวัลบรกิ ารภาครัฐ (TPSA) ประจำป พ.ศ. 2564
วนั ที่ 16 กันยายน 2564 ผานระบบอเิ ล็กทรอนิกส

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 37 | 55

4. รางวลั TQM SYMPOSIUM
มูลนิธิสงเสริมทีคิวเอ็มในประเทศไทย ไดพิจารณาเห็นชอบใหกรมควบคุมโรค ไดรับรางวัลฯ

จำนวน 4 ผลงาน คอื
1) DDC COVID-19 เร็วคือรอด ประชาชนปลอดภัย ของกรมควบคุมโรค
2) การพัฒนาแพลตฟอรม ระบบนเิ วศขอ มลู ดิจิทัล ของศนู ยสารสนเทศ
3) กระบวนการบรู ณาการการมสี วนรวมเช่ือมโยงไรรอยตอของประชารัฐเพื่อความปลอดภยั ทางถนน

อยา งยงั่ ยืน “กรณศี ึกษาอำเภอกระนวน” ของ สำนักงานปองกนั ควบคุมโรคท่ี 7 จงั หวัดขอนแกน
4) รวมพัฒนา รวมใช ฐานขอมูลเฝาระวังโรคและภัยราชทัณฑหนึ่งเดียว ของสำนักงานปองกัน

ควบคุมโรคที่ 7 จงั หวัดขอนแกน

5. รางวลั นวตั กรรมแหงชาติ ประจำป พ.ศ. 2564
สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ ไดพิจารณาเห็นชอบใหหนวยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค ไดรับ

รางวัลฯ จำนวน 1 ผลงาน คือ รางวัลนวัตกรรมแหงชาติ ดานองคกรนวัตกรรมดีเดน ประเภทองคกรภาครัฐ
ราชการและประชาสังคม อนั ดับรางวัลเกียรติคุณ ของกองนวตั กรรมและวิจยั

6. รางวลั ศนู ยข อ มูลขาวสารของราชการโดดเดน ประจำป พ.ศ. 2564
ศูนยขอมูลขาวสารอิเล็กทรอนิกสของราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ไดพิจารณา

เห็นชอบใหหนวยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค ไดรับรางวัลฯ จำนวน 1 ผลงาน คือ รางวัลศูนยขอมูลขาวสาร
ของราชการโดดเดน ของสำนกั งานเลขานุการกรม

ผลลัพธ (Outcome)
1. ความสำเรจ็ ไดร ับรางวัล
2. เกินความคาดหวงั

• UNPSA

• TPSA 5 ผลงาน (Best of the best)

• เวทอี น่ื ๆ (TQM/NIA)
3. ปญหาอุปสรรค หนวยงานยงั มผี ลงานสง มานอย (ไมใหค วามสำคัญและมองวาเปน ภาระ)

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 38 | 55

แนวทางการดำเนนิ งานดานผลงานคุณภาพในปตอไป
ตารางที่ 2-4 ขบั เคล่ือนหนวยงานใหสงผลงานขอรบั รางวัล UNPSA 2022 จำนวน 6 ผลงาน

ลำดับที่ หนว ยงาน ชอ่ื เรอื่ ง

1 สำนักวณั โรค รว มมอื รอ ยใจตา นภัยวณั โรค

2 สคร.7 ขอนแกน การบูรณาการฐานขอมูล เพื่อความมั่นคงทางดานสุขภาพผูตองขังใน

เรือนจำรอยเอ็ด ประเทศไทย (Database Integration for Health

Security of Prisoners in Roi Et Province Prison, Thailand)

3 กองดานควบคุมโรคติดตอระหวาง โปรแกรมคดั กรองผูเดินทางทาอากาศยาน PoE Screening platform

ประเทศและกกั กันโรค

4 สคร 4 สระบุรี นวัตกรรมหุนจำลองมนุษยสำหรับฝกทักษะการเก็บตัวอยางเพื่อ

ตรวจหาเชือ้ COVID-19 สำนกั งานปอ งกันควบคมุ โรคท่ี 4 จังหวดั สระบรุ ี

5 สำนักงานคณะกรรมการควบคุม นวตั กรรมการคัดกรองและบำบดั แบบสั้นผมู ปี ญ หาการดมื่ สุรา

เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล

6 ศูนยส ารสนเทศ Integrated Digital Ecosystem Platform to Fight Covid-19

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 39 | 55

การประชุมเครือขา ย ประจำป พ.ศ. 2564
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนวทางการปฏิรูป Retreat Rethink Redesign ภายใตการเตรียม

