มตุ โตทยั ๑
พระธรรมเทศนาของ พระอาจารยม น่ั ภรู ิทตฺตเถระ
สวนท่ี ๑
บนั ทึกโดย พระอาจารยวริ ยิ ังค สริ นิ ฺธโร
ณ วัดปา บา นนามน กิ่ง อ. โคกศรีสพุ รรณ จ.สกลนคร
พ.ศ. ๒๔๘๖
๑. การปฏบิ ตั ิ เปน เครอื่ งยังพระสัทธรรมใหบริสทุ ธ์ิ
สมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจาทรงแสดงวาธรรมของพระตถาคต เม่อื เขาไป
ประดิษฐานในสนั ดานของปถุ ุชนแลว ยอมกลายเปน ของปลอม (สัทธรรมปฏิรปู ) แตถา
เขาไปประดิษฐานในจิตสันดานของพระอริยเจาแลวไซร ยอมเปน ของบริสทุ ธแ์ิ ทจ ริง
และเปน ของไมล บเลือนดว ย เพราะฉะน้นั เมื่อยงั เพียรแตเ รียนพระปริยัตถิ า ยเดียว จึงยงั
ใชการไมไดด ี ตอเม่ือมาฝกหัดปฏิบัติจิตใจกําจดั เหลา กะปอมกา คือ อปุ กเิ ลส แลว น่ัน
แหละ จงึ จะยังประโยชนใ หสาํ เรจ็ เต็มท่ี และทาํ ใหพ ระสัทธรรมบริสุทธ์ิ ไมวปิ ลาส
คลาดเคล่ือนจากหลักเดิมดว ย
๒. การฝก ตนดีแลว จึงฝกผอู ืน่ ชือ่ วาทําตามพระพทุ ธเจา
ปุริสทมฺมสารถิ สตถฺ า เทวมนุสสฺ านํ พุทโฺ ธ ภควา
สมเดจ็ พระบรมศาสดาสมั มาสมั พุทธเจา ทรงทรมานฝกหัดพระองคจนไดตรัสรู
พระอนุตตรสัมมาสัมโพธญิ าณ เปน พทุ ฺโธ ผูรกู อนแลวจงึ เปน ภควา ผทู รงจาํ แนกแจก
ธรรมสงั่ สอนเวไนยสัตว สตฺถา จึงเปนครขู องเทวดาและมนษุ ย เปน ผูฝ ก บุรุษผูม อี ปุ นสิ ยั
บารมคี วรแกก ารทรมานในภายหลัง จึงทรงพระคุณปรากฏวา กลฺยาโณ กติ ตฺ สิ ทฺโท อพฺ
ภคุ ฺคโต ชือ่ เสยี งเกียรตศิ ัพทอ นั ดีงามของพระองคยอ มฟงุ เฟองไปในจตุรทศิ จนตราบเทา
ทุกวนั น้ี แมพระอรยิ สงฆส าวกเจาทั้งหลายทลี่ วงลบั ไปแลว กเ็ ชนเดียวกนั ปรากฏวา ทา น
ฝกฝนทรมานตนไดดีแลว จึงชวยพระบรมศาสดาจําแนกแจกธรรม สง่ั สอนประชุมชน
ในภายหลงั ทา นจึงมีเกยี รตคิ ณุ ปรากฏเชนเดียวกบั พระผูมีพระภาคเจา ถาบุคคลใดไม
ทรมานตนใหดีกอนแลว และทําการจําแนกแจกธรรมส่ังสอนไซร ก็จกั เปนผูมโี ทษ
ปรากฏวา ปาปโกสทฺโท คือเปนผมู ชี ่ือเสียงชั่วฟงุ ไปในจตรุ ทศิ เพราะโทษทีไ่ มท าํ ตาม
พระสัมมาสัมพุทธเจา และพระอรยิ สงฆส าวกเจาในกอนทัง้ หลาย
๓. มลู มรดกอนั เปน ตนทุนทําการฝก ฝนตน
เหตุใดหนอ ปราชญท้งั หลาย จะสวดกด็ ี จะรับศีลก็ดี หรอื จะทําการกุศลใดๆ กด็ ี จึง
ตองต้ัง นโม กอน จะทิ้ง นโม ไมไดเ ลย เมอื่ เปน เชน น้ี นโม กต็ อ งเปน ส่ิงสําคัญ จึงยกข้ึน
พิจารณา ไดความวา น คือธาตนุ ํ้า โม คือ ธาตดุ ิน พรอ มกับบาทพระคาถา ปรากฏขึ้นมา
วา มาตาเปติกสมภุ โว โอทนกุมฺมาสปจจฺ โย สมั ภวธาตขุ องมารดาบดิ าผสมกัน จึงเปน
ตัวตนข้นึ มาได น เปน ธาตขุ อง มารดา โม เปน ธาตุของ บดิ า ฉะนัน้ เมอื่ ธาตุท้งั ๒ ผสม
กนั เขาไป ไฟธาตุของมารดาเค่ยี วเขา จนไดนามวา กลละ คือ นา้ํ มันหยดเดียว ณ ที่น้ีเอง
ปฏิสนธิวญิ ญาณเขา ถอื ปฏิสนธิได จติ จึงไดถอื ปฏิสนธิในธาตุ นโม นั้น เม่ือจิตเขาไป
อาศยั แลว กลละ ก็คอ ยเจริญข้นึ เปน อัมพชุ ะ คอื เปนกอนเลอื ด เจรญิ จากกอนเลอื ดมา
เปน ฆนะ คือเปน แทง และ เปสี คอื ชน้ิ เน้อื แลว ขยายตัวออกคลา ยรปู จงิ้ เหลน จงึ เปน
ปญ จสาขา คือ แขน ๒ ขา ๒ หวั ๑ สว นธาตุ พ คือลม ธ คอื ไฟ นั้นเปน ธาตเุ ขา มาอาศัย
ภายหลงั เพราะจิตไมถอื เมอื่ ละจากกลละน้ันแลว กลละก็ตองท้งิ เปลาหรอื สูญเปลา ลม
และไฟกไ็ มม ี คนตาย ลมและไฟก็ดบั หายสาปสูญไป จงึ วาเปนธาตุอาศยั ขอสําคัญจึงอยู
ท่ธี าตุทงั้ ๒ คือ นโม เปนเดิม
ในกาลตอมาเม่ือคลอดออกมาแลวกต็ อ งอาศยั น มารดา โม บิดา เปนผทู ะนุถนอม
กลอมเกลี้ยงเลี้ยงมาดวยการใหขาวสกุ และขนมกมุ มาส เปนตน ตลอดจนการแนะนําสัง่
สอนความดีทกุ อยา ง ทานจึงเรยี กมารดาบิดาวา บุพพาจารย เปน ผูสอนกอ นใครๆ ทั้งสนิ้
มารดาบดิ าเปน ผูมเี มตตาจติ ตอ บุตรธิดาจะนบั จะประมาณมิได มรดกท่ีทาํ ใหกลา วคอื รปู
กายน้แี ล เปนมรดกดงั้ เดมิ ทรพั ยสนิ เงินทองอันเปนของภายนอกก็เปน ไปจากรูปกายนี้
เอง ถารปู กายน้ีไมม ีแลวกท็ ําอะไรไมได ช่ือวา ไมม ีอะไรเลยเพราะเหตนุ ้นั ตัวของเราท้งั
ตวั นเ้ี ปน “มลู มรดก” ของมารดาบดิ าทั้งส้ิน จงึ วาคุณทา นจะนับจะประมาณมไิ ดเลย
ปราชญท งั้ หลายจึงหาไดละท้งิ ไม เราตองเอาตัวเราคือ นโม ตัง้ ขน้ึ กอนแลวจงึ ทาํ กิรยิ า
นอ มไหวล งภายหลงั นโม ทานแปลวานอบนอมน้ันเปน การแปลเพยี งกิริยา หาไดแ ปล
ตน กิริยาไม มูลมรดกนี้แลเปน ตน ทนุ ทําการฝกหัดปฏิบัตติ นไมตองเปน คนจนทรัพย
สําหรับทาํ ทุนปฏิบัติ
๔. มลู ฐานสาํ หรบั ทําการปฏิบตั ิ
นโม นี้ เม่อื กลาวเพียง ๒ ธาตุเทานั้น ยงั ไมส มประกอบหรอื ยงั ไมเตม็ สว น ตอง
พลกิ สระพยญั ชนะดังนี้ คอื เอาสระอะจากตัว น มาใสต ัว ม เอาสระ โอ จากตัว ม มาใส
ตัว น แลว กลับตัว มะ มาไวห นา ตวั โน เปน มโน แปลวาใจ เมอื่ เปน เชน นจี้ งึ ไดท้ังกาย
ท้งั ใจเตม็ ตามสว น สมควรแกก ารใชเ ปนมลู ฐานแหงการปฏิบัตไิ ด มโน คอื ใจนเ้ี ปน
ด้งั เดิม เปน มหาฐานใหญ จะทาํ จะพดู อะไรกย็ อมเปนไปจากใจน้ที ้ังหมด ไดใ นพระพทุ ธ
พจนว า มโนปุพพฺ งคฺ มา ธมมฺ า มโนเสฏฐา มโนมยา ธรรมทง้ั หลายมีใจถึงกอ น มใี จเปน
ใหญ สําเรจ็ แลว ดว ยใจ พระบรมศาสดาจะทรงบัญญัตพิ ระธรรมวินัย กท็ รงบัญญตั ิ
ออกไปจาก ใจ คอื มหาฐาน นีท้ งั้ ส้นิ เหตุน้เี มื่อพระสาวกผไู ดมาพจิ ารณาตามจนถงึ รูจกั
มโน แจม แจงแลว มโน กส็ ุดบญั ญัติ คอื พนจากบัญญตั ิทัง้ ส้นิ สมมตทิ ้ังหลายในโลกนี้
ตองออกไปจากมโนทั้งสนิ้ ของใครกก็ อนของใคร ตางคนตางถือเอากอนอันน้ี ถอื เอา
เปน สมมติบัญญตั ิตามกระแสแหงน้ําโอฆะจนเปนอวชิ ชาตวั กอ ภพกอ ชาตดิ วยการไม
รูเทา ดว ยการหลง หลงถอื วาเปน ตัวเรา เปน ของเราไปหมด
๕. มูลเหตุแหง สิ่งท้ังหลายในสากลโลกธาตุ
พระอภิธรรม ๗ คมั ภรี เวน มหาปฏ ฐาน มีนยั ประมาณเทา นัน้ เทาน้ี สว นคัมภรี ม หา
ปฏฐาน มนี ัยหาประมาณมไิ ดเปน “อนันตนยั ” เปน วิสยั ของพระสัมมาสัมพุทธเจาเทา น้นั
ทจ่ี ะรอบรูได เมื่อพิจารณาพระบาลีที่วา เหตุปจฺจโย น้ันไดความวา เหตซุ ่ึงเปนปจจยั
ด้งั เดมิ ของส่ิงท้ังหลายในสากลโลกธาตนุ นั้ ไดแก มโน นนั่ เอง มโน เปน ตัวมหาเหตุเปน
ตวั เดิม เปนส่ิงสําคญั นอนนัน้ เปนแตอาการเทาน้นั อารมฺมณ จนถงึ อวิคฺคต จะเปนปจจัย
ไดกเ็ พราะมหาเหตุคอื ใจเปน เดิมโดยแท ฉะนน้ั มโนซง่ึ กลา วไวในขอ ๔ ก็ดี ฐีติ ภตู ํ ซึง่
จะกลาวในขอ ๖ กด็ ี และมหาธาตุซึ่งกลาวในขอนก้ี ด็ ี ยอ มมีเนื้อความเปน อันเดยี วกนั
พระบรมศาสดาจะทรงบัญญัตพิ ระธรรมวินัยกด็ ี รอู ะไรๆ ไดดวย ทศพลญาณ ก็ดี รอบรู
สรรพเญยยฺ ธรรม ทง้ั ปวงกด็ ี กเ็ พราะมมี หาเหตนุ น้ั เปน ด้ังเดมิ ทเี ดยี ว จึงทรงรอบรูไดเ ปน
อนันตนยั แมส าวท้ังหลายก็มมี หาเหตุนแ้ี ลเปนเดิม จึงสามารถรตู ามคําสอนของพระองค
ไดดวยเหตนุ ี้แลพระอสั สชิเถระผูเ ปน ท่ี ๕ ของพระปญจวัคคียจึงแสดงธรรมแก อปุ ตสิ ฺส
(พระสารบี ุตร) วา เย ธมมฺ า เหตปุ ภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต เตสฺจ โย นโิ รโธ จ เอวํ วาที
มหาสมโณ ความวา ธรรมทง้ั หลายเกิดแตเหตุ...เพราะวา มหาเหตุน้เี ปนตัวสําคญั เปนตัว
เดิม เมอื่ ทานพระอสั สชิเถระกลาวถึงทนี่ ี้ (คอื มหาเหตุ) ทา นพระสารบี ตุ รจะไมหย่งั จติ ลง
ถงึ กระแสธรรมอยา งไรเลา ? เพราะอะไร ทุกสง่ิ ในโลกกต็ องเปนไปแตม หาเหตุถึงโล
กตุ ตรธรรม กค็ ือมหาเหตุ ฉะนั้น มหาปฏฐาน ทา นจึงวาเปน อนันตนยั ผูมาปฏิบตั ใิ จคอื
ตัวมหาเหตจุ นแจมกระจา งสวางโรแลว ยอ มสามารถรอู ะไรๆ ทงั้ ภายในและภายนอกทกุ
ส่งิ ทกุ ประการ สุดจะนบั จะประมาณไดด ว ยประการฉะนี้
๖. มลู การของสังสารวัฏฏ
ฐีตภิ ตู ํ อวชิ ชฺ า ปจจฺ ยา สงฺขารา อปุ าทานํ ภโว ชาติ
คนเราทุกรปู นามทไี่ ดก ําเนิดเกดิ มาเปนมนษุ ยลว นแลวแตมที ีเ่ กดิ ทัง้ สิ้น กลา วคอื มี
บดิ ามารดาเปนแดนเกดิ กแ็ ลเหตใุ ดทานจึงบญั ญตั ิปจ จยาการแตเ พยี งวา อวิชฺชา ปจจฺ ยา
ฯลฯ เทาน้นั อวชิ ชา เกิดมาจากอะไรฯ ทา นหาไดบ ัญญัติไวไม พวกเรากย็ งั มบี ิดามารดา
อวิชชาก็ตองมพี อ แมเหมือนกัน ไดความตามบาทพระคาถาเบื้องตนวา ฐตี ิภูตํ นั่นเองเปน
พอ แมของอวิชชา ฐตี ิภูตํ ไดแก จิตดัง้ เดิม เมือ่ ฐตี ิภูตํ ประกอบไปดว ยความหลง จึงมี
เครื่องตอ กลา วคอื อาการของอวชิ ชาเกดิ ขึ้น เมอ่ื มีอวิชชาแลวจึงเปนปจจยั ใหป รุงแตง
เปนสงั ขารพรอ มกบั ความเขา ไปยึดถือ จึงเปนภพชาติคอื ตองเกดิ กอตอ กันไป ทานเรยี ก
ปจจยาการ เพราะเปนอาการสบื ตอกัน วิชชาและอวชิ ชากต็ องมาจากฐีตภิ ตู ํเชนเดยี วกัน
เพราะเมื่อฐีติภูตกํ อปรดว ยวชิ ชาจึงรูเทาอาการท้ังหลายตามความเปน จริง นี่พิจารณา
ดว ยวุฏฐานคามนิ ี วปิ สสนา รวมใจความวา ฐีติภูตํ เปน ตัวการดง้ั เดิมของสังสารวัฏฏ
(การเวียนวายตายเกดิ ) ทา นจงึ เรียกชอื่ วา “มูลตันไตร” (หมายถึงไตรลกั ษณ)
เพราะฉะนน้ั เมอ่ื จะตดั สงั สารวัฏฏใหข าดสูญ จึงตองอบรมบมตัวการดัง้ เดิมใหม ีวิชชา
รเู ทาทันอาการท้งั หลายตามความเปนจริง กจ็ ะหายหลงแลวไมกอ อาการทั้งหลายใดๆ อกี
ฐีตภิ ตู ํ อันเปนมูลการกห็ ยุดหมนุ หมดการเวยี นวายตายเกดิ ในสงั สารวฏั ฏดว ยประการ
ฉะน้ี
๗. อรรคฐาน เปนท่ีต้ังแหงมรรคนิพพาน
อคฺคํ ฐานํ มนุสเฺ สสุ มคฺคํ สตฺตวิสทุ ธิยา ฐานะอันเลศิ มีอยใู นมนษุ ย ฐานะอันดีเลิศ
นน้ั เปนทางดาํ เนนิ ไปเพ่ือความบริสุทธข์ิ องสัตว โดยอธบิ ายวา เราไดรบั มรดกมาแลว จาก
นโม คอื บดิ ามารดา กลา วคือตวั ของเรานีแ้ ล อนั ไดกาํ เนดิ เกดิ มาเปนมนุษย ซง่ึ เปนชาติ
สงู สุด เปนผูเลิศตัง้ อยใู นฐานะอันเลิศดวยดคี อื มีกายสมบัติ วจีสมบตั ิ แลมโนสมบัติ
บรบิ รู ณ จะสรา งสมเอาสมบตั ิภายนอก คือ ทรัพยสินเงินทองอยา งไรก็ได จะสรางสมเอา
สมบัติภายในคอื มรรคผลนิพพานธรรมวเิ ศษกไ็ ด พระพทุ ธองคทรงบัญญตั ิพระธรรม
วินัย ก็ทรงบญั ญตั แิ กมนษุ ยเรานีเ้ อง มไิ ดท รงบญั ญตั ิแก ชาง มา โค กระบอื ฯลฯ ที่ไหน
เลย มนษุ ยนีเ้ องจะเปนผูปฏิบัตถิ ึงซงึ่ ความบรสิ ทุ ธ์ไิ ด ฉะน้นั จงึ ไมควรนอ ยเน้ือต่าํ ใจวา
ตนมบี ุญวาสนานอย เพราะมนษุ ยทําได เมือ่ ไมมี ทาํ ใหม ีได เมือ่ มแี ลว ทําใหย งิ่ ไดสมดว ย
เทศนานยั อนั มาในเวสสันดรชาดาวา ทานํ เทติ สลี ํ รกฺขติ ภาวนํ ภาเวตฺวา เอกจโฺ จ สคคฺ ํ
คจฉฺ ติ เอกจโฺ จ โมกฺขํ คจฉฺ ติ นสิ ฺสสํ ยํ เมือ่ ไดท าํ กองการกศุ ล คอื ใหทานรกั ษาศลี เจรญิ
ภาวนาตามคําสอนของพระบรมศาสดาจารยเจา แลว บางพวกทํานอยก็ตองไปสสู วรรค
บางพวกทํามากและขยนั จรงิ พรอ มทง้ั วาสนาบารมแี ตหนหลังประกอบกนั ก็สามารถเขา
สพู ระนิพพานโดยไมตองสงสัยเลย พวกสตั วด ริ ัจฉานทานมิไดก ลาววาเลิศ เพราะจะมา
ทําเหมือนพวกมนษุ ยไ มได จงึ สมกบั คาํ วามนุษยน้ตี ั้งอยูใ นฐานะอนั เลิศดว ยดสี ามารถนํา
ตนเขา สมู รรคผล เขา สูพ ระนิพพานอันบรสิ ทุ ธิ์ไดแ ล
๘. สติปฏฐาน เปน ชยั ภมู ิ คอื สนามฝกฝนตน
พระบรมศาสดาจารยเจา ทรงตั้งชัยภูมไิ วใ นธรรมขอ ไหน? เม่ือพจิ ารณาปญหาน้ีได
ความข้นึ วา พระองคทรงตัง้ มหาสติปฏฐานเปนชัยภมู ิ
