The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทความวิจัยนางสาวนันทนา นันทะมิตร129

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นันทนา นันทะมิตร, 2024-02-10 06:40:01

บทความวิจัยนางสาวนันทนา นันทะมิตร129

บทความวิจัยนางสาวนันทนา นันทะมิตร129

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์รายวิชาทัศนศิลป7 เรื่อง การใช>สีในทัศนธาตุ โดยการจัดการเรียนรู>แบบลง มือปฏิบัติ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปLที่ 1 A COMPARISION OF ACHIEVEMENT IN THE VISUAL ARTS ON THE USE OF COLOR IN VISUAL ELEMENT BY ORGANZING LEARNING BY DOING FOR GRADE 7 STUDENT นางสาวนันทนา นันทะมิตร NANTANA NANTAMIT บทคัดยfอ งานวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค3เพื่อ 1.) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา ทัศนศิลปIเรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุ โดยการจัดการเรียนรูKแบบลงมือปฏิบัติ สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปSที่ 1 กTอนเรียนและหลังเรียน 2.) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการวาดภาพระบายสี รายวิชาทัศนศิลปI เรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 หลังเรียนเทียบกับ เกณฑ3รKอยละ 80 3.) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีตTอการจัดการเรียนรูKโดยใชKการจัดการเรียนรูKแบบลงมือ ปฏิบัติ วิชาทัศนศิลปI เรื่องการใชKสีในทัศนธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 กลุTมเป]าหมายเป^นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1/1 โรงเรียนประจักษ3ศิลปาคาร ตำบล หนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปSการศึกษา 2566 จำนวน 1 หKอง ไดKมาโดยการสุTมแบบกลุTม จำนวนนักเรียนทั้งหมด 25 คน เครื่องมือที่ใชKในการวิจัย ไดKแกT แผนการจัดการ เรียนรูKวิชาทัศนศิลปI เรื่องการใชKสีในทัศนธาตุ จำนวน 4 แผน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 20 ขKอ สถิติที่ใชKในการวิเคราะห3ขKอมูลไดKแกT รKอยละ คTาเฉลี่ย และสTวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สรุป ผลการวิจัยไดKดังนี้ 1 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป:มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี; Master Student of Program in Visual Arts, Faculty of Education, Udon Thani Rajabhat University, Thailand


1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลปI เรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุ ชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 โดยใชK การจัดการเรียนรูKแบบลงมือปฏิบัติ มีคTาเฉลี่ย 11.76 คะแนน และ 16.80 คะแนนตามลำดับ และ เปรียบเทียบคะแนนระหวTางกTอนเรียนและหลังเรียนพบวTานักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูง กวTากTอนเรียนอยTางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. การเปรียบเทียบความสามารถในการวาดภาพระบายสี โดยใชKการจัดการเรียนรูKแบบลงมือ ปฏิบัติ ชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 มีคTาเฉลี่ยเทTากับ 16.80 คิดเป^นรKอยละ 82 และเทียบระหวTางเกณฑ3กับ คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียน พบวTาคะแนนหลังสอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 สูงกวTาเกณฑ3 อยTางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. การศึกษาความพึงพอใจที่มีตTอการจัดการเรียนรูKโดยใชKรูปแบบการเรียนการสอนแบบลงมือ ปฏิบัติ รายวิชาทัศนศิลปI เรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 มีความพึงพอใจ ในระดับมาก คำสำคัญ: ผลสัมฤทธิ์รายวิชาทัศนศิลปI, วาดภาพระบายสี, ทักษะลงมือปฏิบัติ ABSTRACT The purposes of this research are: 1.) To compare of achievement in the visual arts on the use of color in visual element by organizing learning by doing for grade 7 student before and after learning 2.) To compare the ability in drawing and painting in the visual arts on the topic of using color in visual elements for grade 7 students after learning effective criteria 80 3.) To study satisfaction toward use of color in visual element by organizing learning by doing in the visual arts for grade 1 students. The target group is grade 7 students at Prajak Silpakarn School, Mueang District, Udon Thani Province, Semester 2, academic year 2023, obtained by random sampling, a total of 25 people. The tools used in the research include the lesson plans amount 4 lesson plans, pre/post test amount 20 items and satisfaction questionnaire amount 20 items. The statistics used in analysis such as mean, standard deviation and percentage


