The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความสุขที่สมบูรณ์ ป.อ. ปยุตโต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-18 19:13:12

ความสุขที่สมบูรณ์ ป.อ. ปยุตโต

ความสุขที่สมบูรณ์ ป.อ. ปยุตโต

Keywords: ความสุขที่สมบูรณ์,ป.อ. ปยุตโต

ความสขุ ทีส่ มบรู ณ∗

เกดิ ดที ี่สดุ คอื เกิดกุศล

ความสุขเปน ส่งิ ท่นี าปรารถนา เปนสิง่ ที่ทุกคนแสวงหากัน
อยู แตที่จรงิ ความสขุ นน้ั เราสามารถทาํ ใหเ กดิ ข้นึ ไดทนั ที กค็ ือใน
จิตใจน่เี อง เมื่อใดโยมมีศรทั ธา มเี มตตา มีไมตรธี รรมแลว ความ
สุขก็เกดิ ข้ึนในใจเมื่อนนั้ ทนั ที

โดยเฉพาะวนั น้ีเปน วนั เกดิ และเปนวนั ท่ีเน่อื งในวันเกดิ ถา
ทําใหเ กดิ เมตตา และศรัทธา เปน ตน ทีเ่ ปนกศุ ลธรรมข้นึ ได ก็สม
ชื่อวันเกดิ คอื ไดทําใหกศุ ลธรรมเกดิ ขึ้น ซึ่งเปน ความเกดิ ทีด่ ที ส่ี ดุ
สมตามที่พระพุทธเจาไดตรัสไวคอื การเกดิ ข้นึ แหง กุศลธรรม

วันนี้เปนวนั เกดิ ความเกดิ ทด่ี ีท่ีสดุ ที่เมื่อเกิดขึน้ แลวจะทาํ
ใหสมกับความเปน วนั เกดิ ก็คอื การเกิดขน้ึ ของกุศลธรรม พอกศุ ล



ธรรมกถา วันทาํ บญุ อายคุ รบ ๘๔ ป ของคุณโยมนาม พนู วัตถุ ๒๔ กรกฎาคม
๒๕๓๗ และเนือ่ งในการทจ่ี ะมีอายุครบ ๘๐ ป ของคณุ โยมเฉลมิ พนู วตั ถุ ในวันท่ี ๑
ตลุ าคม ๒๕๓๗

๒ ความสขุ ท่สี มบรู ณ

ธรรมเกิดขน้ึ กก็ ลายเปนการฉลองวันเกดิ ท่ีสมคา อยางแทจ รงิ พระ
พุทธเจาตรัสไววา เราควรทาํ กศุ ลธรรมใหเ กดิ ขึน้ เพราะวา กุศล
ธรรมนาํ มาซึง่ ความสุข

อยางท่ีกลา วไวแ ลว วา คนเราเกิดมายอมปรารถนาความ
สุข แตบางทีเราไปนึกถงึ พุทธภาษิตแหง หนึง่ มีขอความเปน
ทํานองหลักการ หรือคําสอนเบ้ืองตนวา “ชาติป ทุกขฺ า” การเกิด
เปนทุกข โยมกค็ งนกึ วา อา ว ในเม่ือการเกิดเปนทกุ ข แลวนี่จะมา
ทําอยางไรใหก ารเกดิ เปนสขุ ก็จะขัดกบั พุทธพจนไ ปสิ

ขอใหเขาใจวา ท่ีพระพุทธเจา ตรสั ไววา การเกิดเปน ทกุ ข
นั้น พระองคต รสั ตามธรรมชาติ เรียกวาตามสภาวะ คือตาม
สภาวะของสงั ขาร หมายความวาการเกดิ นก้ี ็ตกอยใู ตก ฎธรรมชาติ

กฎธรรมชาติ ก็คอื ความเปนอนิจจัง ทกุ ขัง อนัตตา ซ่ึง
สอนใหร ูวา สิ่งท้ังหลายเกิดขึ้น ต้งั อยู แลวกด็ บั ไป มีการเปลยี่ น
แปลง ต้ังอยูในสภาพเดิมไมไ ด เปน ไปตามเหตุปจจยั ทัง้ หมดนี้
เปนเรื่องกฎของธรรมชาติ ซงึ่ เปนสภาพธรรมดาของมันอยางน้ัน
เอง แตทุกขใ นธรรมชาติ ทเ่ี ปน สภาวะน้ัน ยังไมใชทกุ ขในใจของ
เรา มันจะเปน ทุกขแ กเราหรอื ไม ก็อยูทเ่ี ราปฏบิ ัตติ อมนั ถกู หรือผดิ
ทานเพียงแตบ อกใหร ูวาธรรมชาติของมันเปน อยา งนี้ มนั เปน ความ
จรงิ อยอู ยา งนั้น เปน เร่ืองของธรรมชาติ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๓

ปฏบิ ตั ถิ ูก มีแตส ขุ ทุกขไ มม ี

สังขารทง้ั หลายมนั กเ็ ปนไปตามพระไตรลักษณ มคี วาม
เปล่ียนแปลงเปนตน อันนไี้ มมใี ครสามารถจะเถยี งได แตท นี ้ี ถาเรา
ปฏิบัติไมถูก ความทกุ ขในธรรมชาตนิ น้ั ก็กลายมาเปนทกุ ขในตัว
เรา คนคือเรากก็ ลายเปนทกุ ขไป เพราะวา ปฏบิ ตั ไิ มถ กู ตอ ธรรม
ชาติ แตถา เราปฏบิ ัตถิ กู ตอ ง เรากท็ ําใหท กุ ขทอ่ี ยูในธรรมชาตินั้น
เปนของธรรมชาติไปตามเรือ่ งของมนั เราไมพ ลอยเปนทกุ ขไปดว ย
นอกจากไมพลอยเปนทกุ ขแ ลว ยงั สามารถปฏบิ ตั ิใหเกิดความสขุ
ไดดว ย ถา ปฏบิ ัตติ อทุกขถ กู ตอง พระพุทธเจา ตรสั วา เราจะเปน สุข

“ทุกฺขํ ปริฺเญยย”ํ ทุกขนั้นพระพุทธเจาตรสั ไวว าเปน
ปริญไญย คือเปนสิง่ สาํ หรบั รู รูท กุ ข คอื รูเทา ทนั ทกุ ข เรารูเทาทนั
ทุกขแลวเราก็ไมเปน ทกุ ข การรูจักทุกขก ับการเปน ทุกขน คี่ นละ
อยาง พระพทุ ธเจา ไมเคยตรัสใหเ ราเปน ทกุ ข มีแตท รงสอนใหเรา
เปนสุข พระองคตรัสบอกวา ทุกขน ้ันสําหรบั กาํ หนดรู คือใหเรารูเทา
ทันทุกข เพอื่ เราจะไดไ มต องเปนทกุ ขเ ทา นนั้ เอง

ถาเราปฏบิ ตั ติ อ ทกุ ขถกู ตอง เราก็เปนสขุ แลวยิง่ กวานัน้ ก็
คือ สามารถทําใหทกุ ขเปนปจจัยของความสขุ ดวย ผูท ี่ปฏิบตั ถิ กู
ตอง สามารถทําใหทกุ ขเปนปจจยั ของความสขุ พระอรหนั ตท าน

๔ ความสุขท่สี มบรู ณ

ปฏิบัติตอทุกขอยา งถูกตอ ง จนกระทัง่ ทา นหลดุ พนจากทกุ ข กลาย
เปนบคุ คลท่มี สี ขุ โดยสมบูรณท เี ดียว

เพราะฉะน้ัน เรอื่ งทุกขน ้ีจงึ มเี คล็ดลบั อยูในตวั คือวา พระ
พุทธเจา ตรัสใหเ รารูทัน แลว ก็ปฏบิ ตั ติ อ มันใหถกู ตอง เมื่อเรา
ดําเนนิ ชวี ิตถูกตอง คอื ปฏบิ ัตติ อทุกขถูกตอ ง เราก็เปน สขุ และเราก็
มีทุกขนอยลงทุกที จนทุกขห มดไป จะเหลอื อะไร กเ็ หลอื แตส ุข

