The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระวิเทศพุทธิคุณ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-05-29 00:04:03

พระวิเทศพุทธิคุณ

พระวิเทศพุทธิคุณ

Keywords: พระวิเทศพุทธิคุณ

ให้ความรสู้ กึ ของเทา้ ทส่ี มั ผสั พน้ื เปน็ ศนู ยก์ ารรบั รู้ เราใช้
จุดสัมผัสของลมหายใจในการนั่งสมาธิเช่นใด ก็ใช้ความรู้สึก
ของเทา้ ท่สี มั ผสั พืน้ และจงั หวะการเดนิ ในลกั ษณะเดียวกนั

เดินอย่างธรรมดาสบายๆเหมือนเดินเล่นในสวน
ไมต่ อ้ งชา้ ๆแบบสโลวโ์ มชน่ั ทอ่ี าตมาไมอ่ ยากใหเ้ ดนิ ชา้ ๆมากไป
กเ็ พราะอยากให้ฝึกความเคยชนิ กบั การมีสติ ในชวี ติ ประจำ�วัน
ให้มองว่าการปฏิบัติธรรมไม่ได้เป็นกิจกรรมที่พิเศษ แต่
เป็นการฝึกฝนทัศนะต่อสิ่งต่างๆที่เราต้องพบพานในชีวิตจริง
ให้ละเมียดข้ึน และการเดินกลับไปกลับมา ก็เป็นกรอบหนึ่ง
ของการฝึกในชว่ งเวลาทจี่ ำ�กดั ไว้

ถ้าเดินจงกรมข้างนอก ก็จะมีนก มีต้นไม้ มีคนอ่ืน
และอะไรมิอะไรอยู่รอบตัว ถ้าจิตหลุดจากการรับรู้เท้าและ
ร่างกายจากไหลล่ งไป กไ็ ม่เปน็ ไร แตท่ ันทีทรี่ ู้ทัน กด็ ึงมนั กลับ
มาที่กายและจังหวะการเดินอีกครั้ง ไม่บังคับและต่อสู้กับการ
ไขว้เขว อันเป็นความเคยชินของจิต เพียงมองว่าน่ีเป็นการ
ฝึกทักษะการรู้เท่าทันจิต เหมือนกับการเอาประโยขน์อย่าง
ชาญฉลาด ดว้ ยการเรียนจากการล้มเหลว

เอาอีกแล้ว... ฉันหลุดอีกแล้ว... ฉันเขวอีกแล้ว...
จติ ฉันออกนอกลูอ่ ยูเ่ ร่ือย... การฝกึ ปฏิบตั ธิ รรมทำ�ให้เราเรียน
รู้ว่าล้มเหลวอย่างไร และรับว่า “เอาหละ ฉันหลุดไปแล้ว
จิตฉันเขวไปแล้ว” เราจะเห็นความรู้สึกที่ไม่สมดุล ออกนอก
ลนู่ อกทาง แลว้ ปลอ่ ยวางเหตุท่ีทำ�ใหม้ นั เป็นเชน่ นน้ั กอ่ นท่ีจะ

พระวเิ ทศพุทธคิ ุณ 85

กลับมาสู่ปัจจุบันขณะ หลักๆก็คือ เรากำ�ลังฝึกสติรับรู้เหตุที่
ทำ�ให้ไขว้เขว ฝึกท่ีจะสังเกต จะปล่อยวาง และกลับมา

เมื่อจิตเรากลับมาสู่ความเป็นจริงในปัจจุบันขณะแล้ว
อาตมาก็ขอให้สังเกตให้รู้ชัดว่า ความรู้สึกของการอยู่ใน
ปัจจุบันขณะเป็นอย่างไร การรับรู้กาย ณ ขณะน้ี ตรงนี้
บรบิ ทน้ี มันรูส้ กึ อย่างไร

น่ีเป็นวธิ ที ่ีจะทำ�ให้เรารกู้ บั ใจวา่ ความร้สู ึกท่สี มดลุ และ
ไมส่ มดุลเปน็ อย่างไร เพื่อให้คณุ ภาพอันงดงามของจิตทส่ี มดลุ
และความมสี ติ ไดป้ ระจกั ษ์ชัดแกใ่ จ

แนะนำ�การภาวนา ::: กายและความเจบ็ ปวด

บ่ายแล้ว ลวดลายแสงกับเงา เปลี่ยนแปลงเร่ือยๆ
จากเชา้ ถงึ บา่ ยอารมณค์ วามรสู้ กึ ของเรากเ็ ชน่ กนั ...เดยี๋ วตนื่ ตวั
เดี๋ยวงุนง่วง เดย๋ี วลิงโลด เด๋ยี วเศร้าซมึ เดยี๋ วสบาย เดีย๋ วไม่
สบาย... สังเกตุอารมณ์ความร้สู ึกของตัวเองในขณะนี้

สรา้ งความเคยชนิ ในการนำ�ความสนใจมาจรดไวก้ บั สิ่งท่ี
กำ�ลังเป็น .. กายกำ�ลังรู้สึกอย่างไร ใจล่ะกำ�ลังเป็นอย่างไร
ทำ�ใหป้ จั จบุ นั ขณะของเราสดใหม่ กระปรก้ี ระเปรา่ และแจม่ ชดั
ในการรบั รู้ ใหเ้ ปน็ เรอ่ื งของการเรยี นรู้ เรยี นรทู้ จ่ี ะดู ทจ่ี ะสงั เกต
ท่ีจะใคร่ครวญ ไม่ใช่แค่ปล่อยใจให้ไหลเล่ือนไปตามความ
เคยชนิ และครง่ึ หลบั ครง่ึ ตน่ื ในขณะทม่ี วนมนุ่ อยกู่ บั ความคดิ