1. The achievement in visual arts on the use of color in visual elements by organizing learning by doing for grade 7 students. They had averages of 11.76 points and 16.80 points, respectively and comparing scores between before and after learning. It was found that students' achievement after learning was higher than before learning with statistic significance at the .05 level. 2. Comparing the ability in drawing and painting in the visual arts on the use of color in visual element by organizing learning by doing for grade 7 students. It has an average of 16.80. It's effective 82 percent and compared between the criteria and the students' post-test scores. It was found that the post-test scores of grade 7 students were significantly higher than the criteria at the .05 level. 3. Studying of satisfaction toward use of color in visual element by organizing learning by doing in the visual arts for grade 7 students. There was a high level of satisfaction. Keywords: Academic achievement in visual arts, drawing and painting, hands-on skills. ความเปqนมาและความสำคัญของปsญหาการวิจัย หลักสูตรแกนกลางศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดKใหKความสำคัญตTอความสามารถดKาน การคิดของผูKเรียนมาก ไดKกำหนดความสามารถในการคิดไวKในสมรรถนะของผูKเรียน ซึ่งสามารถในการคิด เป^นความสามารถในการคิดวิเคราะห3 การคิดสังเคราะห3 การคิดสรKางสรรค3 การคิดอยTางมีวิจารณญาณ และการคิดเป^นระบบ การมีความสามารถในการคิดจะเป^นประโยชน3อยTางมากตTอการดำเนินชีวิตมนุษย3ทำ ใหKสามารถแกKไขปêญหาไดKอยTางเหมาะสมและมีเหตุผล ในยุคขTาวสารเทคโนโยลี ในปêจจุบันที่มีความ เจริญกKาวหนKาอยTางรวดเร็ว มีการแขTงขันสูง การปูพื้นฐานการคิดและสTงเสริมการคิดใหKแกTเด็กและเยาวชน จึงเป^นสิ่งที่มีความจำเป^นอยTางยิ่ง นับตั้งแตTระดับอนุบาลไปจนถึงระดับสูง การไดKรับการพัฒนาการคิด ตั้งแตTเยาว3วัยจะชTวยพัฒนาความคิดใหKกKาวหนKา สTงผลใหKสติปêญญาเฉียบแหลม เป^นคนรอบคอบ ตัดสินใจ ไดKถูกตKอง สามารถแกKไขปêญญาตTาง ๆ ในชีวิตไดKดี เป^นบุคลที่มีคุณภาพ และสามารถดำรงชีวิตไดKอยTางเป^น สุข โดยเฉพาะความคิดวิเคราะห3ซึ่งเป^นรากฐานสำคัญของการเรียนรูKและดำเนินชีวิตดังนั้นในการจัดการ