อุปมาในทางโลก การรบทพั ชงิ ชัย มุง หมายชัยชนะจําตองหา ชยั ภมู ิ ถา ไดช ยั ภูมิทดี่ ี
แลวยอมสามารถปอ งกันอาวุธของขาศึกไดดี ณ ท่นี ้นั สามารถรวบรวมกําลังใหญเ ขา ฆา
ฟน ขาศกึ ใหปราชัยพา ยแพไ ปได ทเ่ี ชน นนั้ ทานจึงเรยี กวา ชยั ภมู ิ คอื ทท่ี ป่ี ระกอบไปดวย
คายคปู ระตแู ละหอรบอนั มั่นคงฉนั ใด
อปุ ไมยในทางธรรมก็ฉันนน้ั ทเี่ อามหาสติปฏฐานเปนชยั ภูมกิ โ็ ดยผทู ่จี ะเขา สู
สงครามรบขาศกึ คือ กเิ ลส ตองพจิ ารณากายานปุ สสนาสตปิ ฏฐานเปนตนกอ น เพราะ
คนเราท่ีจะเกิด กามราคะ เปน ตน ขนึ้ กเ็ กดิ ท่กี ายและใจ เพราะตาแลไปเหน็ กายทําใหใจ
กําเริบ เหตนุ น้ั จงึ ไดค วามวา กายเปนเคร่ืองกอเหตุ จงึ ตองพิจารณากายนี้กอ น จะไดเปน
เครอ่ื งดบั นิวรณทําใหใ จสงบได ณ ที่นพ้ี งึ ทาํ ใหมาก เจรญิ ใหม าก คอื พจิ ารณาไมต อ ง
ถอยเลยทีเดียว ในเมือ่ อคุ คหนิมิตปรากฏ จะปรากฏกายสว นไหนกต็ าม ใหพ ึงถอื เอากาย
สวนทไี่ ดเห็นนน้ั พจิ ารณาใหเปน หลกั ไวไมตองยายไปพจิ ารณาที่อื่น จะคดิ วาทน่ี ่ีเราเห็น
แลว ที่อ่ืนยงั ไมเ ห็น ก็ตองไปพิจารณาทีอ่ ื่นซิ เชนนห้ี าควรไม ถึงแมจ ะพิจารณาจนแยก
กายออกมาเปนสว นๆ ทกุ ๆอาการอันเปนธาตุ ดนิ น้ํา ลม ไฟ ไดอ ยา งละเอยี ด ท่ีเรยี กวา
ปฏภิ าคก็ตาม กใ็ หพ จิ ารณากายท่เี ราเห็นทแี รกดวยอคุ คหนมิ ติ นน้ั จนชํานาญ ท่ีจะชาํ นาญ
ไดกต็ อ งพิจารณาซํ้าแลว ซา้ํ อกี ณ ที่เดียวนั้นเอง เหมอื นสวดมนตฉะนัน้ อนั การสวดมนต
เมอ่ื เราทองสูตรน้ีไดแ ลว ทิ้งเสียไมเลาไมสวดไวอ ีก กจ็ ะลมื เสียไมสาํ เรจ็ ประโยชนอ ะไร
เลย เพราะไมท าํ ใหช ํานาญดวยความประมาทฉนั ใด การพิจารณากายก็ฉนั นน้ั เหมอื นกนั
เม่อื ไดอ คุ คหนิมิตในที่ใดแลว ไมพ จิ ารณาในท่นี น้ั ใหม ากปลอยทิ้งเสียดวยความประมาท
กไ็ มสาํ เรจ็ ประโยชนอ ะไรอยางเดียวกัน
การพจิ ารณากายนมี้ ที อ่ี า งมาก ดั่งในการบวชทุกวนั นี้ เบ้อื งตน ตองบอกกรรมฐาน
๕ ก็คือ กายน้เี อง กอนอ่ืนหมดเพราะเปนของสําคัญ ทานกลา วไวใ นคมั ภรี พระธรรม
บทขุทฺทกนกิ ายวา อาจารยผไู มฉลาด ไมบอกซ่ึงการพจิ ารณากาย อาจทําลายอุปนสิ ยั แหง
พระอรหนั ตของกลุ บตุ รได เพราะฉะนนั้ ในทกุ วนั นจ้ี งึ ตอ งบอกกรรมฐาน ๕ กอน
อกี แหงหน่ึงทานกลาววา พระพทุ ธเจาทงั้ หลาย พระขณี าสวเจาท้งั หลาย ช่ือวา จะ
ไมกาํ หนดกาย ในสวนแหง โกฏฐาส (คอื การพจิ ารณาแยกออกเปนสว นๆ) ใดโกฏฐาสห
นงึ่ มิไดม ีเลย จึงตรัสแกภกิ ษุ ๕๐๐ รปู ผูก ลาวถึงแผนดนิ วา บา นโนนมดี ินดาํ ดินแดงเปน
ตน น้นั วา นนั่ ชอ่ื วา พหทิ ฺธา แผน ดนิ ภายนอกใหพวกทา นท้ังหลายมาพจิ ารณา อัชฌตั ตกิ า
แผน ดนิ ภายในกลา วคืออัตตภาพรางกายนี้ จงพิจารณาไตรต รองใหแยบคาย กระทาํ ให
แจงแทงใหตลอด เม่ือจบการวิสชั ชนาปญหาน้ี ภิกษทุ ั้ง ๕๐๐ รูปก็บรรลพุ ระอรหันตผล
เหตนุ ัน้ การพจิ ารณากายจงึ เปน ของสําคญั ผูท จ่ี ะพนทุกทงั้ หมดลว นแตตอง
พจิ ารณากายน้ีท้ังสิน้ จะรวบรวมกําลังใหญไดต องรวบรวมดว ยการพจิ ารณากาย แมพระ
พุทธองคเจาจะไดตรสั รูท ีแรกก็ทรงพิจารณาลม ลมจะไมใชกายอยางไร? เพราะฉะนนั้
มหาสตปิ ฏฐาน มีกายานุปสสนาเปนตน จึงช่อื วา “ชยั ภมู ”ิ เม่ือเราไดช ยั ภมู ดิ แี ลว
กลาวคือปฏิบตั ติ ามหลกั มหาสตปิ ฏฐานจนชํานาญแลว กจ็ งพิจารณาความเปน จริงตาม
สภาพแหงธาตทุ ้ังหลายดวยอุบายแหงวปิ สสนา ซง่ึ จะกลา วขางหนา
๙. อบุ ายแหง วปิ ส สนา อันเปนเคร่อื งถา ยถอนกเิ ลส
ธรรมชาติของดที งั้ หลาย ยอมเกดิ มาแตข องไมดี อปุ มาดั่งดอกปทุมชาตอิ ันสวยๆ
งามๆ กเ็ กดิ ข้ึนมาจากโคลนตมอนั เปน ของสกปรก ปฏิกูลนา เกลยี ด แตวาดอกบวั น้นั เมอ่ื
ขึน้ พน โคลนตมแลวยอมเปน สง่ิ ทส่ี ะอาด เปนที่ทดั ทรงของพระราชา อุปราช อาํ มาตย
และเสนาบดี เปน ตน และดอกบัวน้ันกม็ ไิ ดก ลบั คืนไปยงั โคลนตมนัน้ อกี เลย ขอ นเี้ ปรยี บ
เหมือนพระโยคาวจรเจา ผปู ระพฤตพิ ากเพยี รประโยคพยายาม ยอมพิจารณาซึ่ง สิง่
สกปรกนาเกลยี ดน้ันกค็ อื ตวั เรานี้เอง รา งกายนี้เปน ท่ีประชมุ แหง ของโสโครกคือ
อจุ จาระ ปสสาวะ (มูตรคูถ) ท้งั ปวง สิ่งทอี่ อกจากผม ขน เลบ็ ฟน หนงั เปนตน ก็เรยี กวา
ขี้ ทงั้ หมด เชน ข้หี ัว ข้เี ล็บ ขี้ฟน ข้ีไคล เปนตน เมอื่ ส่ิงเหลา นี้รวงหลน ลงสอู าหาร มีแกง
กับ เปนตน กร็ งั เกยี จ ตองเททงิ้ กนิ ไมได และรางกายนต้ี อ งชําระอยูเสมอจึงพอเปน ของ
ดูได ถา หาไมก จ็ ะมกี ล่ินเหมน็ สาป เขาใกลใ ครก็ไมไ ด ของทั้งปวงมผี า แพรเคร่อื งใช
ตางๆ เม่ืออยูนอกกายของเรากเ็ ปน ของสะอาดนา ดู แตเ มอื่ มาถงึ กายนีแ้ ลวกก็ ลายเปนของ
สกปรกไป เมอ่ื ปลอ ยไวนานๆ เขาไมซกั ฟอกก็จะเขาใกลใ ครไมไดเลย เพราะเหมน็ สาบ
ดั่งนจ้ี งึ ไดความวารา งกายของเราน้ีเปนเรอื นมตู ร เรือนคถู เปนอสภุ ะ ของไมงาม ปฏกิ ูล
นาเกลียด เม่ือยังมีชีวติ อยูกเ็ ปน ถึงปานนี้ เมื่อชวี ติ หาไมแ ลว ยง่ิ จะสกปรกหาอะไร
เปรยี บเทยี บมไิ ดเลย เพราะฉะนั้นพระโยคาวจรเจาท้งั หลายจึงพิจารณารางกายอนั น้ใี ห
ชาํ นชิ ํานาญดวย โยนิโสมนสิการ ต้ังแตต นมาทีเดียว คอื ขณะเม่อื ยังเห็นไมทันชัดเจนก็
พจิ ารณาสวนใดสวนหนงึ่ แหง กายอันเปน ท่ีสบายแกจ ริตจนกระทงั่ ปรากฏเปนอคุ คห
นมิ ิต คอื ปรากฏสวนแหงรางกายสวนใดสวนหนง่ึ แลว กก็ ําหนดสวนนัน้ ใหม าก เจริญให
มาก ทําใหม าก การเจริญทาํ ใหมากนั้นพงึ ทราบอยา งนี้ อนั ชาวนาเขาทํานาเขาก็ทําท่ี
แผน ดนิ ไถท่ีแผน ดนิ ดาํ ลงไปในดนิ ปต อไปเขาก็ทาํ ทด่ี นิ อกี เชน เคย เขาไมไดทาํ ใน
อากาศกลางหาว คงทําแตท ี่ดินอยา งเดียว ขา วเขาก็ไดเตม็ ยงุ เต็มฉางเอง เม่ือทาํ ใหมากใน
ท่ีดินน้ันแลว ไมตอ งรอ งเรียกวา ขาวเอยขา ว จงมาเต็มยงุ เนอ ขาวก็จะหล่งั ไหลมาเอง
และจะหา มวา เขาเอย ขาว จงอยามาเต็มยุงเต็มฉางเราเนอ ถาทาํ นาในทด่ี ินนัน้ เองจน
สําเร็จแลว ขาวกม็ าเต็มยุงเตม็ ฉางเอง ฉนั ใดก็ดพี ระโยคาวจรเจากฉ็ นั นน้ั จงพิจารณากาย
ในทเี่ คยพิจารณาอนั ถูกนิสยั หรือท่ีปรากฏมาใหเ ห็นครง้ั แรก อยา ละทิง้ เลยเปน อนั ขาด
การทาํ ใหมากนนั้ มิใชหมายแตการเดินจงกรมเทา น้ัน ใหม สี ติหรอื พจิ ารณาในทท่ี กุ สถาน
ในกาลทุกเมือ่ ยนื เดนิ นงั่ นอน กิน ดม่ื ทาํ คดิ พดู ก็ใหม สี ตริ อบคอบในกายอยูเสมอจึง
จะชอื่ วา ทําใหม าก เมอ่ื พิจารณาในรางกายนนั้ จนชดั เจนแลว ใหพจิ ารณาแบงสวนแยก
สวนออกเปนสวนๆ ตามโยนโิ สมนสกิ ารตลอดจนกระจายออกเปนธาตดุ ิน ธาตุนํ้า ธาตุ
ไฟ ธาตลุ ม และพิจารณาใหเห็นไปตามนั้นจรงิ ๆ อุบายตอนน้ตี ามแตต นจะใครครวญ
ออกอุบายตามที่ถกู จริตนิสัยของตน แตอ ยาละทิ้งหลกั เดมิ ทต่ี นไดร ูครั้งแรกนนั่ เทยี ว
พระโยคาวจรเจาเมื่อพจิ ารณาในท่นี ้ี พึงเจรญิ ใหม าก ทําใหม าก อยาพจิ ารณาคร้งั
เดียวแลวปลอ ยทิง้ ต้ังคร่งึ เดอื น ตัง้ เดอื น ใหพ จิ ารณากาวเขาไป ถอยออกมาเปน อนโุ ลม
ปฏโิ ลม คือเขา ไปสงบในจิต แลวถอยออกมาพิจารณากาย อยางพจิ ารณากายอยา งเดยี ว
หรือสงบทีจ่ ิตแตอยางเดียว พระโยคาวจรเจาพจิ ารณาอยางน้ีชาํ นาญแลว หรอื ชาํ นาญ
อยางยิ่งแลว คราวนแ้ี ลเปนสว นท่จี ะเปน เอง คือ จิต ยอ มจะรวมใหญ เมือ่ รวมพึบ่ ลง ยอม
ปรากฏวา ทุกสิง่ รวมลงเปนอนั เดียวกันคอื หมดทัง้ โลกยอมเปน ธาตทุ ัง้ สิน้ นิมิตจะปรากฏ
ข้ึนพรอ มกันวา โลกนรี้ าบเหมอื นหนากลอง เพราะมีสภาพเปนอนั เดยี วกนั ไมว า ปาไม
ภูเขา มนุษย สตั ว แมทสี่ ุดตัวของเรากต็ องลบราบเปน ที่สดุ อยางเดยี วกันพรอมกบั ญาณ
สมั ปยตุ ต คอื รขู นึ้ มาพรอ มกนั ในทนี่ ต้ี ดั ความสนเทห ใ นใจไดเ ลย จึงชื่อวา
ยถาภตู ญาณทัสสนวิปส สนา คือท้ังเหน็ ท้งั รูต ามความเปน จรงิ
ข้นั น้เี ปน เบื้องตน ในอนั ที่จะดาํ เนินตอไป ไมใ ชท่ีสดุ อันพระโยคาวจรเจาจะพึง
เจริญใหม าก ทาํ ใหมาก จึงจะเปน เพ่ือความรูยิ่งอีกจนรอบ จนชํานาญเหน็ แจงชดั วา
สงั ขารความปรุงแตงอันเปน ความสมมตวิ า โนนเปนของของเรา โนนเปนเรา เปนความ
ไมเทย่ี งอาศัยอปุ าทานความยึดถอื จงึ เปน ทกุ ข ก็แลธาตทุ งั้ หลาย เขาหากมีหากเปน อยู
อยา งนี้ตั้งแตไหนแตไ รมา เกิด แก เจบ็ ตาย เกิดขนึ้ เส่อื มไปอยูอยา งนม้ี ากอน เราเกิด
ตัง้ แตดกึ ดาํ บรรพกเ็ ปน อยอู ยางนี้ อาศัยอาการของจิต ของขนั ธ ๕ ไดแก รปู เวทนา
สัญญา สังขาร วญิ ญาณไปปรงุ แตง สําคญั มั่นหมายทกุ ภพทกุ ชาติ นับเปนอเนกชาติเหลือ
ประมาณมาจนถงึ ปจจุบันชาติ จึงทาํ ใหจ ติ หลงอยูตามสมมติ ไมใ ชสมมตมิ าตดิ เอาเรา
เพราะธรรมชาตทิ ้งั หลายท้ังหมดในโลกนี้ จะเปน ของมีวิญญาณหรือไมก ็ตาม เมอ่ื วา ตาม
ความจรงิ แลว เขาหากมหี ากเปน เกิดข้ึนเสอื่ มไป มอี ยอู ยางนนั้ ทเี ดยี ว โดยไมตอ งสงสัย
เลยจงึ รขู ้ึนวา ปพุ ฺเพสุ อนนสุ สฺ ุเตสุ ธมฺเมสุ ธรรมดาเหลา นี้ หากมีมาแตกอน ถึงวาจะ
ไมไ ดยินไดฟงมาจากใครกม็ อี ยูอยา งน้ันทีเดยี ว ฉะน้ันในความขอน้ี พระพทุ ธเจาจึงทรง
ปฏญิ าณพระองคว า เราไมไ ดฟ ง มาแตใคร มไิ ดเรียนมาแตใ ครเพราะของเหลาน้มี ีอยู มีมา
แตก อนพระองคด ังน้ี ไดความวาธรรมดาธาตทุ ้ังหลายยอ มเปนยอ มมอี ยูอยา งนั้น อาศยั
อาการของจิตเขาไปยึดถือเอาส่ิงทงั้ ปวงเหลา นั้นมาหลายภพหลายชาติ จึงเปนเหตุให
อนุสยั ครอบงําจิตจนหลงเชอื่ ไปตาม จึงเปนเหตใุ หก อ ภพกอชาติดวยอาการของจติ เขาไป
ยึด ฉะนัน้ พระโยคาวจรเจามาพจิ ารณา โดยแยบคายลงไปตามสภาพวา สพฺเพ สงฺ ขารา
อนจิ จฺ า สพเฺ พ สงขฺ ารา ทุกขฺ า สังขารความเขา ไปปรุงแตง คอื อาการของจิตน่ันแลไม
เท่ียง สัตวโ ลกเขาเท่ยี ง คือมอี ยเู ปนอยูอยางน้ัน ใหพจิ ารณาโดย อรยิ สจั จธรรมทั้ง ๔ เปน
เคร่ืองแกอ าการของจิตใหเ หน็ แนแทโดย ปจ จกั ขสิทธิ วา ตวั อาการของจิตน้ีเองมนั ไม
เท่ียง เปน ทุกข จงึ หลงตามสังขาร เม่ือเห็นจรงิ ลงไปแลว ก็เปนเครอ่ื งแกอ าการของจิต จึง
ปรากฏขึน้ วา สงฺขารา สสสฺ ตา นตฺถิ สงั ขารท้งั หลายท่ีเท่ยี งแทไมมี สงั ขารเปนอาการของ
จติ ตา งหาก เปรยี บเหมอื นพยบั แดด สว นสัตวเขาก็อยูประจําโลกแตไหนแตไ รมา เมื่อรู
โดยเง่ือน ๒ ประการ คอื รูวา สตั วก็มอี ยูอ ยา งนั้น สงั ขารก็เปน อาการของจิต เขา ไป
สมมตเิ ขาเทานน้ั ฐีติภูตํ จติ ตัง้ อยเู ดิมไมม ีอาการเปน ผหู ลุดพน ไดความวา ธรรมดาหรือ
ธรรมทัง้ หลายไมใ ชตน จะใชตนอยา งไร ของเขาหากเกดิ มีอยา งนน้ั ทา นจงึ วา สพเฺ พ ธมฺ
มา อนตฺตา ธรรมทงั้ หลายไมใ ชต น ใหพระโยคาวจรเจา พึงพิจารณาใหเหน็ แจง ประจักษ
ตามน้จี นทําใหจิตรวมพึ่บลงไป ใหเหน็ จริงแจงชัดตามนน้ั โดย ปจ จักขสทิ ธิ พรอมกบั
ญาณสมั ปยุตต รวมทวนกระแสแกอ นสุ ัยสมมตเิ ปน วมิ ตุ ติ หรอื รวมลงฐตี จิ ิต อนั เปนอยูม ี
อยูอยางนนั้ จนแจง ประจกั ษใ นทน่ี น้ั ดวยญาณสัมปยุตตวา ขณี า ชาติ ญาณํ โหติ ดังนี้ ใน
ท่ีนี้ไมใชสมมตไิ มใชของแตงเอาเดาเอา ไมใชข องอนั บคุ คลพงึ ปรารถนาเอาได เปน ของ
ท่เี กิดเอง เปนเอง รูเ อง โดยสว นเดียวเทาน้นั เพราะดว ยการปฏิบัตอิ นั เขม แขง็ ไมท อ ถอย