86 Phra Videsabuddhiguṇa

แต่ละครัง้ ที่เร่ิมน่ังสมาธิ ดึงความสนใจมาไว้ทอี่ ิรยิ าบถ
อย่าพยายามทำ�จิตภาวนาทันทีที่น่ังลง ปูพื้นให้การภาวนา
เสียก่อน… คือ ปรับพลังความตื่นตัวกับความผ่อนคลาย
(ความตึงกับความหย่อน) ตลอดทั้งกาย ให้มีดุลยภาพโดย
ทั่วพร้อม… ต้ังกายให้ยืดตรง สังเกตว่ามีตรงไหนที่เกร็งหรือ
ตึงเครียด ก่อนที่จะกำ�หนดผ่อนคลายจุดน้ันๆ เมื่อรู้สึก
ว่ากายในอิริยาบถนั้นเป็นสมดุลย์อย่างท่ัวพร้อมแล้ว ก็นำ�
ความสนใจมาไว้ที่ลมหายใจ ภาวนากับกายและใจในวิธีน้ีให้
เชี่ยวชาญ เพื่อพัฒนา สติสัมปชัญญะ… สติที่ประกอบด้วย
ความเข้าใจท่ีแจ่มชัด ไม่ใช่แค่รู้ว่าฉันกำ�ลังทำ�อะไร แต่รู้ถึง
บริบทและองค์ประกอบของการกระทำ�นั้นดว้ ย

การภาวนากับจิต เห็นจิตท่ีฟุ้ง เห็นธรรมชาติของ
ความฟุ้งซ่านน้ัน ปล่อยวางมันลง กลับมาจดจ่อที่ลมหายใจ
บางครั้งก็ทำ�ให้ลืมกาย ว่ากำ�ลังทำ�อะไร ฉะนั้น ทุกๆ
๑๐ -๑๕ นาที ก็ลองละการรับรู้จากจิตและจากลมหายใจ
มาไว้ท่ีอิริยาบถสักนาทีสองนาที เพ่ือดูซิว่า กล้ามเน้ือแถว
ขากรรไกร หรือรอบตาเราตึงไหม ฟันขบกันอยู่หรือเปล่า
ไหล่เราห่อตัวเรางุ้มลงมาบ้างไหม กล้ามเน้ือบริเวณท้อง
เราเกร็งหรือไม่ กายเราโดยรวมล่ะเปล่ียนแปลงอย่างไร
ในระหวา่ งทีเ่ ราไปจดจ่ออยูท่ โ่ี ลกของความคดิ

ฉะนั้น การกลับมารับรูก้ าย อาจจะทำ�ให้เราสังเกตเหน็
ว่าความเกร็ง ความตึงหรือเครียดในจุดต่างๆได้กลับมาอีก

พระวิเทศพุทธิคณุ 87

ทั้งๆท่ีเราได้คลายมันไปแล้วเมื่อตอนเร่ิมนั่งสมาธิ ความ
เคยชินที่จะตึงต้าน ท่ีจะเกร็งเครียดได้คืบแฝงเข้ามาครอบ
กายเราอีกแล้ว

ถ้าเราพบว่ากล้ามเน้ือตรงไหนเกร็งอยู่ ตึงแข็งอยู่
ก็ผ่อนมัน คลายมัน ทำ�ให้มันอ่อนโยนลงเสีย ถ้าเราพบ
ว่ากาย ที่เรานึกว่าเรามีสติรู้มันอยู่ ได้กลับมาห่องุ้มลงอีก
ก็ให้สังเกตุรับรู้มัน เรียกพลังและเตือนสันหลังให้เหยียดตรง
กระตุ้นพลังในร่างกาย ให้มันไหลเล่ือนขึ้นตามแนวกระดูก
สันหลัง สร้างความต่ืนตัว ความสนใจข้ึนมาใหม่ เม่ือสร้าง
ดุลยภาพของพลังกับความผ่อนคลายในมวลกายข้ึนมาได้
ใหม่แลว้ กเ็ อาศูนยก์ ารรับรูม้ าไว้ท่ลี มหายใจ

นี่คือวิธีการที่เราเอาจุดรวมความสนใจมาไว้ทั้งที่โลก
ของรูป และของนาม... โลกของกาย และโลกของจติ ... และ
นอ้ มรบั ปฏสิ ัมพนั ธท์ มี่ นั มตี ่อกนั และกนั

นง่ั สมาธนิ านเขา้ กเ็ ปน็ ธรรมดาทก่ี ายจะเจบ็ บา้ งปวดบา้ ง
ยอมรับความทุกข์ทางกายนี้ด้วยเมตตา เสมอกับที่ยอมรับ
ความคดิ และอารมณ์ความรสู้ กึ ทางใจ