เรียนการสอนกลุTมสาระการเรียนรูKสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร3จำเป^นอยTางยิ่งที่ จัดการเรียนการสอน ใหKผูKเรียนไดKนำความสามารถในการคิดวิเคราะห3มาใชKเพื่อใหKเขKาใจ การดำรงชีวิตใน สังคม สามารถปรับตัวตามสภาพแวดลKอมและจัดการกับทรัพยากรที่มีอยูTอยTางจำกัดทำใหKเกิดความเขKาใจ ในตนเองและผูKอื่น ยอมรับในความแตกตTางระหวTางบุคคลปฏิบัติตนเป^นพลเมืองดีของประเทศชาติและ สังคมโลก (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553: 132) จากกระบวนการจัดการเรียนการสอนรายวิชาทัศนศิลปI ผูKสอนไดKนำเทคโนโลยีตTาง ๆ เขKามา ชTวยจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะเทคโนโลยีคอมพิวเตอร3ที่เขKามามีบทบาทตTอการเรียน การสอนใน ชั้นเรียนเป^นอยTางมาก ไมTวTาจะเป^นการใชKคอมพิวเตอร3ชTวยสอน สื่อมัลติมีเดียที่สามารถสรKางแรงจูงใจการ เรียนไดKเป^นอยTางดี โดยครูนำความสามารถของเทคโนโลยีดKานคอมพิวเตอร3มาใชK ในขั้นตอนการนำเขKา สูTบทเรียน การนำเสนอเนื้อหาการเรียนการสอน การทบทวน โดยบทบาทของครูสTวนหนึ่งก็คือ การ ควบคุมการนำเสนอหรือควบคุมสื่อมัลติมีเดียที่อยูTหนKาชั้นเรียน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร3 สามารถทำใหK เนื้อหาการเรียนการสอนที่เป^นนามธรรม ใหKสามารถสื่อสารกับผูKเรียนใหKเกิดเขKาใจไดKอยTางรวดเร็ว เนื่องจากมีการนำเสนอที่เป^นภาพ ภาพเคลื่อนไหว ขKอความและเสียง ที่สื่อสารใหKผูKเรียนไดKรับรูKเนื้อหา มากยิ่งขึ้น แตTการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียนนั้น มีความจำเป^นที่ผูKเรียนจะตKองนั่งเรียน หรือ จัดกิจกรรมอยูTในสถานที่เดียวกันหรือหKองเรียนเดียวกันอยTางพรKอมเพรียงกันในเวลาเดียวกันเทTานั้น แตT การจัดการเรียนในชั้นเรียนที่ครูผูKสอนนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร3มาใชKในการสอนวิชาทัศนศิลปI ยังมี ขKอจำกัด คือ การสิตวาดภาพนั้นสามารถใชKเทคโนโลยีคอมพิวเตอร3ใชKสอนไดKก็จริง แตTไมTสามารถดึงความ สนใจผูKเรียนไดKตลอดคาบเรียน จึงทำใหKผูKเรียน ไมTสนใจในการสอนของครู เกิดความเบื่อหนTายซึ่งเป^น ปêญหาตTอการจัดการเรียนการสอนของครู การจัดการเรียนรูKของผูKสอนโดยสTวนใหญTจะใหKหัวขKอแลKวใหKผูKเรียน สรKางผลงานศิลปะดKวย ตัวเองซึ่งใชKวิธีการนี้ทุกครั้งที่สอน ไมTไดKใชKสื่อ หรือแบบฝñกทักษะในแตTละขั้นตอน ไมTไดKกระตุKนสTงเสริมใหK ผูKเรียนเกิดการเรียนรูKทักษะจินตนาการในการสรKางผลงานศิลปะ อีกทั้งไมTไดKชี้ใหKผูKเรียนไดKทราบถึงจุดเดTน จุดดKอยในผลงาน แตTจะใหKคะแนนที่ผลงานเลย วิธีการเหลTานี้ทำใหKผูKเรียนขาดทักษะความรูKความเขKาใจใน การสรKางผลงานศิลปะ ดังนั้นผูKวิจัยศึกษา เทคนิคและรูปแบบการสอนที่เหมาะสม พบวTา การจัดการ เรียนรูKแบบปฏิบัติ คือการออกแบบการเรียนการสอนแบบยKอนกลับ เป^นวิธีที่อาจใชKเป^นแนวทางในการ ผลักดันใหKผูKเรียนมีพัฒนาการทางดKานการเรียนดีขึ้น จากประสบการณ3การสอนสาระการเรียนรูKศิลปะ (ทัศนศิลปI) ผูKวิจัยจึงหาวิธีการแกKไขในการ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 โดยการ