ปฏบิ ตั ไิ มถ กู ย่งิ หางสขุ ทกุ ขทับถม

พระพุทธเจาตรัสประมวลหลักวิธีปฏิบัติในเรื่องความสุข
และความทุกขไ ว ในทแ่ี หงหน่งึ มีเปน ชุด ๓ ขอ ซึง่ ยืดออกไปตาม
คําอธิบายเปน ๔ ขอ นา สนใจมาก อาตมภาพขอนาํ มาแสดงไว
พระองคส รุปไวงายๆ วิธีปฏิบัตติ อทุกขแ ละสขุ ที่พระองคต รสั ไวม ี
ดงั น้ี

๑. ไมเอาทกุ ขมาทับถมตนท่ีไมมที กุ ข
๒. ไมล ะทง้ิ สุขทช่ี อบธรรม
๓. แมสุขท่ีชอบธรรมนนั้ ก็ไมลมุ หลงมัวเมา
๔. เพียรปฏิบัตเิ พื่อเขาถึงสขุ ทปี่ ระณีตยิ่งข้นึ ไป
นี่เปนหลักสาํ คัญ ถา เราปฏบิ ัตไิ ดต ามหลกั การน้ี เราก็ชอ่ื
วาปฏบิ ตั ถิ ูกตอ งในเรอื่ งความสุขความทุกข ทีนีล้ องมาดู

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๕

ขอที่ ๑ พระพุทธเจาตรัสวา ไมใ หเอาทุกขม าทบั ถมตนท่ีไม
มีทุกข หมายความวา เราอยูในโลก เราก็มชี ีวิตอยตู ามธรรมดา
สังขาร สังขารมนั ก็ไมเท่ยี ง เปน ทกุ ข เปน อนัตตา ตามธรรมดาของ
มัน เราดาํ เนินชวี ิตใหด ีงามถกู ตอ ง แลว ทกุ ขต ามธรรมชาตกิ ม็ ขี อง
มันไป อันน้นั เราไมไปเถยี งมัน แตเ ราไมเ พิ่ม เราไมเ อาทุกขม าทับ
ถมตัวเรา เราก็สบายไปข้ันหนงึ่ แลว

ในทางตรงขามถา เราปฏบิ ัติไมถ ูกตอง ทุกขทม่ี ันมีอยูใน
ธรรมชาติน้ัน มันกเ็ กดิ เปน ทุกขใ นใจของเรา เรากเ็ อาทุกขม าทับ
ถมตัวเอง ดังจะเหน็ วาบางคนปฏบิ ัตไิ มถ กู ตอ งเท่ยี วหาทกุ ขมาใส
ตนมากมาย

เร่ืองนี้พระพุทธเจาตรัสไวในการท่ีทรงโตตอบกับลัทธิ
นิครนถ คือเรอ่ื งมนั เกิดจากลัทธินคิ รนถ ก็เลยจะขอยกมาเปน ตวั
อยาง แตเปน ตวั อยา งที่หยาบๆ ของการเอาทกุ ขม าทับถมตน คอื

ลัทธินิครนถนเ้ี ขาถอื การบาํ เพ็ญตบะ ตบะก็คือการทาํ
ความเพียรทรมานตนเอง ซง่ึ มวี ธิ ีการตา งๆ มากมาย เรียกงา ยๆ วา
เปนการหาทุกขมาใสต น เชน เวลาจะโกนศรี ษะ เขาไมใ ชม ีดโกน
แตนักบวชนิครนถเขาใชวิธีถอนผมทีละเสนจนกระทั่งหมดศีรษะ
อยางน้เี ปน ตน

ตบะในสมัยโบราณน้นั มมี ากมายหลายแบบ เชน ถงึ หนา
รอ นกไ็ ปนอนอยูกลางแดด แตถงึ หนา หนาวกลับไปแชต ัวอยใู นนา้ํ

๖ ความสุขทสี่ มบรู ณ

เวลานอน แทนทจ่ี ะนอนบนพ้นื สบายๆ ก็นอนบนเตียงหนาม อะไร
อยางน้ีเปนตน หมายความวา ทรมานรางกาย ทาํ ตัวใหทุกข ทาํ ไม
เขาจึงทําอยางนน้ั เขาบอกวา เพราะวา เราตามใจมัน คอื ตามใจ
กิเลสนี่แหละ มนั จึงทําใหเ กดิ ทุกขขึน้ เพราะฉะนัน้ เราจะไมต ามใจ
มันละ เราทรมานมนั มันจะไดห มดกเิ ลส กเิ ลสจะไดแ หงไป นี่เปน
วิธีปฏิบัติของพวกนคิ รนถ พระพทุ ธเจาตรัสวาวธิ ีนี้เปน การเอาทุกข
มาทับถมตนที่ไมมีทุกข น่เี ปน ตัวอยา งอนั หนงึ่

โชคมา กใ็ ชท าํ ความดี

เคราะหมี กเ็ ปนเครื่องมือพัฒนา

คนเราอยูในโลกแตมักปฏิบัติไมถูกตองตอสิ่งทั้งหลายใน
โลก จึงดาํ เนินชวี ติ ไมถูกตอง สง่ิ ทีเ่ ราเก่ยี วของตางๆ น่ี มันกอ็ ยู
ของมนั ไปตามปกติ ตามธรรมชาติ แตเ ราปฏิบัติตอ มนั ไมถกู วาง
ใจไมถ กู แมแตม องก็ไมถกู เราจึงเกดิ ทุกข สงิ่ ทั้งหลายท่มี อี ยูตาม
ธรรมดามนั กเ็ ปน ไป ถา เรารูทัน ก็เห็นมนั เปนไปตามกฎธรรมชาติ
แตถาเราไมรูเทาทนั เรามองไมเปน กเ็ กิดทุกขทันที

แมแตเหตุการณความผันผวนปรวนแปรตางๆ ท่ีเกดิ ข้นึ ใน
ชีวิตของคนเรา ทีเ่ รยี กกันวา โชคบาง เคราะหบ าง ศพั ทพ ระเรียก
วา โลกธรรม ซึ่งเปน ตัวการสําคญั ท่ที ําใหคนดใี จเสยี ใจ เปน สุข
และเปนทุกข เวลามันเกดิ ขึน้ ถา เราปฏบิ ตั ไิ มถกู ตอ ง ทีส่ ุขเราก็

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๗

แปลงใหเปน ทุกข ท่มี ันเปน ทุกขอยูแลวเรากเ็ พิ่มทุกขแกต ัวเราให
มากขึ้น แตถ าเราปฏบิ ัติถูกตอ ง ท่ีทุกขเ ราก็ผันแปลงใหเ ปนสขุ ท่ี
มันเปนสขุ อยูแลว เรากเ็ พิม่ ใหเ ปนสุขมากย่ิงขนึ้

โลกธรรมคอื อะไร โลกธรรมแปลวา ธรรมประจําโลก ไดแ ก
ส่ิงท่ีเกิดแกมนุษยท้งั หลายตามคตธิ รรมดาของความเปน อนจิ จัง ก็
คือ เรือ่ ง ลาภ เส่อื มลาภ ยศ เสื่อมยศ สรรเสริญ นินทา สขุ ทุกข
ส่ิงเหลานี้ พระพทุ ธเจา ตรัสไววา มนั มีอยูเปนธรรมดา เม่อื เราอยู
ในโลก เราไมพ นมนั หรอก เราตอ งเจอมนั ทีนถี้ า เราเจอมันแลว เรา
วางใจไมถ กู และปฏิบัตไิ มถกู เราจะเอาทุกขม าใสต วั ทันที

พอเรามลี าภ เรากด็ ใี จ อนั นเี้ ปนธรรมดา เพราะเปนสงิ่ ทน่ี า
ปรารถนา แตพอเสอื่ มลาภเราก็เศราโศก เพราะเราสูญเสีย ทนี ้ี ถา
เราวางใจไมถ ูก ไประทมตรมใจ แลว ไปทําอะไรประชดประชนั ตวั
เอง หรือประทว งชีวิต เปน ตน เรากซ็ ํ้าเติมตัวเอง ทําใหเกิดทุกข
มากขึ้น