พจิ ารณาโดยแยบคายดวยตนเอง จึงจะเปน ขึ้นมาเอง ทานเปรียบเหมือนตน ไมต า งๆ มตี น
ขาวเปนตน เมอ่ื บาํ รุงรักษาตนมันใหดีแลว ผลคอื รวงขาวไมใชส งิ่ อนั บุคคลพงึ ปรารถนา
เอาเลย เปน ขึ้นมาเอง ถาแลบคุ คลมาปรารถนาเอาแตรวงขาว แตห าไดร ักษาตนขา วไม
เปน ผเู กยี จคราน จะปรารถนาจนวนั ตาย รวงขา วก็จะไมม ขี ้นึ มาใหฉนั ใด วมิ ฺตตธิ รรม ก็
ฉนั นั้นนน่ั แล มิใชสง่ิ อนั บคุ คลจะพึงปรารถนาเอาได คนผปู รารถนาวมิ ุตติธรรมแต
ปฏิบตั ไิ มถกู ตองหรอื ไมปฏบิ ตั มิ วั เกียจครา นจนวันตายจะประสบวมิ ุตตธิ รรมไมไดเ ลย
ดว ยประการฉะนี้
มุตโตทัย ๑ (ตอ)
พระธรรมเทศนาของ พระอาจารยมัน่ ภรู ิทตตฺ เถระ
๑๐. จิตเดมิ เปนธรรมชาติใสสวา ง แตม ืดมัวไปเพราะอุปกิเลส
ปภสฺสรมิทํ ภิกฺขเว จิตฺตํ ตฺจ โข อาคนตฺ เุ กหิ อุปกิเลเสหิ อปุ กฺกิลิฏฐํ
ภิกษุทัง้ หลาย จติ นเี้ สือ่ มปภสั สรแจง สวา งมาเดมิ แตอาศัยอปุ กิเลสเคร่อื งเศราหมอง
เปน อาคันตุกะสญั จรมาปกคลุมหุมหอ จึงทําใหจิตมสิ องแสงสวางได ทา นเปรยี บไวใ น
บทกลอนหนงึ่ วา “ไมชะงกหกพนั งา(กิง่ ) กะปอมกา กงิ้ กา ฮอ ย กะปอมนอยข้นึ ม้อื พัน
ครัน้ ตวั มาบทนั ขนึ้ นาํ คูม้ือๆ” โดยอธบิ ายวา คาํ วาไมช ะงก ๖,๐๐๐ งานั้นเม่อื ตัดศนู ย ๓
ศนู ยออกเสียเหลอื แค ๖ คงไดความวา ทวารทง้ั ๖ เปน ทมี่ าแหง กะปอมกา คือของปลอม
ไมใชของจริง กเิ ลสทงั้ หลายไมใชของจริง เปนสง่ิ สัญจรเขา มาในทวารทงั้ ๖ นับรอยนบั
พัน มิใชแตเ ทา นน้ั กเิ ลสท้ังหลายทย่ี งั ไมเกดิ ขึน้ กจ็ ะทวยี ง่ิ ๆ ขึน้ ทุกๆ วัน ในเมอื่ ไม
แสวงหาทางแก ธรรมชาติของจิตเปนของผองใสยิ่งกวาอะไรท้งั หมด แตอ าศัยของปลอม
กลา วคืออปุ กเิ ลสท่สี ัญจรเขา มาปกคลมุ จงึ ทาํ ใหหมดรศั มี ดจุ พระอาทติ ยเมอ่ื เมฆบดบัง
ฉะนั้น อยา พึงเขาใจวาพระอาทิตยเขา ไปหาเมฆ เมฆไหลมาบดบงั พระอาทิตยตางหาก
ฉะน้ัน ผบู ําเพญ็ เพยี รท้งั หลายเม่ือรโู ดยปริยายน้แี ลว พงึ กําจดั ของปลอมดวยการพจิ ารณา
โดยแยบคายตามที่อธบิ ายแลวในอบุ ายแหง วปิ สสนาขอ ๙ นน้ั เถิด เม่ือทาํ ใหถึงข้ันฐีตจิ ิต
แลว ชื่อวา ยอมทําลายของปลอมไดห มดสนิ้ หรือวา ของปลอมยอ มเขา ไปถึงฐตี ิจติ เพราะ
สะพานเช่อื มตอ ถกู ทาํ ลายขาดสะบัน้ ลงแลว แมย ังตองเกี่ยวขอ งกับอารมณของโลกอยูก็
ยอ มเปน ดุจนํ้ากล้งิ บนใบบัวฉะนน้ั
๑๑. การทรมานตนของผบู าํ เพญ็ เพียร ตองใหพ อเหมาะกบั อปุ นิสัย
นายสารถผี ฝู กมามชี อ่ื เสียงคนหน่งึ มาเฝาพระพทุ ธเจา ทลู ถามถงึ วิธีทรมานเวไนย
พระองคท รงยอนถามนายสารถีกอนถงึ การทรมาณมา เขาทูลวามามี ๔ ชนดิ คอื ๑.
ทรมานงา ย ๒. ทรมานอยางกลาง ๓. ทรมานยากแท ๔. ทรมานไมไ ดเ ลย ตอ งฆาเสีย
พระองคจึงตรสั วาเรากเ็ หมือนกัน ๑. ผทู รมาณงา ย คือผปู ฏบิ ตั ิทําจติ รวมงายใหกินอาหาร
เพียงพอ เพื่อบํารุงรางกาย ๒. ผทู รมานอยางกลาง คือผปู ฏิบตั ทิ าํ จิตไมคอยจะลง กใ็ หกนิ
อาหารแตน อยอยาใหมาก ๓. ทรมานยากแท คอื ผปู ฏิบตั ทิ าํ จิตลงยากแท ไมตอ งใหก นิ
อาหารเลย แตตอ งเปน อตฺตฺ ู รกู ําลงั ของตนวาจะทนทานไดสกั เพียงไร แคไหน ๔.
ทรมานไมไ ดเลย ตอ งฆาเสยี คอื ผปู ฏิบัตทิ ําจติ ไมได เปน ปทปรมะ พระองคท รงชัก
สะพานเสีย กลา วคอื ไมทรงรับส่งั สอน อปุ มาเหมือนฆา ทง้ิ เสยี ฉะนนั้
๑๒. มูลตกิ สตู ร
ตกิ แปลวา ๓ มลู แปลวา เคามูลรากเหงา รวมความวา สง่ิ ซ่งึ เปนรากเหงา เคามูลอยาง
ละ ๓ คอื ราคะ โทสะ โมหะ กเ็ รยี ก ๓ อกุศลมลู ตณั หา ก็มี ๓ คือกามตัณหา ภวตัณหา
วภิ วตณั หา โอฆะและอาสวะก็มอี ยางละ ๓ คอื กามะ ภาวะ อวิชชา ถา บุคคลมาเปนไป
กับดวย ๓ เชน น้ี ติปริวตตฺ ํ กต็ อ งเวียนไปเปน ๓ ๓ ก็ตองเปนโลก ๓ คอื กามโลก รูปโลก
อรปู โลก อยอู ยา งนัน้ แล เพราะ ๓ นั้นเปนเคามลู โลก ๓
เครอ่ื งแกก็มี ๓ คือ ศีล สมาธิ ปญญา เมอื่ บุคคลดําเนนิ ตนตามศีล สมาธิ ปญ ญา อนั
เปน เครอื่ งแก น ตปิ ริวตตฺ ํ ก็ไมตองเวียนไปเปน๓ ๓ กไ็ มเ ปนโลก ๓ ชอ่ื วาพนจากโลก ๓
แล
๑๓. วิสุทธเิ ทวาเทา นนั้ เปนสันตบุคคลแท
อกุปปฺ สพพฺ ธมฺเมสุ เญยฺยธมฺมา ปเวสฺสนฺโต
บุคคลผูม จี ติ ไมกาํ เริบในกิเลสทงั้ ปวง รธู รรมท้งั หลายทง้ั ทเี่ ปน พหิทธาธรรม ทั้งที่
เปน อัชฌตั ตกิ าธรรม สนโฺ ต จงึ เปนผูสงบระงบั สนั ตบุคคลเชน นี้แลท่ีจะบรบิ รู ณด ว ย
หริ โิ อตตัปปะ มธี รรมบรสิ ุทธสิ์ ะอาด มีใจมัน่ คงเปนสตั บุรุษผทู รงเทวธรรมตามความใน
พระคาถาวา หริ ิโอตฺตปฺปสมฺปนฺนา สกุ กฺ ธมมฺ สมาหติ า สนโฺ ต สปปฺ ุรสิ า โลเก เทวธมมฺ าติ
วจุ จฺ เร อุปตตเิ ทวา ผพู รัง่ พรอ มดวยกามคณุ วุน วายอยูดวยกิเลส เหตุไฉนจึงจะเปนสนั ต
บคุ คลได ความในพระคาถานย้ี อ มตอ งหมายถงึ วิสุทธิเทวา คือพระอรหันตแ นน อน ทา น
ผูเชนนน้ั เปนสนั ตบุคคลแท สมควรจะเปนผูบริบรู ณดวยหิรโิ อตตปั ปะ และ สกุ กฺ ธรรม
คอื ความบริสทุ ธ์แิ ท
๑๔. อกิริยาเปนทีส่ ดุ ในโลก - สดุ สมมตบิ ัญญัติ
สจจฺ านํ จตโุ ร ปทา ขณี าสวา ชุตมิ นโฺ ต เต โลเก ปรินิพพฺ ตุ า
สัจธรรมทงั้ ๔ คือ ทกุ ข สมทุ ัย นิโรธ มรรค ยังเปนกิรยิ า เพราะแตละสจั จะๆ ยอมมี
อาการตอ งทําคือ ทกุ ข-ตองกําหนดรู สมทุ ัย-ตอ งละ นโิ รธ-ตอ งทําใหแจง มรรค-ตอ ง
เจริญใหมาก ดงั นีล้ วนเปน อาการทจี่ ะตอ งทาํ ท้ังหมด ถาเปน อาการทีจ่ ะตองทาํ กต็ องเปน
กริ ิยาเพราะเหตุน้ันจงึ รวมความไดว าสัจจะทั้ง ๔ เปน กิริยา จึงสมกบั บาทคาถาขางตน น้ัน
ความวาสัจจะทงั้ ๔ เปนเทา หรอื เปนเครอ่ื งเหยยี บกา วขนึ้ ไป หรือกาวขน้ึ ไป ๔ พกั จงึ จะ
เสรจ็ กิจ ตอ จากนั้นไปจงึ เรียกวา อกริ ิยา
อุปมา ดงั เขยี นเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ แลว ลบ ๑ ถงึ ๙ ทิ้งเสีย เหลือแต ๐
(ศูนย) ไมเ ขยี นอกี ตอ ไป คงอานวา ศูนย แตไ มมคี าอะไรเลย จะนาํ ไปบวกลบคณู หารกับ
เลขจํานวนใดๆ ไมไ ดทงั้ ส้ินแตจะปฏิเสธวาไมม ีหาไดไม เพราะปรากฏอยูว า ๐ (ศูนย) นี่
แหละ คือปญ ญารอบรู เพราะลายกิรยิ า คือ ความสมมติ หรือวาลบสมมติลงเสยี จนหมด
สิน้ ไมเขาไปยึดถอื สมมตทิ ง้ั หลาย คําวา ลบ คือทําลายกิรยิ า กลาวคือ ความสมมติ มี
ปญหาสอดข้ึนมาวา เมื่อทาํ ลายสมมติหมดแลวจะไปอยูท่ไี หน? แกวา ไปอยูในทไี่ ม
สมมติ คือ อกริ ยิ า นนั่ เอง เน้ือความตอนน้เี ปน การอธบิ ายตามอาการของความจรงิ ซึ่ง
ประจกั ษแ กผ ูปฏบิ ตั โิ ดยเฉพาะ อนั ผูไมป ฏิบัตหิ าอาจรูไ ดไ ม ตอเมอ่ื ไรฟงแลว ทําตามจน
รเู องเห็นเองนนั่ แลจงึ จะเขาใจได
ความแหง ๒ บาทคาถาตอไปวา พระขณี าสวเจาทั้งหลายดบั โลกสามรงุ โรจนอยู
คอื ทาํ การพิจารณาบาํ เพย็ เพยี รเปน ภาวิโต พหลุ ีกโต คอื ทาํ ใหม าก เจริญใหมาก จนจติ มี
กาํ ลงั สามารถพิจารณาสมมติทงั้ หลายทาํ ลายสมมตทิ ัง้ หลายลงไปไดจ นเปนอกิรยิ ากย็ อ ม
ดบั โลกสามได การดับโลกสามนัน้ ทา นขีณาสวเจา ท้งั หลายมไิ ดเ หาะขนึ้ ไปนกามโลก
รปู โลก อรูปโลกเลยทเี ดยี ว คงอยกู ับท่ีนน่ั เอง แมพระบรมศาสดาของเราก็เชน เดียวกัน
พระองคป ระทบั นั่งอยู ณ ควงไมโ พธพิ ฤกษแ หง เดยี วกัน เม่อื จะดับโลกสาม ก็มไิ ดเหาะ
ขน้ึ ไปในโลกสาม คงดับอยทู จ่ี ติ ทิ่จติ น้นั เองเปนโลกสาม ฉะนั้น ทา นผูตองการดับโลก
สาม พงึ ดบั ที่จติ ของตนๆ จงึ ทาํ ลายกิริยา คอื ตัวสมมติหมดสน้ิ จากจิต ยังเหลือแตอ กริ ยิ า
เปน ฐีตจิ ิต ฐีติธรรมอนั ไมร จู ักตาย ฉะนี้แล
๑๕. สัตตาวาส ๙
เทวาพิภพ มนสุ สโลก อบายโลก จัดเปน กามโลก ทอี่ ยอู าศยั ของสตั วเ สพกามรวม
เปน ๑ รูปโลก ที่อยูอ าศยั ของสตั วผ สู ําเรจ็ รปู ฌานมี ๔ อรปู โลก ท่ีอยูอาศยั ของสตั ว
ผูสาํ เร็จอรปู ฌานมี ๔ รวมทงั้ ส้นิ ๙ เปนท่ีอยูอาศัยของสตั ว ผูมารูเทาสตั ตาวาส ๙
กลาวคอื พระขณี าสวเจาทั้งหลาย ยอมจากท่อี ยขู องสัตว ไมตองอยใู นท่ี ๙ แหงนี้ และ
ปรากฏในสามเณรปญหาขอ สุดทา ยวา ทส นาม กึ อะไรชือ่ วา ๑๐ แกวา ทสหงฺ เคหิ สมนฺ
นาคโต พระขีณาสวเจาผูประกอบดว ยองค ๑๐ ยอมพนจากสัตตาวาส ๙ ความขอ น้ีคง
เปรียบไดกับการเขยี นเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ นน่ั เอง ๑ ถงึ ๙ เปนจาํ นวนท่ีนบั ได
อานได บวกลบคณู หารกันได สว น ๑๐ กค็ อื เลข ๑ กบั ๐ (ศนู ย) เราจะเอา ๐ (ศูนย) ไป
บวกลบคณู หารกบั เลขจํานวนใดๆ ก็ไมทาํ ใหเลขจํานวนน้ันมีคาสงู ขึ้น และ ๐ (ศนู ย) นี้
เมอ่ื อยโู ดยลาํ พงั ก็ไมมีคาอะไร แตจ ะวา ไมมีกไ็ มได เพราะเปนส่งิ ปรากฏอยู ความเปรยี บ
น้ฉี ันใด จติ ใจกฉ็ ันนัน้ เปนธรรมชาติ มีลกั ษณะเหมอื น ๐ (ศูนย) เมอื่ นําไปตอเขากบั เลข
ตวั ใด ยอมทําใหเ ลขตวั นั้นเพ่มิ คา ขึ้นอกี มาก เชน เลข ๑ เมอ่ื เอาศูนยต อเขา กก็ ลายเปน
๑๐ (สิบ) จิตใจเรานีก้ เ็ หมือนกัน เมอ่ื ตอเขา กับส่ิงท้ังหลายก็เปน ของวิจิตรพิสดารมากมาย
ขนึ้ ทนั ที แตเมอื่ ไดรบั การฝก ฝนอบรมจนฉลาดรอบรสู รรพเญยยฺ ธรรมแลว ยอ มกลับคนื สู
สภาพ ๐ (ศูนย) คอื วา งโปรงพน จากการนบั การอา นแลว มิไดอยใู นท่ี ๙ แหง อันเปน ที่อยู
ของสัตว แตอ ยใู นทห่ี มดสมมติบญั ญตั ิคือ สภาพ ๐ (ศูนย) หรืออกิริยาดังกลาวในขอ ๑๔
นั่นเอง
๑๖. ความสาํ คญั ของปฐมเทศนา มชั ฌิมเทศนา และปจ ฉมิ เทศนา
พระธรรมเทศนาของสมเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจาใน ๓ กาลมีความสําคญั ยง่ิ อัน
พทุ ธบริษัทควรสนใจพจิ ารณาเปนพเิ ศษ คอื
ก. ปฐมโพธกิ าล ไดท รงแสดงธรรมแกพ ระปญ จวัคคยี ท่ีปาอิสิปตนมฤคทายวนั
เมืองพาราณสี เปน ครง้ั แรกเปน ปฐมเทศนา เรียกวา ธรรมจักร เบือ้ งตน ทรงยกสวนสุด ๒
อยางอนั บรรพชิตไมค วรเสพขึ้นมาแสดงวา เทว เม ภกิ ขฺ เว อนตฺ า ปพฺพชิเตน น เสวติ พฺ
พา ภกิ ษุทั้งหลาย สวนท่ีสดุ ๒ อยา งอันบรรพชติ ไมพ งึ เสพ คือ กามสุขัลลิกา และอตั ตกิ
ลมถา อธิบายวา กามสุขัลลิกา เปนสว นแหง ความรกั อัตตกิลมถา เปน สว นแหงความชัง
ทั้ง ๒ สวนนเ้ี ปนตัวสมุทัย เมอ่ื ผูบําเพ็ญตบะธรรมทัง้ หลายโดยอยูซง่ึ สว นทั้งสองนี้ ชอื่ วา
ยังไมเขาทางกลาง เพราะเมื่อบําเพญ็ เพียรพยายามทาํ สมาธิ จิตสงบสบายดเี ต็มทีก่ ็ดใี จ
ครนั้ เมื่อจติ นึกคดิ ฟงุ ซานราํ คาญก็เสียใจ ความดใี จน้นั คอื กามสขุ ัลลิกา ความเสียใจน้นั
แล คือ อัตตกลิ มถา ความดใี จกเ็ ปนราคะ ความเสียใจก็เปน โทสะ ความไมรเู ทา ในราคะ
โทสะ ท้ังสองนี้เปน โมหะ ฉะนั้น ผูทพี่ ยายามประกอบความเพียรในเบื้องแรกตอ ง
กระทบสว นสุดทง้ั สองน้ันแลกอน ถา เม่อื กระทบสว น ๒ น้ันอยู ชื่อวาผดิ อยแู ตเ ปน
ธรรมดาแททีเดยี ว ตอ งผิดเสียกอ นจงึ ถกู แมพระบรมศาสดาแตกอ นนน้ั พระองคก ็ผิดมา
เตม็ ทเ่ี หมือนกนั แมพระอัครสาวกท้งั สอง กซ็ ้าํ เปนมิจฉาทิฐิมากอนแลว ท้ังส้นิ แมส าวก
ทง้ั หลายเหลาอน่ื ๆ ก็ลวนแตผดิ มาแลว ทั้งนน้ั ตอ เม่ือพระองคม าดาํ เนินทางกลาง ทําจติ
อยภู ายใตรม โพธพิ ฤกษ ไดญาณ ๒ ในสองยามเบื้องตน ในราตรี ไดญาณท่ี ๓ กลา วคือ
อาสวักขยญาณในยามใกลรงุ จงึ ไดถูกทางกลางอันแทจริงทาํ จิตของพระองคใ หพ น จาก