เราไม่ชอบจิตวุ่นที่คิดโน่นคิดน่ีไม่หยุดหย่อนเช่นใด
ก็มักจะเกิดความรู้สึกเชิงลบ ประเภทกลัวเกลียดทุกขเวทนา
ทางกายเช่นน้นั เชน่ พอเขา่ ปวดขน้ึ มา ก็เกร็งต้าน เดียจฉันท์
เพิ่มเหตุให้ทุกขท์ รมานมากข้ึนโดยไม่ร้ตู ัว

88 Phra Videsabuddhiguṇa

แทนทีจ่ ะทำ�อย่างนน้ั เราสามารถสร้างตวั ชว่ ยทส่ี ำ�คัญ
ข้ึนมาได้ คือ ทัศนคติของการยอมรับอย่างสิ้นเชิงต่อเวทนา
เมื่อปวดท่ีหลัง หรือท่ีเข่า หรือตรงไหนก็ตาม ก็สังเกตเลยวา่
มันรุนแรงต่อความรู้สึก มันปวดจริงๆ จรดความสนใจลงไป
ที่จุดน้ัน มองใจตัวเองว่าเป็นอย่างไรต่อความเจ็บปวดนี้
กลัวไหม ต่อต้านมันหรือเปล่า มีความรังเกียจเดียจฉันท์
เจือปนอยไู่ หม ร่างกายเรากำ�ลงั เกร็งตา้ นมนั หรอื เปลา่

ถ้าเราไม่ปล่อยตัวเองให้เป็นไปตามความเคยชิน ท่ีจะ
เกร็งจะต้านความเจ็บปวด แต่รู้จักคลายกล้ามเนื้อบริเวณนั้น
อย่างมีสติ และปลอ่ ยวางความรูส้ ึกรังเกยี จและตอ่ ตา้ น จะพบ
บดั นน้ั เดี๋ยวน้นั วา่ เหตุของความทกุ ขท์ รมานได้ลดยอ่ ลงแลว้

นี่แหละ เราผ่อนคลายทั้งกายและทั้งทัศนคติทางใจ
ความเจ็บปวดเป็นส่ิงหนึ่ง และความทรมานที่เราสร้างมาห่อ
หุ้มมันเป็นอีกส่ิงหนึ่ง แปลกนะ ที่เราอยู่ได้อย่างสงบได้ กับ
ลำ�พังความเจ็บปวด ฉะน้ัน แค่เปลี่ยนทัศนคติเดิมท่ีมีกับ
มันเสีย รับรู้รสชาติที่ไม่น่าพิศมัยของความเจ็บปวด แต่
มันก็เป็นแค่ความรู้สึก ไม่ดีไม่เลวในตัวของมันเอง เป็น
เพียงลักษณะในธรรมชาติ เป็นเพียงโครงสร้างหน่ึงของการ
รบั รู้ ฉะนนั้ ถงึ มนั จะมีอยู่ เปน็ อยู่ แตเ่ รากไ็ ม่แปลงมันใหเ้ ปน็
ปัญหา ไมส่ รา้ งความสมั พนั ธ์เชิงลบกับมัน

พร้อมกนั น้ันก็ร้วู า่ ร่างกายมีขดี จำ�กัด ที่ไม่ควรหกั โหม
จนเกินควร ไม่ว่าจะเป็นท่ีกระดูก ข้อ หรือเส้นเอ็น ฉะน้ัน

พระวเิ ทศพุทธคิ ณุ 89

จึงไม่เป็นการเสียหายท่ีจะขยับ หรือเปล่ียนท่า แต่ก็ควรจะ
ภาวนากบั ทกุ ขเวทนาสกั คร.ู่ .. อยา่ งนอ้ ยกส็ กั ๒ – ๓ นาทกี อ่ น

ท่ีสำ�คัญท่ีสุดคือ ทัศนคติและทีท่าที่แจ่มชัด เป็น
สมดุลย์ และปราศจากปฏิกริยาต่อตอบต่อทุกขเวทนาทาง
กายเช่นน้ี ทำ�ให้เรากลมกลืนในการรับรู้ขีดจำ�กัดธรรมชาติ
ของร่างกายเรา ด้วยวธิ ีนี้ การเปล่ียนท่านงั่ จะเป็นการกระทำ�
อย่างเมตตาต่อกายเรา แทนท่ีเป็นการกระทำ�ด้วยความ
เกลยี ดกลวั ต่อความเจ็บปวด แตกต่างกนั มากเพราะอย่างหนงึ่
มาจากสติ ความเมตตาและความกลมกลืน อีกอย่างหนึ่ง
มาจากปฏิกิริยาและความเดียจฉันท์ ก็เป็นธรรมดาที่ผลจะ
แตกตา่ งกนั อยา่ งหน่ึงจะเป็นทม่ี าของความสงบ อกี อยา่ งหนง่ึ
จะเปน็ ทม่ี าของความเครยี ด และความทกุ ขท์ ่ีเพิ่มพูน

พอเจ็บหรือปวดข้ึนมา ก็ลองทำ�อย่างน้ีดูซิว่าได้ไหม...
เรียนรู้ท่ีจะตอบรับแทนท่ีจะตอบโต้ เรียนรู้ที่จะมองทัศนคติ
แล้วปล่อยวางการต่อสู้ ความกลัว และทัศนคติเชิงลบต่อ
ประสบการณ์ และเปิดวิธีการใหม่ วิธีของเมตตาและการ
ยอมรับ