อยางงายๆ กวา นั้น เชน เสยี งนินทา และสรรเสริญ คํา
สรรเสริญนน้ั เปนสิง่ ทเ่ี ราชอบใจ พอไดยินเราก็มีความสขุ ใจก็ฟขู ึน้
มา แตพอไดย ินคาํ นนิ ทาเรากเ็ กดิ ความทกุ ข ทกุ ขน เี้ กิด เพราะ
อะไร เพราะเรารับเอาเขามา คือรบั กระทบมันนัน่ เอง คอื เอาเขามา
บบี ใจของเรา

๘ ความสุขที่สมบรู ณ

ทีน้ี ถาเราวางใจถูกตอ ง อยา งนอ ยเรากร็ ูว า ออ นี่คอื
ธรรมดาของโลก เราไดเ ห็นแลวไง พระพุทธเจา ตรัสไวแลววา เรา
อยูใ นโลก เราตอ งเจอโลกธรรมนะ เรากเ็ จอจริงๆ แลว เราก็รูวา ออ
น่ีความจรงิ มนั เปน อยางนีเ้ อง เราไดเห็น ไดรูแลว เราจะไดเ รียนรูไ ว

พอบอกวา เรยี นรูเทานน้ั แหละ มันกก็ ลายเปน ประสบ-
การณสําหรบั ศึกษา เรากเ็ รม่ิ วางใจตอมันไดถ ูกตอง ตอ จากนน้ั ก็
นึกสนุกกับมันวา ออ กอ็ ยา งน้แี หละ อยใู นโลกกไ็ ดเห็นความจรงิ
แลววามนั เปนอยา งไร ทนี ี้ก็ลองกบั มันดู แลว เราก็ต้ังหลกั ได สบาย
ใจ อยา งน้กี เ็ รียกวา ไมเอาทุกขม าทับถมใจตัวเอง

อะไรตา งๆ น่ี โดยมากมันจะเกดิ เปน ปญ หาก็เพราะเราไป
รับกระทบ ถาเราไมรับกระทบ มันกเ็ ปนเพียงการเรยี นรู บางทีเรา
ทําใจใหถ กู ตอ งกวานัน้ กค็ ือ คดิ จะฝกตนเอง พอเราทาํ ใจวาจะฝก
ตนเอง เราจะมองทกุ อยางในแงมุมใหม แมแตสิง่ ทไ่ี มด ีไมน า ชอบ
ใจ เรากจ็ ะมองเปน บททดสอบ พอมองเปน บททดสอบทไี ร เราก็ได
ทุกที ไมวาดีหรอื รายเขา มา ก็เปนบททดสอบใจและทดสอบสติ
ปญญาความสามารถทง้ั นั้น ก็ทาํ ใหเ ราเขม แขง็ ย่งิ ขน้ึ เพราะเราได
ฝกฝน เราไดพ ฒั นาตัวเรา เลยกลายเปนดีไปหมด

ถาโชค หรือโลกธรรมทดี่ มี ีมา เราก็สบาย เปนสขุ แลวเราก็
ใชโชคนัน้ เชน ลาภ ยศ เปนเคร่ืองมอื เพมิ่ ความสขุ ใหแ ผขยายออก

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๙

ไป คือใชมนั ทาํ ความดี ชวยเหลือเกอ้ื กลู เพ่อื นมนุษย ทาํ ใหค วาม
สุขขยายจากตวั เรา แผก วางออกไป สูผคู นมากมายในโลก

ถาเคราะห หรือโลกธรรมทร่ี า ยผานเขา มา กถ็ อื วาเปน
โอกาสท่ีตัวเราจะไดฝก ฝนพฒั นา มนั กก็ ลายเปน บททดสอบเปน
บทเรียน และเปนเครอ่ื งมอื ฝก สติ ฝกปญ ญา ฝก การแกป ญ หา
เปนตน ซ่งึ จะทําใหเราพัฒนายิง่ ขนึ้ ไป

เพราะฉะน้นั ลูกศิษยพระพุทธเจา จึงถือคติวา ใหม นสกิ าร
ใหถูกตอง ถา มองสิง่ ทัง้ หลายใหเ ปน แลว กจ็ ะเกดิ เปนประโยชนแ ก
เราหมด ไมว าดีหรือรา ย น้เี ปน ตวั อยางวธิ กี ารเบอ้ื งตน แตรวม
ความงา ยๆ ก็คือ เราไมเ อาทุกขมาทบั ถมตนเอง เปนหลกั ขอ ท่ี ๑

แยงความสขุ กเ็ ลยทุกขดวยกัน

แบงความสขุ ก็จะสขุ ทั่วกนั

ขอที่ ๒ ทา นวาไมล ะทง้ิ สขุ ที่ชอบธรรม สขุ ท่ีชอบธรรม คอื
สุขที่เราควรไดควรมีตามเหตปุ จ จัย มหี ลายขน้ั หลายระดบั เรามี
สิทธ์ิท่ีจะไดรับความสุขเหลา นนั้ แตใ หเ ปน ไปโดยชอบธรรม เชน ถา
เปนความสขุ ทางวัตถุ กไ็ มใ หเปน ความสุขทีเ่ บียดเบยี น กอความ
เดอื ดรอ นแกผูอื่น แตค วรจะเปนความสุขทเ่ี ผอ่ื แผ ซึ่งชวยใหเกดิ
ความสุขขยายกวางขวางออกไป ถาสขุ ของเราเกิดขน้ึ โดยต้ังอยูบน
ความทุกขข องผูอ่ืน กไ็ มด ี ไมชอบธรรม เพราะฉะนนั้ จงึ ตองใหเ ปน

๑๐ ความสุขท่สี มบูรณ

ความสขุ ทช่ี อบธรรม เราสขุ ผูอ่ืนกไ็ มท กุ ข ถาใหดยี ง่ิ กวานัน้ กใ็ ห
เปน สขุ ดว ยกนั

สุขนี้มหี ลายแบบ หรอื หลายระดบั คือ
๑. สุขแบบแยง กัน
๒. สุขแบบไปดวยกัน หรอื สขุ แบบประสานกนั
๓. สุขแบบอสิ ระ
สุขแบบแยงกนั ก็คือ ถา เขาสขุ เรากท็ ุกข ถาเราสขุ เขากท็ กุ ข
โดยมากจะเปน ความสขุ ประเภททีเ่ กี่ยวกบั วัตถุ ความสุขท่ีเก่ยี วกับ
วัตถุนัน้ ตองไดต อ งเอา พอเราไดม าเราสขุ คนอ่นื เสยี หรือไมไ ด
เขาก็เกิดความทกุ ข แตพอเขาไดเ ราเสยี เราไมได เขาสขุ เรากท็ กุ ข
ความสขุ อยา งน้ีไมเอ้อื ตอ กัน ยังกอปญหา
ย่ิงมองกวา งออกไปในสังคม เมอ่ื มนุษยท ้ังหลายตางก็หา
ความสุขจากการไดและการเอา ก็แยง ชงิ เบยี ดเบยี นกนั สังคมก็
เดือนรอ นวุนวาย ในทสี่ ุด กม็ ีแตความทุกขค วามเดอื ดรอ นแผไปท่ัว
ทุกคนแยง กันสขุ เลยตอ งทกุ ขกนั ทัว่ ไปหมด ไมมีใครไดค วามสุข
เพราะฉะน้นั จงึ ตองมคี วามสุขทีพ่ ัฒนาตอ ไป
ความสุขข้นั ทีส่ อง คือความสขุ ทปี่ ระสานกนั ชวยกันสขุ ถา
เราสุขก็ทําใหเขาสุขดว ย นก่ี ็คือความสขุ ท่ีเกดิ จากการพัฒนาจติ ใจ
โดยเฉพาะกค็ อื ความรกั แท