ความผดิ กลา วคอื ...สว นสุดท้ังสองน้ัน พน จากสมมติโคตร สมมตชิ าติ สมมตวิ าส สมมติ
วงศ และสมมตปิ ระเพณี ถงึ ความเปนอรยิ โคตร อรยิ ชาติ อรยิ วาส อริยวงศ และอรยิ
ประเพณี สว นอรยิ สาวกท้งั หลายน้นั เลากม็ ารตู ามพระองค ทาํ ใหไ ดอ าสวกั ขยญาณพน
จากความผดิ ตามพระองคไป สว นเราผูปฏบิ ัตอิ ยใู นระยะแรกๆ ก็ตอ งผดิ เปน ธรรมดา แต
เมือ่ ผิดกต็ อ งรเู ทา แลวทําใหถ ูก เมอื่ ยงั มดี ใี จเสียใจในการบาํ เพญ็ บญุ กศุ ลอยู กต็ กอยใู น
โลกธรรม เม่อื ตกอยูในโลกธรรม จึงเปนผูหวน่ั ไหวเพราะความดีใจเสยี ใจนน่ั แหละ ชอื่
วา ความหวั่นไหวไปมา อุปปฺ นฺโน โข เม โลกธรรมจะเกิดทีไ่ หน เกดิ ที่เรา โลกธรรมมี ๘
มรรคเคร่อื งแกก็มี ๘ มรรค ๘ เครื่องแกโลกธรรม ๘ ฉะน้นั พระองคจึงทรงแสดง
มชั ฌมิ าปฏิปทาแกสว น ๒ เม่อื แกส วน ๒ ไดแลวก็เขาสอู รยิ มรรค ตัดกระแสโลก ทําใจ
ใหเ ปน จาโค ปฏนิ สิ สฺ คโฺ ค มุตฺติ อนาลโย (สละสลดั ตดั ขาดวางใจหายหว ง) รวมความวา
เมื่อสว น ๒ ยงั มีอยูในใจผใู ดแลว ผนู ั้นกย็ ังไมถ ูกทาง เม่อื ผมู ีใจพน จากสว นทั้ง ๒ แลว ก็
ไมหวนั่ ไหว หมดธลุ ี เกษมจากโยคะ จึงวาเนือ้ ความแหงธรรมจกั รสาํ คญั มาก พระองค
ทรงแสดงธรรมจักรนี้ยงั โลกธาตใุ หห วน่ั ไหว จะไมหวน่ั ไหวอยา งไร เพราะมีใจความ
สาํ คญั อยา งนี้ โลกธาตุกม็ ิใชอ ะไรอ่ืน คอื ตวั เรานเ้ี อง ตัวเราก็คอื ธาตุของโลก หวัน่ ไหว
เพราะเห็นในของท่ีไมเคยเห็น เพราะจิตพน จากสวน ๒ ธาตุของโลกจงึ หวั่นไหว
หว่นั ไหวเพราะจะไมม ากอธาตุของโลกอีกแล
ข. มชั ฌมิ โพธกิ าล ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกขในชุมชนพระอรหันต ๑,๒๕๐ องค
ณ พระราชอทุ ยานเวฬวุ ันกลนั ทกนวิ าปสถาน กรุงราชคฤหใจความสําคัญตอนหนึ่งวา
อธิจติ ฺเต จ อาโยโค เอตํ พุทธฺ าน สาสนํ พงึ เปนผทู ําจติ ใหย ่ิง การท่จี ะทาํ จิตใหย ง่ิ ไดต อ ง
เปน ผสู งบระงับ อจิ ฉฺ า โลภสมาปนโฺ น สมโณ กึ ภวสิ สฺ ติ เม่ือประกอบดวยความอยากด้ิน
รนโลภหลงอยูแลว จกั เปนผูส งระงับไดอ ยา งไร ตองเปน ผปู ฏิบตั ิคอื ปฏิบัติพระวนิ ยั เปน
เบอ้ื งตน และเจรญิ กรรมฐานต้ังตน แตก ารเดนิ จงกรม นั่งสมาธิ ทําใหมาก เจริญใหม าก
ในการพจิ ารณามหาสตปิ ฏฐาน มกี ายนุปส สนาสติปฏ ฐาน เปนเบอื้ งแรก พงึ พจิ ารณา
สว นแหงรางกาย โดยอาการแหง บรกิ รรมสวนะคือ พิจารณาโดยอาการคาดคะเน วา สวน
น้ันเปน อยางน้นั ดวยการมสี ติสัมปชัญญะไปเสยี กอ น เพราะเม่อื พจิ ารณาเชนน้ีใจไมหาง
จากกาย ทําใหรวมงาย เมื่อทาํ ใหม าก ในบรกิ รรมสวนะแลว จกั เกิดขึน้ ซ่งึ อุคคหนิมิตให
ชาํ นาญในทน่ี ้นั จนเปนปฏิภาค ชํานาญในปฏภิ าคโดยยงิ่ แลว จกั เปน วปิ ส สนา เจริญ
วปิ สสนาจนเปน วปิ ส สนาอยา งอกุ ฤษฏ ทาํ จติ เขาถงึ ฐีติภตู ํ ดงั กลาวแลวในอุบายแหง
วิปส สนาชอื่ วาปฏบิ ัติ เมือ่ ปฏบิ ตั ิแลว โมกขฺ ํ จึงจะขา มพน จึงพนจากโลกชอ่ื วา โลกุตตร
ธรรม เขมํ จงึ เกษมจากโยคะ (เคร่ืองรอย) ฉะนัน้ เน้ือความในมัชฌิมเทศนาจึงสําคญั
เพราะเล็งถงึ วมิ ุตตธิ รรมดวยประการฉะน้ีและฯ
ค. ปจฉมิ โพธกิ าล ทรงแสดงปจ ฉิมเทศนาในท่ีชุมชนพระอรยิ สาวก ณ พระราช
อทุ ยานสาลวันของมลั ลกษตั รยิ กรงุ กสุ ินารา ในเวลาจวนจะปรนิ พิ พานวา หนทฺ านิ
อามนตฺ ยามิ โว ภกิ ขฺ เว ปฏเิ วทยามิ โว ภิกขฺ เว ขยวยธมฺมา สงขฺ ารา อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ
เราบอกทา นทัง้ หลายวาจงเปนผูไมป ระมาท พจิ ารณาสังขารทีเ่ กดิ ขึ้นแลวเสอื่ มไป เม่อื
ทา นทัง้ หลายพิจารณาเชน น้ันจกั เปน ผแู ทงตลอด พระองคตรสั พระธรรมเทศนาเพยี ง
เทา นก้ี ป็ ดพระโอษฐม ิไดตรัสอะไรตอไปอีกเลย จึงเรยี กวา ปจฉมิ เทศนาอธบิ ายความ
ตอ ไปวา สังขารมันเกดิ ขึ้นท่ีไหน อะไรเปน สงั ขาร สังขารมันก็เกิดขน้ึ ท่ีจิตของเราเอง
เปนอาการของจิตพาใหเ กิดขน้ึ ซงึ่ สมมตทิ งั้ หลาย สังขารนีแ้ ล เปนตวั การสมมตบิ ญั ญัติ
สง่ิ ทั้งหลายในโลกความจรงิ ในโลกทงั้ หลายหรอื ธรรมธาตทุ งั้ หลายเขามเี ขาเปน อยอู ยาง
น้ัน แผน ดนิ ตน ไม ภเู ขา ฟา แดด เขาไมไดวาเขาเปน นน้ั เปนนเ้ี ลย เจาสงั ขารตวั การน้เี ขา
ไปปรงุ แตง วา เขาเปนนั้นเปน น้จี นหลงกนั วา เปน จริง ถอื เอาวา เปน ตวั เรา เปนของๆ เรา
เสยี สน้ิ จงึ มี ราคะ โทสะ โมหะ เกดิ ขนึ้ ทําจติ ดั้งเดิมใหห ลงตามไป เกิด แก เจบ็ ตาย
เวยี นวา ยไปไมม ีที่สน้ิ สดุ เปน อเนกภพ อเนกชาติ เพราะเจาตัวสงั ขารน้นั แลเปน ตัวเหตุ
จงึ ทรงสอนใหพจิ ารณาสังขารวา สพเฺ พ สงขฺ ารา อนจิ จฺ า สพฺเพ สงขฺ ารา ทกุ ฺขา ใหเปน
ปรีชาญาณชดั แจง เกิดจากผลแหง การเจริญปฏภิ าคเปน สวนเบื้องตน จนทําจิตใหเ ขา
ภวงั ค เมือ่ กระแสแหงภวังคห ายไป มีญาณเกดิ ขึ้นวา “นน้ั เปนอยา งนนั้ เปนสภาพไมเท่ียง
เปนทกุ ข” เกดิ ข้ึนในจติ จรงิ ๆ จนชํานาญเหน็ จรงิ แจง ประจักษ กร็ เู ทา สงั ขารได สังขารก็
จะมาปรงุ แตงใหจ ติ กาํ เริบอีกไมได ไดในคาถาวา อกุปปฺ สพพฺ ธมเฺ มสุ เญยฺยธมฺมา
ปเวสสฺ นฺโต เม่อื สังขารปรุงแตง จิตไมไ ดแ ลว กไ็ มกําเรบิ รเู ทาธรรมทัง้ ปวง สนฺโต ก็เปนผู
สงบระงบั ถงึ ซ่งึ วิมตุ ติธรรม ดว ยประการฉะน้ี
ปจ ฉิมเทศนานเี้ ปนคาํ สําคัญแท ทําใหผ ูพิจารณารูแจง ถึงท่สี ดุ พระองคจงึ ไดปด
พระโอษฐแ ตเพยี งน้ี
พระธรรมเทศนาใน ๓ กาลน้ี ยอ มมีความสาํ คัญเหนือความสําคญั ในทกุ ๆ กาล
ปฐมเทศนาก็เลง็ ถงึ วิมตุ ติธรรม มชั ฌิมเทศนาก็เลง็ ถึงวมิ ุตติธรรม ปจ ฉมิ เทศนาก็เล็งถึง
วมิ ตุ ติธรรม รวมทง้ั ๓ กาล ลวนแตเล็งถงึ วมิ ตุ ติธรรมท้ังส้ิน ดว ยประการฉะน้ี
๑๗. พระอรหนั ตทุกประเภทบรรลุทั้งเจโตวิมตุ ติ ทง้ั ปญญาวิมตุ ติ
อนาสวํ เจโตวมิ ุตฺตึ ปฺญาวมิ ุตตฺ ึ ทฏิ เฐว ธมเฺ ม สยํ อภิฺญา สจฺฉกิ ตวา อปุ ฺปสมปฺ ชฺช
วหิ รติ พระบาลนี ีแ้ สดงวา พระอรหันตทั้งหลายไมว าประเภทใดยอ มบรรลุทงั้ เจโตวมิ ุตติ
ท้งั ปญญาวิมตุ ติ...ท่ีปราศจากอาสวะในปจ จบุ ัน หาไดแ บงแยกไวว า ประเภทนน้ั บรรลุแต
เจโตวมิ ุตติ หรอื ปญญาวิมตุ ไิ ม ที่เกจิอาจารยแตงอธิบายไววา เจโตวิมตุ ติเปนของพระ
อรหันตผูไ ดสมาธกิ อ น สวนปญ ญาวมิ ตุ ตเิ ปนของพระอรหนั ตส กุ ขวิปส สกผเู จรญิ
วปิ สสนาลว นๆ น้นั ยอมขัดแยง ตอมรรค มรรคประกอบดวยองค ๘ มีทั้งสมั มาทิฏฐิ ทัง้
สมั มาสมาธิ ผูจะบรรลุวมิ ตุ ตธิ รรมจาํ ตองบําเพญ็ มรรค ๘ บริบรู ณ มิฉะนน้ั ก็บรรลวุ ิมตุ ติ
ธรรมไมไ ด ไตรสกิ ขาก็มที ง้ั สมาธิ ทงั้ ปญญา อันผูจ ะไดอาสวักขยญาณจาํ ตอ งบําเพ็ญ
ไตรสกิ ขาใหบรบิ รู ณทงั้ ๓ สวน ฉะนั้นจึงวา พระอรหนั ตท ุกประเภทตอ งบรรลุทง้ั เจโต
วิมตุ ติ ทั้งปญญาวิมุตติดว ยประการฉะนี้แลฯ
มุตโตทัย ๒
สว นท่ี ๒
บนั ทึกโดย พระอาจารยว ัน อตุ ฺตโม และ พระอาจารยทองคาํ ญาโณภาโส
ณ วัดปา บา นหนองผือ อ. พรรณานคิ ม จ. สกลนคร
พ.ศ. ๒๔๙๑ - ๒๔๙๒
๑. เร่อื ง มลู กรรมฐาน
กุลบตุ รผบู รรพชาอปุ สมบทเขามาในพระพุทธศาสนาน้ีแลว ใครเลาไมเคยเรยี น
กรรมฐานมา บอกไดท เี ดยี ววา ไมเคยมี พระอปุ ช ฌายทกุ องคเมอื่ บวชกลุ บตุ รจะไมส อน
กรรมฐานกอนแลว จงึ ใหผาภายหลงั ไมม ี ถา อปุ ชฌายอ งคใดไมสอนกรรมฐานกอน
อปุ ชฌายองคน ัน้ ดาํ รงความเปนอุปชฌายะตอไปไมไ ด ฉะน้ันกลุ บุตรผบู วชมาแลวจึงได
ชอ่ื วาเรียนกรรมฐานมาแลว ไมต องสงสัยวา ไมไ ดเรยี น
พระอุปชฌายะสอนกรรมฐาน ๕ คอื เกสา ผม โลมา ขน นขา เล็บ ทนั ตา ฟน ตโจ
หนงั ในกรรมฐานท้งั ๕ นี้ มีหนังเปนที่สดุ ทําไมจึงสอนถงึ หนังเทาน้นั ? เพราะเหตวุ า
หนัง มนั เปน อาการใหญ คนเราทุกคนตอ งมีหนงั หุมหอ ถา ไมม หี นัง ผม ขน เล็บ ฟน ก็
อยไู มได ตอ งหลดุ หลนทําลายไป เนอ้ื กระดูก เอน็ และอาการท้งั หมดในรา งกายน้ี ก็จะ
อยไู มไ ด ตองแตกตองทาํ ลายไป คนเราจะหลงรปู ก็มาหลง หนัง หมายความสวยๆ งามๆ
เกดิ ความรักใครแลวกป็ รารถนาเพราะมาหมายอยูท่ีหนงั เมอ่ื เห็นแลวกส็ ําคัญเอา
ผวิ พรรณของมัน คือผิว ดํา-ขาว-แดง-ดําแดง-ขาวแดง ผิวอะไรตออะไร ก็เพราะหมายสี
หนัง ถาไมม ีหนงั แลว ใครเลา จะหมายวาสวยงาม? ใครเลาจะรักจะชอบจะปรารถนา? มี
แตจ ะเกลยี ดหนา ยไมปรารถนา ถาหนงั ไมห มุ หอ อยูแลว เนอ้ื เอ็นและอาการอ่ืนๆ ก็จะอยู
ไมได ท้ังจะประกอบกจิ การอะไรก็ไมได จงึ วา หนังเปน ของสําคญั นกั จะเปน อยไู ดก นิ ก็
เพราะหนัง จะเกิดความหลงสวยหลงงามก็เพราะมีหนงั ฉะนัน้ พระอุปช ฌายะทา นจึง
สอนถงึ แตหนังเปนท่ีสุด ถาเรามาต้ังใจพิจารณาจนใหเ ห็นความเปอ ยเนาเกิดอสุภนมิ ิต
ปรากฏแนแ กใจแลว ยอ มจะเหน็ อนิจจสจั จธรรม ทกุ ขสัจจธรรม อนัตตาสัจจธรรม จึงจะ
แกความหลงสวยหลงงามอนั มั่นหมายอยูทห่ี นังยอมไมส าํ คัญหมาย และไมช อบใจ ไม
ปรารถนาเอาเพราะเหน็ ตามความเปนจริง เม่อื ใดเชอื่ คาํ สอนของพระอปุ ชฌายะไม
ประมาทแลว จึงจะไดเห็นสัจจธรรม ถาไมเชอื่ คําสอนพระอุปชฌายะ ยอมแกค วามหลง
ของตนไมไ ด ยอ มตกอยูในบวงแหงรัชชนอิ ารมณ ตกอยูในวัฏจักร เพราะฉะนั้น คาํ สอน
ทพี่ ระอปุ ชฌายะไดส อนแลว แตก อ นบวชนนั้ เปน คําสอนทจี่ รงิ ทด่ี ีแลว เราไมตองไป
หาทางอ่ืนอีก ถา ยงั สงสยั ยังหาไปทางอนื่ อกี ช่อื วายงั หลงงมงาย ถาไมหลงจะไปหาทําไม
คนไมห ลงก็ไมมีการหา คนที่หลงจึงมกี ารหา หาเทา ไรยิง่ หลงไปไกลเทานั้น ใครเปนผู
ไมห า มาพจิ ารณาอยูในของทมี่ ีอยูน้ี กจ็ ะเหน็ แจง ซึ่งภตู ธรรม ฐตี ธิ รรม อนั เกษมจากโย
คาสวะท้ังหลาย
ความในเรอื่ งนี้ ไมใ ชมติของพระอุปชฌายะท้ังหลายคิดไดแ ลวสอนกุลบุตรตามมติ
ของใครของมัน เนื่องดวยพุทธพจนแหงพระพทุ ธองคเ จา ไดทรงบญั ญัตไิ วใ หอ ปุ ชฌายะ
เปน ผสู อนกุลบุตรผบู วชใหม ใหกรรมฐานประจําตน ถา มิฉะน้ันก็ไมสมกบั การออกบวช
ทีไ่ ดส ละบานเรือนครอบครัวออกมาบําเพญ็ เนกขัมมธรรม หวงั โมกขธรรม การบวชก็จะ
เทา กับการทําเลน พระองคไ ดท รงบัญญัตมิ าแลว พระอุปชฌายะทง้ั หลายจึงดํารง
ประเพณีน้สี ืบมาตราบเทาทกุ วนั น้ี พระอปุ ชฌายะสอนไมผ ิด สอนจรงิ แทๆ เปน แต
กุลบตุ รผูรับเอาคําสอนไมต งั้ ใจ มัวประมาทลุมหลงเอง ฉะน้ันความในเร่ืองน้ี วญิ ชู น
จึงไดรับรองทีเดียววา เปนวสิ ทุ ธมิ รรคเทยี่ งแท
๒. เร่ือง ศลี
สีลํ สลี า วยิ ศลี คอื ความปกติ อุปมาไดเทากบั หนิ ซงึ่ เปนของหนักและเปน แกน ของ
ดนิ แมจะมีวาตธาตมุ าเปาสักเทาใด ก็ไมม ีการสะเทือนหว่ันไหวเลย แตว า เราจะสําคญั ถอื
แตเพียงคําวา ศลี เทานัน้ กจ็ ะทาํ ใหเ รางมงายอีก ตองใหร จู กั เสียวา ศลี นั้นอยทู ไี่ หน? มี
ตัวตนเปนอยา งไร? อะไรเลาเปน ตัวศีล? ใครเปนผูร ักษา? ถารจู ักวาใครเปนผรู ักษาแลว ก็
จะรจู ักวาผูน้ันเปนตวั ศลี ถาไมเ ขาใจเรอื่ งศีล ก็จะงมงายไมถ ือศีลเพยี งนอกๆ เดย๋ี วก็ไป
หาเอาทนี่ นั้ ทนี จี้ ึงจะมศี ีล ไปขอเอาทนี่ ั่นทน่ี ่ีจึงมี เมื่อยงั เทย่ี วหาเท่ยี วขออยไู มใชห ลงศลี
ดอกหรือ? ไมใ ชส ีลพตั ตปรามาสถอื นอกๆ ลบู ๆ คลาํ ๆ อยหู รอื ?