เอาเมตตาเปน็ ฐานที่ตัง้
แปลจากหนังสอื “Purity, Radiance, Peace” by Ajahn Amaro หน้า ๖-๒๖
ผ้แู ปล คณุ หญงิ จ�ำ นงศรี หาญเจนลักษณ์

90 Phra Videsabuddhiguṇa







94 Phra Videsabuddhiguṇa

ประวัติ
พระวิเทศพทุ ธคิ ุณ (อมโร ภกิ ขุ)

สถานะเดมิ

ช่ือ เจเรมี ชาลี จูเลี่ยน ฮอร์เนอร์ (J.C.J. Horner) เกิดเมื่อเดือน
กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๙๙ ณ เมืองเท็นเทอรเ์ ดน เคนท์ ประเทศองั กฤษ
(ท่านเป็นลูกพ่ีลูกน้องของ I.B. Horner นักวิชาการด้านพุทธศาสนา
ผู้เคยดำ�รงตำ�แหน่งประธานชมรมบาลีปกรณ์ (Pali Text Society)
ซึ่งลว่ งลับไปแล้ว)

อุปสมบท

วันที่ ๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๒ ณ พัทธสีมาวดั หนองป่าพง
อ.วารนิ ชำ�ราบ จ.อบุ ลราชธานี
พระอุปชั ฌาย์ พระโพธญิ าณเถร วัดหนองป่าพง
อ.วารินชำ�ราบ จ.อุบลราชธานี
พระกรรมวาจาจารย์ พระเล่ียม ฐิตธมโฺ ม
(ปจั จบุ นั พระราชภาวนาวกิ รม เจา้ อาวาสวดั หนองปา่ พงรปู ปจั จบุ นั )
พระอนุสาวนาจารย์ พระปภากโร วัดป่านานาชาติ
อ.วารนิ ชำ�ราบ จ.อบุ ลราชธานี

พระวิเทศพทุ ธิคณุ 95

วิทยฐานะ

4 พ.ศ. ๒๕๐๒ – ๒๕๐๕ โรงเรยี น อนั เดอรฮ์ ิลล์ เฮาส์
4 พ.ศ. ๒๕๐๕ – ๒๕๑๐ โรงเรยี นประถมศกึ ษา ดลั วิช คอลเลจ
4 พ.ศ. ๒๕๑๐ – ๒๕๑๖ โรงเรยี นชัทตนั วาเลนซ์
เกียรติประวัตขิ ณะเป็นนักเรยี น
-นกั เรยี นดเี ด่นประจำ�โรงเรยี นและเขต
-กปั ตันรกั บี้เยาวชนอายตุ ำ่ �กว่า ๑๔ และทีมอายุตำ่ �กวา่ ๑๕
เป็นผู้เลน่ ดีเด่นใน ๑๕ คนแรก
-ผู้ชนะเลิศการแข่งขันว่ิงข้ามเคร่ืองกีดขวาง รุ่นเล็กและ
รนุ่ กลางในระดับเขตเคนท์
-ไดร้ บั รางวัลมัธยมต้น-ปลาย (fifth form prize)
-เรียนจบระดับมัธยมปลาย (O level) เมื่ออายุ ๑๔ ปี
(ตำ่ �กว่าเกณฑป์ กติ ๒ ปี)
-สอบได้ประกาศนียบัตร จบการศึกษาระดับ A & S
(Advance a Scholarship level) เม่อื อายุ ๑๖ ปี
-ผู้เข้าสอบที่อายุน้อยท่ีสุดและได้คะแนนสูงสุดในสาย
วิทยาศาสตร์ ระดบั การศึกษา A & S ประจำ�ปี ๒๕๑๖
4 พ.ศ. ๒๕๑๗ – ๒๕๒๐ มหาวทิ ยาลัย ลอนดอน (University of
London) สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เกียรตินิยมอันดับสอง
สายวิทยาศาสตร์ พร้อมกัน ๒ สาขา คือ สาขาจิตวิทยาและสาขา
สรีรวิทยา (BSc. In Psychology and Physiology)

96 Phra Videsabuddhiguṇa

งานปกครองและพฒั นาวัด

4 พ.ศ. ๒๕๒๒ เดินทางกลับประเทศอังกฤษเพื่อช่วยหลวงพ่อ
สุเมโธสร้างวัดชิตเฮิร์ท วัดป่าแห่งใหม่ในมณฑลซัสเซคส์ตะวันตก
(West Sussex) ปัจจุบนั คอื วัดป่าจติ ตวิเวก
4 พ.ศ. ๒๕๒๖ เดินธุดงค์ขึ้นไปทางภาคเหนือระยะทางไกลถึง
๘๓๐ ไมล์ (ประมาณ ๑,๔๐๐ กิโลเมตร) เพื่อไปที่วัดสาขาใน
เขตมลฑลนอร์ทธัมเบอร์แลนด์ (Norththumberland)
4 พ.ศ. ๒๕๒๘ ยา้ ยมาอยทู่ ีว่ ดั อมราวดเี พ่ือช่วยสอนและบรหิ ารวัด
เป็นเวลา ๑๐ ปี
4 พ.ศ. ๒๕๓๖ – พ.ศ. ๒๕๓๘ ดำ�รงตำ�แหน่งรองเจ้าอาวาสวัด
อมราวดี
4 พ.ศ. ๒๕๓๙ ก่อตั้งวัดป่าอภัยคีรี ในเขตเม็นโดสิโน รัฐ
แคลฟิ อรเ์ นยี (Mendocino County, California)
4 พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๕๓ ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสร่วม (Co-Abbot)
กบั พระอาจารยป์ สนั โน
4 พ.ศ. ๒๕๕๓ – ปัจจบุ ัน ดำ�รงตำ�แหน่งเจา้ อาวาสวดั อมราวดี
4 พ.ศ. ๒๕๕๔ เริ่มวางโครงการพฒั นาวัดอมราวดี ซ่ึงเป็นโครงการ
ระยะยาว ๓๐ ปี เพื่อก่อสร้างอาคารถาวรแทนอาคารไม้หลังเดิม
ทงั้ หมด