ความพรอมรับมือการระบาดของโรคและภัยสุขภาพใหทันสมัยและมคี ุณภาพ และแนวทางการบริหารจัดการภาครัฐ
PMQA 4.0 มีวัตถุประสงค เพื่อใหบุคลากรของกรมควบคุมโรคมีความรู ความเขาใจแนวทางการปฏิรูป
Retreat Rethink Redesign ภายใตก ารเตรียมความพรอมรับมือการระบาดของโรคและภัยสุขภาพใหทันสมัย
และมีคุณภาพ ขับเคลื่อนกรมควบคุมโรคเขาสูระบบราชการ 4.0 และใหหนวยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค
นำโปรแกรม DDC-PMQA 4.0 ไปใชในการประเมินองคก รดว ยตนเอง สามารถวิเคราะหชองวางและโอกาสใน
การพัฒนาองคกรตอไป กลุมเปาหมาย คือ ผูบ รหิ าร และผรู บั ผิดชอบงานพัฒนาองคกรของหนวยงานในสังกัด
กรมควบคุมโรค จำนวน 120 คน ระยะเวลาการประชมุ 3 วัน

รูปแบบการประชมุ ฯ ประกอบดวย การบรรยายใหค วามรู และการประชุมกลมุ ยอย ไดแก
1) นโยบายการพัฒนาองคการ กรมควบคุมโรค ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดย
นายแพทยโ อภาส การยกวนิ พงศ อธบิ ดกี รมควบคมุ โรค
2) ทศิ ทางและแนวโนมการพฒั นาระบบราชการภายหลังสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรสั โคโรนาสายพนั ธใุ หม 2019 (COVID-19) โดย นางอารยี พ นั ธ เจริญสุข รองเลขาธกิ าร กพร.
3) Digital Organization : True Corporation โดย นายณัฐวุฒิ อมรวิวัฒน President, True Digital
Group Co., Ltd บริษทั ทรู คอรปอเรช่นั ประเทศไทย จำกดั
4) การปฏิรูป Retreat Rethink Redesign สูการจัดการองคกรแนวใหม กรมควบคุมโรค โดย
ดร.ธนาวิชญ จนิ ดาประดิษฐ บริษัท แอทไวส คอลซัลต้ิง จำกดั
5) ความสำเร็จในการขับเคล่ือนองคกรตนแบบดา นคุณธรรมความโปรง ใสของประเทศ : ธนาคารอาคารสงเคราะห
โดย นางกรณุ า เหมือนเตย ผชู วยกรรมการผจู ดั การสายงานบริหารทรัพยากรบคุ คล ธนาคารอาคารสงเคราะห
6) การใชโ ปรแกรม DDC-PMQA 4.0 โดย นายพงษส ธุ รี  ทองเกลี้ยง กลุม พฒั นาระบบบริหาร
7) แนวทางการดำเนนิ งานพัฒนาองคกร ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 โดยนางเบญจมาภรณ ภิญโญพรพาณิชย
ผอู ำนวยการกลมุ พฒั นาระบบบริหาร
ผลการประชุม ประเมนิ ผลโดยใชแบบสอบถามมีผูเขา รวมประชุมตอบ จำนวน 84 ชดุ ผลการประเมินมี ดังนี้
ดานความรู/ความเขาใจ ผูเขา รวมประชุมสว นใหญมีความพึงพอใจมากท่สี ุดคือ เรื่อง Digital Organization :
True Corporation คิดเปนรอยละ 100 ทั้งนี้เรื่องอื่นๆ พบวามีความพึงพอใจเทากัน คิดเปนรอยละ 98.81
คือ เรื่อง นโยบายการพฒั นาองคการ กรมควบคุมโรค ประจำปง บฯ พ.ศ. 2564 ทิศทางและแนวโนมการพัฒนา
ระบบราชการ ภายหลังสถานการณการแพรร ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนาสายพนั ธุใหม 2019 (COVID-19)
การปฏิรูป Retreat Rethink Redesign สูการจัดการองคกรแนวใหมกรมควบคุมโรค และแนวทางการปฏิรปู
Retreat Rethink Redesign ภายใตการเตรียมความพรอมรับมือ การระบาดของโรคและภัยสุขภาพให
ทันสมัยและมีคณุ ภาพ และแนวทางการบรหิ ารจัดการภาครัฐ PMQA 4.0
การแบงกลุมฝกปฏิบัติ แบงเปน 6 กลุม เพื่อเสริมความรูและทักษะการบริหารจัดการภาครัฐและ
การปฏิรูปองคกรไดตามเกณฑที่กรมควบคุมโรคกำหนด ดวยเครื่องมือการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA 4.0