เรียนรูKแบบลงมือปฏิบัติ เพื่อพัฒนานักเรียนใหKมีผลสัมฤทธิ์และมีทักษะการใชKสีในทัศนธาตุใหKดียิ่งขึ้นเพื่อที่ นักเรียนจะไดKนำความรูKจากการเรียนรูK ไปใชKเป^นพื้นฐานในการเรียนในระดับที่สูงขึ้นตTอไปอีกทั้งยังเป^นการ พัฒนาผลการเรียน ในกลุTมสาระการเรียนรูKศิลปะใหKสูงขึ้น วัตถุประสงคuของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาทัศนศิลปIเรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุ โดยการจัดการเรียนรูKแบบลงมือปฏิบัติ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 กTอนเรียนและหลังเรียน 2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการวาดภาพระบายสีรายวิชาทัศนศิลปI เรื่อง การใชKสีใน ทัศนธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 หลังเรียนเทียบกับเกณฑ3รKอยละ 80 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีตTอการจัดการเรียนรูKโดยใชKการจัดการเรียนรูKแบบลงมือปฏิบัติ วิชาทัศนศิลปI เรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 สมมติฐานของการวิจัย 1. หลังจากการจัดการเรียนรูKแบบลงมือปฏิบัติ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1/1 มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุสูงขึ้นกวTากTอนเรียน 2. ความสามารถในการวาดภาพระบายสีรายวิชาทัศนศิลปI เรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุ สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 หลังเรียนเทียบกับเกณฑ3รKอยละ 80 กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรตKน ตัวแปรตาม ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการศึกษาคKนควKา การเรียนรู>แบบลงมือปฏิบัติ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปLที่ 1


ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากร ประชากรที่ใชKในการวิจัยครั้งนี้ เป^นนักเรียนชาย – หญิง ที่กำลังศึกษาอยูTชั้น มัธยมศึกษาปSที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปSการศึกษา 2566 โรงเรียนประจักษ3ศิลปาคาร อำเภอเมือง จังหวัด อุดรธานี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี 2. กลุTมตัวอยTาง กลุTมตัวอยTางที่ใชKในการศึกษาครั้งนี้ เป^นนักเรียนชาย – หญิง ที่กำลังศึกษาอยูT ชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1/1 ภาคเรียนที่ 2 ปSการศึกษา 2566 โรงเรียนประจักษ3ศิลปาคาร อำเภอเมือง จังหวัด อุดรธานี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี จำนวน 25 คน จากการเลือก กลุTมตัวอยTาง แบบกลุTม (Cluster random sampling) 3. ตัวแปรที่ศึกษา 3.3.1 ตัวแปรตKน คือ การเรียนรูKแบบลงมือปฏิบัติ 3.3.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 วิธีการดำเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ ผูKวิจัยไดKกำหนดขอบเขตการวิจัย ดังนี้ ประชากร ประชากรที่ใชKในการวิจัยครั้งนี้ เป^นนักเรียนชาย – หญิง ที่กำลังศึกษาอยูTชั้น มัธยมศึกษาปSที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปSการศึกษา 2566 โรงเรียนประจักษ3ศิลปาคาร อำเภอเมือง จังหวัด อุดรธานี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี กลุTมตัวอยTาง กลุTมตัวอยTางที่ใชKในการศึกษาครั้งนี้ เป^นนักเรียนชาย – หญิง ที่กำลังศึกษาอยูT ชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1/1 ภาคเรียนที่ 2 ปSการศึกษา 2566 โรงเรียนประจักษ3ศิลปาคาร อำเภอเมือง จังหวัด อุดรธานี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี จำนวน 25 คน จากการเลือก กลุTมตัวอยTาง แบบกลุTม (Cluster random sampling)