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๑

ความรกั แทค ือ ความปรารถนาจะใหผูอ่นื เปน สุข แตต อง
ระวังแยกใหด ี เพราะความรกั นเ้ี ปนศพั ททค่ี ลุมเครือหนอย ความ
รักนั้นมี ๒ อยาง คอื รกั แท กับรกั เทียม ความรกั ประเภททเ่ี รา
ตองการคอื ความรักแท ไดแ ก ความปรารถนาใหผ ูอื่นเปนสุข อนั นี้
เปนความหมายทีส่ ําคญั ของคาํ วาความรัก และความรักประเภทนี้
มีชื่อพเิ ศษเรยี กวา เมตตา เมตตาหรือความรกั ที่ตองการใหผ อู น่ื
เปน สุข

สวนความรักอีกอยางหนึง่ นน้ั ตรงขาม คอื ความรกั ทอี่ ยาก
เอาคนอ่นื มาบําเรอความสขุ ของเรา ความรกั ทีต่ องการเอาคนอ่ืน
มาทําใหเ ราเปน สุข ความรักทีต่ องการครอบครอง อันน้ีกจ็ ดั เขา ใน
จําพวกความสขุ จากการทตี่ อ งไดต อ งเอา เปน ความสขุ แบบแยง
กันเหมอื นกับทพี่ ูดมาแลว

ความรักแทที่ตองการใหคนอ่ืนเปนสุขจะเห็นไดงายๆ
เหมือนความรกั ของพอแม พอแมร ักลกู กค็ อื อยากใหลกู เปน สุข ถา
เราอยากใหล ูกเปน สขุ เรากต็ อ งพยายามทาํ ทกุ อยางเพ่อื ใหล ูกเปน
สุข เพื่อจะไดเ ห็นลกู มีความสขุ พอเหน็ ลกู มีความสขุ พอแมก ็มี
ความสุขดว ย

จะเห็นวา พอ แมอยากเหน็ ลกู เปนสขุ กเ็ ลยตองพยายาม
ทําใหลกู เปน สุข ตอนแรกลกู กต็ อ งการวัตถุสง่ิ ของ เชน อาหาร หรอื
สิ่งที่จะดู จะฟง เปน ตน พอแมก็หาวตั ถุเหลานนั้ มาใหแกลกู เม่ือ

๑๒ ความสุขที่สมบรู ณ

ใหแ กล ูก พอ แมก็ตอ งสละ การสละน้ัน ตามปกตจิ ะทาํ ใหไ มสบาย
เปนทุกข เพราะอะไร เพราะวาเราเสีย แตพ อแมใ หแกล กู ก็ไมท กุ ข
พอแมไ มท กุ ข แตก ลับสขุ ดว ย เพราะอะไร เพราะอยากใหล ูกเปน
สุข และอยากเหน็ ลกู เปน สขุ พอสละใหเงินใหท องใหข องแกลูก
แลว เหน็ ลกู มคี วามสุข พอ แมก็มคี วามสุขดว ย กเ็ ลยกลายเปน วา
การให หรอื การสละนี่ เปนความสุขไดเหมอื นกนั

ตามปกตคิ นเราน้ี จะตอ งไดต องเอา จึงจะเปน สขุ ถา ให
ตองเสยี ก็ทุกข แตพ อมีความรัก คอื เมตตาขึน้ แลว การใหก็กลาย
เปนความสขุ ได ทนี ้ี พอเราให เขาเปนสุข เราเห็นเขาเปนสุขสมใจ
เรา เราก็สุขดวย แสดงวา ความสขุ ของบคุ คลท้งั สองน้ี อาศยั ซ่งึ กัน
และกัน เปนความสุขแบบประสาน คอื รวมกันสุข หรือสขุ ดวยกนั
ไมใชค วามสุขแบบแยงกนั

ทง้ั โลกจะสขุ สนั ต์ิ เมื่อคนมสี ุขแบบประสาน

ถาเราพัฒนาจิตใจอยา งน้ี โดยขยายความรกั ความเมตตา
ออกไป เราก็สามารถมคี วามสขุ เพิ่มขน้ึ โดยทค่ี นอน่ื กม็ ีความสุข
ดวย อยา งนกี้ ็เปน ความสขุ ทป่ี ระกอบดว ยธรรม ถา ความสขุ อยา งนี้
เกิดข้ึนมากกท็ าํ ใหโ ลกน้ีมีสันตสิ ุข เร่ิมตงั้ แตในครอบครัวเปน ตน ไป
พอแมอยากใหลูกเปนสขุ สละใหแกล กู แลวพอ แมก ็เปนสุขดวย ที
นี้ถาลูกรกั พอแมเหมอื นอยางท่พี อ แมร กั ลกู ลูกกจ็ ะทาํ แกพ อแม

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๓

อยางเดียวกับทพี่ อ แมทาํ กับตนเอง คอื ลูกจะพยายามทาํ ใหพ อแม
เปนสุข เม่ือลูกพยายามทําใหพอ แมเ ปนสขุ ลกู ก็ใหแกพอ แม ลูกก็
พยายามรบั ใช ทําอะไรตา งๆ ใหพอ แมมีความสขุ พอลูกเหน็ พอ แม
มคี วามสขุ ลกู กส็ ขุ ดว ย ความสขุ ของลกู กป็ ระสานกบั สขุ ของพอ แม
ถาอยางนก้ี ็มีแตความสขุ สันต์ิรมเย็นยง่ิ ขนึ้ ในครอบครวั กเ็ ปน สุข

ขยายออกไป ในหมูเพอ่ื นฝงู ญาตมิ ติ รกเ็ หมอื นกัน ถา ญาติ
มิตรเพื่อนฝูงใหแ กกนั หรอื ทาํ อะไรใหกนั โดยอยากจะใหญ าตหิ รอื
เพ่ือนเปนสุข พอเห็นญาติหรือเพอื่ นเปน สุขตัวเองก็เปน สุขดว ย
เมื่อความสขุ แบบประสานกันอยางนี้กวางออกไปๆ โลกนี้กร็ ม เยน็
และมีการชวยเหลือกัน การอาศัยกนั ได วตั ถสุ ่งิ ของตา งๆ กจ็ ะ
กลายเปน เครอื่ งประกอบที่จะชวยเหลือเกอื้ กูลซงึ่ กนั และกนั อันนกี้ ็
เปนความสุขอยางหน่งึ ที่ชอบธรรม รวมแลวความสขุ ท่พี ัฒนายง่ิ
ขึ้นไปมีอยูมากมาย

อีกตัวอยา งหนึง่ โยมมีศรทั ธาในพระศาสนา มคี วามเชอ่ื
ม่ันในพระรัตนตรัย เชอื่ ในบุญกศุ ล พอไปทาํ บญุ กุศลกเ็ กิดความ
อ่ิมใจ แมจะใหจะสละกไ็ มท ุกข เพราะใจมศี รัทธาเสยี แลว เมื่อให
ดวยศรัทธา การใหก ็กลายเปนความสุขดว ย

เปนอันวา ในขน้ั ตน มนุษยเรามีความสุขจากการไดก าร
เอา จึงแยง ความสขุ กัน แตเ มอื่ พฒั นาไปพอถึงข้ันที่ ๒ จติ ใจมีคณุ
ธรรม เชน มีเมตตา มีไมตรี มีศรทั ธา การใหกลายเปน ความสุข ก็

๑๔ ความสุขท่ีสมบูรณ

เกิดความสขุ จากการให จงึ เปลย่ี นเปนความสุขทปี่ ระสานสง เสริม
อุดหนุนซึ่งกันและกัน มนุษยเราก็พฒั นาตอไปในเรื่องความสุข
แลวก็ทําใหท ัง้ ชวี ติ และทง้ั โลกนมี้ ีความ สุขมากขนึ้ ดวย แตร วม
ความก็คอื วา เราตอ งพยายามทําตวั ใหมีความสขุ โดยถกู ตอ ง ถา
ทําไดอยา งนก้ี เ็ ปนการมีความสขุ โดยชอบธรรม