พระวเิ ทศพุทธคิ ณุ 97

งานศกึ ษาสงั เคราะห์

4 พ.ศ. ๒๕๒๘ – ปจั จบุ นั เขา้ รว่ มสอนในกจิ กรรมครอบครวั (Family
camp) ณ ศนู ย์กรรมฐานวดั อมราวดี ในระหว่างทีอ่ ยู่วดั อมราวดี
4 พ.ศ. ๒๕๒๓ และ ๒๕๒๕ สอนพระพทุ ธศาสนาและการปฏบิ ัติ
ให้กับนักเรียนโรงเรียน บีเด็ล (Bedales School) ซ่ึงเป็นโรงเรียน
ประจำ�แบบสหศกึ ษาไมไ่ กลจากวัดป่าจิตตวิเวก
4 สอนพระพทุ ธศาสนาและการปฏิบัตกิ ว่า ๑๐ ครง้ั ใหก้ ับนกั เรยี น
โรงเรียนชัทตนั วาเลนซ์ ซงึ่ เปน็ โรงเรยี นทท่ี า่ นเคยเรยี น

งานด้านการเผยแผ่

4 พ.ศ. ๒๕๒๒ แสดงพระธรรมเทศนาให้กับชาวต่างชาติ ณ
วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร ตามคำ�กราบเรียนนิมนต์ของ
นางโจซ่ี สแตน ผู้เปน็ หัวหน้ากลมุ่
4 พ.ศ. ๒๕๒๙ – ๒๕๓๐ เดินทางไปสวิสเซอร์แลนด์หลายครั้ง
เพ่ือสอนกรรมฐานให้กับกลุ่มต่างๆ ด้วยวัตถุประสงค์เพ่ือช่วยปูทาง
สำ�หรับสร้างวดั สาขา
4 พ.ศ. ๒๕๓๑ – ๒๕๓๒ เดนิ ทางไปไอรแ์ ลนด์หลายครงั้ เพือ่ ช่วย
สนับสนุนกลมุ่ ชาวพทุ ธในเมอื งเบลฟาสต์ และเมืองดบั บลิน ประเทศ
ไอรแ์ ลนด์เหนือ
4 พ.ศ. ๒๕๓๓ เริ่มรับนิมนตไ์ ปสหรฐั คราวละ ๒-๓ เดือน เพ่ือไป
สอนกรรมฐานตามสถานที่ต่างๆ แคลิฟอร์เนีย มิชิแกน อิลลินอย
ฟลอริดา วอชิงตัน ออเรกอน เมสสาซูเสต นิวยอร์ค รวมทั้งใน
ประเทศแคนาดา ไดแ้ ก่ แวนคูเวอร์ บรติ ชิ โคลมั เบีย

98 Phra Videsabuddhiguṇa

4 พ.ศ. ๒๕๓๔ ช่วยก่อตั้ง “สมาคมอุบาสกวัดอมราวดี” สำ�หรับ
คฤหัสถ์ผู้สนใจการปฏิบัติธรรม ในเวลาต่อมาได้แปลี่ยนช่ือใหม่เป็น
“สมาคมคฤหัสถ์ชาวพุทธวัดอมราวดี” (Amaravati Lay Buddhist

Association – ALBA)

4 พ.ศ. ๒๕๓๑ เป็นต้นมา ท่านได้เข้าร่วมการประชุมและงาน
สมั มนาหลายครัง้

4 พ.ศ. ๒๕๓๖ และ พ.ศ. ๒๕๓๙ ประชมุ ร่วมกับองคด์ าไลลามะ
และกลุ่มอาจารย์ชาวต่างชาติท่ีสอนศาสนาพุทธ ครั้งที่ ๑ และ ๒
ณ ธรัมศาลา และพ.ศ. ๒๕๔๔ ประชุมร่วมกับองค์ดาไลลามะและ
กลุ่มอาจารย์ชาวต่างชาติทส่ี อนศาสนาพทุ ธ คร้ังท่ี ๓ ณ แคลิฟอร์เนยี

4 พ.ศ. ๒๕๓๗ เข้าร่วมประชมุ ในหวั ข้อ The Good Heart นำ�โดย
องค์ดาไลลามะ ณ กรุงลอนดอน

4 พ.ศ. ๒๕๓๘ ร่วมอภิปราย ศาสนาพุทธ-ศาสนาคริสต์ กับ
คุณพ่อลอเรนซ์ ฟรีแมน ที่ Old St. Mary’s Catholic Cathedral
ในซานฟรานซสิ โก