เครื่องมือที่ใช>ในการทําวิจัย เครื่องมือที่ใชKในการวิจัยครั้งนี้ผูKวิจัยไดKทำการศึกษาการวิเคาระห3ขKอมูลจากการสำรวจ ขKอมูลเบื้องตKน และสรKางเครื่องมือที่สอดคลKองกับวัตถุประสงค3ของการวิจัยในครั้งนี้ 3.1 แผนการจัดการเรียนรูK รายวิชาทัศนศิลปI ที่จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชKการ เรียนรูKแบบลงมือปฏิบัติ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 ที่ผูKวิจัยสรKางขึ้นประกอบจำนวนทั้งสิ้น 4 แผน รวม 8 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูKที่ 1 ความหมายและความเป^นมาของสี แผนการจัดการเรียนรูKที่ 2 วงสีธรรมชาติ แผนการจัดการเรียนรูKที่ 3 วรรณะสี แผนการจัดการเรียนรูKที่ 4 หลักการสรKางสรรค3งานสี 3.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลปI เรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุ ผูKวิจัยสรKางขึ้นเป^นแบบทดสอบปรนัยมี4 ตัวเลือก จำนวน 20 ขKอ แตTละขKอมีคTาดัชนีความสอดคลKอง (IOC) เทTากับ 1.00 การเก็บรวบรวมข>อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ผูKวิจัยไดKดําเนินการเก็บรวบรวมขKอมูล ดังนี้ 1. กTอนการทดลองใหKนักเรียนทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลปIเรื่อง การ ใชKสีในทัศนธาตุ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 2. ผูKวิจัยดําเนินการสอนกลุTมตัวอยTางดKวยแผนการจัดการเรียนรูKที่สรKางขึ้น โดยใหKนักเรียน เรียนรูK และปฏิบัติกิจกรรมตTาง ๆ ตามขั้นตอนการจัดการเรียนรูKวิชาทัศนศิลปIเรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุ จํานวน 4 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง สัปดาห3ละ 1 ครั้ง รวม 8 ชั่วโมง 3. เมื่อสิ้นสุดการทดลองแลKว นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลปIชุดเดิมไป ทดสอบนักเรียนอีกครั้ง จากนั้นนําผลที่ไดKไปวิเคราะห3ขKอมูลทางสถิติตTอไป การวิเคราะหuข>อมูล ในการวิเคราะห3ขKอมูลการจัดการเรียนรูKวิชาทัศนศิลปIเรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุ โดยใชK การจัดการเรียนรูKแบบลงมือปฏิบัติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 ผูKวิจัยดําเนินการโดยใชKโปรแกรม สําเร็จรูปทางสถิติสําหรับขKอมูลทางสังคมศาสตร3ตาม ขั้นตอนดังนี้


1. ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลปIชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 โดยการหาคTาเฉลี่ยสTวน เบี่ยงเบนมาตรฐานและรKอยละ 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลปIชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 ระหวTาง กTอนเรียน และหลังเรียนโดยการทดสอบทีแบบไมTอิสระ (t – test for Dependent Sample) ตารางที่ 4 แสดงคะแนนเฉลี่ยสTวนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบแบบไมTอิสระและระดับ นัยสำคัญทางสถิติของการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใชKรูปแบบการเรียนการสอนแบบลงมือ ปฏิบัติ รายวิชาทัศนศิลปI เรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 (N=25) การทดสอบ ̅ S.D. `d S.D.d T Sig.(2-tailed) กfอนเรียน 11.76 1.81 5.04 1.10 22.94 * 0.0000 หลังเรียน 16.80 1.44 จากตารางที่ 4 พบวTาผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 หKอง 1/1 โรงเรียนประจักษ3 ศิลปาคาร อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี เรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุ มีคTาเฉลี่ยเทTากับ 11.76 คะแนน และ 16.80 คะแนน ตามลำดับและเมื่อเปรียบเทียบระหวTางคะแนนกTอนเรียนและหลังเรียนพบวTานักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวTากTอนเรียนอยTางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปผลการวิจัย การสรุปผลการวิจัย เรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์รายวิชาทัศนศิลปI เรื่อง การใชKสีในทัศน ธาตุ โดยการจัดการเรียนรูKแบบลงมือปฏิบัติ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 โรงเรียนประจักษ3ศิลปา คาร อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปSการศึกษา 2566 ผูKวิจัยไดKนำเสนอสรุป ผลการวิจัย ดังรายละเอียดตTอไปนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาทัศนศิลปIเรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุ โดยการจัดการเรียนรูKแบบ ลงมือปฏิบัติ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 มีคTาเฉลี่ยกTอนเรียนเทTากับ 11.76 และคTาเฉลี่ยหลัง เรียนเทTากับ 16.80 คะแนนตามลำดับ และเปรียบเทียบระหวTางคะแนนกTอนเรียนและหลังเรียนพบวTา นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวTากTอนเรียนอยTางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05