แมแ ตสขุ ท่ีชอบธรรม

ถา ปฏิบัตผิ ิด สขุ กก็ ลายเปน เส่ือม

พระพุทธเจาตรัสวา ถาเปนความสุขโดยชอบธรรมแลวเรา
มีสทิ ธเิ์ สวย ไมต อ งไปสละละท้ิง แตท านสอนไมใหหยุดแคน ้ี เพราะ
ถาเราปฏบิ ัติผดิ พอเรามีความสุขแลว เรากอ็ าจจะพลาด จุดท่ีจะ
พลาดอยูตรงน้คี อื เรามีสทิ ธ์ทิ จี่ ะสุข และเราก็สุขแลว แตเ ราเกดิ ไป
หลงเพลิดเพลนิ มวั เมา พอเราหลงเพลินมวั เมา ความสุขนน้ั ก็จะ
กลับกลายเปน ปจ จัยของความทุกขได พอถึงตอนน้ีก็จะเสีย เพราะ
ฉะนั้นความสขุ นัน้ เราจะตองรทู นั ดวย

ความสขุ กเ็ ปนโลกธรรมอยา งหนงึ่ คอื มันเกดิ ขึ้นแลว ก็ตัง้
อยูแ ละดบั ไป เปน อนจิ จัง เปลย่ี นแปลงไปได ถา เรารูทันความจริง
น้ี เมื่อสุข เราก็เสวยสุขน้นั โดยชอบธรรม แตเราไมหลงมัวเมาใน
ความสุขนั้น เมื่อรูเทาทนั ไมหลงมวั เมาแลว มันกไ็ มเ ปนปจ จัยให
เกิดทุกข แตถา หลงมัวเมา สุขกเ็ ปนปจจยั แกท กุ ข อยา งนอ ยก็ทํา

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๑๕

ใหตดิ แลวกเ็ พลิดเพลนิ หลงมวั เมา ไมท ําอะไร ทาํ ใหเกิดความ
ประมาท

คนท่ีคิดวา เราสขุ แลว เราสําเร็จแลว เราเกง แลว เราดแี ลว
นี่ พระพุทธเจาตรัสเตอื นไววาจะเปนเหตุใหเ กดิ ความประมาท
เพราะเกดิ ความพอใจ ก็ไดแตม วั เสวยความสุขและความสาํ เร็จนน้ั
ไมทําอะไรท่คี วรจะทําตอๆ ไป หรือใหย่งิ ขน้ึ ไป มกี จิ หนา ที่อะไรท่ี
ควรทําก็ไมท าํ อะไรเกิดข้นึ ควรตรวจตราแกไข หรอื จดั ดาํ เนนิ การ
ก็ปลอยก็ละเลย มัวแตหลงในความสุข กลายเปนทางของความ
ประมาท แลวกเ็ ปน ความเส่ือมตอ ไป

พระพทุ ธเจาตรัสไววา แมแตพระอริยะ อยา งพระโสดาบัน
ก็ยังประมาทได ประมาทเพราะอะไร เพราะวาไปเกดิ ความพอใจ
ขึ้นมา อิ่มใจวา น่เี ราไดบ รรลุธรรมสงู ถงึ ขั้นนแ้ี ลว พอพอใจขึน้
ความประมาทกต็ ามมาทนั ที กไ็ มเ พยี รพยายามเพอ่ื กาวหนาใน
คุณความดยี งิ่ ข้นึ ไป กก็ ลายเปน ความเสื่อม

พระพุทธเจา ตรัสสอนวา เรือ่ งความเจรญิ งอกงามในกุศล
ธรรมนัน้ หยดุ ไมไ ด เราตอ งพยายามย่ิงขึน้ ไป มพี ุทธพจน แหง หนึ่ง
ตรสั วา เราไมสรรเสรญิ แมแตความตง้ั อยูไดใ นกศุ ลธรรมทั้งหลาย
ไมตองพูดถงึ ความเส่ือมจากกุศลธรรม เราสรรเสรญิ แตค วามกา ว
หนาย่ิงขึ้นไปในกุศลธรรมเทา น้ัน ก็หมายความวา เราจะตองเพียร
พยายามปฏิบัตเิ จรญิ กศุ ลธรรมใหก า วหนา ไป จนกระทงั่ หมดกิเลส

๑๖ ความสขุ ที่สมบรู ณ

หมดความทุกข มปี ญ ญาสมบรู ณ มสี ติสมบูรณท ีส่ ดุ ถา เราเกิดไป
ติดในความสขุ ในความเพลดิ เพลนิ เรากห็ ยุด เรากไ็ มข วนขวาย
ไมปฏิบัติตอ ไป ก็จะกลายเปน ทางของความเสอื่ ม เพราะฉะนั้น
ความสขุ ถาเราหลงติดมัวเมา ก็เปน การผิดพลาด

เพราะฉะน้ันจึงตองเสวยความสุขดวยความรูเทาทนั แลว
ความรูเทาทันท่ีเปน ตวั ปญ ญานี้ จะปอ งกนั ไมใหสขุ น้ันเกิดพิษเกิด
ภัย มนั จะปองกันเหตุรา ย ภยั พบิ ัติ และความเส่ือมไดท งั้ หมด นกี่ ็
คือการเสวยสขุ โดยไมประมาทนน่ั เอง

ถงึ จะสขุ ถา ยังไมอ ิสระ ก็ไมเ ปนสุขที่สมบูรณ

นอกจากนนั้ การท่ีเราจะตอ งไมป ระมาท ไมห ลงตดิ เพลิน
ในความสุข ก็เพราะวา ยงั มีความสขุ อยางอนื่ ทป่ี ระณีตย่งิ ขนึ้ ไปที่
เราควรจะไดยงิ่ กวานี้ เพราะฉะนัน้ เราจึงกาวตอ ไปสูขอท่ี ๔ คือ
เพียรพยายามทจี่ ะเขาถึงความสุขที่ประณีตยง่ิ ขนึ้ ไป

ความสุขมีหลายระดับ อยางท่ียกมาพดู เมอ่ื กี้ เร่ิมตน เรามี
ความสุขจากการเสพวตั ถุ คอื สิ่งทจ่ี ะมาบํารุงตา หู จมกู ลิ้น กาย
ของเรา ใหไดด ู ฟง ดมกล่นิ ลิ้มรสทช่ี น่ื ชมชอบใจ พวกน้เี ปน ความ
สุขทางประสาทสัมผัสเบ้ืองตน

เม่ือพัฒนาตอไป เรากม็ ีความสขุ เพมิ่ ขึ้นอีก อยางทว่ี า เม่อื
ก้ี คือความสุขจากคณุ ธรรม ตอนแรกเราเคยมคี วามสขุ จากการได

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๑๗

การเอาอยา งเดียว เปน ความสุขข้ันตน ยังแคบอยู พอเรามคี ณุ
ธรรมเพิ่มข้นึ เราก็มีความสขุ จากการใหดว ย เมอ่ื มศี รัทธา เรากม็ ี
ความสุขจากการทาํ บญุ ทํากุศล เมื่อทาํ บญุ ทํากศุ ลไปแลว ระลึก
ขึ้นมาเมอ่ื ไรกม็ ีความปต ิอมิ่ ใจ มคี วามสุขจากการไดท าํ ประโยชน
แกเพื่อนมนุษย ไดช วยเหลือสังคม และไดท ําความดงี ามตางๆ

ถาเราไมป ระมาท คอื ไมหยดุ เสยี แคค วามสุขขนั้ ตน เราจะ
สามารถพฒั นาในความสขุ ทาํ ความสขุ ใหเ กิดขนึ้ ไดอีกมากมาย
ตอจากนีค้ วามสุขก็ขยายออกไปอกี เลยจากความสุขในการทํา
ความดี กไ็ ปสูความสขุ ที่เกิดจากปญญา

ความสขุ ทีเ่ กดิ จากปญญา กค็ ือความรูเทา ทันสงั ขาร รโู ลก
และชีวิตตามเปนจริง รูเทาทนั อนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตา

ความสุขทงั้ หลายน้ี ในทส่ี ดุ จะเปน สุขจากการเสพวัตถกุ ็
ตาม สขุ ในการอยูกับธรรมชาติก็ตาม และแมแ ตสขุ จากการทาํ
ความดตี างๆ นี้ ลวนแตเปนความสขุ ท่ียงั ตอ งองิ อาศยั คอื ตอง
อาศัยวตั ถุ หรอื ปจ จัยภายนอก ขน้ึ ตอสง่ิ หรอื บคุ คลอื่น