อทิ ํ สจจฺ าภนิ ิเวสทฏิ ฐิ จะเห็นความงมงายของตนวาเปน ของจริงเท่ียงแท ผไู มหลง
ยอมไมไ ปเท่ียวขอเที่ยวหา เพราะเขาใจแลว วา ศลี ก็อยูท่ตี นน้ี จะรกั ษาโทษทัง้ หลายกต็ น
เปน ผูร ักษา ดงั ท่วี า “เจตนาหํ ภกิ ขฺ เว สลี ํ วทามิ” เจตนา เปนตัวศลี เจตนา คอื อะไร?
เจตนานต้ี อ งแปลงอีกจึงจะไดค วาม ตองเอาสระ เอ มาเปน อิ เอา ต สะกดเขาไป เรียกวา
จิตฺต คอื จิตใจ คนเราถาจิตใจไมมี กไ็ มเรียกวาคน มีแตกายจะสําเร็จการทาํ อะไรได?
รา งกายกับจิตตองอาศัยซึ่งกันและกัน เม่ือจติ ใจไมเปนศีล กายกป็ ระพฤตไิ ปตางๆ จงึ
กลา วไดว าศีลมตี ัวเดยี ว นอกนั้นเปน แตเ ร่อื งโทษทคี่ วรละเวน โทษ ๕ โทษ ๘ โทษ ๑๐
โทษ ๒๒๗ รักษาไมใหมโี ทษตางๆ กส็ าํ เรจ็ เปน ศลี ตัวเดยี ว รกั ษาผูเดยี วนั้นไดแลว มนั ก็
ไมมีโทษเทา น้ันเอง ก็จะเปนปกติแนบเนียนไมห ว่นั ไหว ไมม เี รื่องหลงมาหาหลงขอ คน
ท่ีหาขอตองเปน คนทกุ ข ไมมีอะไรจึงเท่ียวหาขอ เดี๋ยวกก็ ลาวยาจามิๆ ขอแลว ขอเลา ขอ
เทา ไรยงิ่ ไมมียิ่งอดอยากยากเข็ญ เราไดม าแลว มีอยแู ลว ซ่งึ กายกบั จติ รปู กายก็เอามาแลว
จากบิดามารดาของเรา จิตก็มอี ยแู ลว ชอื่ วา ของเรามีพรอ มบริบูรณแลว จะทําใหเปนศลี ก็
ทําเสยี ไมต อ งกลา ววาศีลมอี ยทู โ่ี นนท่นี ี้ กาลนนั้ จงึ จะมีกาลนจ้ี ึงจะมี ศีลมีอยูท เ่ี รานีแ้ ลว
อกาลโิ ก รกั ษาไดไมม กี าล ไดผ ลกไ็ มมีกาล
เรอ่ื งน้ตี อ งมีหลักฐานพรอมอีก เมอื่ ครัง้ พทุ ธกาลนน้ั พวกปญ จวัคคียก็ดี พระยส
และบิดามารดาภรรยาเกาของทานก็ดี ภทั ทวัคคียช ฏลิ ทั้งบริวารกด็ ี พระเจา พิมพสิ าร และ
ราชบรพิ าร ๑๒ นหุตก็ดี ฯลฯ กอนจะฟงพระธรรมเทศนาของพระผูมีพระภาคเจา ไม
ปรากฏวา ไดสมาทานศีลเสียกอนจงึ ฟงเทศนา พระองคเทศนาไปทีเดยี ว ทาํ ไมทา น
เหลา นั้นจึงไดสาํ เร็จมรรคผล ศลี สมาธิ ปญ ญา ของทานเหลานัน้ มาแตไหน ไมเ หน็
พระองคตรัสบอกใหทานเหลานน้ั ของเอาศีล สมาธิ ปญ ญา จากพระองค เมื่อไดล้มิ รส
ธรรมเทศนาของพระองคแลว ศลี สมาธิ ปญ ญา ยอ มมีขน้ึ ในทา นเหลา นั้นเอง โดยไมมี
การขอและไมม กี ารเอาให มัคคสามัคคี ไมม ีใครหยิบยกใหเขากนั จิตดวงเดยี วเปนศลี
เปนสมาธิ เปนปญ ญา ฉะน้ันเราไมหลงศลี จึงจะเปนวิญูชนอันแทจ รงิ
๓. เร่ือง ปาฏโิ มกขสงั วรศลี
พระวินัย ๕ คัมภีร สงเคราะหลงมาในปาฏิโมกขุทเทส เม่ือปฏิบัตไิ มถ ูกตอ งตาม
พระวินัยยอ มเขา ไมได ผปู ฏิบัตถิ กู ตามพระวนิ ัยแลว โมกขฺ ํ ชอ่ื วาเปน ทางขามพนวัฏฏะ
ได ปาฏิโมกขน ้ียงั สงเคราะหเขาไปหาวิสุทธมิ รรคอีก เรยี กวา ปาฏโิ มกขสังวรศีล ในสลี
นิเทศ
สีลนเิ ทศน้ัน กลา วถงึ เรอ่ื งศีลทัง้ หลาย คือปาฏิโมกขสงั วรศลี ๑ อนิ ทรียสงั วรศลี ๑
ปจ จยสนั นิสสิตศลี ๑ อาชีวปารสิ ุทธิศีล ๑ สว นอีก ๒ คัมภรี นนั้ คือ สมาธินิเทศ และ
ปญญานเิ ทศ วสิ ุทธิมรรคทงั้ ๓ พระคัมภรี นสี้ งเคราะหเขาในมรรคทง้ั ๘ มรรค ๘
สงเคราะหลงมาในสิกขาท้ัง ๓ คือ ศลี สมาธิ ปญ ญา เม่อื จะกลาวถงึ เร่ืองมรรคแลว ความ
ประโยคพยายามปฏิบัตดิ ดั ตนอยู ช่ือวา เดนิ มรรค สตปิ ฏ ฐานทั้ง ๔ ก็เรยี กวา มรรค
อรยิ สัจจ ๔ กช็ อ่ื วา มรรค เพราะเปนกิรยิ าที่ยงั ทําอยู ยงั มีการดําเนินอยู ดังภาษติ วา “สจฺ
จานํ จตโุ รปทา ขีณาสวา ชตุ ิมนฺโต เต โลเก ปรินพิ พฺ ตุ า” สําหรับเทาตองมกี ารเดนิ คนเรา
ตองไปดวยเทา ทง้ั นน้ั ฉะน้ันสัจจะทั้ง ๔ กย็ งั เปนกริ ยิ าอยู เปน จรณะเครื่องพาไปถึงวิ
สุทธธิ รรม วสิ ทุ ธิธรรมนน้ั จะอยทู ่ีไหน? มรรคสจั จะอยูทไี่ หน? วสิ ุทธธิ รรมก็ตอ งอยทู ี่
นั่น! มรรคสจั จะไมมอี ยูท่อี น่ื มโนเปนมหาฐาน มหาเหตุ วสิ ุทธิธรรมจึงตองอยูท ใ่ี จของ
เรานเี่ อง ผเู จรญิ มรรคตองทําอยทู ีน่ ี้ ไมตองไปหาทอ่ี ่นื การหาท่ีอน่ื อยชู ือ่ วายงั หลง ทาํ ไม
จึงหลงไปหาที่อน่ื เลา ? ผไู มหลงกไ็ มต อ งหาทางอน่ื ไมตอ งหากับบุคคลอืน่ ศีลกม็ ใี นตน
สมาธิกม็ ีในตน ปญ ญากม็ ีอยูกบั ตน ดงั บาลีวา เจตนาหํ ภกิ ขฺ เว สีลํ วทามิ เปนตน กายกับ
จติ เทานป้ี ระพฤตปิ ฏบิ ัติศีลได ถา ไมม กี ายกับจติ จะเอาอะไรมาพูดออกวา ศีลได คาํ ทว่ี า
เจตนานั้นเราตอ งเปลีย่ นเอาสระเอขึน้ บนสระอิ เอาตัว ต สะกดเขาไป ก็พดู ไดวา จิตตฺ ํ
เปนจิต จิตเปนผูคดิ งดเวน เปนผูระวงั รักษา เปน ผูป ระพฤตปิ ฏบิ ตั ิ ซง่ึ มรรคและผลให
เปน ไปได พระพทุ ธเจาก็ดี พระสาวกขณี าสวเจากด็ ี จะชําระตนใหหมดจดจากสงั กิเลส
ทั้งหลายได ทานก็มีกายกับจิตทั้งนัน้ เมื่อทานจะทาํ มรรคและผลใหเกิดมีไดกท็ าํ อยทู ี่นี่
คอื ทก่ี ายกบั จิต ฉะน้ันจึงกลาวไดวา มรรคมีอยทู ่ีตนของตนนี้เอง เมือ่ เราจะเจริญซง่ึ สมถ
หรอื วปิ ส สนา กไ็ มตองหนจี ากกายกบั จิต ไมตอ งสงนอก ใหพจิ ารณาอยใู นตนของตน
เปน โอปนยโิ ก แมจ ะเปน ของมอี ยูภายนอก เชน รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐพั พะ เปนตน ก็
ไมต องสงออกเปน นอกไป ตองกําหนดเขามาเทียบเคยี งตนของตน พจิ ารณาอยทู ่ีนี้
ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิฺ ูหิ เมอื่ รกู ็ตองรูเ ฉพาะตน รูอยใู นตน ไมไ ดร ูมาแตนอก เกิด
ขึน้ กับตนมขี ึ้นกับตน ไมไ ดหามาจากทีอ่ ื่นไมมใี ครเอาให ไมไดข อมาจากผูอืน่ จงึ ไดช อ่ื
วา ญาณ ทสสฺ นํ สวุ ิสทุ ธํ อโหสิ ฯลฯ เปน ความรเู ห็นทีบ่ ริสุทธ์ิแท ฯลฯ
๔. เร่อื ง ธรรมคตวิ มิ ตุ ติ
สมเดจ็ พระผูมีพระภาคเจาน้ันมิใชวาพระองคจะมีปญญาพิจารณาเอาวมิ ตุ ติธรรม
ใหไ ดว ันหนง่ึ วนั เดียว พระองคท รงพจิ ารณามาแตย ังเปน ฆราวาสอยูห ลายป นับแตครง้ั ท่ี
พระองคไ ดราชาภเิ ษกเปน กษัตริย พวกพระญาตพิ ระวงศไดแตงตัง้ พระองคไดเ ปน เชนนี้
แลว ยอมเปน ผไู มน อนใจ จาํ เปนที่พระองคจะตอ งคิดใชป ญญาพจิ ารณาทกุ สิ่งทุกอยา ง
ในการปกครองปอ งกนั ราษฎรท้งั ของเขต และการรักษาครอบครัวตลอดถึงพระองค ก็
จะตอ งทรงคิดรอบคอบเสมอถาไมทรงคดิ ไมม ีพระปญ ญา ไฉนจะปกครองบา นเมือง
ไพรฟ า ใหผาสกุ สบายได แมพ ระองคทรงคดิ ในเรื่องของผูอ่นื และเรือ่ งของพระองคเ อง
เสมอแลว ปญญาวิวัฎฏข องพระองคจึงเกิดข้ึนวา เราปกครองบังคับบญั ชาไดก แ็ ตก าร
บา นเมอื งเทา นี้ สว นการ เกดิ แก เจ็บ ตายเลา เราบงั คับบญั ชาไมไดเ สียแลว จะบังคบั
บญั ชาไมใหส ตั วท ้ังหลายเกิดก็ไมไ ด เมอื่ เกดิ แลว จะบงั คบั ไมใหแกช รากไ็ มไ ด จะบังคับ
ไมใหตายกไ็ มได เราจะบังคับ ความเกิด ความแก ความเจบ็ ความตาย ของผูอ่ืนกไ็ มได
แมแตตัวของเราเองเลาก็บังคับไมไ ด ทรงพิจารณาเปน อนโุ ลมและปฏิโลม กลบั ไป
กลบั มา พจิ ารณาเทา ไรก็ยง่ิ เกิดความสลดสังเวช และทอ พระทัยในการจะอยูเปน
ผปู กครองราชสมบัติตอไป การท่ีอยใู นฆราวาสรักษาสมบัตเิ ชนน้เี พือ่ ตอ งการอะไร?