4 พ.ศ. ๒๕๓๙ ผูน้ ำ�ร่วมการประชุม Compassion Conference กบั
ศาสนาจารย์ อลนั โจน์ เจา้ คณะ Grace Cathedral ซานฟรานซสิ โก
และบาทหลวง เดวิด สเตน-ราส OSB ที่สถาบันอีซาเลน
แคลฟิ อรเ์ นีย

4 พ.ศ. ๒๕๓๙ ร่วมอภปิ ราย ศาสนาพทุ ธ-คริสต์ กับศาสนาจารย์
อลนั โจนส์ เจ้าคณะ Grace Cathedral ซานฟรานซิสโก

4 ร่วมกับพระอาจารย์ปสันโน จัดทำ�หลักสูตรการฝึกหัดอุบาสก
อบุ าสกิ า (Upasika Training Program) สำ�หรบั คฤหสั ถท์ ว่ี ดั ปา่ อภยั ครี ี

พระวเิ ทศพทุ ธิคุณ 99

4 พ.ศ. ๒๕๔๒ สอนกรรมฐานหลักสูตร ๑๐ วัน ร่วมกับ
พระอาจารย์สอนกรรมฐานชาวทเิ บต ซองยิ รมิ โปเซ (Ven. Tsoknyi
Rimpoche) ที่แคลฟิ อรเ์ นีย

4 ร่วมกับพระอาจารย์ปสันโน จัดทำ�หลักสูตร “Community
of Abhayagiri Lay Minister’s Program (CALM)” ท่ีวัดป่าอภัยคีรี
เพื่อให้การอบรมและสนับสนุนเครือข่ายคฤหัสถ์ผู้มีประสบการณ์
ในการปฏิบัติกรรมฐาน ในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ให้
เป็นผู้มีคุณสมบัติท่ีสามารถสอนธรรมะและกรรมฐาน และประกอบ
พิธมี งคล

4 พ.ศ. ๒๕๔๖ เข้ารว่ มสัมมนา MindandLifeร่วมกบั องค์ดาไลลามะ
ซ่ึงจัดขึ้นเป็นคร้ังแรกท่ีมหาวิทยาลัย เอ็มไอที (Massachusetts
Institute of Technology) ในหวั ขอ้ เรอื่ ง Investigating the Mind

4 พ.ศ. ๒๕๔๘ เข้าร่วมสัมมนา Mind and Lifeคร้ังท่ี ๒ กับ
องค์ดาไลลามะ ท่ีวอชิงตันดีซี เป็นตัวแทนเปิดแนะนำ�การสัมมนา
ในหวั ขอ้ เร่ือง The Science and Clinical Application of Meditation

4 พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นผู้บรรยายในการเปิดตัวการประชุมนานาชาติ
ทางด้านสติ (The First International Conference on Minfulness)
ที่จัดขนึ้ เป็นครัง้ แรก ณ กรุงโรม ประเทศอิตาลี

4 พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้รับเชิญไปบรรยายใน Minfulness and
Compassion Conference ที่มหาวิทยาลัยซานฟรานซิสโก ประเทศ
สหรัฐอเมรกิ า

4 พ.ศ. ๒๕๒๙ – ปจั จบุ นั ไดร้ บั นมิ นตไ์ ปสอนในประเทศตา่ งๆ ทว่ั โลก
เชน่ ประเทศไทย อสิ ราเอล สวสิ เซอรแ์ ลนด์ แคนาดา อติ าลี และอน่ื ๆ

100 Phra Videsabuddhiguṇa

4 พ.ศ. ๒๕๒๗ – ปัจจุบัน เขียนหนังสือภาษาอังกฤษท้ังหมด
๑๓ เร่อื ง โดยได้รับการแปลเป็นภาษาไทย และอิตาลีแล้ว จำ�นวน
๓ เรอื่ ง

ผลงานและรางวัลเชดิ ชูเกยี รติคณุ ทไ่ี ด้รับ

4 ได้รับแต่งตง้ั เป็นพระอปุ ัชฌาย์ เมือ่ วันท่ี ๒๙ มถิ ุนายน ๒๕๕๔
4 พ.ศ. ๒๕๕๕ ไดร้ บั เลือกใหเ้ ป็นตวั แทนของชาวพุทธของประชากร
ชาวอังกฤษ สก๊อตแลนด์ และเวลส์ ในการเข้าเฝ้าถวายพระพร
แด่สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธ ที่สอง ในงานจัดเล้ียงเฉลิมฉลอง
การครองราชย์ครบรอบ ๕๐ ปี
4 พ.ศ. ๒๕๕๕ เป็นตัวแทนชาวพทุ ธนิกายเถรวาท ในการสนทนา
เร่ืองศาสนาคริสต์และศาสนาพุทธ กับหัวหน้าบาทหลวงโรแวน
วิลเลียมส์ (Archbishop Rowan Williams) และผู้สอนศาสนาพุทธ
นิกายอ่ืนๆ
4 ได้รับเกียรติบัตรในการปฏิบัติหน้าที่พระธรรมทูต จากองค์กร
พระธรรมทูตไทยในสหราชอาณาจกั รและไอแลนด์เหนอื
4 พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้รับรางวัลตาราอินเตอร์เนชั่นแนลอวอร์ดจาก
เสถยี รธรรมสถาน
4 พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้รับพระราชทานต้ังสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะ
ช้นั สามัญ ฝา่ ยวิปัสสนาธรุ ะ ในราชทนิ นามท่ี “พระวิเทศพุทธคิ ุณ”