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 40 | 55

ครอบคลุมมิติเปดกวางและเชื่อมโยง มิติยึดประชาชนเปนศูนยกลาง และมิติมีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย
โดยมีผูแทนจากคณะทำงานยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการองคการ กรมควบคุมโรค ในแตละหมวด

เปนวิทยากรกลุม แตล ะกลุมจะมีขอมูล Application Report Feedback Report ป 2563 ผลการประเมินตนเอง

ลกั ษณะสำคัญขององคก าร Value chain ป 2564 เพ่อื ใหในกลุมรว มกันวิเคราะหตามใบงานที่ 1 การทบทวน
และประเมินองคกรดวยเครื่องมือการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA 4.0 ภายใตแนวคิดการปฏิรูป Retreat

Rethink Redesign และใบงานที่ 2 การจัดทำแผนยกระดบั การพฒั นาสรู ะบบราชการ 4.0 ระยะ 3 ป
ดานคุณภาพการใหบริการ มรี ายละเอยี ดในแตล ะดาน ดังนี้
1) ดานกระบวนการ/ข้ันตอน ในการใหบ ริการ มคี วามพงึ พอใจเฉล่ียคิดเปน รอยละ 98.81 ประเด็น

ทม่ี ีความพึงพอใจมากทีส่ ดุ คอื รปู แบบของการจัดโครงการมีความเหมาะสม คิดเปน รอยละ 100

2) ดานวิทยากร มคี วามพงึ พอใจเฉลี่ยคิดเปน รอยละ 99.60 ประเด็นท่ีมีความพึงพอใจมากท่ีสุด คือ
การถายทอดความรูของวิทยากรมีความชัดเจน คิดเปนรอยละ 100 และความสามารถในการอธิบายเนื้อหา/

การเชือ่ มโยงเนอ้ื หาในการบรรยาย/กจิ กรรม คิดเปนรอ ยละ 100

3) ดานเจาหนาที่หรือบุคลากรที่ใหบริการ มีความพึงพอใจเฉลี่ยคิดเปนรอยละ 99.28 ประเด็นที่มี
ความพึงพอใจมากที่สุด คือ บริการดวยความสุภาพ เรียบรอยและเปนกันเอง คิดเปนรอยละ 100 และการ

ใหบ ริการโดยไมเลอื กปฏบิ ตั ดิ ว ยความเสมอภาค คิดเปน รอยละ 100

4) ดา นสิ่งอำนวยความสะดวก มีความพึงพอใจเฉล่ียคดิ เปนรอยละ 99.28 ประเดน็ ท่ีมีความพึงพอใจ
มากทส่ี ดุ คอื ความเหมาะสมของสถานท่ี คิดเปนรอยละ 100 และความสะอาดเรียบรอยของสถานท่ี คิดเปน รอยละ 100

ดา นความพงึ พอใจตอการประชุมในภาพรวม คดิ เปน รอ ยละ 98.81 อยูใ นระดบั มากทสี่ ุด
ขอ คน พบ และขอเสนอแนะ เรยี งลำดับการแสดงความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามได ดงั น้ี
ดา นการอบรมและพีเ่ ลีย้ ง
1) จัดใหมหี ลักสูตรนกั พัฒนาองคก รรุนใหม หรอื จัดอบรมสำหรบั ผรู บั ผิดชอบงานใหม

2) จัดใหม ี Coach ในการเปน พเี่ ลยี้ งใหแ กหนว ยงาน
3) จัดใหมีกิจกรรมสัมมนาเครือขายพัฒนาองคกร เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวาง

หนว ยงาน อยางนอ ยปละ 1 คร้งั และใหผูร บั ผิดชอบโครงการออกคาใชจ า ยท้งั หมด
ดานงานตนแบบ ใหมกี ารสรางนวัตกรรมตนแบบ เพื่อนำรอ งใหห นว ยงานอื่นไดศ ึกษา
ดานคำรับรองฯ ตัวชี้วัดคำรับรองฯ ไมควรมีมากเกินไป และควรวัดแบบสะทอนถึงประสิทธิภาพ

ประสทิ ธผิ ลของการปฏบิ ัติราชการไดอยางแทจรงิ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 41 | 55

ภาพที่ 2-14 ประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการแนวทางการปฏริ ปู Retreat Rethink Redesign
ภายใตการเตรียมความพรอ มรบั มอื การระบาดของโรคและภยั สขุ ภาพใหทนั สมยั และมคี ณุ ภาพ

และแนวทางการบรหิ ารจดั การภาครฐั PMQA 4.0
ระหวางวนั ที่ 16 - 18 พฤศจกิ ายน 2563 ณ โรงแรมอมารี ดอนเมอื ง แอรพ อรต กรงุ เทพฯ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 4 ห น  า 42 | 55


Click to View FlipBook Version