2. การเปรียบเทียบความสามารถในการวาดภาพระบายสีรายวิชาทัศนศิลปI เรื่อง การใชKสีใน ทัศนธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 มีคTาเฉลี่ยนเทTากับ 16.80 คะแนน คิดเป^นรKอยละ 82 และ เทียบ ระหวTางเกณฑ3กับคะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนพบวTาคะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปSที่๒สูงกวTาเกณฑ3อยTางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. การศึกษาความพึงพอใจที่มีตTอการจัดการเรียนรูKโดยใชKการจัดการเรียนรูKแบบลงมือปฏิบัติ วิชาทัศนศิลปI เรื่องการใชKสีในทัศนธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 โดยรวมอยูTในระดับมาก อภิปรายผลการวิจัย จากการศึกษาผลการจัดการเรียนรูKวิชาทัศนศิลปI เรื่อง การใชKสีในทัศนธาตุ โดยใชKวิธีการจัดการ เรียนรูKแบบลงมือปฏิบัติของนักเรียนมัธยมศึกษาปSที่ 1 มีประเด็นในการนำมาอภิปรายผลตามลำดับ ดังนี้ 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 ที่เรียนโดยใชKรูปแบบการจัดการเรียนรูKแบบลงมือปฏิบัติ วิชา ทัศนศิลปI เรื่องการใชKสีในทัศนธาตุ มีคะแนนทดสอบกTอนเรียนเฉลี่ยเทTากับ 11.76 คิดเป^นรKอยละ 58.8 โดยมีสTวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทTากับ 1.81 และไดKคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนจากการทำแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนเทTากับ 16.80 คิดเป^นรKอยละ 82 โดยมีสTวนเบียงเบนมาตรฐานเทTากับ 1.44 และ เปรียบเทียบระหวTางคะแนนกTอนเรียนและหลังเรียนพบวTานักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูง กวTากTอนเรียนอยTางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งแสดงใหKเห็นวTาผูKเรียนมีความกKาวหนKาทางการเรียน เพิ่มขึ้นหลัง การจัดกิจกรรมการเรียนรูKเนื่องจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูKโดยใชKรูปแบบการเรียนการสอน แบบลงมือปฏิบัติ เป^นวิธีการสอนที่มีการฝñกทักษะปฏิบัติทำใหKนักเรียนเกิดการเรียนรูKและจดจำไดKอยTางมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากการจัดการเรียนรูKแบบลงมือปฏิบัติเป^นวิธีสอนที่ชTวยสTงเสริมใหKผูKเรียนไดK เกิดการเรียนรูKแบบทักษะปฏิบัติขึ้นจากการที่ผูKเรียนไดKมีกระบวนการทำงานเป^นกลุTมและมีการเรียนรูK รTวมกันกับบุคคลอื่น อีกทั้งการฝñกทักษะปฏิบัติยังชTวยใหKเกิดการคิดวิเคราะห3และชTวยใหKผูKเรียนเขKาใจอยTาง ละเอียดถี่ถKวน จนทำใหKประสิทธิภาพในการเรียนการปฏิบัติในการวาดภาพระบายสีและสรKางสรรค3ผลงาน ทัศนศิลปIดKวยเทคนิคตTาง ๆ ขึ้นซึ่งเป^นวิธีการใชKกระบวนการทางการเรียนที่สามารถสรKางความรูKความคิดที่ มีประสิทธิภาพ ยTอมสTงเสริมความเขKาใจ และเป^นพื้นฐานในการคิดวิเคราะห3ในระดับสูงตTอไป 2. การเปรียบเทียบความสามารถในการวาดภาพระบายสีรายวิชาทัศนศิลปI เรื่อง การใชKสีในทัศน ธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 มีคTาเฉลี่ยเทTากับ 16.80 คิดเป^นรKอยละ 82 และเทียบระหวTาง เกณฑ3กับคะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนพบวTาคะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปSที่ 2 สูงกวTาเกณฑ3อยTางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05