เมื่อความสขุ ของเราอาศยั วตั ถุ เรากฝ็ ากความสุขไวกบั
วัตถุ ถาขาดวัตถุนน้ั เราก็ขาดความสุข ตอนแรกเราบอกวาถา เรามี
วัตถุนั้นเราจะมีความสขุ ตอมาเราเพลนิ ไป ความสขุ ของเรากต็ อ ง
อาศัยวัตถุนน้ั พอขาดวัตถนุ ัน้ เราสุขไมได และกลายเปน ทุกขด วย
แยลงกวา เกา อนั นีพ้ ระพุทธเจาตรัสใหระวงั เพราะจะเปน การสญู

๑๘ ความสขุ ท่สี มบรู ณ

เสยี อิสรภาพ ทําอยางไรเราจะรักษาฐานเดิมไวไ ด คอื เรามวี ตั ถนุ ั้น
เราก็มีความสขุ แตถ าไมม เี ราก็สุขได ถาอยางนกี้ แ็ สดงวา เรายังตั้ง
หลักอยูได และยังมีอสิ รภาพอยู

เม่ือเราทาํ ความดี เราก็มีสิทธทิ ่ีจะไดร บั ความสขุ จากการ
ทําความดนี ้ัน เชน ดว ยศรัทธา ดว ยเมตตา ดว ยจาคะ เราบําเพญ็
ประโยชนท าํ บญุ ทํากศุ ลแลว เรากม็ สี ิทธ์ิทจ่ี ะไดความสขุ จากบุญ
กุศลเหลา น้นั แตม ันกย็ งั เปน ความสุขที่อิง อาศยั คอื เราจะตอ ง
อาศัยการระลกึ ถึงความดีหรือบุญถึงกุศลน้ันอยู ถา เปน ความสขุ ท่ี
องิ อาศัย มันกย็ ังเปนสง่ิ ท่อี ยูนอกตวั ไมเปน เนือ้ เปนตวั ของเราเอง
ทําอยา งไรเราจะมีความสุขทไ่ี มตอ งข้นึ กับสิง่ อื่น

ถาความสุขนน้ั ยังตอ งข้นึ อยูก ับสง่ิ อนื่ มันกผ็ นั แปรได และ
ตัวเราก็ไมเ ปนอสิ ระ เพราะสิง่ น้นั ตกอยูใตก ฎธรรมชาติ เปนไป
ตามอนิจจงั ทุกขัง อนัตตา มันสามารถกลบั ยอนมาทาํ พษิ แกเรา
ได ส่ิงภายนอกทเ่ี ราอาศยั นน้ั มนั ไมไ ดอยูกับตัวขางในเรา ไมเ ปน
ของเราแทจรงิ เม่อื เราฝากความสขุ ไวกับมัน ถา มันมอี นั เปนอะไร
ไป เราก็ทกุ ข

ความดกี เ็ หมอื นกัน เม่ือเรามคี วามสุขเพราะอาศยั มนั ถา
ความดีน้ันเราไปทําแลวคนอ่ืนไมเ หน็ หรอื ไมช ื่นชม บางทีใจเราก็
หมนหมองไปดวย จงึ เรียกวา เปนความสุขท่ยี ังองิ อาศยั อยู เพราะ
ฉะนัน้ เราจึงตองกา วตอ ไป สูก ารมีปญ ญารูความจริงของสิ่งท้ัง

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๙

หลาย รูวาธรรมดาของสงิ่ ทง้ั หลายกเ็ ปน อยา งนี้ ไมว าอะไรที่เปน
สังขาร จะเปน รปู ธรรม หรือนามธรรม เปนความช่วั หรอื ความดี
เปนวัตถุ หรือเปน เรื่องของจติ ใจ มนั กเ็ ปน อนิจจงั ทุกขงั อนัตตา
ท้ังน้ัน เมื่อรูความจรงิ แลว กจ็ ะเขา ถงึ กระแสของธรรมชาติ เรยี กวา
กระแสเหตุปจจยั ปญ ญาของเรากเ็ ขา ไปรทู นั กระแสเหตปุ จจัยนี้
พอปญญารูเทาทนั มนั แลว เราก็วางใจได รูส กึ เบาสบาย เรากร็ แู ต
เพียงตามเปนจรงิ วา เวลานี้ส่งิ นมี้ ันเปน อยา งนี้ มนั ก็เปน ไปตาม
เหตุปจ จยั ของมนั

เมอื่ รูทันแลว สิ่งนน้ั กไ็ มยอ นมาทาํ พิษแกจ ิตใจของเรา จิต
ใจของเราก็เปน อสิ ระ ตอนน้ีกจ็ ะมาถึงข้ันสดุ ทา ยท่ีวา สิง่ ทั้งหลาย
ท่ีเปนสังขาร มันเปน อนิจจงั ทุกขงั อนัตตา มันกเ็ ปน ทุกขไปตาม
ธรรมชาติของมัน ตามสภาวะ เรารูเห็นความจรงิ ของมนั แตเ ราไม
พลอยเปน ทกุ ขไ ปดวย

สงิ่ ทงั้ หลายก็ทกุ ขต อ ไปตามเร่ืองของธรรมชาติ

แตใ จเราเปน อิสระมีสุขทสี่ มบูรณ

สิ่งทั้งหลายท่เี ปน อนิจจงั ทุกขัง อนตั ตา มีความเปลีย่ น
แปลงเปน ไปตางๆ มนั กต็ อ งเปนอยา งน้นั เปน ธรรมดา เพราะมัน
อยูในกฎธรรมชาตอิ ยา งนัน้ ไมมีใครไปแกไ ขได แตท่ีมันเปนปญหา
ก็เพราะวาในเวลาท่ีมันแปรปรวนเปล่ียนแปลงไปตามกฎธรรมชาติ

๒๐ ความสุขทส่ี มบรู ณ

น้ัน มันพลอยมาเบยี ดเบยี นจิตใจของเราดว ย เพราะอะไร เพราะ
เรายื่นแหยใจของเราเขาไปใตอิทธิพลความผันผวนปรวนแปรของ
ธรรมชาตินัน้ ดว ย ดังนน้ั เมื่อสิง่ เหลา น้นั ปรวนแปรไปอยา งไร ใจ
ของเราก็พลอยปรวนแปรไปอยางนั้นดว ย เมอื่ มันมอี ันเปนไปใจ
ของเราก็ถกู บีบค้นั ไมสบาย

แตพอเรารูเทาทนั ถึงธรรมดาแลว กฎธรรมชาตกิ ็เปนกฎ
ธรรมชาติ สง่ิ ทัง้ หลายท่ีเปน ธรรมชาติ กเ็ ปนไปตามกฎธรรมชาติ
ทําไมเราจะตอ งเอาใจของเราไปใหก ฎธรรมชาตบิ บี ค้นั ดวย เราก็
วางใจของเราได ความทกุ ขท ม่ี ีในธรรมชาติ ก็เปน ของธรรมชาติไป
ใจของเราไมตองเปน ทกุ ขไ ปดวย ตอนน้ีแหละ ท่ีทานเรยี กวามจี ติ
ใจเปนอิสระ จนกระทั่งวา แมแ ตทกุ ขทีม่ ีในกฎของธรรมชาติ ก็ไม
สามารถมาเบียดเบยี นบบี คน้ั ใจเราได เปนอสิ รภาพแทจ ริง ท่ีทาน
เรยี กวา วมิ ุตติ

เม่ือพัฒนามาถงึ ข้นั น้ี เราก็จะแยกไดร ะหวา งการปฏิบัตติ อ
ส่ิงทัง้ หลายภายนอก กบั การเปน อยูของชีวติ จติ ใจภายในของเรา
กลาวคือ สําหรบั สง่ิ ทั้งหลายภายนอก กย็ กใหเ ปน ภาระของ
ปญญา ท่ีจะศึกษาและกระทําไปใหทนั กันถงึ กันกบั กระบวนการ
แหงเหตุปจจยั ของธรรมชาตใิ หไดผ ลดที ี่สุด สวนภายในจติ ใจกค็ ง
อยเู ปนอสิ ระ พรอ มดว ยความสุข