เปน ผมู ีอาํ นาจเทาน้ี มสี มบัติขา วของเชนนี้ จะบงั คับหรือจะซ้อื หรือประกันซึง่ ความเกดิ
แก เจบ็ ตายก็ไมได จงึ ทรงใครค รวญไปอกี วา เราจะทาํ อยางไรจงึ จะหาทางพนจากความ
เกิด แก เจ็บ ตายน้ไี ด จึงไดความอุปมาข้ึนวา ถา มีรอ นแลวก็ยังมเี ยน็ เปน เครื่องแกก นั ได
มีมดื แลว ยังมสี วางแกกัน ถามเี กิด แก เจบ็ ตาย แลว อยางไรก็คงมีทางไมเกิด ไมแ ก ไม
ตาย เปนแน จงึ ไดทรงพยายามใครครวญหาทางจะแกเ กิด แก เจ็บ ตาย ใหจนได แตวา
การจะแกเ กิด แก เจบ็ ตายนี้ เราอยูในฆราวาสเชน นี้ คงจะทําไมได เพราะฆราวาสนี้เปน
ท่คี บั แคบในย่ิงนกั มีแตก ารท่ีออกหนีเสยี จากการครองราชสมบตั ินี้ออกไปผนวชจงึ จะ
สามารถทําได
ครัน้ ทรงคดิ เชน นแี้ ลว ตอมาวนั หน่ึง พอถงึ เวลากลางคืน พวกนางสนมท้งั หลายได
พากนั มาบาํ รุงบาํ เรอพระองคอยูด ว ยการบําเรอท้งั หลาย ในเวลาท่ีนางสนมท้ังหลายยัง
บําเรออยนู ้นั พระองคท รงบรรทมหลับไปกอน คร้ันใกลเ วลาพระองคจะทรงตน่ื จาก
บรรทมนัน้ พวกนางสนมท้ังหลายกพ็ ากนั หลับเสียหมด แตไ ฟยงั สวา งอยู เม่ือนางสนมท่ี
บาํ เรอหลบั หมดแลว เผอิญพระองคทรงตน่ื ข้ึนมา ดว ยอํานาจแหงการพิจารณาท่พี ระองค
ทรงคดิ ไมเ ลกิ ไมแ ลวนน้ั ทําใหพระทัยของพระองคพลิกขณะ เลยเกดิ อคุ คหนมิ ิตขึ้น ลมื
พระเนตรแลว ทอดพระเนตรแลดพู วกนางสนมท้ังหลายทน่ี อนหลบั อยูน ้ันเปน ซากอสภุ ะ
ไปหมด เหมอื นกับเปนซากศพในปา ชา ผีดบิ จงึ ใหเกดิ ความสลดสงั เวชเหลือทีจ่ ะทนอยู
ได จึงตรสั กับพระองคเองวา เราอยทู ี่น้จี ะวาเปน ท่ีสนกุ สนานอยา งไรได คนทั้งหลาย
เหลา นลี้ วนแตเ ปน ซากศพในปาชา ทัง้ หมด เราจะอยูทาํ ไม จาํ เราจะตอ งออกผนวชใน
เดีย๋ วนี้ จึงทรงเครอื่ งฉลองพระองคถ ือพระขรรคแลว ออกไปเรียกนายฉันนะอาํ มาตยนํา
ทางเสด็จหนีออกจากเมืองไปโดยไมตองใหใครรจู กั ครนั้ รงุ แจงกบ็ รรลถุ ึงอโนมานที
ทรงขา มฝงแมนทแี ลวกถ็ า ยเครอ่ื งประดับและเครอื่ งทรงทีฉ่ ลองพระองคอ อกเสีย จงึ สง
เครอื่ งประดับใหน ายฉนั นะ ตรสั สง่ั ใหก ลบั ไปเมืองพรอ มดวยอัศวราชของพระองค
สว นพระองคไดเอาพระขรรคตดั พระเมาฬแี ละพระมสั สเุ สยี ทรงผนวชแตพ ระองคเดียว
เม่อื ผนวชแลวจึงเสาะแสวงหาศกึ ษาไปกอนคอื ไปศึกษาอยูในสาํ นักอาฬารดาบส
และอทุ กดาบส ครัน้ ไมสมประสงคจงึ ทรงหลีกไปแตพ ระองคเดียวไปอาศัยอยูราวปา
ใกลแ มนาํ้ เนรัญชรา แขวงอุรุเวลาเสนานคิ มไดมีปญจวัคคียไปอาศยั ดว ย พระองคไดทรง
ทําประโยคพยายามทาํ ทุกกรกิริยาอยา งเขมแข็ง จนถึงสลบตายก็ไมสําเรจ็ เมือ่ พระองค
ไดสตแิ ลวจงึ พจิ ารณาอีกวา การที่เรากระทําความเพียรนจ้ี ะมาทรมานแตก ายอยา งเดยี ว
เทา นไ้ี มควร เพราะจิตกบั กายเปน ของอาศัยกัน ถา กายไมม ีจะเอาอะไรทําประโยค
พยายาม และถา จติ ไมมี กายน้กี ็ทําอะไรไมได ตอนนั้ พระองคจึงไปพยุงพเยารางกายพอ
ใหม กี าํ ลงั แข็งแรงข้นึ พอควร จึงเผอญิ ปญ จวัคคยี พรอ มกันหนีไป คร้ันปญจวัคคียหนี
แลว พระองคกไ็ ดค วามวิเวกโดดเดี่ยวแตผูเดียว ไมตอ งพึ่งพาอาศัยใคร จึงไดเรงพจิ ารณา
อยางเตม็ ที่
เมอื่ ถงึ วนั ข้นึ ๑๕ ค่ํา เดอื น ๖ ประกา ในตอนเชารบั มธปุ ายาสของนางสชุ าดาเสวย
เสร็จแลว ก็พกั ผอ นอยตู ามราวปา นนั้ ใกลจะพลบค่าํ แลว จงึ เสด็จดาํ เนินมาพบโสตถยิ
พราหมณๆ ไดถ วายหญา คา ๘ กาํ แกพ ระองค พระองครบั แลว ก็มาทาํ เปนท่ีนง่ั ณ ภายใต
ตนอสั สัตถพฤกษ ผนิ พระพักตรไปทางบูรพาทิศ ผินพระปฤษฎางคเขาหาตนไมน ้นั เมอื่
พระองคประทบั น่ังเรียบรอยแลว จึงไดพยุงพระหฤทยั ใหเ ขมแข็ง ไดท รงต้ังสัจจาธษิ
ฐานมน่ั ในพระหฤทัยวา ถา เราไมบ รรลพุ ระสัมมาสัมโพธญิ าณตามความตองการแลว เรา
จะไมล กุ จากบลั ลังกนี้ แมเ ลอื ดและเนื้อจะแตกทําลายไป ยงั เหลืออยแู ตพ ระตจะและพระ
อัฏฐิกต็ ามที ตอนน้ั ไปจึงเจรญิ สมถและวปิ สสนาปญญา ทรงกาํ หนดพระอานาปานสติ
เปน ข้ันตน ในตอนตนน้ีแหละพระองคไ ดทรงชําระนวิ รณธรรมเต็มท่ี เจา เวทนาพรอ ม
ทั้งความฟุงซานไดมาประสพแกพระองคอยา งสาหสั ถา จะพูดวา มาร ก็ไดแกพ วกขัน
ธมาร มจั จุมาร กิเลสมาร เขา รงั ควาญพระองค แตว า สัจจาธษิ ฐานของพระองคยัง
เท่ียงตรงมน่ั คงอยู สติและปญ ญายงั พรอมอยู จึงทําใหจาํ พวกนิวรณเ หลานัน้ ระงับไป ปต ิ
ปส สัทธิ สมาธิ ไดเ กิดแลว แกพ ระองคจงึ ไดกลา ววา พระองคทรงชนะพระยามาราธริ าช
ในตอนนเ้ี ปนปฐมยาม เมอ่ื ออกสมาธติ อนนไ้ี ดเ กิดบุพเพนวิ าสานุสสตญิ าณ เมื่อพจิ ารณา
ไปก็ไมเหน็ ท่สี ้นิ สดุ จงึ กลับจิตทวนกระแสเขามาพจิ ารณาผมู ันไปเกิดใครค รวญไปๆ
มาๆ จติ ก็เขา ภวังคอ ีก เมื่อออกจากภวังคแ ลวจึงเกิดจุตูปปาตญาณขึ้นมาในยามท่ี ๒ คือ
มัชฌมิ ยาม ทรงพิจารณาไปตามความรูชนิดนี้ กย็ ังไมม ีความสิ้นสุด จงึ ทรงทวนกระแส
จิตเขา มาใครครวญอยูในเรอื่ งของผูพ าเปนไป พจิ ารณากลบั ไปกลับมาในปฏจิ จสมุป
บาทปจจยาการ จนจิตของพระองคเกิดความเบ่ือหนายสลดสังเวชเต็มท่แี ลว กล็ งสภู วงั ค
ถงึ ฐีติธรรมภูตธรรม จติ ตอนนถ้ี อยออกมาแลว จึงตดั สินขาดทีเดยี ว จึงบญั ญตั วิ า อาส
วักขยญาณ ทรงทราบวาจิตของพระองคส ิน้ แลวจากอาสวะ พน แลว จากบว งแหง มาร ไม
มเี กดิ แก เจ็บ ตาย พน แลว จากทุกข ถงึ เอกันตบรมสขุ สันติวิหารธรรม วเิ วกธรรม นโิ รธ
ธรรม วิมุตตธิ รรม นิพพานธรรม แล ฯ
๕. เร่อื ง อจั ฉรยิ ะ - อพั ภูตธรรม
สมเดจ็ พระผูมพี ระภาคเจาพระบรมศาสดาของพวกเรา เม่ือพระองคยังเปน ทาวศรี
ธารถ (สิทธตั ถราชกมุ าร) เสวยราชสมบัติอยู ทรงพจิ ารณา จตุนิมิต ๔ ประการ จงึ
บันดาลใหพระองคเสด็จออกสูมหาภิเนษกรมณทรงบรรพชา ทรงอธิษฐานบรรพชา ทร่ี มิ
ฝง แมน้าํ อโนมานที เครือ่ งสมถบริขารมีมาเอง เล่อื นลอยมาสวมพระกายเอง ทรงเพศเปน
บรรพชติ สมณสารปู สําเรจ็ ดวยบุญญาภนิ ิหารของพระองคเอง จงึ เปน การอศั จรรยไ มเ คย
มีไมเ คยเห็นมาในปางกอน จึงเปนเหตุใหพ ระองคอศั จรรยใจ ไมถอยหลังในการ
ประกอบความเพียร เพอื่ ตรสั รูพ ระอนตุ ตรสมั มาสัมโพธิญาณ คร้นั ทรงบําเพ็ญเพียรทาง
จิตตภาวนา ไมท อถอยตลอดเวลา ๖ ป ไดตรัสรูสจั จธรรม ของจรงิ โดยถูกตองแลว ก็ยิ่ง
เปนเหตใุ หพระองคท รงอัศจรรยใ นธรรมท่ไี ดต รัสรแู ลว นั้นอกี เปนอนั มาก
ในหมปู ฐมสาวกนนั่ เลา กป็ รากฏเหตุการณอันนาอัศจรรยเหมอื นกนั เชน ปญ จ
วัคคียก็ดี พระยสและสหายของทานก็ดี พระสาวกอื่นๆ ท่ีเปน เอหิภิกฺขกุ ด็ ี เมอื่ ไดฟง พระ
ธรรมเทศนาของพระบรมศาสดาแลว ไดส ําเรจ็ มรรคผล และทลู ขอบรรพชาอุปสมบทกับ
พระองค พระองคทรงเหยยี ดพระหัตตออกเปลง พระวาจาวา เอหภิ กิ ฺขุ ทา นจงเปนภกิ ษมุ า
เถิด ธรรมวนิ ยั เรากลาวดีแลว เพียงเทานีก้ ส็ าํ เร็จเปน ภิกษุในพระพทุ ธศาสนา อัฏฐบริขาร
เลอื่ นลอยมาสวมสอดกาย ทรงเพศเปนบรรพชติ สมณสารปู มรี ปู อันนาอศั จรรยนา เล่ือม
ในจรงิ สาวกเหลา นั้นกอ็ ัศจรรยต นเองในธรรมอนั ไมเคยรเู คยเหน็ อนั สําเร็จแลว ดวยบุญ
ฤทธแ์ิ ละอํานาจพระวาจาอิทธปิ าฏิหารยิ ข องพระบรมศาสดาจารย ทา นเหลาน้ันจะ
กลบั คืนไปบา นเกาไดอ ยางไร เพราะจิตของทานเหลานน้ั พน แลวจากบา นเกา และ
อัศจรรยใ นธรรมอนั ตนรตู นเห็นแลว ท้งั บริขารท่สี วมสอดกายอยูก็เปนผา บังสกุ ุลอยาง
อุกฤษฎ
ครั้นตอมาทานเหลา นั้นไปประกาศพระพุทธศาสนา มผี ูศรทั ธาเลอื่ มใสใครจ ะบวช
พระผมู ีพระภาคเจา ก็ทรงอนญุ าตใหพระสาวกบวชดวยตสิ รณคมนปู สมั ปทาสําเรจ็ ดว ย
การเขาถงึ สรณะท้ัง ๓ คืออทุ ิศเฉพาะพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ ก็เปน ภกิ ษุเต็มท่ี
ครัน้ ตอ มา พระผูม ีพระภาคเจา ทรงมพี ระญาณเล็งเหน็ การณไ กล จงึ ทรงมอบความ
เปนใหญใหแ กส งฆ ทรงประทานญตั ตจิ ตตุ ถกรรมอุปสมั ปทาไวเปน แบบฉบบั อนั หมูเ รา
ผปู ฏบิ ตั ไิ ดดําเนนิ ตามอยูทุกวันน้ไี ดพ ากนั มาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา อุทศิ เฉพาะ
พระบรมศาสดาพรอมท้งั พระธรรมและพระสงฆแลว ทําความพากเพยี รประโยคพยายาม
ไปโดยไมตองถอยแลว กค็ งจะไดรับความอศั จรรยใ จในพระธรรมวนิ ัยบา งเปน แน ไม
นอ ยกม็ าก ตามวาสนาบารมี ของตนโดยไมสงสยั เลย ฯ
๖. เรอื่ ง วาสนา
กุศลวาสนา อกศุ ลวาสนา อพั ยากตวาสนา
อธั ยาศยั ของสัตว เปนมาแลวตา งๆ คอื ดี เลว และกลางๆ วาสนาก็เปนไปตาม
อัธยาศัย คือวาสนาท่ยี ่ิงกวาตวั วาสนาเสมอตวั วาสนาท่ีเลวทราม บางคนเปนผูม ีวาสนา
ยิง่ ในทางดมี าแลว แตค บกบั พาลวาสนากอ็ าจเปน เหมอื นคนพาลได บางคนวาสนายัง
ออ นแตค บกับบัณฑิตวาสนาก็เลื่อนข้ึนไปเปน บัณฑิต บางคนคบมิตรเปน กลางๆ ไมดี
ไมร าย ไมห ายนะ ไมเ สอ่ื มทราม วาสนากพ็ อประมาณสถานกลาง ฉะนั้นบุคคลพงึ
พยายามคบบณั ฑติ เพอ่ื เลอ่ื นภูมิวาสนาของตนใหส ูงข้นึ ไปโดยลําดบั
๗. เรือ่ ง สนทนาธรรมตามกาลเปนมงคลอุดม
กาเลน ธมฺมสฺสากจฉฺ า เอตมฺมงคฺ ลมตุ ฺตมํ
การปฤกษาไตถาม หรือการสดับธรรมตามกาล ตามสมัย พระบรมศาสดาตรัสวา
เปนมงคลความเจรญิ อนั อุดมเลศิ
หมเู ราตางคนก็มุงหนาเพอื่ ศกึ ษามาเองทัง้ น้นั ไมไดไ ปเชอื้ เชญิ นิมนตม า ครั้นมา
ศึกษามาปฏบิ ัติก็ตองทําจรงิ ปฏิบตั จิ รงิ ตามเยีย่ งอยา งพระบรมศาสดาจารยเ จา และสาวก
ขีณาสวะเจาผปู ฏบิ ัตมิ ากอน
เบอ้ื งตน พงึ พจิ ารณา สจั จธรรมคือของจริงท้ัง ๔ ไดแ ก เกิด แก เจ็บ ตาย อันทา นผู
เปนอรยิ บุคคลไดปฏิบตั ิกาํ หนดพิจารณามาแลว เกิด เราก็เกิดมาแลว คือรา งกายอัน
เปนอยูน้ีมใิ ชกอ นเกดิ หรอื ? แก เจบ็ ตาย กก็ อ นอนั น้ีแล เมื่อเราพจิ ารณาอยใู นอริ ิยาบถทง้ั
๔ เดินจงกรมบา ง ยนื กําหนดพิจารณาบาง นอนกําหนดพิจารณาบา ง จติ จะรวมเปน สมาธิ
รวมนอ ยกเ็ ปน ขณิกสมาธิ คือจติ รวมลงภวงั คห นอยหน่งึ แลวก็ถอนออกมา คร้นั พิจารณา
อยูไ มถ อยจนปรากฏเปน อุคคหนมิ ติ จะเปนนอกก็ตาม ในก็ตาม ใหพ ิจารณานิมติ นนั้ จน
จิตวางนิมติ รวมลงสูภ วงั ค ตํารงอยนู านพอประมาณแลว ถอยออกมา สมาธิในชัน้ นี้
เรยี กวา อปุ จารสมาธิ พึงพิจารณานิมิตนนั้ เร่ือยไปจนจติ รวมลงสภู วงั คเขา ถึงฐีติจติ เปน
อปั ปนาสมาธปิ ฐมฌาน ถึงซ่งึ เอกคั คตา ความมีอารมณเดยี ว คร้ันจติ ถอยออกมา กพ็ ึง
พจิ ารณาอกี แลวๆ เลา ๆ จนขยายแยกสว นเปนปฏภิ าคนมิ ิตไดตอไป คือพิจารณาวา ตาย
แลวมันจะเปนอะไรไปอีก มันจะตองเปอยเนา ผพุ งั ยงั เหลอื แตรางกระดูก กาํ หนดทัง้
ภายในคอื กายของตนทั้งภายนอกคือกายของผูอนื่ โดยใหเหน็ สว นตา งๆ ของรา งกายวา
สวนนีเ้ ปน ผม ขน เลบ็ ฟน หนงั ฯลฯ เสนเอ็นนอยใหญม เี ทาไร กระดกู ทอนนอยทอ น
ใหญม เี ทาไร โดยชดั เจนแจม แจง กาํ หนดใหมนั เกิดขึน้ มาอกี แลว กําหนดใหมัน ยืน เดนิ
นั่ง นอน แลว ตายสลายไปสูสภาพเดิมของมัน คอื ไปเปน ดนิ นํา้ ไฟ ลม ถงึ ฐานะเดมิ ของ
มันนัน้ แล
เมอ่ื กําหนดจิตพจิ ารณาอยูอยา งนี้ ทัง้ ภายนอกทั้งภายใน ทาํ ใหมากใหหลาย ใหม ีทง้ั
ตายเกา ตายใหม มแี รง กาสนุ ขั ยอ้ื แยงกัดกินอยู ก็จะเกิดปรชี าญาณข้นึ ตามแตวาสนา
อปุ นิสัยของตน ดงั นีแ้ ล ฯ