พระวิเทศพุทธิคุณ 101

ผลงานการเขยี นหนังสือ

Tudong – The Long Road North
Silent Rain
Mara and the Mangala
An Introduction to the Life and Teachings of Ajahn Chah
The Pilgrim Kamanita
Rugged Interdependency
Small Boat, Great Mountain
Inner Listening
Who Will Feed the Mice?
Rain on the Nile – Talks & Travels
Finding the Missing Peace – a Primer of Buddhist Meditation

For the Love of the World

ผลงานเขียนร่วมกับพระอาจารยป์ สันโน

The Island – An Anthology of the Buddha’s Teachings on Nibbana

Broad View, Boundless Heart

102 Phra Videsabuddhiguṇa

Amaro Bhikkhu,
Phra Videsabuddhiguṇa
Biography

Born in England in 1956, he received a BSc. in
Psychology and Physiology from the University of
London in 1977. Spiritual searching led him to Thailand,
where he went to Wat Pah Nanachat, a Forest Tradition
monastery established for Western disciples of Thai
meditation master Ajahn Chah, who ordained him as a
bhikkhu in 1979. Soon afterwards he returned to England
and joined Ajahn Sumedho at the newly established
Chithurst Monastery.

In 1983 he made an 830 mile journey on foot to
Harnham Monastery in Northumberland and in 1985
he was invited to join the community at the newly
opened Amaravati Monastery. He resided for ten years at
Amaravati, making trips to California every year during
the early 1990s. During that time at Amaravati Ajahn
Amaro helped with teaching and administration, serving
as vice-abbot for the last two years.

พระวิเทศพุทธิคุณ 103

In June 1996 he established Abhayagiri
Monastery in Redwood Valley, California, where he
was co-abbot with Ajahn Pasanno until 2010. He then
returned to Amaravati in July 2010 and was invited to
be the successor of Ajahn Sumedho as abbot of this
large monastic community. He was granted permission
to be an upajjhāya (ordination preceptor) in 2011.

In December 2015 he was given the honorary title
Jao Khun by HM the King of Thailand, together with
the name Videsabuddhiguṇa.

He has authored or co-authored about 20 books,
all for free distribution. He is also a cousin of the late
Buddhist scholar and President of the Pali Text Society,
I.B. Horner.

104 Phra Videsabuddhiguṇa



ขอขอบพระคุณ ขอบคณุ และ อนโุ มทนา

ที่ปรกึ ษา

พระวเิ ทศพทุ ธคิ ณุ พระอาจารยช์ ยสาโร
พระอาจารย์คงฤทธ์ิ รตนวณฺโณ พระอาจารย์ภวู ดล ปยิ สโี ล

ธมั มาภนิ นั โท ภิกขุ พระอาจารย์สิรปิ ัญโญ
สุวรี า วนาพงษ์ Debbie Stamp

ผู้แปล

ปองสม เรอื งสวสั ดิพงศ์ : คำ�นำ�
วิทติ รชั ชตาตะนนั ท์ : Like and Dislike are of Equal Value

ฐานโิ ย ภิกขุ : เจา้ คุณ
ฐานิโย ภิกขุ : Tribute to Venerable Phra Videsabuddhiguṇa

พระอาจารย์ภูวดล ปิยสีโล : ถกู ในความจรงิ แตผ่ ดิ ในธรรมะ
คณุ หญิงจำ�นงศรี หาญเจนลกั ษณ์ : เอาเมตตาเปน็ ฐานท่ตี ้งั

ผ้ปู ระพันธบ์ ทแสดงมทุ ิตาจิต

ลดาวัลย์ ตั้งทรงจิตรกลุ ธนั ยพร ชาตลิ ะออง ชมยั ภร แสงกระจ่าง

ผเู้ อ้อื เฟอื้ ภาพถ่าย

นรนิ โท ภกิ ขุ จากวดั อมราวดี Ajahn Jotipalo จากวดั ปา่ อภัยคีรี
มนตรี ศิริธรรมปติ ิ

ผถู้ า่ ยภาพปก

มนตรี ศิรธิ รรมปติ ิ

ผูอ้ อกแบบปก

มนตรี ศิรธิ รรมปติ กตั ตภัทร์ วาสกิ ศิริ
พระอาจารยค์ งฤทธิ์ รตนวณโฺ ณ Nicholas Halliday

คณะทำ�งาน

ธมั มาภินันโท ภิกขุ วิทิต รัชชตาตะนนั ท์ ปองสม เรืองสวสั ดิพงศ์
ชนนิ ทร แย้มสะอาด บุบผาสวสั ด์ิ รัชชตาตะนันท์
ศรีวรา อสิ สระ กรชั เพชร อิสสระ

แผนกครเี อทีฟ บริษทั ชาญอิสสระดีเวล็อปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

With profound recognitions to

Advisors

Phra Videsabuddhiguṇa, Ajahn Jayasaro, Ajahn Kongritthi Ratanavanno,
Piyasilo Bhikkhu, Dhammabhinando Bhikkhu, Ajahn Siripannyo,
Suvira Wanaphong, Debbie Stamp