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๒๑

ความสุขจากความเปนอิสระถึงวิมุตติที่มีปญญารูเทาทัน
พรอ มอยูน้ี เปน ความสุขทสี่ าํ คญั พอถงึ สุขขัน้ นแี้ ลว เรากไ็ มตองไป
พ่ึงอาศยั สง่ิ อ่นื อกี ตอไป ไมว าจะเปนรูปธรรมหรือนามธรรม มนั จะ
กลายเปนความสุขทเี่ ต็มอยูใ นใจของเราเลย และเปนสขุ ท่มี ี
ประจําอยตู ลอดทกุ เวลา เปน ปจ จบุ ัน

ความสุขที่เรานึกถึงหรอื ใฝฝ นกนั อยูนี้ มักเปน ความสุขท่ี
อยูในอนาคต คอื เปนความสขุ ทหี่ วงั อยขู างหนา และอิงอาศยั สิง่
อ่ืน แตพอมีปญญารูเทาทันความจริงแลว จะเกดิ ความสุขทอี่ ยใู น
ตัวเปน ประจาํ และมีอยูตลอดทุกเวลา เปนปจจุบนั ทกุ ขณะ กลาย
เปนวาความสขุ เปน เนื้อเปน ตัว เปน ชวี ิตจติ ใจของเราเอง พอถึง
ตอนนก้ี ไ็ มตองหาความสุขอะไรอกี ถา มีอะไรมาเสริมใหค วามสุข
เพ่ิมข้ึน เรากม็ คี วามสุขทเ่ี ปนสวนแถม และเราก็มีสทิ ธเ์ิ ลือกตาม
สบายวาจะเอาความสุขนนั้ หรือไม ไมม ปี ญ หา และเม่ือสขุ แถมน้ัน
ไมมี ก็ไมเ ปนไร เราก็สขุ อยูตลอดเวลา ตอนนท้ี านเรยี กวาไมม ีอะไร
ตอ งทําเพือ่ ตัวเองอกี พลังงานชวี ติ ทเี่ หลอื อยูกย็ กใหเ ปน ประโยชน
แกโลกไป นี่แหละเปน สุขท่สี มบูรณ และกเ็ ปน ชีวิตทสี่ มบรู ณด ว ย

พฒั นากศุ ล คือหนทางพฒั นาความสขุ

อาตมภาพก็เลยนําเอาเน้ือความบางตอนในหนังสือท่ีได
พิมพสาํ หรบั งานในวนั นี้ คอื “ชีวติ ท่ีสมบูรณ” มากลาวใหโ ยมฟง

๒๒ ความสุขทส่ี มบรู ณ

ดวย แตไมใชว า จะเหมือนกนั หมด เพียงแตม าบรรจบกนั ตอนแรก
พูดเร่อื งอ่ืนกอ น แตพอพูดไปพูดมาก็มาจบลงท่เี รื่องเดยี วกนั คอื
ชีวิตท่ีสมบรู ณ หรอื ความสุขที่สมบูรณ ทัง้ น้กี เ็ พราะวา ธรรมะของ
พระพุทธเจา นั้น ไมว าจะจับแงไหนในทีส่ ุดก็เปน เรอ่ื งเดยี วกนั
เพราะธรรมเปนความจริงตามธรรมชาติ เมือ่ เปนความจรงิ ตาม
ธรรมชาตแิ ลว มนั กเ็ ปนเรื่องเดยี วกนั ท้ังหมด จะพดู จดุ ไหน ในที่สุด
มันก็มาบรรจบเปนอันเดียวกัน

วันนี้อาตมภาพไดพูดถึงเร่อื งความสุข เพอ่ื ใหเ หน็ ถึงหลกั
การของพระพทุ ธศาสนา ขอทบทวนอกี ครงั้ หนึ่งวา พระพทุ ธเจา
ตรัสวิธีปฏิบัตติ อ ความสุขไว ประมวลได ๔ อยาง คอื

๑. ไมเอาทกุ ขทับถมตน ทไี่ มม ีทุกข
๒. ไมละทิง้ สขุ ท่ชี อบธรรม
๓. ไมมัวเมาหมกมุนในความสขุ นนั้ แมแตที่ชอบธรรม
๔. ปฏิบัติใหเขาถึงความสุขทีป่ ระณีตย่งิ ข้ึนไป จน

สมบูรณ
ถาโยมทาํ อยางนก้ี ็มแี ตจ ะเจรญิ งอกงาม จนมคี วามสขุ ได
ตลอดเวลา
ความสุขอยางน้ีเกิดขึ้นโดยปกติก็อาศัยกุศลธรรมอยูเร่ือย
กุศลธรรมมีหลายอยา ง เชน ที่กลา วมาแลว มีเมตตา และศรัทธา
เปนตน ท่ีโยมมีอยูในใจ ซง่ึ ทาํ ใหใ จสบาย และทําใหทําความดี

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๒๓

ตางๆ และหลงั จากทาํ แลวระลกึ ขึ้นมาก็เกดิ ความอ่ิมใจ มปี ต ิ ทํา
ใหใจสบายไดตลอดทกุ เวลา จนกระทัง่ ถึงปญญาซง่ึ เปน ตวั สาํ คญั
ที่สุด ปญญานน้ั รกั ษาใจ ไมใหต กอยูใ ตก ระแสกฎธรรมชาติ ทําให
เราถงึ วมิ ุตติ มีจติ ใจเปน อสิ ระ

เมื่อมีกศุ ลธรรม ไมวา จะเปนเมตตา เปน ศรทั ธา หรอื อะไร
ก็ตาม จนกระทง่ั มปี ญญา ก็จะทําใหเ กดิ ความเปนมงคลทแี่ ทจ รงิ
พอเกิดกุศลธรรมขน้ึ มา นน่ั กค็ อื การเกิดทด่ี ี

วันนี้เปนวันเกิดของคณุ โยม อาตมภาพกเ็ ลยถือนมิ ติ วา ให
เปนการเกิดของกศุ ลธรรม พอโยมเกดิ มีกุศลธรรม ความเปนมงคล
ก็เกิดขึ้นทันที อยา งวันนี้ เวลานี้ โยมทุกทานกถ็ ือไดว า เกิดกศุ ล
ธรรมแลว คือตงั้ แตก อ นมาท่นี ีก่ ม็ ีจิตใจที่ประกอบดวยไมตรีธรรม
ตอโยมผเู ปน เจา ภาพ ความมไี มตรีดวยเมตตาธรรมนี้ เปน ความ
หวังดี ปรารถนาความสขุ ตอกัน จิตใจทม่ี ีกุศลธรรมขอน้ี ก็เปนจิต
ใจท่ีมีความสุข เปนมงคล เพราะฉะน้ัน โยมทุกทานกม็ ีกศุ ลธรรม
เกิดข้ึนในใจกอนมาแลว

พอมาถึงทน่ี ่ี กพ็ ฒั นาเพมิ่ พนู กศุ ลธรรมนนั้ ใหม ากขน้ึ ไปอีก
คือ นอกจากวา ไดม าพบปะกันในหมูญาตมิ ติ ร มไี มตรีธรรมตอ กัน
แลว กไ็ ดแ สดงไมตรธี รรมน้ันออกมาดว ยวาจาและดว ยการกระทํา
ตางๆ ที่เปน การขวนขวายชวยเหลอื และรวมกันทาํ บญุ ทาํ กศุ ลใน
พระศาสนา มาชว ยถวายไทยธรรม เปน การใหก ําลังแกพ ระสงฆใ น

๒๔ ความสุขท่สี มบรู ณ

การปฏิบตั ิกจิ พระศาสนา ชว ยใหพระสงฆท ํางานพระศาสนา ให
พระศาสนาเจริญงอกงามตอ ไป จงึ ถือวา โยมไดรว มบาํ รุงพระ
ศาสนา หรือสืบตออายุพระศาสนาดว ย