๘. เรือ่ ง การทําจิตใหผ องใส
สจติ ตฺ ปริโยทปนํ เอตํ พทุ ฺธาน สาสนํ
การทําจิตของตนใหผ องใส เปนการทําตามคาํ สั่งสอนของพระพุทธเจาทง้ั หลาย
พระพทุ ธเจาผพู ระบรมศาสดา ไดต รัสสอนกาย วาจา จิต มิไดสอนอยา งอื่น สอน
ใหปฏิบตั ิ ฝก หัดจติ ใจ ใหเ อาจติ พิจารณากายเรียกวา กายานุปส สนาสติปฏฐาน หัดสตใิ ห
มากในการคน ควา ที่เรยี กวาธมั มวจิ ยะ พิจารณาใหพอทีเดียว เม่ือพิจารณาพอจนเปนสติ
สมั โพชฌงค จิตจงึ จะเปนสมาธริ วมลงเอง
สมาธมิ ี ๓ ขั้น คือ ขณิกสมาธิ จติ รวมลงไปสูฐ ตี ขิ ณะแลวพกั อยูหนอ ยหนงึ่ ถอย
ออกมาเสีย อุปจารสมาธิ จติ รวมลงสภู วงั คแ ลว พักอยูนานหนอ ยจงึ ถอยออกมารนู มิ ติ
อยางใดอยา งหนึ่ง และอัปปนาสมาธิ สมาธอิ นั แนวแน ไดแ กจิตรวมลงสูภวังคถงึ ฐตี ิ
ธรรมถึงเอกคั คตา ความมอี ารมณเดียว หยุดน่ิงอยูก ับท่ี มคี วามรตู วั อยูวา จติ ดํารงอยู และ
ประกอบดวยองคฌาน ๕ ประการ คอยสงบประณตี เขา ไปโดยลําดบั
เมอ่ื หัดจติ อยูอ ยางน้ี ช่ือวาทําจิตใหย ง่ิ ไดใ นพระบาลีวา อธจิ ิตฺ เต จ อาโยโค เอตํ
พทุ ธฺ าน สาสนํ การประกอบความพากเพียรทําจติ ใหยงิ่ เปนการปฏิบัติตามคาํ สอนของ
พระบรมศาสดาสมั มาสัมพทุ ธเจา
การพจิ ารณากายน้ีแล ชื่อวาปฏิบัติ อนั นกั ปราชญท ง้ั หลายมีพระสมั มาสมั พทุ ธเจา
เปนตนแสดงไว มหี ลายนัยหลายประการ ทานกลา วไวใ นมหาสตปิ ฏ ฐานสูตร เรียกวา กา
ยานปุ สสนาสตปิ ฏ ฐาน ในมลู กรรมฐานเรยี กวา เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ที่พระ
อปุ ช ฌายะสอนเบอ้ื งตน แหงการบรรพชาเปน สามเณร และในธรรมจักกัปปวตั นสูตรวา
ชาตปิ ทุกขฺ า ชราป ทุกฺขา มรณมปฺ ทกุ ขฺ ํ แมค วามเกิดก็เปนทุกข แมค วามแกกเ็ ปน ทุกข
แมความตายก็เปนทกุ ข ดงั นี้ บดั น้เี ราก็เกิดมาแลวมิใชหรือ? คร้นั เมือ่ บุคคลมาปฏบิ ตั ใิ ห
เปน โอปนยโิ ก นอมเขามาพิจารณาในตนน้แี ลว เปนไมผ ดิ เพราะพระธรรมเปน อกาลโิ ก
มอี ยูทกุ เมอ่ื อาโลโก สวางโรอ ยทู ั้งกลางวันและกลางคืน ไมมอี ะไรปดบังเลย ฯ
มตุ โตทัย ๒ (ตอ )
พระธรรมเทศนาของ พระอาจารยมั่น ภรู ทิ ตตฺ เถระ
๙. เรอื่ ง วธิ ีปฏิบัตขิ องผูเ ลา เรยี นมาก
ผูท ่ไี ดศกึ ษาเลา เรยี นคัมภีรว ินยั มาก มอี บุ ายมากเปนปรยิ ายกวา งขวาง คร้นั มาปฏิบตั ิ
ทางจิต จติ ไมค อ ยจะรวมงา ย ฉะนน้ั ตองใหเ ขาใจวาความรทู ไ่ี ดศกึ ษามาแลวตองเก็บใสต ู
ใสห บี ไวเสียกอ น ตอ งมาหดั ผรู คู ือจติ น้ี หัดสตใิ หเปนมหาสติ หดั ปญญาใหเปนมหา
ปญญา กําหนดรเู ทามหาสมมต-ิ มหานยิ ม อันเอาออกไปตง้ั ไววาอนั น้นั เปนอันน้นั เปน
วนั คนื เดอื นป เปน ดินฟาอากาศ กลางหาวดาวนักขัตตฤกษส ารพดั สง่ิ ทั้งปวง อันเจา
สังขารคือการจิตหาออกไปตัง้ ไวบัญญัติไววา เขาเปนน้นั เปนนี้ จนรเู ทาแลว เรยี กวา
กําหนดรทู กุ ข สมุทัย เม่อื ทําใหม าก-เจรญิ ใหมาก รเู ทา เอาทันแลว จติ ก็จะรวมลงได เมอื่
กําหนดอยูก็ชอื่ วา เจรญิ มรรค หากมรรคพอแลว นโิ รธก็ไมต องกลาวถึง หากจะปรากฏ
ชัดแกผ ปู ฏิบตั ิเอง เพราะศลี ก็มอี ยู สมาธิกม็ ีอยู ปญ ญากม็ อี ยูในกาย วาจา จิตนี้ ท่เี รียกวา
อกาลโิ ก ของมอี ยทู ุกเม่อื โอปนยโิ ก เม่ือผูปฏบิ ัตมิ าพิจารณาของท่มี อี ยู ปจจฺ ตฺตํ จงึ จะรู
เฉพาะตัว คือมาพจิ ารณากายอนั นใี้ หเปนของอสุภะ เปอยเนา แตกพงั ลงไป ตามสภาพ
ความจริงของภูตธาตุ ปพุ เฺ พสุ ภูเตสุ ธมเฺ มสุ ในธรรมอนั มีมาแตเกากอ น สวางโรอ ยทู ั้ง
กลางวันและกลางคืน ผูมาปฏบิ ตั ิพจิ ารณาพงึ รูอุปมารปู เปรียบดงั น้ี อันบคุ คลผทู ํานาก็
ตองทําลงไปในแผนดนิ ลยุ ตมลุยโคลนตากแดดกราํ ฝน จึงจะเหน็ ขาวเปลอื ก ขา วสาร
ขา วสุกมาได และไดบรโิ ภคอม่ิ สบาย ก็ลว นทาํ มาจากของมีอยูท้ังสิ้นฉนั ใด ผปู ฏบิ ัติกฉ็ ัน
นั้น เพราะ ศีล สมาธิ ปญ ญา ก็มอี ยใู น กาย วาจา จิต ของทกุ คน ฯ
๑๐. เรื่อง ขอ ปฏบิ ตั เิ ปน ของมอี ยูท กุ เมอ่ื
ขอปฏบิ ตั สิ าํ หรับผูปฏิบัตทิ ้ังหลาย ไมมีปญหาโอปนยิโก นอมจติ เขามาพิจารณา
กาย วาจา จิตอกาลิโกอันเปน ของมอี ยู อาโลโกสวางโรอ ยทู ง้ั กลางวนั และกลางคืน
ปจจฺ ตตฺ ํ เวทิตพฺโพ วิญูหิ อนั นักปราชญท้งั หลาย มพี ระพุทธเจา และพระอรยิ สาวกเจา
ท้งั หลายผูนอมเขามาพิจารณาของมีอยนู ี้ ไดร แู จงจําเพาะตัวมาแลว เปนตวั อยา ง ไมใ ชวา
กาลน้ันจึงจะมี กาลนี้จงึ จะมี ยอมมีอยูทุกกาล ทกุ สมัย ผูปฏิบตั ยิ อ มรไู ดเฉพาะตัว คอื ผิดก็
รจู กั ถูกก็รูจ กั ในตนของตนเอง ดีช่วั อยา งไรตวั ของตัวยอ มรจู ักดีกวา ผูอ ื่น ถาเปนผหู มั่น
พนิ จิ พิจารณาไมม วั ประมาทเพลิดเพลินเสีย
ตวั อยา งท่มี มี าแลวคอื มาณพ ๑๖ คน ซึ่งเปน ศิษยข องพาวรพี ราหมณ ทา นเหลาน้นั
เจรญิ ญานกสณิ ติดอยูใ นรูปฌานและอรูปฌาน พระบรมศาสดาจารยจึงตรัสสอนให
พิจารณาของมอี ยใู นตน ใหเห็นแจงดวยปญญาใหร วู า กามภพเปนเบอ้ื งต่ํา รปู ภพเปน
เบอ้ื งกลาง อรปู ภพเปนเบื้องบน แลวถอยลงมาใหร วู า อดีตเปนเบอ้ื งตํ่า อนาคตเปน เบื้อง
บน ปจ จุบันเปนทามกลาง แลวชักเขา มาหาตวั อกี ใหรูว า อทุ ฺธํ อโธ ตริ ิยจฺ าป มชเฺ ฌ
เบ้ืองตํ่าแตปลายผมลงไป เบือ้ งบนแตพ้นื เทา ขนึ้ มา เบือ้ งขวางฐานกลาง เมื่อทาน
เหลานน้ั มาพิจารณาอยูอยางนี้ ปจจฺ ตฺตํ จงึ รเู ฉพาะข้ึนท่ตี วั ของตัวโดยแจม แจง ส้ินความ
สงสยั ขอ ปฏบิ ัติ ไมต อ งไปเท่ยี วแสวงหาท่อี ่ืนใหลําบาก ฯ
๑๑. เรือ่ ง ไดฟงธรรมทกุ เมอื่
ผูปฏบิ ตั ิพึงใชอ บุ ายปญ ญาฟง ธรรมเทศนาทุกเมื่อถึงจะอยูคนเดียวก็ตาม คอื อาศัย
การสาํ เหนยี ก กาํ หนดพจิ ารณาธรรมอยทู ัง้ กลางวันและกลางคืน ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ก็
เปน รปู ธรรมท่ีมีอยปู รากฏอยู รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐพั พะ กม็ อี ยูปรากฏอยู ไดเหน็ อยู
ไดย นิ อยู ไดส ดู ดม ล้ิม เลีย และสมั ผสั อยู จติ ใจเลา? ก็มอี ยู ความคดิ นึกรสู ึกในอารมณ
ตา งๆ ทั้งดีและรา ยกม็ อี ยู ความเส่อื ม ความเจริญ ทัง้ ภายนอกภายใน กม็ ีอยู ธรรมชาติ
อนั มอี ยโู ดยธรรมดา เขาแสดงความจรงิ คือความไมเ ที่ยง เปน ทุกข เปน อนตั ตา ให
ปรากฏอยู ทกุ เมอื่ เชนใบไมม นั เหลอื งหลนรว งลงจากตน กแ็ สดงความไมเ ที่ยงใหเ หน็
ดงั นี้เปนตน เม่ือผูปฏิบัติมาพินิจพิจารณาดวยสติปญญา โดยอุบายนอ้ี ยเู สมอแลว ชื่อวา
ไดฟง ธรรมอยูทกุ เม่อื ทงั้ กลางวันและกลางคนื แล ฯ
๑๒. เรอื่ ง ปรญิ เญยยฺ ธรรม
การกําหนดพจิ ารณาธรรมเรยี กบรกิ รรมจิตท่กี าํ ลังทําการกําหนดพจิ ารณาธรรม
อยา งเอาใจใส เมือ่ ไดความแนใ จในเหตุผลของธรรมท่ีพจิ ารณานั้นแลว จิตจะสงบรวมลง
สภู วงั ค ดํารงอยหู นอยหนงึ่ แลวกถ็ อยออก ความสงบในข้ันน้ีเรยี ก บริกรรมสมาธิ หรอื
ขณกิ สมาธิ
การกาํ หนดพิจารณาธรรมแลวจิตสงบรวมลงสูภวังคเ ขา ถึงฐตี ิธรรมดาํ รงอยนู าน
หนอ ยแลวถอยออกมารูเหน็ อสุภะปรากฏขนึ้ ความสงบในขั้นนเ้ี รยี กวา อุปจารสมาธิ
การกําหนดพิจารณาธรรมคอื อสุภนิมิต ท่ีปรากฏแกจติ ที่เรียกวาอคุ คหนมิ ิตน้นั จน
เพียงพอแลว จติ ปลอ ยวางนิมิตเสยี สงบรวมลงสูภวังคถ งึ ฐตี ธิ รรมดํารงอยนู าน เปน
เอกคั คตามีอารมณเ ดียว สงบนิ่งแนว แน มสี ตริ ูอยวู าจิตดํารงอยกู บั ที่ ไมหวัน่ ไหวไปมา
ความสงบช้ันน้ีเรยี กวาอัปปนาสมาธิ
สว น นิมติ อันปรากฏแกผ ูบําเพ็ญสมาธิภาวนาตามลําดบั ช้นั ดงั กลาวน้ี ก็เรยี กวา
บริกรรมนิมติ อคุ คหนมิ ิต ปฏภิ าคนมิ ติ ตามลําดบั กนั
อนึง่ ภวังค คือภพหรอื ฐานของจิตนั้น ทานก็เรยี กชอ่ื เปน ๓ ตามอาการเคลื่อนไป
ของจติ คอื ภวังคบาท ภวงั คจลนะ ภวังคุปจ เฉทะ ขณะแรกท่จี ิตวางอารมณเขา สูฐานเดมิ
ของตน ทเี่ รียกอยา งสามัญวา ปกตจิ ิตนนั้ แลเรยี กวา ภวังคบาท ขณะท่ีจิตเริ่มไหวตัวเพอ่ื
ขนึ้ สอู ารมณอกี เรียกวา ภวังคจลนะ ขณะทีจ่ ติ เคลื่อนจากฐานขึ้นสอู ารมณ เรยี กวา ภวงั
คุปจเฉทะ
จิตของผบู ําเพญ็ ภาวนาเขาสูค วามสงบถึงฐานเดิมของจติ แลว พกั เสวยความสงบอยู
ในสมาธิน้นั นานมีอาการครบองคข องฌานจึงเรยี กวา ฌาน เม่อื ทาํ การพินิจพจิ ารณา
ธรรมดว ยปญ ญาจนเพยี งพอแลว จิตรวมลงสูภวังค คอื ฐานเดิมของจติ จนถงึ ฐตี ิ ขณะตัด
กระแสภวังคขาดหายไปไมพกั เสวยอยู เกิดญาณความรูตดั สินข้ึนวา ภพเบ้อื งหนา ของเรา
ไมม อี กี ดังนี้เรียกวา ฐตี ญิ าณ
๑๓. เรอื่ ง บัน้ ตน โพธสิ ัตว
ปฐมโพธสิ ตั ว มชั ฌมิ โพธสิ ตั ว ปจฉมิ โพธสิ ัตว ปฐมโพธิกาล มัชฌมิ โพธิกาล
ปจฉมิ โพธิกาล ปฐมเทศนา มชั ฌมิ เทศนา ปจ ฉิมเทศนา
สมเดจ็ พระผูมพี ระภาคเจาของเรา เสด็จออกจากคัพโภทรของพระนางเจาสริ ิมหา
มายา ณ สวนลุมพนิ วี นั ระหวางนครกบิลพสั ดกุ ับนครเทวหะตอกนั ครั้นประสูตแิ ลว ก็
ทรงพระเจริญวัยมาโดยลาํ ดับ ครนั้ สมควรแกการศึกษาศิลปวทิ ยา เพอ่ื ปกครองรักษา
บา นเมืองตามขัตติยประเพณไี ดแ ลวกท็ รงศึกษาศลิ ปวิทยา เมือ่ พระชนมายไุ ด ๑๖ พรรษา
ก็ไดป กครองบา นเมอื งเสวยราชสมบัติแทนพระเจาศิริสทุ โธทนมหาราช ผพู ระราชบิดา
นบั วา ไดเ ปนใหญเปน ราชาแลว พระองคท รงพระนามวา เจาชายสทิ ธตั ถะ กต็ องทรงคดิ
อา นการปกครองรักษาบา นเมืองและไพรฟาประชาราษฎรใหร มเยน็ เปนสุข ทรงบังคบั
บญั ชาอยางไร เขากท็ าํ ตามทกุ อยา ง ครั้นทรงพิจารณาหาทางบังคับบัญชาความเกิดแก
เจบ็ ตายใหเปนไปตามใจหวังก็เปน ไปไมได ถงึ อยางนัน้ ก็มิทาํ ใหท อพระทัยในการคิด
อานหาทางแกเกิดแกเจ็บตาย ยิ่งเราพระทัยใหคิดอานพิจารณาย่ิงขึน้ ความคิดอา นของ
พระองคในตอนนี้เรยี กวา บรกิ รรม ทรงกําหนดพิจารณาในพระทยั อยูเสมอ จนกระท่ัง
พระสนมท้ังหมดปรากฏใหเ ห็นเปน ซากอสภุ ะดุจปา ชาผีดิบ จตุนิมิต ๔ ประการคอื เกิด
แก เจบ็ ตาย จึงบันดาลใหพระองคเกิดเบือ่ หนายในราชสมบัติ แลวเสด็จสู
มหาภเิ นษกรมณบ รรพชา ตอนนี้เรียกวา ปฐมโพธสิ ัตว เปนสตั วพิเศษ ผูจ ะไดต รสั รู
ธรรมวิเศษเปนพระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจาเทยี่ งแทกอนแตก าลน้ไี มนบั นับเอาแตก าล
ปจ จบุ นั ทันตาเหน็ เทานั้น
คร้นั เม่ือพระองคเ สด็จสมู หาภิเนษกรมณบรรพชา ณ ฝง แมน ้าํ อโนมานที ทรงตดั
พระเมาฬดี วยพระขรรคอ ธิษฐานบรรพชา อัฏฐบรขิ ารมีมาเองดวยอํานาจบุญฤทธิ์
อทิ ธิปาฏหิ าริยเ ปน ผา บงั สกุ ุลจีวร เหตอุ ศั จรรยอยา งน้มี เี พียงครง้ั เดียวเทานั้น ตอ น้ันมา
ตองทรงแสวงหา เหลาปฐมสาวกก็เหมือนกัน อัฏฐบรขิ ารเกิดขึ้นดวยบุญฤทธเ์ิ พยี งคร้ัง
แรกเทานนั้ คร้ันทรงบรรพชาแลว ทรงทาํ ทุกรกิรยิ าประโยคพยายามพจิ ารณาอุคคหนมิ ิต
ท่ีทรงรูครั้งแรก แยกออกเปนสวนๆ เปนปฏภิ าคนิมิตจนถึงเสด็จประทับนัง่ ณ ควงแหง
มหาโพธิพฤกษ ทรงชนะมารและเสนามารเมือ่ เวลาพระอาทิตยอ สั ดงคตยัง
บพุ เพนิวาสานุสติญาณ ใหเกิดในปฐมยาม ยงั จุตูปปาตญาณ ใหเ กดิ ในมชั ฌมิ ยาม ทรง
ตามพจิ ารณาจติ ท่ยี ังปจจัยใหส ืบตอทเ่ี รียกวา ปจจยาการ ตอนเวลากอ นพระอาทติ ยข น้ึ
ตอนนีเ้ รียกวา มัชฌมิ โพธสิ ตั ว