Translators

Witit Rachatatanun : Like and Dislike are of Equal Value
Ajahn Thaniyo : Tribute to Venerable Phra Videsabuddhiguṇa

Authors of the Poems

Thanyathorn Chatlaong, Chamaybhorn Saenggrajahng

Photo Providers

Ven. Narindo, Amaravati Monastery, Ajahn Jotipalo, Abhayagiri Monastery,
Montri Sirithampiti

Cover Photographer

Montri Sirithampiti

Cover Designers

Montri Sirithampiti, Kattapat Wasiksiri
Ajahn Kongritthi Ratanavanno, Nicholas Halliday 

working group

Dhammabhinando Bhikkhu, Witit Rachatatanun, Pongsom Ruangswadipong,
Chanintorn Yaemsaard, Bupaswat Rachatatanun,
Srivara Issara, Karatphet Issara,

Creative Department, Charn Issara Development Public Company Limited

คว​ ​า​มเ​ป็น​มา​ ​
​ มูล​นิธิปั​ญญา​ประที​ป จั​ดต้ั​งโดยคณะผู้บริหารโรงเรียนทอสี
ดว้ ยควา​มรว่ ​ม​มอ​ื ​จ​ากคณะคร​ ู ผป้​ู กครองและญาตโิ ยมซง่ึ เปน็ ลกู ศษิ ย​์
พระอาจา​รย์ช​ย​สาโ​ร ก​ระทรวง​มหาด​ไทยอน​ุญา​ตให​้จดทะ​เบี​ยนเป็น
นิติบ​ุคคล​ ​อย​ ่​า​งเป็นทางการ เ​ลขที่​ทะเ​บียน ก​ ท. ​๑๔๐๕ ตั้งแต่วันท​ ี่
๑ เ​ม​ ษา​ยน ๒​ ๕๕๑

ว​ ตั ถปุ ระ​สงค​์
๑) สนบั สน​ นุ ก​ ารพฒั น​ าสถาบ​ นั ก​ ารศกึ​ ษาวถ​ิ พี ทุ ธทม​่ี รี​ ะบบไ​ต
รส​ิกขา​ของพระ​พทุ ธศาส​ นาเปน็ ห​ ลกั ​
๒) เผ​ยแผ่หลั​กธรรม​คำ�ส​อนผ่านการจัดการฝึกอบรมและ
ปฏิบัติธรรม และการเผยแผ่สื่อธรรมะรูปแบบต่าง ๆ โดยแจกเป็น
ธรรมทาน
๓) เพม่ิ พนู ค​ วามเ​ขา้ ใจใ​นเ​รอ่ื งค​ วามส​ มั พนั ธร​์ ะหวา่ งม​ นษุ ย์และ​
สง่ิ ​แวดล้อม สนับสนุน​การ​พัฒนา​ท​่ีย่งั ยืน​และ​ส่ง​เสริม​การ​ด�ำ เนนิ ​ชวี ิต​
ตามห​ ลกั ป​ รชั ญา​เศรษฐกจิ ​พอเ​พยี ง
๔) ร่วมมือกับองค์กรการกุศลอื่นๆ เพื่อดำ�เนินกิจการที่เป็น
สาธารณประโยชน์


มลู นธิ ปิ​ ัญญา​ประทีป

ค​ ณะ​ที่​ปรกึ ษา​
​ พระอาจารย์ชยสาโรเป็นองค์ประธานที่ปรึกษา โดยมีคณะ
ที่ปรึกษาเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่าง ๆ อาทิ ด้านนิเวศวิทยา
พลังงานทดแทน ส่ิงแวดล้อม เกษตรอินทรีย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ การเงนิ กฎหมาย การสือ่ สาร การละคร ดนตรี
วัฒนธรรม ศิลปกรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ

คณะกรรมการบริหาร
มลู นธิ ฯิ ไดร้ บั เกยี รตจิ ากรองศาสตราจารยน์ ายแพทยป์ รดี าทศั น
ประดษิ ฐเปน็ ประธานคณะกรรมการบรหิ าร และมคี ณุ บบุ ผาสวสั ดิ์ รชั
ชตาตะนันท์ ผ้อู �ำ นวยการโรงเรยี นทอสีเปน็ เลขาธิการฯ

​การ​ด�ำ เนิน​การ​
​ ​• มูลนิธิฯ เป็นผู้จัดตั้งโรงเรียนมัธยมปัญญาประทีปในรูป
แบบ โรงเรยี นบ่มเพาะชีวติ เพ่ือด�ำ เนนิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ด้านการศึกษา
วถิ พี ุทธ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของมูลนิธิฯ ข้างต้น โรงเรียนนี้ตั้งอยู่
ที่บ้าน หนองนอ้ ย อ�ำ เภอปากช่อง จงั หวดั นครราชสมี า
​ ​• มูลนิธิฯ ร่วมมือกับโรงเรียนทอสีในการผลิตและเผยแผ่ส่อื
ธรรมะ แจกเปน็ ธรรมทาน โดยในสว่ นของโรงเรยี นทอสฯี ไดด้ �ำ เนนิ การ
ตอ่ เนื่องตัง้ แต่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๕






Click to View FlipBook Version