เม่ือพระศาสนาเจริญงอกงาม กแ็ ผป ระโยชนส ุขไปใหแ ก
ประชาชน เพราะธรรมแผไ ป ทําใหค นประพฤตดิ ีงาม สังคมกม็ ี
ความรม เย็นเปน สุข โยมก็ชือ่ วา ไดร ว มสรางสรรคส ังคมใหม คี วาม
สุขดวย ทั้งหมดนี้ลวนแตเ ปนการเกิดข้นึ ของกศุ ลธรรมขยายกวาง
ออกไปๆ พอระลกึ ไดอ ยางนี้ จติ ใจก็เกิดปติ มคี วามอิม่ ใจ

เพราะฉะนั้น นอกจากการกระทําภายนอกแลว ก็ควรทําใจ
ภายในดว ย ถาทําใจถกู ตอ ง อยา งทท่ี างพระทานเรยี กวา มี โยนิโส
มนสิการ ก็ขยายใหก ุศลธรรมยงิ่ เพ่มิ พูน ยกตัวอยา งในการทาํ บุญ
วันน้ี ก็คือโยมถวายไทยธรรมแกพ ระสงฆ เปนการทาํ บุญทาํ ทาน ก็
เปนกุศลธรรม พอทาํ ใจถูกตอ ง ก็มองเห็นวา ออ ไทยธรรมที่ถวาย
นี้ จะเปนเครื่องใหก าํ ลังแกพระสงฆ ชวยใหท า นไปทํางานพระ
ศาสนา แลว ก็มองไกลไปถึงงานของพระศาสนา วา พระสงฆจะได
เลาเรยี นปริยัติ คอื คาํ สอนของพระพทุ ธเจา และไดไปปฏบิ ัตธิ รรม
บําเพญ็ ภาวนา ทงั้ สมาธิ ทัง้ วิปส สนา แลว กไ็ ปเผยแผส่งั สอนธรรม
แกประชาชน ประชาชนกจ็ ะมีความรม เย็นเปน สุข โอ บุญท่ที ําวนั นี้
นี่มีความหมายมากเหลอื เกนิ ยิง่ เรามองไดก วา งไกลออกไปเทา ไร

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๒๕

ก็ยิ่งทําใหจิตใจมคี วามเบกิ บานผองใสมากข้นึ เทาน้นั อยา งนเ้ี รยี ก
วาเปน การทาํ ใจถกู ตอง

ยิ่งกวา นน้ั กศุ ลนค้ี วรใหไ ดผ ลทง้ั อดีต ปจ จุบัน อนาคต
อดีตคือเจตนากอ นมาทีต่ ้ังไวถูกตอ งแลว ซึง่ ประกอบดว ยศรทั ธา
และเมตตา ปจจบุ ันคอื ขณะทาํ ก็ดแี ลว เพราะทําดว ยความต้งั ใจ
เปนบุญเปนกุศล อนาคตคอื ตอ จากนีไ้ ป ระลึกนึกขน้ึ มาเมอ่ื ไรก็ให
เกิดความอิ่มใจ มปี ตหิ ลอเลีย้ งใจทําใหมีความสุข อยา งทที่ า น
เรียกวา มปี ต ิเปนภกั ษา คือมคี วามปต เิ ปนอาหารใจทําใหอ่ิมใจ
อาหารใจน้ีบางทีอ่มิ จนไมต องรับประทานอะไร เมอ่ื ใจอิม่ ก็มีความ
สุข ฉะน้ันถาโยมทําบุญถกู ตอ งแลว บญุ ก็จะเกิดตอเน่ืองตลอดไป
เปนเวลายาวนาน เปนทพี่ ึ่งทอ่ี าศยั ของชวี ิต และทําใหเกดิ ความสุข

รวมความวา วันน้ี อยางนอ ยโยมกเ็ กิดกุศลธรรมข้ึนมา
แลว เปน นิมติ ทดี่ ีงามของวันเกิด เพราะฉะน้ัน อาตมภาพขอ
อนุโมทนาและก็ขอใหกุศลธรรมท่ีเกิดข้ึนแลวนี้พัฒนาย่ิงข้ึนไปจน
ไพบูลย และเปน มงคลอนั นํามาซง่ึ ความสขุ ความเจรญิ งอกงามยิง่
ข้ึนไป จนไดส าํ เรจ็ เปน ชีวิตท่ีสมบรู ณ และความสขุ ทีส่ มบูรณ

ในโอกาสนซ้ี งึ่ ถือวาเปน วันดวี ันงาม พระสงฆก็ไดมาเจริญ
พระพุทธมนต อนุโมทนาอาํ นวยพร คุณโยมกไ็ ดทําบญุ ทํากศุ ล
พรอมท้ังโยมญาติมิตรทุกทานก็มาต้ังใจอวยชัยใหพรดวยไมตรีจิต
มิตรภาพ ทุกอยางนีเ้ ปนกุศล เปน ส่ิงทด่ี งี าม จงึ ขอใหก ศุ ลนอ้ี ันองิ

๒๖ ความสุขทสี่ มบรู ณ

อาศยั คณุ านุภาพของพระรตั นตรยั จงนํามาซงึ่ ผลอันไพบลู ย คอื
จตุรพิธพรชัย แกคุณโยมท้งั สองทา น พรอมทงั้ ลูกหลาน ญาตมิ ิตร
ทง้ั หลาย

พุทธานุภาเวนะ ธัมมานภุ าเวนะ สงั ฆานุภาเวนะ ดวย
อานุภาพคุณพระพทุ ธเจา คณุ พระธรรม คณุ พระสงฆ พรอ มทง้ั
บุญกุศล มีศรทั ธา และเมตตา เปนตน ที่คุณโยม และลกู หลาน
ญาติมิตร ไดบาํ เพญ็ แลว จงเปนปจจยั นาํ มาซงึ่ พรชยั ท้งั ส่ีประการ
พรอมท้ังความเจริญกาวหนา งอกงามรงุ เรือง และสรรพสิรสิ วัสดิ
พิพฒั นมงคลทุกประการ ขอใหท กุ ทา นมีความรม เย็นเปนสขุ ใน
พระธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจา โดยทวั่ กนั ทกุ ทาน ตลอดกาล
นานเทอญ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๒๗

สารบัญ

อนโุ มทนา ................................................................................ (๑)

ความสขุ ท่สี มบูรณ ...............................................๑

เกิดดีที่สดุ คือเกิดกศุ ล..................................................................๑
ปฏบิ ัติถกู มีแตสุข ทุกขไมมี ........................................................๓
ปฏบิ ตั ิไมถ กู ยง่ิ หางสุข ทุกขท บั ถม ................................................๔
โชคมา ก็ใชท าํ ความดี

เคราะหม ี ก็เปนเครื่องมือพัฒนา.................................................๖
แยง ความสุข กเ็ ลยทกุ ขดวยกนั

แบง ความสุข กจ็ ะสขุ ทว่ั กนั ........................................................๙
ทงั้ โลกจะสุขสนั ติ์ เมื่อคนมีสุขแบบประสาน................................. ๑๒
แมแตสุขทชี่ อบธรรม

ถา ปฏิบตั ิผิด สุขกก็ ลายเปน เสอ่ื ม ............................................ ๑๔
ถงึ จะสขุ ถา ยังไมอสิ ระ กไ็ มเ ปน สขุ ทีส่ มบูรณ .............................. ๑๖
สง่ิ ทง้ั หลายก็ทกุ ขตอ ไปตามเร่อื งของธรรมชาติ

แตใ จเราเปน อิสระมสี ขุ ที่สมบูรณ............................................. ๑๙
พฒั นากศุ ล คอื หนทางพฒั นาความสุข ....................................... ๒๑

ความสุขทีส่ มบรู ณ

พระพรหมคุณาภรณ
(ป. อ. ปยุตฺโต)

ความสุขท่ีสมบูรณ
© พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)

ISBN

พมิ พครัง้ แรก ตุลาคม ๒๕๓๗

- คุณนาม พูนวัตถุ พมิ พในวนั เกดิ ๘๐ ป ๑ ต.ค. ๓๗

พิมพครั้งท่ี - เมษายน ๒๕๔๘

พิมพที่


Click to View FlipBook Version