3. ผลการศึกษาความพึงพอใจที่มีตTอการจัดการเรียนรูKโดยใชKการจัดการเรียนรูKแบบลงมือปฏิบัติ วิชาทัศนศิลปI เรื่องการใชKสีในทัศนธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปSที่ 1 พบวTาระดับความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีตTอชุดกิจกรรมการเรียนรูK เรื่องสรKางสรรค3ผลงานทัศนศิลปIในการวาดภาพระบายสี สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปSที่ 1 โดยภาพรวมอยูTในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป^นรายขKอพบวTา นักเรียนมี ความพึงพอใจในแตTละขKอคำถามอยูTในระดับมากถึงมากที่สุด ทั้งนี้เนื่องมาจากผูKวิจัยจัดกิจกรรมการเรียน การสอนที่ใหKผูKเรียนเป^นสำคัญกลTาวคือใหKผูKเรียนไดKปฏิบัติจริง มีสื่อที่ผูKเรียนมีสTวนรTวมในการปฏิบัติไดKจริง จึงทำใหKผูKเรียนเรียนมีความสนุกสนาน ไมTเกิดความเบื่อหนTาย ซึ่งสอดคลKองกับปรียาพร วงศ3อนุตรโรจน3 (๒๕๔๔: ๙) ที่กลTาววTา ความพึงพอใจ ในการทำงานเป^นความรูKสึกของบุคคลที่มีตTอการทำงานทางบวก เป^นความสุขของบุคคลที่เกิดจากการปฏิบัติงานและไดKผลรับตอบแทน ทำใหKเกิดความกระตือรือรKนมีความ มุTงมั่นที่จะทำงาน ข>อเสนอแนะ จากการศึกษาในครั้งนี้ผูKวิจัยมีขKอเสนอแนะสำหรับการนำผลการวิจัยไปใชKดังนี้ 6.1 ขKอเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใชK 1. แผนการจัดการเรียนรูKแตTละแผน มีเนื้อหา กระบวนการ และขั้นตอนการจัดการเรียนรูK คTอนขKางละเอียด ควรวางแผนในหลาย ๆ ดKาน และศึกษาขั้นตอนในแตTละขั้นอยTางละเอียดกTอนการจัด กิจกรรมการเรียนรูK เชTน สื่อการสอน ขั้นตอนวิธีการที่มีความคลKายกัน อุปกรณ3เครื่องเขียนและการ ควบคุมเวลาในการจัดกิจกรรม เป^นตKน 2. ควรใหKนักเรียนฝñกทักษะในการสรKางสรรค3ผลงานดKวยการใชKเทคนิคสีตTาง ๆ อยTางสม่ำเสมอ 3. ควรใหKนักเรียนฝñกวิเคราะห3เนื้อหาที่หลากหลายตามความสนใจและสามารถนำผลการ วิเคราะห3มาใชKประโยชน3ในการสรKางสรรค3ผลงานไดKอยTางหลากหลาย 4. ควรติดตามผลการเรียนรูKของนักเรียนอยTางตTอเนื่องจากการใชKรูปแบบการสอนเพื่อใหKทราบ ประสิทธิภาพของรูปแบบการสอนและความสามารถของนักเรียน 5. การจัดกิจกรรมการเรียนรูKโดยใชKรูปแบบการเรียนการสอนแบบลงมือปฏิบัติ ควรจัดกิจกรรม ใหKเหมาะสมกับเวลา เนื่องจากในการจัดกิจกรรมการเรียนในคาบนักเรียนไมTสามารถทำกิจกรรมใหKเสร็จ ทันตามเวลา 6.2 ขKอเสนอแนะสําหรับการทําวิจัยครั้งตTอไป 1. ควรศึกษาและพัฒนาการเรียนรูKของนักเรียนใหKเกิดการกระตุKนตนเองใหKไดKคิดและศึกษา คKนควKา เพื่อเป^นการพัฒนาความคิดสรKางสรรค3อยTางตTอเนื่อง โดยใชKการเรียนรูKดKวยตนเอง


2. ควรศึกษาและพัฒนาการเรียนรูKของนักเรียนในการสรKางสรรค3ผลงานทัศนศิลปIเป^นกลุTม มีการ แลกเปลี่ยนความคิด จินตนาการ โดยใชKการจัดการเรียนรูKแบบกระบวนการกลุTม 3. ควรมีการจัดกิจกรรมใหKนักเรียนสรKางสรรค3ผลงานเป^นกลุTม และศึกษาพฤติกรรมนักเรียนขณะ ปฏิบัติงาน กระบวนการทํางานกลุTม เชTน การวางแผน การเป^นผูKนําและผูKตามที่ดีความรับผิดชอบ การ ชTวยเหลือซึ่งกันและ เป^นตKน


Click to View FlipBook Version