ครัน้ เมอ่ื ทรงพิจารณาตามเหตุผลเพยี งพอสมควรแลว จิตของพระองคห ย่ังลงสู
ความสงบถึงฐตี ธิ รรมดํารงอยใู นความสงบพอสมควรแลว ตัดกระแสภวงั คขาดไป เกิด
ญาณความรูตัดสินขึ้นในขณะนั้นวา ภพเบื้องหนาของเราไมมีอกี แลว ดังน้ีเรียกวา อาส
วกั ขยญาณ ประหารเสียซงึ่ กิเลสอาสวะทั้งหลายใหขาดหายไปจากพระขันธสนั ดาร
สรรพปรชี าญานตา งๆ อันสาํ เร็จมา แตบุพพวาสนาบารมี ก็มาชมุ นมุ ในขณะจติ อันเดียว
น้ันจงึ เรียกวาตรสั รพู ระอนุตตรสัมมาสมั โพธิญาณ ระยะกาลตอนนเ้ี รียกวา ปจ ฉิม
โพธิสัตว
ครน้ั ตรสั รูแ ลว ทรงเสวยวมิ ตุ ตสิ ุข อยูในท่ี ๗ สถาน ตลอดกาล ๔๙ วนั แลว แลทรง
เทศนาสัง่ สอนเวไนยนิกร มีพระปญ จวคั คียเ ปน ตน จึงถงึ ทรงต้ังพระอัครสาวกทัง้ ๒
และแสดงมชั ฌมิ เทศนา ณ เวฬวุ นั กลนั ทกนวิ าปสถาน ใกลกรงุ ราชคฤหม หานคร จดั เปน
ปฐมโพธิกาล
ตอ แตน ้ันมา ก็ทรงทรมานส่งั สอนเวไนยนิกรตลอดเวลา ๔๕ พระพรรษา จัดเปน
มชั ฌมิ โพธกิ าล ต้งั แตเ วลาทรงประทบั ไสยาสน ณ พระแทนมรณมัญจาอาสน ณ
ระหวา งนางรังท้งั คู ในสาลวโนทยาน ของมัลลกษตั รยิ กรุงกุสนิ าราราชธานี และทรง
แสดงพระปจฉิมเทศนาแลวปดพระโอษฐ เสด็จดับขนั ธปรนิ ิพพานระยะกาลตอนน้ี
จัดเปน ปจฉิมโพธิกาล ดว ยประการฉะนี้
(สว น ปฐมเทศนา มัชฌมิ เทศนา และปจฉมิ เทศนา นั้น มีเน้ือความเปน ประการไร
ไดแสดงแลว ในสวนที่ ๑)
๑๔. เร่อื ง โสฬสกจิ
กจิ ในพระธรรมวนิ ยั น้ี ทน่ี บั วา สําคญั ทสี่ ดุ เรียกวา โสฬสกจิ เปน กิจท่โี ยคาวจร
กุลบุตรพึงพากเพยี รพยายามทําใหส ําเรจ็ บริบรู ณด ว ยความไมประมาท
โสฬสกจิ ไดแ กกิจในอริยสจั ๔ ประการ คอื ทกุ ข สมุทยั นิโรธ มรรค ช้นั โสดาบนั
กป็ ระชุม ๔ ชั้น สกิทาคามกี ป็ ระชุม ๔ สองสีก่ ็เปน ๘ ชั้นอนาคามกี ็ประชุม ๔ ช้นั
อรหันตก็ประชมุ ๔ สองสี่ก็เปน ๘ สองแปดเปน ๑๖ กําหนดสจั จะท้ัง ๔ รวมเปน องค
อริยมรรคเปน ขน้ั ๆ ไป
เม่อื เรามาเจริญอรยิ มรรคท้งั ๘ อนั มีอยูในกายในจติ คือ ทกุ ข เปน สัจจะของจริงที่มี
อยูกร็ ูวามีอยเู ปนปรญิ เญยฺยะ ควรกําหนดรกู ็ได กาํ หนดรู สมทุ ยั เปน สจั จะของจรงิ ท่มี ีอยู
กร็ วู า มีอยู เปน ปหาตพั พะ ควรละก็ละไดแลว นโิ รธ เปนสัจจะของจรงิ ที่มอี ยกู ็รูวา มีอยู
เปนสัจฉิกาตัพพะ ควรทาํ ใหแ จง ก็ไดท ําใหแจง แลว มรรค เปนสจั จะของจริงทมี่ อี ยูก็รูวา
มอี ยเู ปนภาเวตัพพะ ควรเจรญิ ใหมากกไ็ ดเจริญใหม ากแลว เม่อื มากําหนดพิจารณาอยู
อยา งน้ี ก็แกโ ลกธรรม ๘ ไดส ําเรจ็
มรรค อยทู ่ี กาย กับ จติ คอื ตา ๒ หู ๒ จมูก ๒ รวมเปน ๖ ลนิ้ ๑ เปน ๗ กาย ๑ เปน
๘ มาพจิ ารณารเู ทา สิง่ ทั้ง ๘ น้ี ไมหลงไปตาม ลาภ ยศ สรรเสรญิ สุข เสอ่ื มลาภ เสื่อมยศ
นินทา ทกุ ข อันมาถกู ตอ ง ตนของตนจิตไมหวนั่ ไหว โลกธรรม ๘ เปน คปู รับกบั มรรค ๘
เมอื่ รูเทาสว นทัง้ สองนแ้ี ลว เจรญิ มรรคใหบ ริบูรณเต็มท่ี ก็แกโ ลกธรรม ๘ ได ก็เปน
ผฏุ ฐสฺส โลกธมเฺ มหิ จติ ตฺ ํ ยสฺส น กมฺปติ อโสกํ วริ ชํ เขมํ เอตมฺ มงฺคลมุตฺตมํ โลกธรรม
ถกู ตอ งจติ ผใู ดแลว จติ ของผนู น้ั ไมหว่ันไหวเมื่อไมหว่นั ไหวก็ไมเ ศราโศก เปน จิต
ปราศจากเครือ่ งยอม เปน จติ เกษมจากโยคะ จดั วาเปน มงคลอันอดุ มเลิศ ฉะนแี้ ล ฯ
๑๕. เรือ่ ง สาํ คญั ตนวา ไดบรรลอุ รหตั ตผล
กริ ดังไดสดบั มา ยงั มภี กิ ษุ ๒ รูป ในพระศาสนาของพระบรมศาสดาของเรานี้ องค
หนึ่งมพี รรษาแกกวา อกี องคห นึ่งมีพรรษาออนกวา เปนสหธรรมิกทีม่ ีความรกั ใครใ นกัน
และกนั แตจ ากกันไปเพอื่ ประกอบความเพยี ร องคออ นพรรษากวา ไดสําเร็จพระอรหนั
ตผลเปนพระอรหันตกอน องคแ กพ รรษาไดแตเพียรกาํ ลงั สมาธิสมาบัติ และเปนผู
ชํานาญในวสี จะพจิ ารณาอธษิ ฐานใหเปน อยางไรก็ไดด ังประสงค และเกดิ ทิฏฐสิ าํ คญั วา
รทู ัว่ แลว สว นองคหยอนพรรษาครน้ั พิจารณาดกู ็ทราบไดดวยปญญาญาณ จึงสง่ั ใหองค
แกพรรษากวา ไปหาทานองคน นั้ ไมไ ป สัง่ สอนสามคร้ังก็ไมไป องคหยอ นพรรษาจงึ ไป
หาเสยี เอง แลว ยงั กนั และกนั ใหยินดี พอสมควรแลว จงึ พดู กบั องคแกกวาวา ถา ทา นสําคัญ
วารูจ รงิ ก็จงอธษิ ฐานใหเปน สระในสระใหม ีดอกบัวหลวง ๑ ดอก ในดอกบวั หลวงใหม ี
นางฟอ นสวยงาม ๗ นาง องคแกพ รรษากเ็ นรมิตไดตามน้นั ครนั้ เนรมติ แลว องคออน
พรรษากวาจึงส่ังใหเ พงดู คร้นั เพงดูนางฟอนอยู กามราคะกิเลสอันสงั่ สมมาแลว หลาย
รอยอตั ตภาพก็กาํ เริบ จึงทราบไดว าตนยังไมไ ดส ําเร็จเปน พระอรหันต ครั้นแลว องคอ อน
พรรษาจงึ เตือนใหรตู ัว และใหเ รง ทางปญญาวปิ สสนาญาณ องคแกพ รรษากวา ครัน้
ปฏบิ ตั ติ ามทําความพากเพียรประโยคพยายามอยู มชิ ามินานก็ไดส าํ เรจ็ เปนพระอรหันต
ขีณาสวะบุคคลในพระพทุ ธศาสนาดวยประการฉะนี้
อปรา ยังเรือ่ งอน่ื อกี มเี น้ือความอยางเดียวกันแตน ิมติ ตางกนั คือใหเนรมติ ชางสาร
ซับมนั ตัวรายกาจว่ิงเขามาหา หลงรปู เนรมติ ของตนเอง เกิดความสะดงุ ตกใจกลัวเตรียม
ตัววง่ิ หนี เพ่ือนสหธรรมมกิ ผูไปชว ยเหลือไดฉ ุดเอาไว และกลาวตกั เตอื นส่ังสอนโดยนัย
หนหลัง จงึ หยดุ ย้งั ใจไดและปฏบิ ตั ิตามคําสง่ั สอนของสหธรรมมิกผชู ว ยเหลือน้นั ไม
นานก็ไดส าํ เร็จเปนพระอรหนั ตขีณาสวะบุคคลในพระบวรพุทธศาสนาเชนเดียวกนั แม
เรื่องนก้ี ็พงึ ถือเอาเปน ทฏิ ฐานุคติ เชน เดียวกบั เร่อื งกอนน้ันแล
น้เี ปน นิทานท่เี ปน คตสิ าํ หรับผปู ฏบิ ัตจิ ะพึงอนวุ ตั ิตามคือ ผูเปน สหธรรมกิ
ประพฤติธรรมรวมกนั ทกุ คน จงมาเปนสหายกนั ในกิจทช่ี อบ ท้ังที่เปนกิจภายใน ทง้ั ท่ี
เปน กจิ ภายนอกยงั ประโยชนข องกนั และกนั ใหสาํ เร็จดว ยดีเถดิ
๑๖. เรือ่ ง อุณหสั สวิชัยสตู ร
ผูใดมาถงึ พระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะทีพ่ ่งึ แลว ผนู นั้ ยอ มชนะได
ซ่งึ ความรอน
อุณหสั สคอื ความรอ นอันเกิดแกต น มที ั้งภายในและภายนอก ภายนอกมีเสือสาง
คางแดง ภตู ผปี ศาจ เปนตน ภายในคอื กิเลส วชิ ยั คอื ความชนะ ผูทมี่ านอ มเอาสรณะทั้ง
สามน้ีเปนท่ีพ่งึ แลว ยอมจะชนะความรอ นเหลานน้ั ไปไดหมดทุกอยางทเี่ รียกวา อุณหสั ส
วิชัย
อุณหสฺสวิชดย ธมโฺ ม โลเก อนุตฺตโร พระธรรมเปน ของยงิ่ ในโลกทง้ั สาม สามารถ
ชนะซึ่งความรอ นอกรอ นใจอนั เกิดแตภ ยั ตา งๆ ปริวชเฺ ช ราชทนเฺ ฑ พยคเฺ ฆ นาเค วเี ส ภเู ต
อกาลมรเณน จ สพพฺ สมฺ มรณา มุตฺโต จะเวน หางจากอนั ตรายทั้งหลายคอื อาชญาของ
พระราชา เสอื สาง นาค ยาพิษ ภูตผี ปศาจ หากวายังไมถงึ คราวถึงกาลทจ่ี ักตายแลว ก็จัก
พนไปไดจ ากความตายดวยอํานาจ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ ท่ีตนนอมเอาเปน
สรณะที่พ่ึงที่นบั ถือน้นั
ความขอนม้ี ีพระบาลสี าธกดังจะยกมาอางอิงในสมัยเมอ่ื สมเด็จพระผูมพี ระภาคเจา
พรอ มดว ยพระอรหนั ตห นมุ ๕๐๐ รูป ประทับอยใู นราวปา มหาวนั ใกลกรงุ กบลิ พสั ดุ
เทวดาท้งั หลายพากันมาดู แลวกลา วคาถาข้นึ วา เยเกจิ พทุ ฺธํ สรณํ คตา เส น เต คมสิ ฺ สนตฺ ิ
อปายภูมิ ปหาย มานุสํ เทหํ เทวกายํ ปริปูเรสฺสนตฺ ิ แปลความวา บุคคลบางพวกหรือ
บุคคลไรๆ มาถงึ พระพุทธเจาเปน สรณะท่ีพึง่ แลว บุคคลเหลา นนั้ ยอมไมไ ปสูอบายภมู ิทั้ง
๔ มีนรกเปน ตน เมื่อละรางกายอนั เปน ของมนุษยน้ีแลว จักไปเปน หมแู หงเทพดา
ท้ังหลายดังนี้
สรณะทั้ง ๓ คือ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ มไิ ดเ สื่อมสญู อันตรธานไปไหน ยงั
ปรากฏอยูแ กผ ูปฏิบัติเขาถึงอยเู สมอ ผใู ดมายึดถอื เปนที่พงึ่ ของตนแลว ผนู ั้นจะอยูกลาง
ปา หรอื เรือนวา งกต็ าม สรณะทง้ั สามก็ปรากฏแกเ ราอยทู กุ เมอ่ื จึงวาเปนที่พ่งึ แกบ คุ คล
จรงิ เมื่อปฏบิ ัติตามสรณะท้งั สามจริงๆ แลว จะคลาดแคลว จากภัยท้ังหลาย อนั กอใหเกิด
ความรอ นอกรอนใจไดแ นนอนทเี ดียว
หมายเหตุ คาํ นําบางสว นของหนังสอื ซึง่ พมิ พแ จกในงานฌาปนกิจศพพระอาจารย
มนั่ ภรู ิทตั ตเถระ (วันท่ี ๓๑ มกราคม ๒๔๙๓) มดี งั นี้
การทใี่ หช อื่ ธรรมเทศนา ของทานอาจารยท่รี วบรวมพิมพชุดแรกวา มตุ โตทัย น้นั
อาศัยคาํ ชมของเจา พระคุณ พระอบุ าลคี ุณูปมาจารย (สริ จิ ันทเถระ จันทร) เม่ือคราวทา น
อาจารยแสดงธรรมวาดวย มลู กรรมฐาน ณ วหิ ารหลวงเชียงใหมว า ทา นอาจารยแสดง
ธรรมดวยมตุ โตทัย เปน มตุ โตทัย คํานีท้ านอาจารยนาํ มาเปน ปญหาถามในที่ประชมุ
พระภิกษเุ ปรยี ญหลายรปู ซง่ึ มีขาพเจารวมอยดู ว ย ในคราวทท่ี า นมาพกั กับขาพเจา ท่ีวดั ปา
สุทธาวาส จังหวดั สกลนคร ขาพเจาทราบความหมายของคาํ น้ันแลวแตเห็นวาเปน อสา
ธารณนยั จึงกลา วแกท างใจ ทนั ใดนน้ั ทานก็พดู ขึน้ วา ขาพเจา แกถกู ซ่ึงทาํ ความประหลาด
ใจใหแ กภกิ ษทุ ้ังหลายมิใชนอย ตางก็มารุมถามขา พเจาวา ความหมายวา อยางไร? ขาพเจา
บอกใหทราบแกบ างองคเฉพาะท่นี าไวใจ คําวา มุตโตทยั มคี วามหมายเปน อสาธารณนัย
กจ็ รงิ แตอ าจเปนความหมายมาเปน สาธารณนัยกไ็ ด จึงไดน ํามาใชเปน ช่ือธรรมเทศนา
ของทานอาจารย โดยมุง ใหม ีความหมายวา เปน ธรรมเทศนาช้ีบอกแนวทางปฏบิ ัติให
บังเกิดความหลดุ พน จากกิเลส อาสวะ ซง่ึ ถาจะแปลสัน้ ๆ กว็ า แดนเกดิ แหงความหลุดพน
น่ันเอง
ธรรมเทศนาชดุ แรกน้ี พระภกิ ษวุ ิริยังคกับพระภกิ ษทุ องคํา เปน ผูบันทกึ ในสมยั ทาน
อาจารยอ ยจู าํ พรรษา ณ เสนาสนะปา บานโคกนามน ตําบลตองโขบ อําเภอเมือง จงั หวดั
สกลนคร และตอนแรกไปอยูเ สนาสนะปา บา นหนองผอื ตาํ บลใน อําเภอพรรณานิคม
จงั หวดั สกลนคร ขา พเจารับเอาบนั ทึกน้นั พรอ มกับขออนุญาตทานอาจารยพ ิมพเ ผยแผ
ทา นก็อนุญาตและสงั่ ใหขาพเจาเรียบเรยี งเสียใหมใหเ รียบรอย ตัดสวนทีไ่ มควรเผยแผ
ออกเสียบา ง ขา พเจาก็ไดปฏบิ ตั ติ ามนน้ั ทุกประการ ถงึ อยางนั้นก็ยงั มที ่ีกระเทอื นใจผูอ าน
อยบู า ง จึงขอช้ีแจงไวในที่น้ี
คือขอท่ีวา พระสัทธรรมเมื่อเขาไปประดษิ ฐานในสนั ดานของปุถุชนแลว ยอ ม
กลายเปนของปลอมไปนน้ั หมายความวาไปปนเขากับอัธยาศยั อันไมบริสุทธ์เิ มื่อ
แสดงออกแกผูอ่นื ก็มักมอี ธั ยาศยั อนั ไมบ รสิ ุทธิ์ ปนออกมาดวย เพ่ือรกั ษาพระสัทธรรม
ใหบ รสิ ทุ ธ์ิสะอาดคงความหมายเดมิ อยูได ควรมีการปฏบิ ัตกิ าํ จัดของปลอมคือ อปุ กิเลส
อันแทรกซมึ อยใู นอัธยาศัยน้นั ใหห มดไป ซึ่งเปนความมุงหมายของทานผูแสดงทจ่ี ะชกั
จงู จิตใจของผูฟง ใหนยิ มในสัมมาปฏบิ ตั ยิ ิง่ ๆ ขึ้นไป ถาผฟู ง มใี จสะอาด และเปน ธรรม
แลวยอ มจะใหส าธุการแกทานผแู สดงแนแ ท
ธรรมเทศนาของทานอาจารยท ี่ พระภิกษทุ องคํา ญาโณภาโส กับ พระภกิ ษวุ ัน อตุ ฺ
ตโม จดบันทกึ ไวในปจฉมิ สมัย คือระหวา ง พ.ศ. ๒๔๙๑ - ๒๔๙๒ กอ นหนา มรณสมัย
เพียงเล็กนอ ยน้นั ไดรวบรวมนาํ มาเรียบเรียงเขาหมวดหมู เชนเดียวกบั ครง้ั กอ น
ธรรมเทศนาของทานอาจารยท ้งั ๒ ชดุ นี้ หาจะพิมพเผยแผตอ ไป ก็ควรพมิ พ
รวมกันในนามวา มุตโตทยั และควรบอกเหตผุ ลและผทู ําดงั ทขี่ า พเจาช้ีแจงไวนดี้ วย จะได
ตดั ปญหาในเรือ่ งชือ่ และท่ีมาของธรรมเทศนาดว ย
พระอรยิ คณุ าธาร (เสง็ ปุสโฺ ส)
๓๑ มกราคม ๒๔๙๓
จบบรบิ ูรณ